Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

Published by pochtagorn25, 2020-06-12 03:06:32

Description: เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี ๑

ศุภมัสดุศักราช ๗๑๒ ปี ขาล โทศก ๖ ๖ ฯ ๕ เพลา ๓ นาฬิกา ๙ บาท สถาปนากรุงศรีอยุธยา

๔ ๕ ศุภมสั ดุศักราช ๗๑๒ ปี ขาล โทศก ๓๖ ๖๒ ๖ ฯ ๕ เพลา ๓ นาฬิกา ๙ บาท สถาปนากรุงศรีอยุธยา ๑

๑ สถาปนากรุงศรีอยุธยา บอกยุคสมัย วิธีการแบ่งยุค - สมยั ประวัตศิ าสตร์ - ลักษณะการแบ่งเป็ นแบบ “ แบ่งตามราชธานี

๒ เพลา ๓ นาฬิกา ๙ บาท - การนับเวลาแบบไทย - ๑ วัน ประกอบด้วย ช่วงเวลา ท่มุ โมง ยาม ตี - คาว่า “ บาท ” ใช้แทนการบอกเป็ น นาที - ๑ ช่ัวโมง = ๑๐ บาท ๑ บาท = ๖ นาที

๓ ๖ ๖ฯ๕ - เคร่ืองหมาย ฯ เรียกว่า ค่นั เด่ยี ว - ตวั เลขท่อี ยู่ข้างบนของ ฯ หมายถงึ ข้างขนึ้ - ตัวเลขท่อี ยลู ่างบนของ ฯ หมายถงึ ข้างแรม - ตวั เลขท่อี ยู่ข้างหน้าของ ฯ หมายถงึ วนั - ตวั เลขท่อี ยู่ข้างล่างของ ฯ หมายถงึ เดอื นไทย

ปี จุลศักราชท่ี เอกศก ๔ ลงท้ายเลข ๑ เรียก โทศก ๗๑๒ โทศก ลงท้ายเลข ๒ เรียก ตรีศก ลงท้ายเลข ๓ เรียก จตั วาศก ลงท้ายเลข ๔ เรียก เบญจศก ลงท้ายเลข ๕ เรียก ฉศก ลงท้ายเลข ๖ เรียก สัปตศก ลงท้ายเลข ๗ เรียก อัฐศก ลงท้ายเลข ๘ เรียก นพศก ลงท้ายเลข ๙ เรียก สัมฤทธิศก ลงท้ายเลข ๐ เรียก

๕ ศุภมัสดุศกั ราช - ศกั ราช ๑ ) พุทธศักราช ๒ ) มหาศักราช ๓ ) จุลศกั ราช ๔ ) รัตนโกสนิ ทร์

๖ ปี ขาล - ปี นักษัตร - รอบหน่ึงมี ๑๒ ปี - ชวด ฉลู ขาล เถาะ มะโรง มะเส็ง มะเมีย มะแม วอก ระกา จอ กุน

- การนับเวลาแบบไทย

การนับเวลาแบบไทย - การนบั เวลาในรอบวนั - นบั ยามกลางคนื - การบอก วนั เดือน ขนึ ้ แรม - การนบั ปีนกั ษัตร การนับเวลา การเทยี บศักราช - พทุ ธศกั ราช - คริสตศกั ราช - มหาศกั ราช - จลุ ศกั ราช -ฮิจเราะห์ศกั ราช - รัตนโกสนิ ทร์ศก ทศวรรษ ( Decade ) ศตวรรษ ( Century ) สหสั วรรษ ( Millennium)

การนับเวลาแบบไทย - การนับเวลาในรอบวัน - การนับยามกลางคืน - การบอก วัน เดอื น ขนึ้ แรม - การนับปี นักษัตร

การนับเวลาแบบไทย - การนับเวลาในรอบวัน - โมง ท่มุ ยาม ตี - ย่าค่า ย่ารุ่ง 12 - เท่ยี งวนั เท่ยี งคืน(สองยาม) 93 6

การนับเวลาแบบไทย - มาจากการเปล่ียนเวรทกุ - การนับยามกลางคืน ๓ ช่ัวโมง ยา1ม2 ๒ - จนี เรียกว่า “ ช่ัวยาม ” ๑ วัน = ๑๒ ช่ัวยาม 9 ยาม ๑ ยาม ๓ 3 ๑ ยาม = ๒ ช่ัวโมง ยาม ๔ 6

การนับเวลาแบบไทย - การบอก วัน เดอื น ขนึ้ แรม ขนึ้ ๑-๑๕ ข้ างขนึ ้ ฯวัน ๑-๗ เดอื น๑-๑๒ วัน ฯ เดือน แรม ๑-๑๕ ข้างแรม

การนับเวลาแบบไทย - การนับปี นักษัตร

- ศักราชและการเทยี บเวลา

ศักราชและการเทยี บเวลา พ.ศ. ค.ศ. ม.ศ. ฮ.ศ. จ.ศ. ร.ศ.

ศกั ราช พุทธศกั ราช Buddhist Era = B.E. - แบบศรีลังกา - แบบไทย - มีหลักฐานการใช้มาตัง้ แต่สมัย สมเดจ็ พระนารายณ์ - รัชกาลท่ี 6 ประกาศใช้แทน ร.ศ. - วันปี ใหม่เร่ิม 1 เมษายน เปล่ียนเป็ น 1 มกราคม สมัยจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม

ศกั ราช พทุ ธศกั ราช Buddhist Era = B.E. - การย้อนเวลา 450 - 250 ปี พ.ศ.1 พ.ศ. ๒๕๕๖ ก่อนพุทธศักราช

ศกั ราช คริสต์ศักราช Christian Era = A.D. A.D. Anno Domini [ in the year of our lord ] 2003 A.D. หรือ A.D.2003

ศักราช มหาศกั ราช = ม.ศ. Shaka Era - พระเจ้ากนิษกะ ( อนิ เดยี ) - อินเดีย เขมร สุโขทยั - ไทยรับจากเขมร - ( การคานวณทางโหราศาสตร์ จารึก ตานาน ) - ก่อนสุโขทยั ถงึ สุโขทยั

ศกั ราช จุลศักราช = จ.ศ. - พม่า - กาเนิดศกั ราชสมัยพระเจ้าบุพพโสระหนั - ปรากฏหลักฐานในไทย จารึก ตานาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ - เลิกใช้ในรัชกาลท่ี 5 เปล่ียนไปใช้ ร.ศ. - จลุ ศักราชจะบอกปี นักษัตร และศกั ราชลง ท้ายด้วยเลขอะไร

ศกั ราช รัตนโกสนิ ทรศก = ร.ศ. - รัชกาลท่ที รงตงั้ ขนึ้ - โดยนับร.ศ. 1 ตัง้ แต่การก่อตงั้ กรุง รัตนโกสนิ ทร์ - กาหนดวันท่ี 1 เมษายน เป็ นวันแรกแห่งปี ศกั ราช

ศักราช ฮิจเราะห์ศักราช = Hijrah Era - A.H. Anno Hijah - นับแต่พระนบีมูฮัมมัดอพยพพวกมุสลมิ จาก เมืองมกั กะฮ์ ไปยงั มะดีนะฮ์ - มีความต่างในการนับเพาะนับด้วย ระบบจนั ทรคติ

ศักราชและการเทยี บเวลา พ.ศ. – 621 = ม.ศ. พ.ศ. – 1181 = จ.ศ. พ.ศ. – 2324 = ร.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ. พ.ศ. – 1122 = ฮ.ศ.

ทศวรรษ รอบ 10 ปี ศกั ราชท่ลี งท้ายด้วย 0 – 9 ทศวรรษ 2500 หมายถงึ พ.ศ. 2500-2509 ทศวรรษ 2000 หมายถงึ ค.ศ. 2000-2009

ศตวรรษ รอบ 100 ปี ศักราชท่ลี งท้ายด้วย 01 - 00 พทุ ธศตวรรษ 26 หมายถงึ 2501 - 2600 คริสต์ศตวรรษ 20 หมายถงึ 1901 - 2000

สหสั วรรษ รอบ 1000 ปี สหสั วรรษ 3 หมายถงึ ค.ศ. 2001 - 3000

2 1 3

2 3 เฉลย 1

3 1 2

3 1 2

การแบ่งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ไทย

สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ยุคหนิ หนิ เก่า หนิ กลาง หนิ ใหม่ ยุคโลหะ สาริด เหลก็

การแบ่ งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ไทย หนิ เก่า Paleolithic Period -กะโหลกศีรษะแบน หน้าผากลาด -ดารงชีวติ ด้วยการล่าสัตว์เกบ็ อาหารตามธรรมชาติ -เร่ร่อนไปตามฝูงสัตว์ ไม่มีถ่นิ ฐานแน่นอน -อาศัยอยู่ในถา้ และท่รี าบริมนา้

การแบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ไทย หนิ เก่า Paleolithic Period มีการเขียนภาพฝาผนัง ใช้เคร่ืองมือหนิ แบบหยาบๆ เป็ นช่วงเวลายาวนานท่สี ุดในประวัตศิ าสตร์มนุษย์  สังคมจงึ มสี ภาพเป็ นอนาธิปัตย์

หนิ เก่า

หนิ เก่า

หนิ เก่า

การแบ่งยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ไทย หนิ กลาง Mesolithic Period - ล่าสัตว์ รู้จกั การเพาะปลูก ทาเคร่ืองปั้นดนิ เผา - เร่ร่อนตามแหล่งสมบรู ณ์ เลือกอยู่ตามแหล่งนา้ - ทาประมง ล่าสัตว์ - เคร่ืองมือหนิ กะเทาะ - เร่ิมการเพาะปลูก

การแบ่งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ไทย หนิ กลาง Mesolithic Period - หนิ กะเทาะมีความประณีตกว่ายุคแรก เรียกว่า ฮัวบนิ เนียน Hoabinhian ( เวียดนาม ) - ดารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ จับสัตว์ เกบ็ พืชผักผลไม้ ป่ าเป็ นอาหาร - เร่ิมตัง้ ถ่นิ ฐานช่ัวคราว - เร่ิมต้นการเกษตร

หนิ กลาง

หนิ กลาง

การแบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ไทย หนิ ใหม่ Neolithic Period -เคร่ืองมือหนิ ขัด ( ขวานฟ้า / เสียมตุ่น ) -เคร่ืองปั้นดนิ เผา หม้อ ไห จาน ชาม เคร่ืองประดับ -สร้ างบ้ านเรือนใกล้ แหล่ งเพาะปลูก -รวมตวั กนั มากขนึ้ กลายเป็ นชุมชนใหญ่

การแบ่งยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ไทย หนิ ใหม่ Neolithic Period -ยุคแห่งเกษตรกรรม พชื สาคัญคือ ข้าว -เปล่ียนแปลงจากอย่ทู ่สี ูงมาอย่บู นท่รี าบใกล้แหล่งนา้ -ตัง้ ถ่นิ ฐานถาวร -สังคมมีความซับซ้ อนมากขนึ ้

หนิ ใหม่

หนิ ใหม่

การแบ่งยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ไทย ยุคสาริด Bronze Age เคร่ืองมือเคร่ืองเป็ นสาริด ( ทองแดง+ดีบุก)  ทอผ้า สังคมเกษตรกรรม ชุมชนใหญ่ กลายเป็ น “ นครรัฐ ”

ยุคสาริด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook