Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Bestครูปุ้ย63-1

Bestครูปุ้ย63-1

Published by tippawon192524, 2020-05-07 01:56:11

Description: Bestครูปุ้ย63-1

Search

Read the Text Version

Best Practice พัฒนาการตอ เนื่อง ของโรงเรยี นผสู ูงอายุตําบลบา นเหลา จัดทําโดย นายวทิ ยา ปน ตา พนกั งานราชการ ตําแหนง ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอสูงเมน สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั แพร

Best Practice 1. ชอื่ ผลงาน : พฒั นาการอยางตอเนอื่ ง ของโรงเรยี นผสู งู อายุตําบลบานเหลา 2. หนวยงาน : ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอสงู เมน กศน.ตาํ บลบา นเหลา 3. ผจู ดั ทํา Best Practice : นายวทิ ยา ปนตา ครอู าสาสมัคร ฯ กศน.อําเภอสงู เมน 4. สอดคลอ งกบั นโยบายเรงดว นเพอื่ ขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาประเทศ ขอ 3 ยทุ ธศาสตรด านการพฒั นาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย ขอยอ ยที่3.9 เตรียมความพรอมของ ประชาชนในการเขาสูสงั คมผูสูงอายุทีเ่ หมาะสมและมีคุณภาพ 5. ทม่ี าและความสําคญั ของผลงาน โรงเรียนผูส ูงอายุตําบลบานเหลา ไดด ําเนินกิจกรรมมาอยางตอเน่ือง ถือเปนแหลงเรยี นรูอีกรปู แบบหนึ่งในการ สง เสริมการเรียนรตู ลอดชวี ิต การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผสู งู อายุ และกิจกรรมของโรงเรียน ผูสูงอายุจะเปนเร่ืองท่ผี ูสูงอายุสนใจและมคี วามสําคัญตอการดําเนินชีวิต ชว ยเพม่ิ พูนความรู ทักษะชีวิตทีจ่ าํ เปน อาจจะมี เทคโนโลยดี จิ ิทัลเขามาเก่ียวของเพื่อเพิ่มโลกของยุคเทคโนโลยี โดยวทิ ยากรจติ อาสาหรือจากหนวยงานที่เก่ียวของ ขณะเดยี วกันก็เปนพ้ืนที่ทผี่ สู งู อายุจะไดแสดงศักยภาพ โดยการถายทอดภูมิความรปู ระสบการณ ทีส่ ่ังสมแกบุคคลอ่ืน เพ่ือสืบ สานภูมิปญญาใหคงคุณคา คกู ับชุมชน โรงเรียนผูสูงอายุหลายแหง ตง้ั ขึ้นโดยใชอาคารเรยี นเกาของโรงเรียนที่เลิกกิจการหรือตั้งอยูในชมรมผูส ูงอายุ ภายใน วดั บางแหงใชบา นของผรู ิเร่ิมกอตั้งเปน สถานทด่ี ําเนินการการจัดตั้งโรงเรียนผูสูงอายุในระยะแรก อาจเปนเพยี งการรวมกลมุ พบปะพูดคยุ กนั แลวจงึ คอยๆ มรี ูปแบบชัดเจนข้ึน มีกิจกรรมทีห่ ลากหลายตามความตองการของผูสงู อายุ หรืออาจเปนการ ขยายกจิ กรรมจากที่มีการดําเนินการอยูแลว เชน ศูนยบริการทางสังคม แบบมีสวนรวม (ศาลาสรา งสุข) ศนู ยสามวยั ธนาคารความดี เปนตน โรงเรียนผูสูงอายุสามารถมีรูปแบบและกิจกรรมท่ี หลากหลาย ท้ังน้ี ข้ึนอยูกับบริบทของพนื้ ท่ี ความตองการของผสู งู อายุ การจัดกิจกรรมของโรงเรียนผูสูงอายุ จะกาํ หนดตาราง กจิ กรรมในแตล ะสัปดาหไวชดั เจน ระยะเวลาเปดเรียนอาจเปนตลอดปหรือเปดเปน ชว งเวลาตามหลกั สูตรท่ีจดั อบรม สว นใหญ จะจดั กจิ กรรมสปั ดาหละ 1 วนั การทํางานของ กศน.อําภอสงู เมน ในเรื่องของการสงเสริมสนับสนนุ การจัดกิจกรรมโรงเรียนผสู งู อายุ เร่ิมที่การ ขับเคลื่อนผานตําบลนํารอง คือ ตาํ บลบานเหลา เพื่อ ใหไดบริบทความตองการของพน้ื ท่ีอยางแทจริงซงึ่ ตําบลบานเหลา ได เขาเปนตําบลท่รี ว มดาํ เนินงาน ทั้งนี้พบวา ภายในตําบลบา นเหลา มีจํานวนผสู งู อายุจํานวนมาก และผูสูงอายุมีปญหาทาง สขุ ภาพท้ังสุขภาพกาย และสุขภาพจติ และจากขอมูลระบบการคัดกรองปญหาสุขภาพและขอมูลผสู ูงอายุที่จําเปนตองไดรับ การดูแลชวยเหลือระยะยาว สามารถจําแนกผสู ูงอายุออกเปน 3 กลุมสามารถแยกไดด ังตอไปนี้ กลุมท่ี 1 กลุมติดสังคม หมายถึง ผูสูงอายทุ ี่พึ่งตนเองได ชว ยเหลือผูอ่ืน ชุมชน และสังคมได กลุมที่ 2 กลุมติดบาน หมายถึง ผสู งู อายุท่ีดูแลตนเองไดบาง ชวยเหลือตนเองไดบ าง กลุมท่ี 3 กลุมติดเตียง หมายถึง ผสู งู อายทุ ี่พึ่งตนเองไมได พบวาผสู ูงอายุ กลุมที่ 1 ของตําบลบานเหลา คดิ เปนรอยละ 70 ซ่ึงเปนจํานวนผสู ูงอายุจํานวนมาก ท่มี ีความสามารถ และความตองการชวยเหลือสงั คม รองลงมาคือกลุมที่ 2 คิดเปนรอยละ 25 รองลงมาคือกลุมที่ 3 คิดเปนรอยละ 5 ของ จาํ นวนผสู ูงอายตุ ําบลบานเหลา ทั้งหมด จากขอมูลขา งตน จะเห็นวา ผูสงู อายุกลุมท่ี1 กลุมติดสังคม เปน ประชาชนท่สี ามารถพัฒนาและรว มกจิ กรรมในสังคม ได เมื่อออกสงั คมทาํ ใหความเหงา ความเศรา หมดไป ปญหาโรคซึมเศราสามารถการแกไขไดย ดึ หลักบริบท วัฒนธรรมของ ชมุ ชน เปนพ้ืนฐาน โดยดงึ การมีสวนรว มของชุมชน คนหาผมู ีจิตใจอาสาสมัคร ภูมิปญญาทองถิ่น โดยเฉพาะผสู งู อายทุ ่ีเปน กลุมเปาหมายหลัก มารวมดาํ เนินงานผานกระบวนการจัดการเรียนรู อยางมสี วนรวมของเครอื ขายตางๆ ในชุมชน ไดแก องคการบริหารสว นตําบล สํานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่งคงของมนุษย สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลอําเภอ โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตําบล ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอ องคการบริหารสวนจังหวัด และ

ภมู ิปญ ญาทองถ่ิน จิตอาสาในชุมชน มาเปนแนวรว มในการจัดกิจกรรม โรงเรยี นผสู งู อายุตําบลบานเหลา เพ่ือใหเปาหมาย เดียวกบั คือผสู ูงอายุ สูงวยั อยางมคี ุณคา ชราอยางมคี ุณภาพ เตรยี มตวั จากโลกน้ีไปอยางมีความสุข ทําใหผ สู งู อายใุ นชมุ ชน ไดรับการดูแลทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทัง้ ยงั ไดเปนสวนหน่ึงของการพัฒนาและเรียนรูข องคนในชมุ ชน ทาํ ใหเกิด ความสมั พันธที่ดีระหวางชวงวัยตา งๆ และสรางความรสู ึกมีคุณคาใหม ากยิ่งข้ึน 6. วัตถุประสงค พฒั นาการของ โรงเรียนผูส ูงอายตุ ําบลบา นเหลา 1. เพอ่ื สงเสรมิ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และการจัดการเรยี นรตู ลอดชีวติ ของผูส ูงอายุ 2. เพ่อื สง เสริมการพัฒนาตนเอง การดูแล คมุ ครอง และพิทกั ษสิทธิผสู ูงอายุ 3. เพือ่ เสรมิ สรา งสุขภาพท่ดี ีของผูสงู อายุทงั้ ดานรางกายและจิตใจ 4. เพ่ือสงเสรมิ ใหผ สู ูงอายุสรา งสรรคประโยชนแ กช ุมชนและสังคม 5. เพื่อเสริมสรา งศักยภาพ คุณคาภมู ปิ ญ ญาผูสงู อายุใหเปนทป่ี ระจกั ษแ ละยอมรับ 6. เพอื่ สง เสริมภมู ปิ ญญาและวัฒนธรรมทองถน่ิ ใหด ํารงสืบทอดตอไป 7. วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน เลศิ ในการจัดกิจกรรมโรงเรยี นผสู ูงอายขุ องศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอ สูง เมน บรหิ ารจัดการ ดวยหลัก 5 ก ประกอบดว ย 1. กลมุ ตอ งสรา งการรวมกลมุ ของผูส ูงอายุใหเกิดขึน้ ทั้งท่เี ปนกลุมแกนนําคณะทาํ งาน และกลมุ สมาชกิ หรือกลุมนักเรียนผูส งู อายุ ซึ่งเปน เปา หมายของการทาํ งาน ในขน้ั นี้อาจมีกลยุทธใ นการสรางความเปนกลมุ กอนได หลายวธิ ี เชน การเปด รับสมคั รสมาชิกหรือนกั เรยี นผูสูงอายุ การตอยอดจากกลมุ เดิมทเ่ี คยมอี ยใู นชมุ ชน เชน ชมรม ผูสงู อายุ การสรา งสญั ลักษณของความเปนกลุมสมาชกิ อาทิ มสี ญั ลักษณโรงเรียนผูสูงอายุ มเี ส้ือสัญลกั ษณของนักเรยี นผสู งู อายุ เปนตน 2. กรรมการ ถอื เปนตัวแทนของสมาชกิ กลุมท่ีจะทําหนา ท่ีในการบริหารจัดการกลมุ ใหการทํางาน ประสบความสาํ เรจ็ ดังน้ันกรรมการตองมีจิตใจรักการทํางาน มีจติ อาสา ท้งั น้ีควรสรางกระบวนการคัดเลือกผูทจี่ ะทํา หนาทดี่ ังกลา ว แบงหนาทีค่ วามรบั ผิดชอบ ชว ยกนั ขับเคลื่อนการทาํ งานใหประสบความสําเรจ็ เปน การสรางกระบวนการ มีสว นรว มใหการบริหารจัดการโรงเรยี นผูส งู อายมุ ปี ระสิทธิภาพ 3. กติกา หรือขอตกลงรว มกัน ตองเกิดจากความเห็นพองตองกนั ของสมาชกิ ในโรงเรียนผสู งู อายุ เหมอื นเปนสญั ญาใจทม่ี ตี อกนั วา จะรว มกันยดึ ถือและปฏิบตั ิตาม ซง่ึ จะเปนแนวทางท่ีทําใหก ารดําเนินงานของโรงเรียน ผูสูงอายมุ ีทิศทางการทํางานท่ีชดั เจน แมว า เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการชุดใหมจ ะยงั คงมีแนวทางการทาํ งานเดมิ ใหเหน็ และพัฒนาตอยอดได 4. กจิ กรรม ในระยะเร่ิมแรกอาจเนน ไปทกี่ ารสรางกจิ กรรมในการแกไขปญ หางาย ๆ ไมซับซอ น เชน การจัดใหมาพบปะกนั ทุกเดอื น มกี จิ กรรมรองเพลง กิจกรรมนนั ทนาการรปู แบบอ่ืน ๆ กจิ กรรมการเรียนรูท ง้ั ภาค ทฤษฏีและปฏบิ ัติอยา งมสี ว นรว ม กจิ กรรมถายทอดภูมปิ ญญาใหกบั เด็กและเยาวชนหรือการรวมกลุม ออกกําลงั กาย เมือ่ มปี ระสบการณมากข้ึน จึงเคล่อื นไปสกู ารทาํ กจิ กรรมท่ีตอบสนองปญ หาและความตองการท่มี ีความซบั ซอนมากขึ้น เชน การบรู ณาการโรงเรียนผสู งู อายุเขากับการทาํ งานของ “ธนาคารความดี” การมีสว นรว มบริหารจดั การขยะ “ขยะฮอม บญุ ” เปนตน 5. กองทนุ การขับเคลือ่ นงานของโรงเรยี นผสู งู อายใุ หเ ปนไปอยางมน่ั คงจาํ เปนตอ งเรียนรวู ธิ กี ารหา งบประมาณเพ่ือการดําเนินงานดว ยตนเอง วิธีการหางบประมาณเขากองทนุ ของกลุม อาจจาํ แนกไดเ ปน การสรางกองทุน ของตนเองการเกบ็ คา สมาชกิ การขอรับบริจาคจากผูมจี ติ ศรัทธา การจําหนา ยผลิตภัณฑของกลมุ การเขยี นโครงการเพื่อ เสนอขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากหนวยงาน แหลงทนุ ตา ง ๆ เชน สํานักงานกองทุนสนับสนนุ การสรางเสรมิ สุขภาพ (สสส.) กองทุนผูสูงอายุ กองทนุ สขุ ภาพตําบล สํานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ศูนย การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอ เปนตน อยา งไรกต็ าม งบประมาณไมใชหัวใจของการขบั เคลื่อน งานไดเ ทากบั การมจี ิตอาสาหรอื จิตสาธารณะที่จะสรางสรรคสวสั ดกิ ารทางสังคมในการดูแลผสู งู อายุ

ในสว นของกระบวนการดําเนินงานในการจัดทาํ โครงการโรงเรยี นผูสงู อายขุ องตาํ บลบานเหลา ใชการ มีสวนรวม ของชุมชน โดยยึดหลักคิดเอง ทาํ เอง แกไ ขปญหาเอง ประสบผลสาํ เร็จไดดว ยตนเอง และ รว มธาํ รงรักษาใหย ั่งยนื ดว ย ตนเอง โดยใชแ นวคิดชุมชนมีสวนรวม หมุนดว ยวงลอ PDCA โดยมขี ัน้ ตอน ดังน้ี 1. ขน้ั P-Plan: วางแผนเตรียมการ วางแผนรว มกับอบต./เทศบาล กศน. อสม. อผส. ผนู ําชมุ ชน ประชาชนในพื้นท่ี จดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ าร 2. ขั้น D-Do: ดําเนนิ งานอยา งรอบคอบ โดยใชกระบวนการจดั การเรียนรอู ยา งมีสว นรวม -ประชมุ รว มกันคน หาปญหาวางแผนการพัฒนาและตัดสินใจเลอื กแนวทางปฏบิ ตั ิรว มกัน ทั้งแบบเปน ทางการ เชน จัดเวทปี ระชาคมในชมุ ชน และแบบไมเปน ทางการไดแ กก ารสมั ภาษณ ซักถาม พดู คุย เปน ตน รวมทั้งมกี าร คนื ขอ มูลที่ไดจ ากการสาํ รวจใหกบั ชมุ ชน -การประชาสมั พนั ธในพนื้ ทที่ ุกหมบู านเพ่ือใหผ ูสูงอายุไดท ราบอยา ท่วั ถึง -สขุ ภาพอนามัย ตรวจสขุ ภาพประจําปแ กผ สู งู อายุ อสม. อผส.และผดู แู ล เฝาระวังสุขภาพผสู ูงอายุท้งั กายใจ และ สงั คม โดยใชแบบประเมินความเครียด ST-5 และแบบคดั กรองซมึ เศรา 2Q นอกจากนย้ี ังมีนกั กายภาพบาํ บดั และ แพทยแ ผนไทยออกใหบ ริการในชุมชนเดอื นละครง้ั เย่ยี มบานผูสูงอายุกลมุ ติดบา นและติดเตียง ผสู ูงอายุและภาคี เครือขายดแู ลกนั ตามวิถชี ุมชน โดยการประสานงานกับโรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตาํ บลบานเหลา -กระบวนการสราง สรา งเสรมิ ปญญา โดยการจดั การเรียนการสอนใหกับผสู ูงอายุ ดังนีจ้ ดั กจิ กรรมหนา เสาธง (เขาแถว เคารพธงชาติ สวดมนตไหวพระ ออกกําลังกาย และยืนสงบนิง่ ) จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามหลกั สูตร การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน การพัฒนาอาชพี จดั กจิ กรรมการทําพมิ เสนนํา้ การทําการบูร การทําเปลนอนจากวสั ดุผา การทาํ นาํ้ ยาเอนกประสงค งานเศรษฐกจิ พอเพียง มีการทาํ น้ํายาไลแมลง การขยาย EM การปุยหมัก การปลกู พชื ปลอด สารพษิ การทําบญั ชคี รวั เรือน กจิ กรรมพฒั นาทักษะชีวติ การทําของใชใกลตัวเพือ่ ใชเอง กจิ กรรมพฒั นาสงั คมและชมุ ชน เพ่อื พัฒนาชุมชนสงั คมและส่งิ แวดลอ ม อยา งไรก็ตาม เพ่ือใหความรไู ดอยางท่ัวถึงและครอบคลมุ กจิ กรรมทีท่ ํา ไดนาํ องค ความรูเ รอ่ื ง ความสขุ 5 มติ ิ มาประยุกต ดังน้ี สุขสบาย สงเสริมการออกกาํ ลังกาย สุขสนุก การรวมกลุมของผูสงู อายุใน วันพระ ทาํ กจิ กรรมจรรโลงใจตา งๆรวมกนั สขุ สงา ผูสูงอายเุ ปน แกนนําในการขับเคลอ่ื นกจิ กรรมตา ง ๆ ในหมบู า น เชน การจัดงานประเพณีตา ง ๆในหมูบา น สขุ สวา ง เยี่ยมเยียนผสู ูงอายุกลุมตดิ บานและติดเตียงโดยภาคเี ครอื ขาย สุขสงบ ทําบญุ นั่งสมาธิ ฝก หายใจคลายเครียดนวดคลายเครียด 3. ขน้ั C=Check : สะทอนการปฏิบตั ิและปรบั ปรงุ การปฏบิ ัติ โดยจดั เปนเวทีแลกเปล่ียนเรยี นรู (ทุกๆ 3 เดอื น) เร่ืองทสี่ าํ เร็จดาํ เนนิ การตอ เรือ่ งที่ไมส าํ เร็จหาแนวทางแกไขรวมกัน มีการถอดบทเรียนจดั ทําเปนรปู เลม คืนขอมลู ใหแกช ุมชน ประเมินโครงการโดยผมู ีสวนไดสว นเสีย โดยใชวธิ กี ารตอบแบบสอบถาม สมั ภาษณ จากการสะทอนการดําเนินงานโรงเรยี นผูส งู อายตุ าํ บลบานเหลา มจี ุดเดนในเรื่องของการบรหิ ารจัดการ เนอื่ งจากโรงเรียนผสู ูงอายุ มีผูบ ริหารทมี่ ีบทบาทในองคก ารบริหารสวนตําบล สามารถประสานงานในดานการสง เสริม สนบั สนุนจากองคการบริหารสวนตําบล จากสาํ นักงาน สสส. จากสํานักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย วัด และจากหนว ยงานภาครฐั บาล ทส่ี ามารถสนับสนนุ เงนิ งบประมาณ สอ่ื วัสดุอปุ กรณ บุคลากร ตลอดจนการอาํ นวย ความสะดวกในการใชส ถานที่ในการจัดกจิ กรรมตางๆ ดว ยดีเสมอมา สําหรบั ปญ หาของโรงเรยี นผสู ูงอายตุ ําบลบา นเหลา สวนใหญจะเกดิ จาก ตัวของผูส งู อายุ เชนการใหค วามสนใจ ในชวงเวลาสั้นๆ การพดู คุยในเวลาสอนหรือใหความรู การหลงลืมสง่ิ ของทต่ี อ งเตรยี มมา เปน ตน แตท างโรงเรียน ผสู ูงอายุตาํ บลบา นเหลา ก็สามารถแกไขปญ หาไดดวยดีเสมอมา 4. ขั้น A-Act: มุงมน่ั ขยายผล มีการตอยอดการทาํ งาน โดยพัฒนาใหมศี นู ยเ รียนรดู านตางๆ ในตาํ บล เชน ศนู ยเรียนรชู มรมผสู ูงอายบุ านเหลา เคร่ืองจกั รสานบา นคา งาม ศูนยเ ศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ตน เปนการ ขยายผลใหมเี ครือขา ยทสี่ ามารถใหความชวยเหลือท้ังดา นงบประมาณ และบุคลากร ในการจดั กจิ กรรมตางๆในชุมน ให สามารถดําเนนิ การไปดว ยความสําเรจ็ ลลุ ว ง ในการขยายผล จะมีตัวเทนของแตละชุมชน เปน หวั หนาเพื่อใหส ามารถตดิ ตอประสานงานกิจกรรมตา งๆ ตลอดจน การขอความรวมมือดานบคุ ลากร ส่ือ วัสดอุ ปุ กรณตางๆ ในการจดั กิจกรรม

โดยมกี รอบแนวคิดโรงเรียนผูสงู อายุ ดังน้ี เครอื ขา ยในชมุ ชน ชมรมผูสงู อายุ อปท./อบต./ภาครัฐ - พมจ. - รพ.สต. - สนับสนนุ ความคดิ สนับสนุน - กศน. - ผูนาํ ทางศาสนา - การทาํ งาน - การดาํ เนินงาน - ศพส. - ชว ยขับเคลื่อน - การประสาน - อาํ เภอ ความรวมมอื - อาสาสมัคร กจิ กรรม เครอื ขาย แผน/กจิ กรรม โรงเรียนผสู ูงอายุ คณะกรรมการดําเนินงาน. กิจกรรมภายในโรงเรยี น * กาย 5ก - กิจกรรมหนา เสาธง * จิต (กลุม/กรรมการ/กตกิ า/ - นนั ทนาการ * อารมณ - ใหความรูดานตา ง ๆ * สงั คม กจิ กรรม/กองทนุ - กิจกรรมฝก อาชพี - กจิ กรรมเศรษฐกจิ พอเพียง คณุ ภาพชีวิตท่ดี ี PDCA ผานกระบวนการ - กิจกรรมทักษะชวี ิต ของผสู ูงอายุ จัดการเรียนรู มีสวนรว ม - กิจกรรมสังคมชมุ ชน ในชุมชน รว มคิด คิดวาถาไมทํา - ถายทอดภูมิปญ ญา - ธรรมชาตบิ าํ บดั จะเกิดอะไร - สมุนไพรเพือ่ สขุ ภาพ ขนึ้ กับผสู ูงอายุ รว มทํา ทําเพื่อใหเกดิ ฯลฯ การพฒั นา กจิ กรรมภายนอกโรงเรียน คณุ ภาพชีวติ - ศาสนา/ประเพณี ของคนทุกวัย - ศึกษาดงู าน รวมสรา ง สรา งชุมชน - เยยี่ มบา น ที่เปนสขุ - เพอื่ นชว ยเพ่อื น ดว ยมอื ของทุก คน - อาสาสมคั ร - เย่ียมเยยี น จากกรอบแนวคดิ ขา งตน ทาํ ใหเกิดโครงสรา งโรงเรียนผสู งู อายตุ ําบลบานเหลา เพื่อทําใหเ กิดการขับเคลอ่ื นการ ดําเนนิ งานโรงเรียนผูสูงอายุใหมีประสิทธิภาพ มีองคประกอบดังน้ี 1. ที่ปรึกษาโรงเรยี นผสู ูงอายุ การตง้ั ทีป่ รึกษาของโรงเรียนผสู งู อายุเปนกลยุทธใ นการสราง การมีสว นรวมจากภาคสวนอื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วของ ใหมสี ว นรว มในการรบั รูก ารดําเนินงานของโรงเรียน และเปน “ใบเบิกทาง” ใหแ กก ารดําเนนิ งานของโรงเรียนผูสงู อายุ ซึง่ มีผลตอ การสรางความนาเชือ่ ถือในการทาํ งาน และถอื เปน การสรา งพนั ธมิตร

ในการทํางานชน้ั เยยี่ ม ทป่ี รึกษาของโรงเรียนผสู งู อายุ อาจเปน ฝายสงฆ ฝายฆราวาส เชน นายอําเภอ ผูบริหารขององคกร ปกครองสว นทอ งถ่นิ นักวชิ าการหรอื ขาราชการเกษียณเปนตน 2. ครใู หญ หรือประธาน หรอื ผูอํานวยการโรงเรยี นผูสูงอายุ องคป ระกอบนี้ เปนสวนสําคัญมาก และถือเปน “หวั ใจ” ของการขับเคล่อื นงาน ผทู ่จี ะทําหนาทเ่ี ปน ครใู หญ หรือประธาน หรือผอู ํานวยการโรงเรยี นผูสูงอายุ สวนใหญเ ปน แกนนําทีเ่ ปน ผรู ิเรม่ิ งานของโรงเรยี นผสู ูงอายใุ นแตล ะพนื้ ทท่ี ่ีไดรบั การยอมรับและศรทั ธาจากกลมุ ผสู งู อายุ ดวยกัน เปนผูมบี ทบาทสาํ คัญในการประสานงานและรังสรรคก จิ กรรมตาง ๆ ของโรงเรียน 3. คณะกรรมการและแกนนํารวมขับเคล่อื น ถือเปนอกี หนึง่ เงื่อนไขของความสาํ เรจ็ เพราะกลไก หลกั ในการเคลื่อนงานของโรงเรยี นผสู ูงอายุ การกําหนดจํานวนคณะกรรมการหรือแกนนํารวมขับเคล่อื นขน้ึ อยูกบั การ แบง หนาท่ี หรอื แบง งานภายในโรงเรยี นผสู งู อายุ 4. ทีมวิทยากรจิตอาสา เปน เอกลักษณที่โดดเดน ประการหน่ึงของโรงเรยี นผูสงู อายุเพราะใชท ุนทางสังคมและ วฒั นธรรมทม่ี ีเปน ตัวต้งั ขับเคลือ่ นทําใหกจิ กรรมตา ง ๆ ของโรงเรยี นดาํ เนนิ ไปตามวัตถุประสงคท ตี่ ั้งไว เชน วทิ ยากรจาก สมาชิกกลมุ ผูส ูงอายดุ ว ยกัน ภูมิปญ ญาชาวบา น ขาราชการบํานาญ พระสงฆ รวมถึงการขอความอนเุ คราะหว ิทยากรจิต อาสาจากหนวยงาน องคกรตาง ๆ ทั้งในลักษณะเครือขายทางสงั คม เชน กศน. ศนู ยพัฒนาฝม อื แรงงาน ศูนยบรกิ ารและ ถา ยทอดเทคโนโลยีการเกษตร รพ.สต. โรงพยาบาล สาํ นกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษยจ ังหวดั แพร องคการบรหิ ารสวนตําบลบานเหลา และองคกรปกครองสวนทอ งถิน่ เปนตน 8. ตัวช้วี ัดความสําเรจ็ 1. ผสู งู อายุไดร ับการเย่ยี มบา นและดแู ลอยางตอเนอ่ื งทุกเดือนโดย สหวิชาชพี และ อสม. 2. ผสู งู อายุหว งใยไมทอดท้งิ กันมีการรวมกลมุ ชว ยเหลือกนั และกนั 3. ผูส งู อายุมสี ุขภาพรา งกายแข็งแรงอยูในสงั คมไดอยา งมคี วามสุข อายุเกนิ 80 ป 4. ผูส งู อายมุ ีความสขุ มีรอยยิ้ม มกี าํ ลงั ใจไมเ ปนโรคซึมเศรา 5. สรา งจิตอาสาในกลุมผสู ูงอายเุ พมิ่ ข้นึ 6. เปนแกนนําดาํ เนินกิจกรรมในชมรมและชุมชน 7. เปนโรงเรียนผูสูงอายตุ น แบบ 9. การประเมินผลและเคร่ืองมอื ประเมนิ ผล ประเมนิ จากแบบสอบถาม กอนเขา รว มกิจกรรม หลังเขา รว มกจิ กรรม การสังเกต การสัมภาษณ ผเู ขา รว มกิจกรรม และความย่ังยนื ของกิจกรรมพรอ มท้ังนําไปใชประโยชนไดจ รงิ 10. ผลการดาํ เนินงาน ระดบั บคุ คล ผสู งู อายมุ ีความรตู ามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต จติ สงั คมและจิต วิญญาณดีขน้ึ ระดับครอบครัว ครอบครวั มีสว นรวมในการดแู ล ผูส ูงอายมุ ากขน้ึ ใหค วามใสใ จ หวงหาอาทร ระดับชุมชน เกิดศาลาสรางสุข ท่ีเปน ศูนยรวมกิจกรรมของผูสงู อายแุ ละคนในชุมชน เกดิ ระบบเฝา ระวังในการชว ยเหลอื กนั เองใน ชมุ ชน 11. บทสรปุ วิธีปฏิบัติเพื่อใหเกิด Best Practice ในการพัฒนาโรงเรียนผูสูงอายุตําบลบานเหลา ยึดหลักการบริหารจัดการ ดวยหลัก 5 ก คอื (1) กลมุ : ตองสรางการรวมกลมุ ผสู งู อายุ กลุม แกนนํา คณะทํางาน และกลมุ นักศึกษา (2) กรรมการ : เปน ตัวแทนทาํ หนาที่ในการบริหารจดั การทาํ งานใหประสบความสําเรจ็ (3) กติกา : มีขอตกลงรวมกัน เหน็ พองตองกนั มีทศิ ทางในการทํางานทช่ี ัดเจน (4) กิจกรรม : ขั้นแรกเนนกิจกรรมในการแกปญหางาย ๆ เมื่อมีประสบการณมากข้ึน จึงเคลอื่ นไปสกู จิ กรรมที่ตอบสนองปญหาและความตอ งการท่มี คี วามซับซอนมากข้ึน (5) กองทนุ : การขบั เคลอ่ื นกิจกรรมอยางมนั่ คงตองเรียนรูว ธิ กี ารหางบประมาณเขา กองทุนโรงเรียนผสู งู อายุ

ในสว นของกระบวนการดําเนินงานในการจัดทาํ โครงการโรงเรียนผูส ูงอายขุ องตาํ บลบา นเหลา ใชก าร มสี ว นรวมของชุมชน โดยยดึ หลักคดิ เอง ทําเอง แกไขปญหาเอง ประสบผลสําเรจ็ ไดดวยตนเอง และ รว มธาํ รงรกั ษาให ยง่ั ยืนดว ยตนเอง โดยใชแนวคิดชุมชนมีสว นรว ม หมนุ ดวยวงลอ PDCA ซ่ึงประกอบดว ย ขั้น P-Plan: วางแผนเตรยี มการ ขน้ั D-Do: ดําเนินงานอยางรอบคอบ โดยใชกระบวนการจดั การเรยี นรอู ยา งมสี ว นรว ม ขน้ั C=Check : สะทอนการปฏิบัติและปรับปรงุ การปฏบิ ัติ ขัน้ A-Act: มงุ ม่ันขยายผล มีการตอ ยอดการทํางาน ผลของการใชแ นวปฏบิ ัตทิ ีด่ ีทําใหเ กิดการพฒั นาระดบั บคุ คล ผูส งู อายมุ คี วามรูตามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน มสี ุขภาพกาย สขุ ภาพจิต จติ สงั คมและจิตวญิ ญาณดีขนึ้ ระดับครอบครัว ครอบครวั มสี ว นรวมในการดแู ล ผูสงู อายมุ าก ขึ้น ใหความใสใ จ หว งหาอาทร ระดบั ชมุ ชน เกิดศาลาสรา งสุข ทเ่ี ปนศนู ยรวมกจิ กรรมของผูสูงอายุและคนในชุมชน เกิด ระบบเฝา ระวงั ในการชวยเหลอื กันเองในชุมชน 12. กลยทุ ธห รอื ปจจยั ทที่ ําใหเกดิ ความสาํ เร็จ 1. มีผูนาํ การเปลีย่ นแปลง ท่ีทุมเท เสียสละ และมีความมุงม่ันท่จี ะสรางสรรคกิจกรรมของโรงเรยี นผูสงู อายุ เปน ปจ จยั หน่งึ ทส่ี ําคญั ของความสําเร็จในการดาํ เนนิ งานของโรงเรียนผูสูงอายุ โดยเฉพาะผนู าํ การเปลี่ยนแปลงท่เี ปน ผสู งู อายุ หรอื ผนู าํ ทางดา นจติ ใจ เชน พระภกิ ษุ เพราะมีผลโดยตรงตอการสรางศรทั ธาใหเกิดขึน้ ท้ังแกผ ูสงู อายุทเ่ี ปนสมาชกิ ของ โรงเรยี น หนว ยงาน และองคกรตา ง ๆ ซ่งึ เปนทมี่ าของความรวมมอื และการสนบั สนุนการดําเนนิ งานของโรงเรียน 2. มเี ปา หมายชัดเจนและมีการจัดกจิ กรรมอยางตอเนือ่ ง การกาํ หนดเปา หมายทชี่ ดั เจน ถอื เปนการกาํ หนดทศิ ทางการทํางานทสี่ รางความเขาใจรว มกันในหมูคณะกรรมการหรือแกนนาํ จะเปน พลงั ท่ีเขมแข็งในการทาํ งานรว มกันและ การจดั ใหม ีกิจกรรมอยา งตอเน่อื งเปน ประจํา ถอื เปน กลไกในการเชอ่ื มรอยความเปนกลมุ และความเปน ชุมชนของ ผูสงู อายุใหเ กดิ ขน้ึ ซงึ่ สงผลใหเกดิ ความรว มมือรวมใจ ในการขับเคล่ือนงานโรงเรียนผูส งู อายุใหบ รรลผุ ล 3. มีสว นรว ม การมีสวนรวมจะทําใหเกดิ ความผูกพันและความรสู ึกเปน เจาของรว มกนั กลไกท่ีทาํ ใหส มาชิกมสี ว น รว มท้ังทเี่ ปน ทางการและไมเปนทางการ เชน การประชมุ ประจาํ เดือน การสรางเวทีในการพูดคุยแลกเปลยี่ นความคิดเห็น การรว มกันดําเนนิ งาน 4. มีเครอื ขายทางสังคมทเี่ ขมแขง็ การสรา งเครือขายทางสงั คมท่เี ขมแขง็ อาจพิจารณาได 2 ระดับ คือ การสราง เครือขายทางสงั คมภายในกลุมหรอื ในหมสู มาชิกของโรงเรียนผสู ูงอายดุ วยกนั เชน ในรูปแบบคณะกรรมการ หรือการมี ตวั แทนในแตละหมูบ าน และการใหค วามสําคญั กบั การสรางเครอื ขา ยกับหนว ยงาน องคกรภายนอก เพอื่ ประสานพลังใน การทาํ งานรวมกนั 5. มกี ารเรียนรูและพฒั นาการดําเนินงานอยางตอเน่ือง โดยการทบทวนตนเองและสรุปบทเรียนในการทํางาน เปนระยะ เรียนรูจดุ แขง็ จุดออน ขอ ทคี่ วรพฒั นาใหด ีขึน้ และนาํ มาพัฒนากระบวนการทํางานอยา งตอ เน่ือง 6. มอี งคกรปกครองสวนทองถิ่นหนุนเสรมิ การสนบั สนนุ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน งบประมาณ บุคลากร สถานที่ การประสานเครอื ขาย เปนอีกหนง่ึ ปจจัยท่สี าํ คัญที่จะผลกั ดันใหการเคลือ่ นงานของโรงเรียนผสู งู อายุ เกดิ ข้นึ ได และดําเนินการไปอยางราบรนื่ 13. ขอ เสนอแนะ โรงเรยี นผสู งู อายุจะประสบผลสาํ เรจ็ หรอื มคี วามกา วหนา อยางยงั่ ยืน ตองอาศยั ความรวมมอื จาก ทุกภาค สว น รวมถึงงบประมาณทใ่ี ชใ นการดําเนินการตอ งมีการจดั สรรอยา งเปนระบบ จะทําใหโรงเรียนผูสูงอายมุ ีพัฒนาการท่ดี ี ขน้ึ ดง้ั นนั้ ผูนําชมุ ชน และผเู กี่ยวขอ ทุกทานควรมคี วามสามคั คี รว มมือ รว มใจกนั อยางสมา่ํ เสมอ 14. การอางอิง คูมือการดําเนินงานการจัดต้งั โรงเรียนผูสงู อายุของกระทรวงพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย(พม.)

ภาคผนวก

กจิ กรรมหนา เสาธง การเคารพธงชาติ การรอ งเพลงชาติ การสวดมนตไ หวพ ระ การแผเมตตา การออกกําลังกาย

กิจกรรมการเรียนการสอนในหองเรยี น การตรวจเช็คจาํ นวนผเู รยี น การนําเขาสูบทเรียน กจิ กรรมนันทนาการ การเรยี นการสอนการเรียนรูวชิ าการ จากหนวยงานเครือขา ย เชน กศน. โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพชมุ ชนตําบล วทิ ยาลัยสารพดั ชา ง เปน ตน

กจิ กรรมการพฒั นาทกั ษะชีวิต คุณภาพชวี ิตผสู ูงอายุ : ดานสุขภาพรางกาย สขุ ภาพจิต กิจกรรมการพฒั นาทักษะชีวิต คณุ ภาพชีวติ ผูส งู อายุ : ดา นความรู ดานอาชีพ

กจิ กรรมนนั ทนาการ : การสรา งความคุนเคย ความสามัคคี การมสี วนรว ม ความสนุกสนาน และดา นอารมณ

กจิ กรรมความบนั เทงิ : สะลอซอซงึ

กจิ กรรมการเรยี นการสอน : การฝกดา นสมอง ความคิด ความจาํ และทกั ษะชวี ติ กจิ กรรมการตอ นรับการศึกษาดูงาน จากหนว ยงานตางๆ



กจิ กรรมการพฒั นาอาคารสถานท่ี

การสง เสรมิ ขนบธรรมเนยี มประเพณี

กจิ กรรมการใหค วามรูของหนว ยงาน ภาคเี ครือขา ย

บันทกึ ขอ ความ สว นราชการ ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอสูงเมน ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๕๕๐๗/ วันที่ เดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เร่ือง ขอสง กิจกรรมทเี่ ปน Best Practice ของนายวิทยา ปน ตา ครอู าสาสมคั รฯ เรียน ผูอ ํานวยการศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอสงู เมน ตรวจเสนอ ๑.เร่ืองเดมิ ตามท่ศี ูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอสงู เมน ไดใ หคณะครใู นสงั กดั ดําเนิน กิจกรรมในพื้นท่ี ท่ีรับผิดชอบ โดยกําหนดใหมีกจิ กรรมเดน ของแตละตําบล ท่ีสามารถเปนแบบอยา งใหกบั ผูอ่ืนได ศึกษาหาความรู นั้น ....../........./...... ๒.ขอ เทจ็ จริง . บัดน้ี นายวทิ ยา ปนตา ครอู าสาสมคั รฯ ประจาํ โซนตําบลรองกาศ ตําบลบานกาศ ตําบลบา นเหลา ไดจ ัดทาํ Best Practice กจิ กรรมท่โี ดดเดนเปนแนวทางในการศึกษาหาความรใู หก ับผูอนื่ ไดแกเ ร่ือง พฒั นาการตอเนื่อง ของโรงเรียนผสู ูงอายุตําบลบานเหลา ตามเอกสารทแ่ี นบมาพรอมนี้ ๓. ขอ เสนอเพ่ือพจิ ารณา จงึ เรียนมาเพื่อโปรด ๓.๑ ทราบ ๓.๒ พจิ ารณาดําเนินการตอไป (นายวิทยา ปนตา) ครอู าสาสมคั รฯ

....................................................... ผรู ายงาน (นายวิทยา ปนตา) ครอู าสาสมคั รฯ ขอเสนอแนะ ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ……………………………………… (นางสาวอรณุ ี พันธพุ าณชิ ย) ผอู ํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอสงู เมน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook