Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนดรุณานุเคราะห์ ในสภานการณ์โควิด

คู่มือการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนดรุณานุเคราะห์ ในสภานการณ์โควิด

Published by Nungruethai Praprutkit, 2021-06-17 07:37:04

Description: คู่มือการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนดรุณานุเคราะห์ ในสภานการณ์โควิด

Search

Read the Text Version

การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ ที่เกิดขึ้นอีกตั้งแต่ช่วงเดือนเมษายน 2564 จนถึงปัจจุบัน ทวีความรุนแรงขยายวงกว้างเกิดการเจ็บป่วย และสูญเสียชีวิตจำนวนมาก ทำให้ ประชาชนทุกครอบครัวทุกชุมชนทุกองค์กรทุกหน่วยงานได้รับผลกระทบ ต่อวิถีการดำเนินชีวิต ความเป็นอยู่ยากลำบาก ระมัดระวังความเสี่ยง และป้องกันการติดเชื้อโรค ดังนั้น ในโอกาสเปิด ภาคเรียนของสถานศึกษา จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญอย่างยิ่ง ในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ทราบ ถงึ ความจำเปน็ ในการเตรียมความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรียน ในการเฝา้ ระวงั ด้วยการประเมินตนเอง ของสถานศึกษาและบุคลากรท้ังนักเรียน ครูและ ผ้ทู เี่ ขา้ มาในสถานศึกษา อาทิประเมินความเสี่ยง ผ่าน Thai Save Thai (TST) ประเมินความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ผ่าน Thai Stop Covid (TSC) ยกระดบั มาตรการ ความปลอดภยั มน่ั ใจสุขอนามยั ไร้โควดิ -19 และกำกับติดตามประเมินผล รวมถึงสื่อสาร รอบรู้สุขภาพสูโ้ ควิด-19เป็นต้น ล้วนแต่เป็นประโยชน์สำหรับสถานศึกษาจะต้องถือ ปฏิบัติ ตามอย่างเข้มข้น เข้มงวด และเข้มแข็งต่อเนื่องจนกว่าสถานการณ์คลี่คลายดีขึ้นกลับสู่ สภาวะปกติ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวปฏิบัติฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับสถานศึกษา ครู บคุ ลากร และผเู้ ก่ียวขอ้ ง สามารถนำไปใช้เป็นแนวปฏบิ ัติไดอ้ ย่างมีคณุ ค่า คู่มือการปฏิบัติงานโรงเรียนดรุณานุเคราะห์ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19” เพื่อเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั สิ ำหรับนกั เรยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ดำรงชีวติ อยู่ใน โรงเรียนได้อย่างปลอดภัย โดยมีสาระสำคัญ ประกอบด้วย การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาค เรียน แนวปฏิบัติสำหรับบุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ผู้บริหาร เจ้าของสถานศึกษา ครู ผู้ดูแล นักเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้จำหน่ายอาหาร ผู้ปฏิบัติงานทำความสะอาด การจัดการด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อมบริเวณต่าง ๆ ตลอดจนขั้นตอนการคัดกรองและส่งต่อแบบประเมินตนเอง สำหรับสถานศึกษาและนักเรียน แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียน การจัดการเรียน การสอนชว่ งเปิดภาคเรยี น เป็นตน้ โรงเรียนมุ่งหวังให้“คู่มือการปฏิบัติงานโรงเรียนดรุณานุเคราะห์ในการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคโควดิ -19” ฉบบั น้ี เป็นแนวทางในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และ ครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา สามารถปฏิบัติหน้าที่ขณะที่อยู่ในโรงเรียนได้อย่างมี ความสุข และปลอดภยั คณะผู้จัดทำ พฤษภาคม 2564

 ความรูเ้ ก่ียวกับโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 1  สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ –19 2  แนวปฏบิ ัตยิ กระดบั ความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามยั 3 ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษาเพ่ือเตรียม ความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น 1. การประเมินความเส่ียง ผา่ น Google Form 3 2. การเตรียมความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรียน (Reopening) 5 3. การประเมนิ ตนเองเตรียมความพรัอม กอ่ นเปิดภาคเรยี น 6 ผ่าน Thai Stop Covid 4. มาตรการปอ้ งกันการะแพร่ระบาดก่อนเปิดภาคเรยี น 10 5. รูปแบบและแนวทางการจดั การเรียนการสอน 14  ภาคผนวก  เอกสารอ้างองิ

1 โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คืออะไร โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coroavirus Disease 2019 : COVID-19) เปน็ ตระกลู ของ ไวรัสที่ก่อให้เกิดอาการป่วยตั้งแต่โรคไข้หวัดธรรมดา ไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรค ระบบทางเดนิ หายใจในตะวันออกกลาง (MERS - CoV) โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS - CoV) เป็นต้น ซึ่งเป็นสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ ก่อให้เกิดอาการป่วย ระบบทางเดนิ หายใจในคน และสามารถแพร่เช้ือจากคนสู่คนได้ โดยเช้อื ไวรัสน้ีพบการระบาด ครั้ง แรกในเมอื งอู่ฮ่นั มณฑลหูเปย่ ์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในชว่ งปลายปี 2019 หลังจากนน้ั ได้มกี าร ระบาดไปทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงตั้งชื่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่นี้ว่า โรค COVID-19 อาการของผปู้ ว่ ยโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อาการทั่วไป ได้แก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจ ลําบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจทำให้เกิด ภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอกั เสบ ไตวาย หรืออาจเสียชวี ิต โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แพรก่ ระจายเชอื้ ได้อยา่ งไร โรคชนิดนี้มีความเป็นไปได้ที่มีสัตว์เป็นแหล่งรังโรค ส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการ สัมผัส กบั ผู้ติดเช้ือผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ นำ้ มกู น้ำลาย ปัจจบุ นั ยังไม่มีหลกั ฐาน สนับสนนุ การ แพร่กระจายเชื้อผ่านทางพื้นผิวสัมผัสที่มีไวรัส แล้วมาสัมผัสปาก จมูก และตา สามารถแพร่เชื้อ ผา่ นทางเช้ือทีถ่ ูกขับถา่ ยออกมากบั อุจจาระเขา้ สูอ่ กี คนหนง่ึ โดยผ่านเข้าทางปาก ไดด้ ว้ ย โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รกั ษาไดอ้ ย่างไร ยังไม่มียาสำหรับป้องกันหรือรักษาโรคโควิด-19 ผู้ที่ติดเชื้ออาจต้องได้รับการรักษาแบบ ประคับประคองตามอาการ โดยอาการที่แสดงแตกต่างกัน บางคนรุนแรงไม่มาก ลักษณะเหมือน ไข้หวัดทั่วไป บางคนรุนแรงมาก ทำให้เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ร่วมกับ การรักษาด้วยการประคับประคองอาการจนกว่าจะพ้นอาการช่วงนั้น และยังไม่มียาตัวใด ที่มี หลักฐานชดั เจนว่า รักษาโรคโควิด-19 ไดโ้ ดยตรง

2 สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษา สถานศึกษา ต้องเตรียมตัวให้พร้อมในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่สอดรับกับมาตรการป้องกัน การ ระบาด พร้อมกับเตรียมมาตรการต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้เรียนไดร้ ับผลกระทบจากรูปแบบ การ เรียนที่เปลี่ยนไป ในช่วงการระบาดระลอกที่ผ่านมาโรงเรียนมีมาตรการปิดโรงเรียน เพื่อลดช่อง ทางการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส แต่การปิดโรงเรียนส่งผลให้นักเรียนส่วนใหญ่ เสียโอกาสในการ เรียนรู้โดยเฉพาะนักเรียนในครอบครัวที่มีฐานะยากจน ที่มีรายได้ไม่มากพอ ในการสนับสนุนการ เรียนของเด็กเพิ่มเติม และการปิดโรงเรียนอาจทำให้เด็กกลุ่มนี้ออกจาก ระบบการศึกษาซึ่งจะ ก่อให้เกิดผลเสียต่อชีวิตเด็กในระยะยาวจากผลการสำรวจอนามัยโพล ประเด็น “ความรู้สึกกังวล ต่อสถานการณ์โควิด-19 และการเปิดเรียนเดือนมิถุนายน 2564” ระหว่างวันท่ี18-24 พฤษภาคม 2564 พบว่า ผู้ปกครองมีความกังวลต่อสถานการณ์โควิด-19 สูงถึงร้อยละ95.6 โดยประเด็นที่มี ความกังวลสูง3อันดับแรก คือ การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ของครูและนักเรียน ร้อยละ 33.1 การจัดภาพแวดล้อมในสถานศึกษา 22.8 และโรงเรียน ต้องผ่านเกณฑ์ประเมินความพร้อมของ สาธารณสุขร้อยละ15.3 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่จำเป็น คือ การวางแนวทางเปิดโรงเรียน เพื่อให้เด็กได้ไปโรงเรียนอีกครั้ง โดยให้สอดคล้องกับ ระดับความรุนแรงของสถานการณ์ควบคู่กับ การใช้มาตรการทางดา้ นสาธารณสขุ และ มาตรการทางสังคมอย่างเครง่ ครดั

3 ข้อปฎิบตั เิ ตรยี มความพร้อมเปิดเรียน Black To School 1. การประเมินความเสย่ี ง ผ่าน Google Form ครู นกั เรยี น และบุคลากรทุกคน ทำการประเมินความเส่ยี งผา่ น Google form

4

5 2. การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรยี น (Reopening) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทุก ประเทศทั่วโลกทวีความรุนแรงขยายวงกว้างต่อเนื่อง อัตราป่วยและเสียชีวิตมากขึ้น ตามลำดับ รวมถึงประเทศไทยมีการแพร่ระบาดของโรคขยายวงกว้างทุกจังหวัดทั่วประเทศ ตามสถานการณ์ ความเสย่ี งแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล จะทวคี วามรนุ แรงมากข้ึน ส่งผล ให้ประชาชนทุกครอบครัวทุกชุมชนทุกองค์กรทุกหน่วยงาน ได้รับผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความ เป็นอยู่อย่างมาก บางส่วนมีอาการรุนแรงต่อชีวิต รวมถึงกิจกรรมทางการศึกษา กรณีเปิดทำการ เรียนการสอนสำหรับนักเรียนนักศึกษา จึงต้องมีข้อกำหนดให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อน เปิดภาคเรียน (Reopening) แบบเข้มข้น ตามกรอบแนวทาง 6 มิติ ประกอบด้วย 1) ความ ปลอดภัยจากการลด การแพร่เชื้อโรค 2) การเรยี นรู้ 3) การครอบคลุมถงึ เด็กด้อยโอกาส 4) สวัสดิ ภาพและการคุ้มครอง 5) นโยบาย 6) การบริหารการเงิน (ที่มา : องค์การเพื่อเด็กแห่ง สหประชาชาติและองค์กรภาคี) ตามคู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคโควิด-19, 2563 กรมอนามัย

6 3. การประเมนิ ตนเองเตรียมความพรอั ม ก่อนเปิดภาคเรียนผ่าน Thai Stop Covid สถานศึกษาทำการประเมินตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ผ่าน Thai Stop Covid กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข หรอื MOE (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ ตาม แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาจำนวน 44 ข้อ ประกอบดว้ ย มติ ทิ ่ี 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพรเ่ ชอ้ื โรค

7 1. มีมาตรการคัดกรองวัดไข้ ให้กับนักเรียน ครู และผู้เข้ามาติดต่อ ทุกคน ก่อนเข้า สถานศกึ ษา 2. มีมาตรการสังเกตอาการเสี่ยงโควิด 19 เช่น ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ เหนื่อยหอบ หายใจ ลำบาก จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รู้รส พร้อมบันทึกผล สำหรับนักเรียน ครู และผู้เข้ามาติดต่อ ทุกคน ก่อนเข้าสถานศึกษา 3. มนี โยบายกำหนดให้นักเรยี น ครู และผู้เขา้ มาในสถานศกึ ษาทุกคน ตอ้ งสวมหน้ากากผ้า หรอื หน้ากากอนามยั 4. มีการจัดเตรียมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย สำรองไวใ้ ห้กับนกั เรยี น รอ้ งขอ หรอื ผทู้ ่ี ไม่มหี น้ากากเข้ามาในสถานศกึ ษา 5. มจี ดุ ลา้ งมอื ด้วยสบู่ อยา่ งเพยี งพอ 6. มีการจัดวางเจลแอลกอฮอล์สำหรับใช้ทำความสะอาดมือ บริเวณทางเข้าอาคารเรียน หน้าประตูห้องเรียนทางเข้าโรงอาหาร อยา่ งเพยี งพอ 7. มีการจัดโต๊ะเรยี น เก้าอี้นั่งเรียน ทีน่ ั่งในโรงอาหาร ที่น่ังพัก โดยจดั เว้นระยะหา่ งระหว่าง กนั อย่างนอ้ ย 1-2 เมตร (ยดึ หลกั Social distancing) 8. มีการทำสัญลกั ษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจนในการจัดเวน้ ระยะห่างระหวา่ งกนั 9. กรณีห้องเรียนไม่สามารถจัดเว้นระยะห่างตามทกี่ ำหนดได้ มกี ารสลบั วันเรียนของแต่ละ ช้ันเรียนหรือการแบง่ จำนวนนักเรียน 10. มีการทำความสะอาดหอ้ งเรียน ห้องตา่ ง ๆ และอุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการเรียนการสอน ก่อน และหลงั ใชง้ านทกุ ครั้ง เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งดนตรี อุปกรณ์กฬี า 11. มีการทำความสะอาดบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงร่วม ทุกวัน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ราวบันได ลิฟต์ กลอนประตู มือจับประตู - หน้าต่าง 12. มถี ังขยะแบบมีฝาปิดในห้องเรยี น 13. มกี ารปรับปรุงซ่อมแซมประตู หนา้ ตา่ ง และพดั ลมของห้องเรยี น ใหม้ สี ภาพการใช้งาน ไดด้ ี สำหรบั ใชป้ ดิ - เปดิ ให้อากาศถ่ายเทสะดวก 14. มกี ารแบง่ กล่มุ ย่อยนักเรียนในห้องเรยี นในการทำกจิ กรรม 15. มีการปรบั ลดเวลาในการทำกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ภายหลงั การเขา้ แถวเคารพธงชาติ 16. มกี ารจดั เหลอ่ื มเวลาทำกจิ กรรมนักเรยี น เหลอ่ื มเวลากินอาหารกลางวนั 17. มีมาตรการใหเ้ วน้ ระยะหา่ งการเข้าแถวทำกิจกรรม

8 18. มีการกำหนดให้ใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น เช่น แก้วน้ำ ช้อน ส้อม แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน ผ้าเช็ดหนา้ 19. มหี อ้ งพยาบาลหรอื พน้ื ท่สี ำหรบั แยกผมู้ ีอาการเส่ยี งทางระบบทางเดินหายใจ 20. มีนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ จิตอาสา เป็นอาสาสมัคร ในการช่วยดูแลสุขภาพเพื่อน นักเรยี นด้วยกนั หรอื ดูแลร่นุ น้อง มติ ทิ ่ี 2 การเรยี นรู้ 21.มีการติดป้ายประชาสัมพันธ์แนะนำการปฏิบัติเพื่อสุขอนามัยที่ดี เช่น วิธีล้างมือที่ ถูกต้อง การสวมหน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เป็นต้น หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับ โรคโควิด 19 22.มีการเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนโดยคำนึงถึงการเรียนรู้ตามวัยและ สอดคลอ้ งกบั พัฒนาการดา้ นสังคม อารมณ์ และสติปัญญา 23.มีมาตรการกำหนดระยะเวลาในการใช้สื่อออนไลน์ในสถานศึกษา ในเด็กเล็ก (ประถม) ไม่เกนิ 1 ชวั่ โมงต่อวัน และ ในเดก็ โต (มัธยม) ไมเ่ กิน 2 ช่วั โมงตอ่ วัน 24. มีการใชส้ อื่ รอบรูด้ า้ นสขุ ภาพผ่านช่องทาง Social media เชน่ Website , Facebook , Line , QR Code , E-mail มิติที่ 3 การครอบคลมุ ถงึ เดก็ ดอ้ ยโอกาส 25. มีการเตรียมหนา้ กากผา้ สำรองสำหรบั เดก็ เลก็ 26. มีการปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทการเข้าถึงการเรียนรู้ใน สถานการณ์การระบาดของโรคโควดิ 19 27. มีมาตรการส่งเสริมให้นักเรยี นได้รบั บริการสุขภาพขั้นพ้ืนฐานอย่างทวั่ ถงึ 28. มีมาตรการการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมของที่พักและเรือนนอนให้ถูก สุขลักษณะ พรอ้ มมตี ารางเวรทุกวัน (กรณมี ีที่พักและเรือนนอน) 29. มีมาตรการการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติการ ปฏิบัติดา้ นศาสนกิจพร้อมมีตารางเวรทกุ วัน (กรณมี ีสถานทีป่ ฏิบตั ศิ าสนากิจ) 30. มีมาตรการดูแลนักเรียนที่มีความบกพร่องด้านพัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้าน พฤติกรรมอารมณ์ รวมถึงภาวะสมาธิสนั้ และเด็กออทสิ ตกิ ที่สามารถเรียนร่วมกับเด็กปกติ มติ ิที่ 4 สวัสดภิ าพและการคุม้ ครอง 31. มีการจัดเตรียมแผนรองรับการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนป่วย กักตัว หรือ กรณปี ดิ โรงเรียน

9 32. มีการจัดเตรียมแนวปฏิบัติการสื่อสารเพื่อลดการรังเกียจและการตีตราทางสังคม (Social stigma) 33. มีการจัดเตรียมแนวปฏิบัติด้านการจัดการความเครียดของครูและบุคลากรของ สถานศกึ ษา มติ ิท่ี 5 นโยบาย 34. มีการตรวจสอบประวตั ิเส่ยี งของนกั เรียนและบุคลากร รวมทัง้ ตรวจสอบเรอื่ งการกักตัว ให้ครบ 14 วนั กอ่ นมาทำการเรียนการสอนตามปกติ และทกุ วนั เปดิ เรยี น 35. มีการกำหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรที่สงสัยติด เชอ้ื หรอื ป่วยด้วยโรคโควดิ 19 โดยไม่ถอื เป็นวันลาหรือวันหยดุ เรยี น 36. มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความรู้การป้องกันโรคโควิด 19 แก่นักเรียน ครู บุคลากร และผู้ปกครอง โดยการประชุมชี้แจงหรือผ่านช่องทางต่าง ๆ อย่างน้อย 1 ครั้ง ก่อนหรือวันแรก ของการเปิดเรียน 37. มนี โยบายและแนวทางการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ของสถานศกึ ษา อย่าง เป็นลายลกั ษณห์ รือมีหลกั ฐานชดั เจน หรือไม*่ 38. มีการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา 39. มีการแต่งตั้งคณะทำงานป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 และกำหนดบทบาท หน้าทีอ่ ย่างชัดเจน 40. มีมาตรการบริหารจัดการความสะอาดบนรถรับ-ส่งนักเรียน เว้นระยะห่างระหว่าง บคุ คล จดั ที่น่งั บนรถหรือมีสัญลกั ษณจ์ ุดตำแหนง่ ชดั เจน หรอื ไม่ (กรณีรถรับ - ส่งนกั เรยี น) มติ ิที่ 6 การบริหารการเงิน 41. มแี ผนการใช้งบประมาณในการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามความ จำเปน็ และเหมาะสม 42. มกี ารจดั หาซอ้ื วัสดุอุปกรณป์ อ้ งกนั โรคโควดิ 19 สำหรบั นกั เรียนและบคุ ลากรใน สถานศกึ ษา เช่น หนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ สบู่ 43. มีการประสานแสวงหาแหล่งทนุ สนบั สนนุ จากหนว่ ยงาน องค์กร หรือเอกชน เชน่ ทอ้ งถนิ่ บริษัทหา้ งร้าน NGO เปน็ ตน้ หรอื มีการบริหารจัดการดา้ นการเงิน เพื่อดำเนนิ กิจกรรม การป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 44. มกี ารจัดหาบุคลากรในการดูแลนกั เรียนและการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษา

10 4. มาตรการปอ้ งกันการะแพร่ระบาดก่อนเปิดภาคเรยี น 1. การขอความร่วมมือจากผู้ปกครองกอ่ นเปิดภาคเรยี น 1.1 สังเกตอาการบตุ รหลาน หรอื คนในครอบครัว หากมอี าการเข้าข่ายเส่ยี งติดเชอ้ื (มไี ข้ ไอ เจ็บคอ หรอื มี ประวัตสิ ัมผสั ผปู้ ่วย) ขอใหแ้ จ้งโรงเรียน และสาธารณสุข 1.2 ควรมอี ุปกรณว์ ัดไขป้ ระจำครวั เรอื น เพอ่ื วัดไขป้ ระเมนิ ความเสี่ยงบคุ คลในครอบครัว มอี ปุ กรณ์ป้องกัน เช่น แมส หรือ เฟสชลิ ด์ เพยี งพอกบั บคุ คลในครอบครัว 1.3 ตงั้ แตว่ ันที่ 11 มิถุนายน 2564 ขอความร่วมมอื ผู้ปกครองห้ามพานักเรียน หรือบุคคล ในครอบครัวไป สถานท่ี หรือทำกจิ กรรมทเี่ สี่ยงติดเช้ือโรคโควิด 19 1.4 ทางโรงเรยี นมแี บบประเมินตนเองสำหรับนักเรยี น เพื่อป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรค โควิด 19 ผ่านระบบ Google Form ในไลน์กลุ่มหอ้ งเรียนของนกั เรียน ก่อนเปดิ ภาคเรียน 28 มถิ นุ ายน 2564 2. การเตรียมความพร้อมของนักเรียนและผปู้ กครอง เมอ่ื เปิดภาคเรยี น 2.1 นักเรยี น ใส่แมส ทกุ ครงั้ ท่มี าโรงเรียน สามารถนำอปุ กรณ์อ่ืน ๆ มาได้ (เช่น เจลล้าง มือ) และเข้าแถวรบั การตรวจคดั กรองตามจดุ ท่ีกำหนดหากพบนักเรียนทมี่ ีภาวะเส่ยี ง ทาง โรงเรยี นขอผ้ปู กครองรบั นักเรียนกลบั เพื่อรอสังเกตอาการ 2.2 นกั เรยี นเตรียมแกว้ นำ้ ชอ้ น – สอ้ ม สว่ นตวั มาเอง 2.3 สำหรับผู้ปกครองมาติดต่อทางโรงเรียน ตอ้ งสแกนไทยชนะเพื่อยนื ยนั ตัวตน ใหใ้ สแ่ มส หรือเฟสชิลดแ์ ละจะมกี ารตรวจคดั กรองตามจุดที่กำหนด 5. รูปแบบและแนวทางการจดั การเรยี นการสอน วนั ที่ 1 มถิ ุนายน - 25 มถิ ุนายน 2564 ➢ นักเรียนทุกระดับชั้น เริ่มเรียนออนไลน์ตามตารางเรียน และนับเป็นเวลาเรียน ตามหลกั สตู ร ในรูปแบบ  On – Air เรียนผ่าน DLTV.  On – Line เรยี นผา่ นอินเทอร์เนต็  On – Hand เรยี นทบี่ ้านดว้ ยเอกสาร เชน่ หนงั สือเรียน แบบฝึกหดั ใบงาน

11  On – Demand เรยี นผ่าน แอปพลเิ คชันตา่ ง ๆ โดยครูผู้สอนจะมีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ มีกิจกรรม ใบงาน นกั เรียนบางคน ไม่สะดวกเขา้ เรยี นตามวนั และเวลาได้ จะมีการติดตามนกั เรียนในภายหลัง

12

13 วนั ที่ 28 มิถนุ ายน 2564 เปิดเรียนภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ทุกระดับช้ันในรปู แบบ On-Site (เรียนท่ีโรงเรียน ) 1. โรงเรยี นเปดิ เรยี นทุกวันต้ังแต่วันจันทร์ ถึงวันศกุ ร์ การจัดห้องเรียนใหม้ กี ารเว้น 2. ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) - ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ต้องมพี น้ื ทไ่ี ม่นอ้ ยกวา่ 35 ตารางเมตร - ระดบั ประถมศกึ ษา ต้องมีขนาดห้องไมต่ ่ำกว่า 6 X 8 เมตร - ระดบั มัธยมศกึ ษา ต้องมขี นาดหอ้ งไมต่ ่ำกวา่ 6 X 8 เมตร 2. เวลาเรยี นของนักเรียน 2.1 เวลาเรียนระดบั ชัน้ บรบิ าล เวลา 7.45 – 15.30 น. อนุบาลปีท่ี 1 เวลา 7.45 – 15.30 น. อนบุ าลปที ี่ 2 เวลา 7.45 – 15.40 น. อนบุ าลปีที่ 3 เวลา 7.45 – 15.50 น. 2.2 เวลาเรียนระดับช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 1 – มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 7.45 – 15.50 น. 3. เมอื่ มาถึงโรงเรียนนกั เรียนตอ้ งใส่หนา้ กากอนามัยทกุ คน 4. โรงเรียนจัดเตรียมจุดคัดกรองไว้ที่หน้าประตูทางเข้า อนุบาล จำนวน 1 จุด และที่โดม หน้าอาคาร 1 จำนวน 1 จุด เพื่อตรวจวัดอุณหภูมิ ของนักเรียนทุกคน นักเรียนคนใดทีม่ ีอุณหภูมิ เกิน 37.5 องศา ขอให้ผู้ปกครองรับเด็กกลับบ้าน ช่วงเฝ้าระวังนี้ ทางโรงเรียนอนุญาตให้ ผู้ปกครองส่งนักเรียนที่จุดคัดกรองอย่างเดียว ไม่อนุญาตให้ผู้ปกครองอยู่ดูแลนักเรียนที่โรงเรียน เพื่อความปลอดภัยและเปน็ ไปตามระเบยี บท่ีทางโรงเรยี นกำหนด 5. การเข้าแถวของนักเรยี น - บริบาล – อนบุ าล 3 เขา้ แถวทางฝั่งอนบุ าล - ประถม 1 – 3 เข้าแถวภายในโดม อาคาร 2 ฝั่งประถม 1 – 3 - ประถม 4 – ม.3 เขา้ แถวภายในโดม อาคาร 1 โดยเว้นระยะห่างทางสังคม และงดกจิ กรรมหลังเคารพธงชาติ 6. การทำความสะอาดห้องเรียน และอาคารเรียน ทุกชั้นเรียน (ก่อนและหลังใช้งานทุก ครง้ั ) โรงเรียนจัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ ไวส้ ำหรบั ลา้ งมอื ห้องละ 1 ขวด มีน้ำยาฆา่ เชอ้ื สำหรับทำ ความสะอาด

14 7. โรงอาหาร จัดทำสัญลักษณ์การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) แม่ครัว / ผู้ชว่ ยแม่ครัว พนักงาน ต้องใส่หนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาในขณะปฎิบัติงาน ทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ พ้นื โรงอาหาร ดว้ ยน้ำยาฆ่าเช้อื 8. การทิง้ ขยะ โรงเรียนมมี าตรการคดั แยกขยะอยา่ งชดั เจน 9. การรับประทานอาหารของนักเรียน โรงเรียนจัดเป็นข้าวกล่อง ให้นักเรียนรับประทาน อาหารที่ห้องเรียน ตั้งแต่ระดับชั้น ป.2 – ม.3 ส่วนระดับบริบาล – ป. 1 รับประทานที่โรงอาหาร ฝง่ั อนุบาล โดยเว้นระยะหา่ งทางสังคม นักเรยี นนำชอ้ นส้อม แก้วนำ้ สว่ นตัว มาเอง 10. หอ้ งน้ำของโรงเรยี น มกี ารแยกหอ้ งนำ้ ชาย – หญิง ไว้อย่างชดั เจน และมกี ารทำความ สะอาดหอ้ งนำ้ หลังพกั นอ้ ย และพักกลางวัน 11. นำ้ ดืม่ โรงเรียนมจี ำหน่ายให้กับนกั เรียน อนญุ าตใหน้ ักเรยี นนำน้ำดม่ื มาจากบา้ นได้ 12. การรับนักเรยี นกลับบา้ น - ผูป้ กครองรบั นกั เรียน ณ จุดรับ – สง่ ท่ีโรงเรียนเตรยี มไว้ให้ * ระดบั บรบิ าล - ประถมศึกษาปีที่ 3 หนา้ ประตอู นบุ าล * ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 - มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 บริเวณลานจอดรถ - ผปู้ กครองผา่ นจุดคดั กรองของโรงเรยี น โดยครูเวรประจำวนั ทำหนา้ ทค่ี ัดกรอง 13. รถรบั สง่ นกั เรยี น - ทำความสะอาดรถรับสง่ นักเรียน เช้า – เยน็ - เว้นระยะห่างทางสังคม 14. ห้องเรียนท่มี ีแอร์ ชว่ งนีง้ ดเปิดแอร์ เพอื่ ความปลอดภยั ของทกุ คน 15. ทรงผมนักเรียนชาย สามารถตัดผมรองทรงสูง ผมหน้าไม่เกินคิ้ว (เน้นสะอาด เรียบร้อย) 5. การกำกบั ติดตามประเมนิ ผล มีระบบการกำกับตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการ ตามมาตรการ ปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID–19) โดยผู้ตรวจราชการ ศึกษาธกิ ารจังหวดั และทมี ตรวจราชการระดบั พนื้ ท่ี

ภาคผนวก









เอกสารอ้างอิง  แนวทางการจัดาการเรียนการสอนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพนื้ ฐานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)  คู่มือการปฏบิ ัตสิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19  แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขออนามัยไรโควิด – 19 ระลอกใหม่ ใน สถานศึกษา