Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบคอมพิวเตอร์

ระบบคอมพิวเตอร์

Published by pattiyakul oonmee, 2020-10-29 03:58:59

Description: ระบบคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการเรยี นรู ว 4.2 เขา ใจและใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาท่ีพบในชวี ิต จรงิ อยางเปนขน้ั ตอนและเปนระบบ ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารใน การเรียนรู การทํางาน และการแกป ญ หาไดอยางมี ประสิทธิภาพ รูเทา ทนั และมีจริยธรรม ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.2/3 อภปิ รายองคประกอบและหลักการทํางานของระบบ คอมพวิ เตอร และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อประยกุ ตใชงานหรือแกป ญหา เบื้องตน ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครภู ทั ทิยากุล อุนมี 1

องคประกอบทางดา นฮารดแวร 1. หนวยรบั ขอมลู (Input Unit) รบั ขอ มูลจากผใู ชผา นอุปกรณฮารด แวรต างๆ เชน แปนพมิ พ เมาส สแกนเนอร หนวยรับขอมลู 2 (Input Unit) ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภัททิยากลุ อุนมี

องคประกอบทางดา นฮารดแวร 2. ประมวลผลขอ มลู (Process) ขอ มลู ตา งๆ จากอุปกรณรบั ขอ มลู ถกู สง ตอมายงั หนวยประมวลผลกลางเพื่อประมวลผล ขอ มูล หนวยรับขอมลู หนว ยประมวลผลกลาง (Input Unit) (CPU) ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททิยากลุ อุน มี 3

องคประกอบทางดา นฮารด แวร 3. จัดเกบ็ ขอ มลู (Storage) เกบ็ ขอมลู ลงในอุปกรณท ี่เก็บขอ มูล เพอื่ ใหสามารถนาํ มาใชใหมไดใ นอนาคต หนว ยความจาํ หลัก (Primary Storage) หนว ยรบั ขอ มูล หนวยประมวลผลกลาง (Input Unit) (CPU) หนวยความจําสํารอง 4 (Secondary Storage) ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครภู ัททิยากุล อุนมี

องคประกอบทางดานฮารดแวร 4. หนวยแสดงผลขอมลู (Output Unit) แสดงผลลพั ธใ นรปู แบบท่มี นษุ ยเขา ใจผานอปุ กรณฮ ารดแวรต างๆ เชน จอภาพ ลําโพง ปร้นิ เตอร หนวยความจาํ หลัก (Primary Storage) หนว ยรับขอมลู หนวยประมวลผลกลาง หนว ยแสดงผลขอ มลู (Input Unit) (CPU) (Output Unit) หนวยความจําสํารอง 5 (Secondary Storage) ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภทั ทยิ ากลุ อนุ มี

หลักการเลอื กใชฮ ารดแวร 1) วิเคราะหว ัตถุประสงคข องการใชงาน ควรวิเคราะหว า เปนการ ใชง านในสํานักงาน งานนาํ เสนอทว่ั ไป งานประมวลผล หรืองานสอ่ื ประสม 2) ควรเลอื กคอมพิวเตอรตามลักษณะของการใชง าน ถาเปน งาน นอกสถานทท่ี ่ีตอ งใชคอมพวิ เตอรติดตามผใู ช มกี ารเคลอ่ื นทีห่ รอื เคลอ่ื นยา ยบอยก็ควรเลือกใชคอมพิวเตอรโ นต บุก หรอื แท็บเลต็ คอมพิวเตอร แตถา เปนงานในสถานท่ี หรือใชในสาํ นักงานกค็ วรเปนเคร่ือง คอมพวิ เตอรท่จี ดั เปนชดุ ระบบคอมพิวเตอร โดย ครภู ัททิยากลุ อุนมี 6

เทคโนโลยกี ารส่อื สาร องคประกอบของการสอื่ สารขอมูล ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททยิ ากุล อุน มี 7

องคป ระกอบของการสือ่ สารขอมูล 1. ขอ มลู ขาวสาร สง่ิ ที่สอ่ื ความหมายใหร ูเรอ่ื งราวขอเท็จจรงิ ขอ มูล หรือสง่ิ ใด ๆ ไมวาการส่ือ ความหมายนน้ั จะทําโดยสภาพของสงิ่ นนั้ เอง หรอื โดยผา นวธิ ีการใด ๆ และไมวาจะไดจ ัดทาํ ไวในรปู ของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผงั แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟล ม การ บนั ทึกภาพหรือเสยี ง การบนั ทกึ โดยเครื่องคอมพิวเตอร หรอื วิธีอนื่ ใดทีท่ ําใหสิ่งท่บี ันทึกไว ปรากฏได ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททิยากลุ อนุ มี 8

รปู แบบของขอมลู ขา วสาร ….. 1) ขอความ (Text) เปนขอมูลท่อี ยูใ นรูปอักขระหรือเอกสาร 2) เสยี ง (Voice) เปนเสียงทม่ี นษุ ยหรอื อุปกรณบ างอยา งเปน ตวั สรางข้ึนมา 3) รูปภาพ (Image) เปนขอ มลู ท่ีเปนรูปภาพ เชน การสแกนภาพเขา คอมพวิ เตอร ภาพถา ย เปน ตน 4) ส่ือผสม (Multimedia) เปนขอ มลู ท่ีผสมลกั ษณะของทั้งรูปภาพ เสยี ง และ ขอความเขา ดวยกนั โดยสามารถเคลอ่ื นไหวได ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททยิ ากุล อุนมี 9

องคป ระกอบของการส่ือสารขอ มูล 2. ผูส ง สาร บุคคล กลมุ บุคคล หรือ หนว ยงานทท่ี ําหนา ท่ใี นการสง สาร หรอื เปน แหลง กําเนดิ สาร ทเ่ี ปน ผเู รมิ่ ตนสงสารดว ยการแปลสารนนั้ ใหอยูใ นรูปของสญั ลกั ษณทมี่ นุษยส รา งขน้ึ แทน ความคิด ไดแก ภาษาและอากปั กริ ิยาตา ง ๆ เพ่อื สือ่ สารความคดิ ความรสู ึก ขา วสาร ความ ตองการและวัตถปุ ระสงคของตนไปยังผรู บั สารดว ยวิธีการใด ๆ หรอื สง ผานชอ งทางใดก็ ตาม จะโดยต้งั ใจหรือไมตัง้ ใจกต็ าม เชน ผูพดู ผูเ ขียน กวี ศิลปน นักจดั รายการ วิทยุ โฆษกรฐั บาล องคก าร สถาบนั สถานีวทิ ยกุ ระจายเสยี ง สถานีวิทยุโทรทศั น กอง บรรณาธกิ ารหนงั สือพิมพ หนว ยงานของรัฐ บรษิ ทั สถาบันส่อื มวลชน เปน ตน ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภทั ทิยากุล อุนมี 10

องคประกอบของการสือ่ สารขอมลู 3. สอ่ื กลาง สงิ่ ทีเ่ ปนพาหนะของขอมูลขา วสาร ทาํ หนาทนี่ ําขอมูลขาวสารจากผูสง สารไปยัง ผรู ับสาร เปนสวนทท่ี าํ ใหเกดิ การเชื่อมตอระหวา งอปุ กรณตา ง ๆ เขาดว ยกัน และอุปกรณนี้ ยอมใหข า วสารขอมลู เดินทางผา นจากผสู ง ไปยังผรู บั ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภัททิยากุล อนุ มี 11

องคป ระกอบของการส่ือสารขอ มลู 4. ผรู ับสาร บคุ คล กลุมบคุ คล หรอื มวลชนท่รี บั ขอ มูลขา วสารจากผสู ง สาร และแสดงปฏกิ ิรยิ า ตอบกลับ (Feedback) ตอ ผูสง สาร หรอื สงสารตอไปถึงผรู บั สารคนอื่น ๆ ตามจดุ มุงหมาย ของผสู งสาร เชน ผเู ขารว มประชุม ผฟู งรายการวทิ ยุ กลมุ ผูฟ งการอภปิ ราย ผูอา น บทความจากหนังสอื พมิ พ เปน ตน ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภทั ทยิ ากลุ อุนมี 12

องคประกอบของการสือ่ สารขอมลู 5. โปรโตคอล ขอ กาํ หนดหรือขอ ตกลงในการสื่อสารระหวา งคอมพวิ เตอรซึง่ มีอยดู ว ยกนั มากมาย หลายชนดิ แตละชนิดก็มีขอดี ขอเสยี และใชใ นโอกาสหรือสถานการณแ ตกตางกนั ไป คลา ยๆ กับภาษามนษุ ยท ่มี ีทงั้ ภาษาไทย จีน ฝรั่ง หรอื ภาษาใบ ภาษามือ หรอื จะใชวธิ ียกั คิ้วหล่ิวตา เพือ่ สง สัญญาณกจ็ ดั เปน ภาษาไดเหมือนกนั ซึ่งจะสอื่ สารกันรเู รือ่ งไดจะตองใชภ าษาเดยี วกัน ในบางกรณีถา คอมพิวเตอร 2 เครอ่ื งสื่อสารกนั คนละภาษากนั และตอ งการนาํ มาเชือ่ มตอกนั จะตองมีตวั กลางในการแปลงโปรโตคอลกลบั ไปกลบั มาซ่งึ นยิ มเรยี กวา Gateway ถาเทียบกับ ภาษามนษุ ยกค็ อื ลาม ซงึ่ มอี ยทู ้ังทเี่ ปนเครอ่ื งเซริ ฟเวอรแ ยกตา งหากสาํ หรับทาํ หนาทีน่ ้ี โดยเฉพาะ หรอื าจจะเปน โปรแกรมหรอื ไดรฟ เวอรท ี่สามารถติดตงั้ ในเครอื่ งคอมพวิ เตอรนนั้ ๆ ไดเลย ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภัททยิ ากลุ อนุ มี 13

ความสาํ คญั ของโปรโตคอล ในการติดตอ สื่อสารขอมูลผานทางเครือขา ยนั้น จาํ เปน ตองมีโปรโตคอลทเ่ี ปน ขอกาํ หนดตกลงในการส่ือสารขน้ึ เพอ่ื ชว ยใหระบบสองระบบทีแ่ ตกตางกันสามารถส่ือสารกนั อยางเขา ใจไดโปรโตคอลเปนขอ ทก่ี ําหนดเก่ยี วกบั การสอื่ สารระหวางเคร่ืองคอมพวิ เตอรตางๆ ท้ังวธิ กี ารสง และรบั ขอมลู วธิ กี ารตรวจสอบขอ ผดิ พลาดของการสง และรับขอมูล การแสดงผล ขอ มลู เมอ่ื สงและรับกนั ระหวา งเครอ่ื งสองเคร่อื งดงั น้ันจะเห็นไดวา โปรโตคอลมีความสาํ คญั มากในการสือ่ สารบนเครือขา ยหากไมม ีโปรโตคอลแลว การส่อื สารบนเครือขา ยจะไมส ามารถ เกิดขนึ้ ไดใ นปจ จุบันการทาํ งานของเครอื ขายใชมาตรฐานโปรโตคอลตางๆรวมกันทาํ งาน มากมายนอกจากโปรโตคอลระดับประยุกตแลว การดําเนินการภายในเครือขายยังมี โปรโตคอลยอ ยท่ชี ว ยทาํ ใหก ารทาํ งานของเครือขา ยมีประสิทธภิ าพข้ึน โดยทผ่ี ใู ชไ มส ามารถ สงั เกตเหน็ ไดโ ดยตรงอกี มาก ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททยิ ากลุ อนุ มี 14

การทาํ งานของโปรโตคอล เครือขายคอมพวิ เตอรประกอบดว ยอปุ กรณท ีท่ าํ งานรวมกันเปน จาํ นวนมาก ผลิตภัณฑเ หลาน้นั มหี ลายมาตรฐานหลายย่หี อแตก ็สามารถทาํ งานรว มกนั ไดอยางดีการที่ เครือขายคอมพิวเตอรทาํ งานรวมกนั อยางเปนระบบ เพราะมีการใชโ ปรโตคอลมาตรฐานทม่ี ี ขอกาํ หนดใหท ํางานรวมกันไดผูใชอ ินเตอรเ นต็ ที่ทาํ หนาทเี่ ปนผใู ชบรกิ ารหรือเปนไคลแอนต (Client) สามารถเชือ่ มตอ เครอ่ื งคอมพิวเตอรของทานไปยงั เคร่ืองใหบ ริการหรือเซริ ฟ เวอร (Server) บนเครือขา ย การทํางานของพซี ีท่เี ชื่อมตอ รวมกับเซิรฟเวอรก จ็ ําเปนตอ งใช โปรโตคอลเพอื่ ประยุกตใชงานรับสง ขอ มูล ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครภู ทั ทิยากุล อนุ มี 15

ทิศทางการส่ือสารขอมลู เปนทิศทางการสื่อสารขอ มลู แบบท่ี ขอมูลจะถกู สง จากทศิ ทางหนงึ่ ไปยงั อีกทศิ ทาง 1. ทศิ ทางเดยี ว (simplex) โดยไมสามารถสง ขอมูลยอ นกลับมาได เชน การ กระจายเสยี งจากสถานีวทิ ยุ การเผยแพรภาพ ไมส ามารถสงขอ มลู ยอนกลบั ได และรายการตางๆ ของสถานโี ทรทศั น เปนตน ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภทั ทยิ ากลุ อนุ มี 16

ทิศทางการสอื่ สารขอ มูล 2. กึ่งสองทศิ ทาง (Half Duplex) สงขอมลู ไดส องทิศทาง เปนทศิ ทางการส่ือสารขอมลู แบบท่ี แตสง พรอ มกนั ไมได ขอ มลู สามารถสงกลับกนั ไดส องทิศทาง แตจะไม สามารถสง พรอ มกนั ได โดยตอ งผลดั กันสง ครงั้ ละทศิ ทางเทา นน้ั เชน วทิ ยุส่ือสารแบบผลดั กนั พูด ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภัททยิ ากลุ อนุ มี 17

ทิศทางการสอื่ สารขอมูล 3. สองทศิ ทาง (Full Duplex) สงขอมูลไดสองทิศทางพรอ มกนั เปน ทิศทางการสื่อสารขอ มูลแบบที่ ขอมลู สามารถสง พรอมๆ กันไดท ง้ั สองทิศทางใน เวลาเดยี วกัน เชน ระบบโทรศพั ทโ ดยท่ีคสู นทนา สามารถพูดคยุ โตต อบกันไดในเวลาเดียวกัน ไม ตอ งกดสวิตซเ พ่ือเปลี่ยนสถานะกอ นทจี่ ะสอื่ สาร ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภทั ทิยากุล อนุ มี 18

สือ่ กลางของการสื่อสารขอ มูล 1) สอื่ กลางประเภทสายสัญญาณ เปน ส่ือที่อาศัยวัสดุทจี่ ับตองไดเ ปน ตวั สงผานสัญญาณ เชน สายทองแดง เปนตน ซงึ่ แบงออกเปน สายคตู ีเกลยี ว (Twisted Pair) สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) และสายไฟเบอรออปติก (Fiber-Optic) 2) สอื่ กลางประเภทไรส าย เปนส่ือกลางประเภททไ่ี มใชว สั ดุใด ๆ ในการ นําสญั ญาณซึ่งจะไมม กี ารกําหนดเสน ทางใหส ญั ญาณเดนิ ทาง เชน คลื่นไมโครเวฟ คลนื่ แมเ หลก็ ไฟฟา เปนตน ซึ่งแบง ออกเปนคลื่นวทิ ยุ ไมโครเวฟ และดาวเทยี ม สอื่ สาร เปนตน ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททิยากลุ อุนมี 19

สื่อกลางของการส่ือสารขอมลู 1) ส่ือกลางประเภทสายสญั ญาณ - สายคูบ ดิ เกลยี ว STP ขอดี - สงสายขอมูลดวยความเรว็ สูงกวา แบบไมมฉี นวนหมุ - สามารถปอ งกนั สญั ญาณรบกวนไดดี ขอ เสีย - มขี นาดใหญกวาแบบไมม ฉี นวนหมุ - ไมย ดื หยนุ ดัดโคงงอไดไ มม าก - ราคาแพงกวา แบบไมมฉี นวนหมุ ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภทั ทยิ ากลุ อนุ มี 20

1) สือ่ กลางประเภทสายสญั ญาณ - สายคบู ิดเกลยี ว UTP ขอดี - ราคาถกู - นา้ํ หนักเบา สามารถตดิ ต้งั ไดงาย - มีความยดื หยุน สามารถดดั โคง งอได ขอเสีย - ไมเหมาะในการเชอ่ื มตอ กับอปุ กรณท ่อี ยูหา งไกล ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภทั ทยิ ากลุ อนุ มี 21

1) สื่อกลางประเภทสายสัญญาณ 22 - สายโคแอกเชยี ล ขอ ดี - ราคาถกู - มีความยืดหยุนในการใชง าน - ตดิ ตั้งงายและมนี ้าํ หนกั เบา ขอเสยี - ถกู รบกวนจากสญั ญาณภายนอกไดงา ย - ใชไดในระยะทางจาํ กัด ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครภู ัททยิ ากลุ อุน มี

1) ส่อื กลางประเภทสายสัญญาณ - สายไฟเบอรออปตกิ ขอดี - สามารถบรรจุขอมูลไดจาํ นวนมาก - มขี นาดเล็ก นํ้าหนักเบา - มีอายุการใชงานนาน ขอเสีย - เสน ใยแกวนาํ แสงเปราะบาง แตกหกั งา ย - ไมส ามารถดัดโคงงอได - ในการตดิ ตัง้ ตองใชเครื่องมอื พเิ ศษ ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครภู ัททิยากุล อนุ มี 23

ส่อื กลางของการสอ่ื สารขอ มูล เปนคล่ืนแมเหล็กไฟฟาทม่ี ีความยาว คลนื่ อยรู ะหวางคลื่นวทิ ยแุ ละแสงมคี วามถ่ี 2) สื่อกลางประเภทไรส าย ในชว ง 1011 – 1014 เฮริ ต ซหรือความยาวคลื่น - อินฟราเรด ต้ังแต 1-1000 ไมโครเมตร มีความถใ่ี นชวง เดยี วกบั ไมโครเวฟ มีความยาวคลื่นอยูร ะหวา ง ระบบคอมพิวเตอร โดย ครภู ทั ทิยากุล อุน มี แสงสแี ดงกับคลนื่ วทิ ยุสสารทกุ ชนดิ ท่มี อี ุณหภูมิ อยรู ะหวาง -200 องศาเซลเซียสถงึ 4,000 องศาเซลเซยี ส จะปลอ ยรังสีอนิ ฟราเรดออกมา คณุ สมบัตเิ ฉพาะตัวของรังสีอินฟราเรด เชน ไม เบ่ยี งเบนในสนามแมเ หลก็ ไฟฟา ท่ีแตกตางกันก็ คือ คณุ สมบตั ิท่ขี น้ึ อยกู ับความถี่ คือย่งิ ความถ่ีสูง มากขึ้น พลังงานก็สงู ขน้ึ ดว ย 24

2) ส่ือกลางประเภทไรสาย เปน คลื่นแมเ หลก็ ไฟฟา ชนดิ หน่ึงท่ีเกดิ ขึน้ - คล่ืนวทิ ยุ ในชว งความถี่วทิ ยบุ นเสน สเปกตรัมแมเ หลก็ ไฟฟา คลน่ื วทิ ยุไมตอ งอาศัยตัวกลางในการเคลอ่ื นที่ ใชใน ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททิยากลุ อุนมี การส่อื สารมี 2 ระบบคือ A.M. และ F.M. ความถ่ี ของคลื่น หมายถึง จาํ นวนรอบของการเปล่ยี นแปลง ของคลนื่ ในเวลา 1 นาที คลื่นเสยี งมคี วามถีช่ ว งทหี่ ู ของคนรบั ฟงได คือ ตงั้ แต 20 เฮริ ตถงึ 20 กโิ ลเฮริ ต (1 KHz =1,000 Hz) สว นคล่นื วทิ ยเุ ปน คลน่ื แมเหล็กไฟฟา ความถสี่ ูง อาจมีตัง้ แต 3 KHz ไปจนถึง 300 GHz (1 GHz = พันลา น Hz) คลนื่ วทิ ยแุ ตละ ชว งความถีจ่ ะถูกกําหนดใหใชงานดานตา งๆ ตาม ความเหมาะสม 25

2) สื่อกลางประเภทไรส าย การสื่อสารไมโครเวฟ วธิ ที น่ี ิยมใชก ันมากก็ - ไมโครเวฟ คือการสอ่ื สารในระดบั สายตา ใชใ นการสอ่ื สารขอ มูล ขาวสารในปรมิ าณมากๆ เสน ทางในการสอ่ื สารนจี้ ะ ประมาณ 50-80 กโิ ลเมตร และไมมสี ิง่ กีดขวาง แตถา ตองการสือ่ สารในระยะไกลกวาน้ี จะตอ งมสี ถานที วน สญั ญาณเพือ่ ใหรับสัญญาณและทาํ การขยายแลว สง สัญญาณตอ ไป จนถึงปลายทางได ระบบการสอ่ื สาร ผานคล่ืนไมโครเวฟจะมี 2 สว นหลัก คือ สว น ประมวลผล และ สวนทําหนาที่สง สัญญาณ ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททยิ ากลุ อุน มี 26

2) ส่ือกลางประเภทไรส าย เปน ดาวเทียมทม่ี ีจดุ ประสงคเ พอ่ื การ - ดาวเทียมสื่อสาร สื่อสารและโทรคมนาคม จะถกู สง ไปในชวงของ อวกาศเขา สวู งโคจรโดยมีความหางจากพ้นื โลก โดยประมาณ 35,786 กิโลเมตร ซง่ึ ความสงู ใน ระดับนจี้ ะเปน ผลทาํ ใหเ กดิ แรงดงึ ดูดระหวา ง โลกกับดาวเทยี ม ในขณะท่ีโลกหมนุ กจ็ ะสง แรง เหว่ียง ทาํ ใหดาวเทียมเกดิ การโคจรรอบโลกตาม การหมนุ ของโลก ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภทั ทยิ ากลุ อนุ มี 27

ประเภทของระบบเครือขา ย 1. เครอื ขา ยสว นบคุ คล (Personal Area Network : PAN) เปน การเชอ่ื มตอเครือขา ยระหวางอปุ กรณเคลอ่ื นทสี่ ว นบุคคล ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภทั ทยิ ากุล อนุ มี 28

ประเภทของระบบเครือขา ย 2. เครอื ขายทองถน่ิ (Local Area Network หรอื LAN) เปนการเชอื่ มตอ เครอื ขายระยะใกล เชือ่ มโยงอปุ กรณตา งๆ ในพืน้ ทเ่ี ดียวกนั ระบบคอมพิวเตอร โดย ครภู ัททยิ ากุล อุนมี 29

ประเภทของระบบเครอื ขา ย 3. เครือขา ยระดบั เมอื ง (Metropolitan Area Network หรอื MAN) เปน การเชือ่ มตอ เครอื ขายระดับทองถิ่นหลายเครือขา ยเขา ดวยกัน ระบบคอมพิวเตอร โดย ครูภัททิยากลุ อนุ มี 30

ประเภทของระบบเครอื ขา ย 4. เครือขา ยระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) เปนการ เชื่อมตอเครอื ขายในพ้นื ทที่ อ่ี ยหู างไกล สามารถตดิ ตอสอื่ สารขา มทวปี หรือท่วั โลกได ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครภู ทั ทยิ ากุล อุนมี 31

การประยกุ ตใ ชง าน ใชในงานเฉพาะดา น นิยมใชในงานดานระบบเครือขา ย (Network) ท่ตี องการการประมวลผลซับซอ น ในองคกรขนาดใหญ ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททิยากุล อุน มี 32

การประยกุ ตใ ชง าน เปนการใชง านสว นบคุ คล นยิ มใชกบั งานทตี่ อ งการการประมวลผล เหมาะกบั งานทีห่ ลากหลาย และการแสดงผลท่ีดกี วา PC ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครูภัททิยากลุ อนุ มี 33

การประยุกตใชงาน สามารถพกพาไดสะดวก 34 เหมาะกับการใชงานในชวี ติ ประจําวัน ระบบคอมพวิ เตอร โดย ครภู ัททยิ ากลุ อุนมี

แหลงท่มี า https://www.aksorn.com/store/2/product-details-697# http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER3/DRAWER083/GENERAL/DATA0001/00001195.PDF https://sites.google.com/site/departmentkom1/hnwy-kar-reiyn-ru-thi- 1?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1 https://sites.google.com/site/kixengni/sux-klang-ni-kar-suxsar-khx-mul https://sites.google.com/site/40224prim/protocol https://sites.google.com/site/40948apisara/home/thisthang-khxng-kar-suxsar-khxmul https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B2 %E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%94 https://sites.google.com/site/satchakonkobkob/bth-thi2-hlak-kar-rab-elea-kar-sng-khxng-rabb-withyu https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%80 %E0%B8%A7%E0%B8%9F ระบบคอมพิวเตอร โดย ครภู ทั ทยิ ากุล อนุ มี 35




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook