๒) สนทนาอภิปราย เก่ียวกับคลิปวดิ โี อท่ีรับชม ในประเดน็ ดังนี้ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เก่ียวกบั คลิปวิดโี อ นกั เรยี นพบประเด็นใดบ้างจากคลิปวิดีโอ ปญั หา สาเหตุทไ่ี ดช้ มจากเรอ่ื ง วิธีการ แนวทางการแกป้ ัญหา ๓) นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละ ๕ - ๖ คน แตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษา ใบความรู้ เรอื่ ง แนวทาง การพจิ ารณาความเป็นพลเมอื ง ทง้ั ๓ ด้านคอื - คณุ ค่า ค่านิยม - ความรู้ ความเข้าใจ - ทักษะและพฤตกิ รรม ช่วั โมงที่ ๒ ๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนน�ำเสนอผลงานหน้าช้ันเรียนจากการศึกษาใบความรู้ เรอื่ ง แนวทางการพจิ ารณาความเปน็ พลเมอื งทัง้ ๓ ดา้ น คือ - คณุ ค่า คา่ นิยม - ความรู้ ความเข้าใจ - ทักษะและพฤติกรรม ๕) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปภาพรวมของกิจกรรมในสาระแนวทางการพิจารณา ความเปน็ พลเมืองแลว้ ทำ� เปน็ แผนที่ความคิด ๔.๒ สือ่ การเรียนร้/ู แหลง่ การเรยี นรู้ ๑) คลิปวิดีโอ เกี่ยวกับความอดทน อดกล้ัน เพื่อให้รู้จักความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม เคารพกฎ กติกา เนอื้ หาเป็นการขบั รถแซงผ้อู ่นื ไปมา และไม่เคารพกฎจาจร โดยมีที่จาก https://www. youtube.com/watch?v=dWmZDGYtE_k จากกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม ๒) ใบความรู้ เรื่อง แนวทางการพจิ ารณาความเป็นพลเมอื ง ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วิธกี ารประเมนิ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำ� งานของผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล ๕.๒ เคร่อื งมือที่ใช้ในการประเมิน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำ� งานของผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล ๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน นักเรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับดีขึน้ ไป 96 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การป้องกนั การทจุ รติ ”
๖. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชือ่ ........................................ครูผูส้ อน (.......................................) ............./............./............. ๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เรื่อง แนวทางการพิจารณาความเปน็ พลเมอื งดี คณุ ค่า คา่ นิยม ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและพฤติกรรม - รักควำมเปน็ ธรรมและ - สิทธมิ นุษยชน (เสรีภำพควำม - เข้ำใจผ้อู น่ื (Consider others) ควำมเสมอภำคและตระหนัก หลำกหลำย และควำมเทำ่ เทยี ม) - ปฏบิ ตั ใิ นอย่ำงเทำ่ เทียมกัน ในผลรำ้ ยของควำมไมเ่ ป็นธรรม - สิทธิทำงสงั คมกำรเมอื ง (Treat others as equal) และควำมไมเ่ สมอภำค และเศรษฐกิจ - เรยี กร้องหรือตอ่ สเู้ พื่อควำม - เช่อื ม่ันในควำมเป็นธรรมในสงั คม - ควำมเท่ำเทยี มทำงเพศ เป็นธรรมบอกไดว้ ่ำอะไรเปน็ - เชอื่ มัน่ ในกำรปฏบิ ัติต่อกัน - ใช้หลกั ควำมยตุ ธิ รรมเปน็ พน้ื ฐำน ควำมยุตธิ รรมไมย่ ตุ ิธรรม อยำ่ งเทำ่ เทยี ม ส�ำคญั ของสงั คมประชำธปิ ไตย ในสถำนกำรณต์ ่ำงๆ - รู้จกั แยกแยะไดว้ ำ่ อะไรคอื ควำมเปน็ ธรรมและควำมเสมอภำค - เคำรพควำมเท่ำเทยี มทำงเพศ ควำมเป็นธรรมอะไรคือควำม ไม่เป็นธรรมและอะไรคือ ควำมเสมอภำคอะไรคือควำม ไมเ่ สมอภำค เชื่อในเสรภี ำพทม่ี ีควำมรบั ผิดชอบ - สทิ ธิมนษุ ยชน (เสรภี ำพ - เสรีภำพอยำ่ งรับผิดชอบ ตอ่ สังคม ควำมหลำกหลำย และควำม - แก้ปญั หำควำมขดั แยง้ ด้วยสนั ติวิธี - เคำรพในสทิ ธแิ ละเสรีภำพของผอู้ ืน่ เท่ำเทียม) - ใหค้ วำมส�ำคัญกับสิทธแิ ละ - เคำรพในเสรีภำพท่จี ะแสดงออก - ควำมรับผดิ ชอบท้ังต่อตนเอง ผลประโยชน์ของผู้อน่ื หรือกำรกระทำ� และสังคม - รบั ผดิ ชอบผลอนั เกดิ จำกกำรกระทำ� - มสี ่วนร่วมกับวถิ ีชมุ ชนด้วย กำรท�ำงำนอำสำสมัคร ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท ่ี ๓ 97
คุณค่า คา่ นยิ ม ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและพฤตกิ รรม - รับผดิ ชอบต่อการตดั สนิ และ การกระทำ�ของตนท่จี ะมีผลต่อผ้อู ื่น - รบั ผิดชอบต่อการตดั สนิ และ การกระทำ�ของตนทจี่ ะมีผลตอ่ ผู้อน่ื - เห็นคุณคา่ ของการใช้สิทธิ - สิทธิมนษุ ยชน (เสรภี าพความ - ใช้สทิ ธแิ ตไ่ ม่ละท้ิงหนา้ ท่ี แตไ่ มล่ ะทิง้ หน้าทแี่ ละตระหนกั หลากหลาย และความเท่าเทยี ม) - ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายจ่ายภาษี ในผลรา้ ยของการใช้สิทธิอย่าง - สิทธิทางสงั คม การเมือง และ ไปเลือกต้ังและออกเสียงประชามติ ไมร่ บั ผิดชอบตอ่ หนา้ ทีย่ ดึ หลัก เศรษฐกิจ อย่างมวี ิจารณญาณที่ดี การใชส้ ทิ ธแิ ตไ่ มล่ ะทง้ิ หนา้ ทไี่ วเ้ สมอ - กระตอื รือรน้ ในการเป็นสังคม แบบประชาสังคม(Civil society) - มสี ว่ นรว่ มในสงั คม กระตอื รือร้น ทางการเมือง - มีภราดรภาพและเคารพ - สิทธมิ นษุ ยชน (เสรีภาพความ - แก้ปัญหาความขดั แย้งดว้ ยสนั ตวิ ิธี ความแตกตา่ ง หลากหลาย และความเท่าเทยี ม) - ความสามารถในการอยแู่ ละทำ�งาน - เหน็ คุณค่าของความแตกตา่ ง - ความร้เู กี่ยวกบั สังคมทม่ี ีความ ทา่ มกลางความหลากหลายทาง หลากหลาย แตกตา่ งทางวฒั นธรรม วัฒนธรรม - เปดิ ใจกวา้ งต่อความเหน็ ต่าง - ความเข้าใจความรูส้ กึ ของผอู้ นื่ เปลี่ยนแปลงความเหน็ ส่วนตน - การอยู่รว่ มกนั อย่างสมานฉนั ท์ และประนีประนอม - เคารพความเห็นท่แี ตกต่างกัน ยอมรบั หลกั ของประชามติ และยอมรบั เสยี งข้างน้อย - ยดึ ประโยชนข์ องส่วนรวม - ความเข้าใจว่าองค์ทางการเมือง - ปฏบิ ัตติ ามคณุ คา่ รว่ มและ เป็นสำ�คัญ และรฐั จำ�เปน็ ตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ ความเป็นธรรมในสงั คม - มจี ิตสาธารณะ อยา่ งกระตอื รอื ร้น - มสี ว่ นรว่ มในประชาสังคม - มุ่งม่ันในหลักการคนมีความคิด - มีสว่ นร่วมในชุมชน ความเชื่อคณุ คา่ ต่างกนั แตท่ ุกคน - มสี ่วนร่วมในชมุ ชนทางการเมือง ก็มีคุณคา่ เทา่ เทียมกนั 98 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การป้องกนั การทจุ ริต”
คณุ คา่ ค่านยิ ม ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและพฤติกรรม - เหน็ คุณค่าของการใช้สทิ ธิ เพอ่ื ให้บรรลุเปา้ หมายรว่ มกัน การร่วมมอื กบั ผู้อื่นหรอื มีสว่ นร่วม แตไ่ มล่ ะทิ้งหนา้ ท่แี ละตระหนกั - ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเมอื ง - คิดอยา่ งมวี จิ ารญาณและมีเหตผุ ล ในผลร้ายของการใช้สิทธอิ ย่าง - ความร้เู กย่ี วกับหลักของการเคารพ ความสามารถในการประเมนิ สถานะ ไม่รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี สทิ ธแิ ละวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกัน หรือการตดั สินใจ - ยดึ หลกั การใชส้ ทิ ธแิ ตไ่ มล่ ะทง้ิ หนา้ ท่ี ของผคู้ น - แยกแยะระหวา่ งขอ้ เท็จจริงกับ ไว้เสมอ - รูเ้ กย่ี วกบั การตง้ั คำ�ถามหรือการหา ความคดิ เห็นสามารถทีจ่ ะประเมนิ ขอ้ มูลเพม่ิ ประกอบการตดั สนิ ใจ ข่าวสารต่างๆอยา่ งมวี ิจารณญาณ มีทักษะการสื่อสารอยา่ งเป็น กระบวนการสามารถการให้ การตดั สนิ ใจเกิดผลในระดับรัฐ - มนั่ ใจท่ีจะมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื ง - บทบาทของสือ่ ทีม่ ตี ่อบคุ คล - ตคี วามสาระจากสอื่ (ระบบการจงู ใจ - รจู้ กั สทิ ธิของบคุ คลทจี่ ะมีส่วนรว่ ม และสังคม และการใหค้ ณุ คา่ /การคดิ อยา่ งมี - มีความรู้พ้ืนฐานทางการเมอื ง : วิจารณญาณ) สามารถใช้สอื่ ในทาง ความหมายและความสำ�คัญของ ที่ถูกตอ้ ง การเมือง - มีสว่ นร่วมทางการเมือง สามารถ - ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั รฐั (ความหมาย นำ�ความรูพ้ น้ื ฐานทางการเมอื ง ลกั ษณะประเภท รูปแบบของรฐั ) ไปใชไ้ ด้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม -ระบอบการเมืองการปกครอง ไปเลอื กตัง้ และออกเสียงประชามติ (ความหมาย หลกั การ ลกั ษณะ อย่างมีวจิ ารณญาณทีด่ ี ติดตาม ประเภท รูปแบบขอ้ ดแี ละข้อเสีย ตรวจสอบพฤตกิ รรมและการทำ�งาน ของระบอบประชาธปิ ไตยและ ของนกั การเมือง เผด็จการ) - สามารถวพิ ากษ์วิจารณ์และตัดสิน - ระบบเศรษฐกจิ (ความหมาย นโยบาย ผลงานและกรณีต่างๆ หลกั การ ลกั ษณะ ประเภท รูปแบบ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม ข้อดแี ละขอ้ เสียของระบบทุนนยิ ม - สามารถนำ�หลักการประชาธปิ ไตย และสงั คมนยิ มและความสัมพนั ธ์ ไปใช้ในการดำ�เนนิ ชวี ิตและ ของระบอบการเมืองการปกครอง การทำ�งานได้อยา่ งถูกตอ้ งและ กบั ระบบเศรษฐกจิ เหมาะสม - ความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั กฎหมาย - สามารถถ่ายทอดความรูพ้ ื้นฐาน (ความหมายความสำ�คัญ หลกั การ ทางการเมอื งไปสผู่ ู้อ่ืนได้ ลกั ษณะ ประเภทและศกั ดิ์ของ - พัฒนาคุณคา่ ทางการเมืองให้แก่ กฎหมาย) ตนเองมีทักษะและความม่ันใจ ทีจ่ ะประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏบิ ัติ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ 99
คุณค่า คา่ นิยม ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและพฤตกิ รรม - เคารพกฎกตกิ าและกฎหมาย - ประวตั ศิ าสตรก์ ารเมอื งการปกครอง ช่นื ชมในความหลากหลายของ สิทธิได้แก่ สทิ ธิมนุษยชนและ ของไทย (สภาพเหตกุ ารณส์ าเหตผุ ล การประยกุ ต์เป็นความรบั ผดิ ชอบ ท้งั ในระดบั ปัจเจกและองค์กร ความสำ�คัญของเหตกุ ารณ์ และสิ่ง ที่ได้เรยี นร้จู ากเหตกุ ารณ์) - สาระสำ�คญั ของรฐั ธรรมนญู และ กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ของไทยในปจั จบุ ัน (กลไก สถาบนั และกระบวนการทางการเมือง การปกครองของไทยในปจั จุบัน) - รูจ้ กั แยกแยะไดว้ ่าอะไรคือ - ปฏบิ ัติตามกฎหมายรวู้ า่ การเคารพกฎกติกาและกฎหมาย ในสถานการณใ์ ดทจ่ี ะนำ�เร่ืองสทิ ธิ และอะไรคอื การไม่เคารพกฎกติกา ไปใช้ในการปกปอ้ งสทิ ธิหรอื และกฎหมาย การสรา้ งสมดลุ - ความรู้เกี่ยวกับกฎกตกิ า กฎหมาย (ทำ�ไมจงึ ตอ้ งมีกฎกติกา) - บทบาทของกฎหมายในการทีจ่ ัด ระเบียบสงั คมและแก้ปัญหา ความขัดแยง้ - การดำ�เนนิ การทเี่ ป็นธรรมเปน็ อยา่ งไรเมือ่ อยู่ภายใตก้ ระบวนการ ของกฎหมาย - ความเปน็ ธรรมที่มีการปรับใช้ ในสถานการณ์ท่แี ตกต่างกัน - กระบวนการของกฎหมายมหาชน ทีม่ กี ารปรบั เปลี่ยนโดยประชาชน และกระบวนการมสี ่วนรว่ มในสภา รฐั และศาล 100 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การป้องกนั การทุจริต”
แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา ๒ ชั่วโมง หน่วยท่ี ๔ ชอ่ื หน่วย พลเมืองและความรับผดิ ชอบต่อสังคม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอื่ ง การพจิ ารณาความเป็นพลเมอื ง ๒ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เก่ยี วกับพลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม ๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามหนา้ ที่พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๑.๓ ตระหนักและเห็นความสำ� คัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทุจริต ๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ อธิบายแนวทางการปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดี ได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ แนวทางการปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดี ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด) ๑) ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ - ทักษะกระบวนการคิดเชงิ สร้างสรรค์ ๒) ความสามารถในการส่ือสาร (อ่าน ฟงั พดู เขียน) ๓) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต (การสังเกต การระบุ วเิ คราะห์ จัดกลมุ่ สรปุ ) ๓.๓ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค/์ ค่านิยม ๑) รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ ๓) มวี ินยั ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขั้นตอนการเรียนรู้ (ฝึกปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ๓ ชว่ั โมง) ๑) ครูน�ำสนทนาถึงแนวทางการพิจารณาการเป็นพลเมือง ทง้ั ๓ ด้านคือ ๑.๑ คุณค่า ค่านิยม ๑.๒ ความรู้ ความเข้าใจ ๑.๓ ทกั ษะและพฤติกรรมทไี่ ดศ้ ึกษามากอ่ นหน้าน้ีแล้ว ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 101
๒) แบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มๆ ละ ๕ - ๖ คน แต่ละกลุ่มวิเคราะห์พฤติกรรมในฐานะที่เป็น นกั เรียนความด�ำรงตนอย่างไร ตามใบงาน เรื่อง แนวทางการพิจารณาการเป็นพลเมือง ๓) ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนนำ� เสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรยี นจากวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรม ตามใบงาน เรอื่ ง แนวทางการพจิ ารณาการเป็นพลเมอื ง ๔.๒ สอื่ การเรียนรู้/แหล่งการเรยี นรู้ ใบงาน เรือ่ ง แนวทางการพจิ ารณาการเป็นพลเมอื ง ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมนิ ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำ� งานของผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล ๒) แบบประเมนิ ใบงาน ๕.๒ เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการประเมนิ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการท�ำงานของผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล ๒) แบบประเมินใบงาน ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดับดีข้ึนไป ๖. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ........................................ครูผูส้ อน (.......................................) ............./............./............. 102 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การป้องกนั การทจุ ริต”
๗. ภาคผนวก ใบงาน เรอ่ื ง แนวทางการพิจารณาการเปน็ พลเมือง ในฐำนะท่ีนักเรียนเป็นพลเมืองดี นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมในกำรด�ำรงตนให้เป็นพลเมืองดี ตำมแนวทำงกำรพจิ ำรณำกำรเป็นพลเมอื งอย่ำงไร คุณคา่ คา่ นยิ ม ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและพฤตกิ รรม ระดับช้ันมัธยมศกึ ษำปที ่ี ๓ 103
แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา ๒ ช่ัวโมง หน่วยท่ี ๔ ช่ือหน่วย พลเมอื งและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๕ เร่ือง การสรา้ งสำ� นกึ พลเมอื งทม่ี สี ังคมโลก ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจ เกย่ี วกับพลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม ๑.๒ ปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๑.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธิบายแนวทางการสร้างสำ� นกึ พลเมอื งทีม่ ีสังคมโลก ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ แนวทางการสร้างส�ำนึกพลเมืองทีม่ สี ังคมโลกดี ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) ๑) ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ - ทักษะกระบวนการคิดเชงิ สร้างสรรค์ ๒) ความสามารถในการสือ่ สาร (อา่ น ฟงั พูด เขียน) ๓) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต (การสังเกต การระบุ วเิ คราะห์ จดั กลุ่ม สรปุ ) ๓.๓ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์/คา่ นยิ ม ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซอ่ื สัตย์สจุ ริต ๓) มวี นิ ยั ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ข้ันตอนการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี ๑ ๑) ครนู ำ� สนทนาทบทวนความรเู้ กย่ี วกบั แนวทางการปฏบิ ตั เิ ปน็ พลเมอื งดแี ละการพจิ ารณา การเป็นพลเมือง ที่ได้เรียนมาก่อนหน้านี้พร้อมยกตัวอย่างสถานการณ์ของพลเมืองจากประเทศต่าง ๆ ท่มี ีสำ� นกึ รักในความเป็นพลเมอื งทีด่ ี ๒) แบ่งกลุ่มนักเรียนออกกลุ่มๆ ละ ๕ - ๖ ศึกษาใบความรู้ เร่ือง จิตส�ำนึกของพลเมือง จากนั้นใหร้ ว่ มกนั สรุปองค์ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการศึกษาใบความรู้ตัวแทนกลมุ่ ออกมานำ� เสนอผลงาน 104 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การป้องกันการทุจรติ ”
ช่วั โมงที่ ๒ ๑) สนทนา อภิปราย ร่วมกัน ประเด็น การใช้อ�ำนาจของเจ้าหน้าที่รัฐ การตรวจสอบ การใช้อ�ำนาจรัฐ รูปแบบความสัมพันธ์ของการเมืองแบบมีส่วนร่วม ปัญหาการทุจริต แนวโน้มของ ปญั หาการทุจริตและจติ ส�ำนึกของพลเมืองท่ีมีตอ่ สังคมโลก ๔.๒ ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ การเรยี นรู้ ใบความรทู้ ี่ เรือ่ ง จติ ส�ำนกึ ของพลเมือง ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วิธีการประเมนิ ๑) สังเกตกระบวนการท�ำงานกลุ่ม ๒) การนำ� เสนอผลงาน ๕.๒ เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการประเมนิ ๑) แบบสงั เกตกระบวนการท�ำงานกลมุ่ ๒) แบบบนั ทึกผลการนำ� เสนอผลงาน ๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในระดบั ดีขึ้นไป ๖. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงช่ือ........................................ครูผ้สู อน (.......................................) ............./............./............. ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ 105
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เรอื่ ง จติ สำานึกของพลเมือง จติ สาำ นกึ ของพลเมอื ง จิตส�ำนึก เป็นสภำพที่รู้ตัวว่ำคือใคร อยู่ท่ีไหนต้องกำรอะไร หรือก�ำลังรู้สึกอย่ำงไรต่อสิ่งใดเม่ือ แสดงพฤติกรรมอะไรออกไปก็แสดงออกไปตำมหลักเหตุและผล แสดงตำมแรงผลักดันจำกภำยนอก สอดคล้องกับ หลักแห่งควำมเป็นจริง (principle of reality) จิตส�ำนึกเป็นระดับเหตุผลภำยในใจ ท่ีส่งผลต่อกำรแสดงออก ในพฤติกรรมต่ำงๆ โดยเลือกแล้วว่ำจะท�ำหรือไม่ท�ำอะไร เป็นกำรระลึกรู้ได้ เก่ียวกับต�ำแหน่งหน้ำท่ีของตัวเองในโครงสร้ำงสังคม ดังท่ีเรำได้ยินบ่อยๆ ว่ำจิตส�ำนึกแห่งควำมเป็นครู จิตส�ำนึกของพลเมือง จิตส�ำนึกสำธำรณะ จติ ส�ำนึกของกำรเป็นคนด ี จติ สำ� นกึ รักสิง่ แวดล้อม จิตสำ� นึก จึงเก่ยี วโยงกบั คณุ ธรรมและจริยธรรมของบคุ คลน่นั เอง กำรที่บุคคลจะมีคุณธรรม มีจิตสึกนึกที่ดีจ�ำต้องมีกำรอบรมสั่งสอน หรือซึมซับประสบกำรณ์ จำกครอบครัว หรือสังคมรอบตัว และผ่ำนกำรกระท�ำจนเป็นสันดำนแห่งควำมดี หรือจิตส�ำนึกน่ันเอง อยๆู่ จะใหม้ จี ติ สำ� นึกเกดิ ขน้ึ เองคงจะเปน็ ไปได้ยำก ปลกุ ปลูกจิตสำานึก ต้องท�ำในสองส่วนคือ “การปลกุ และการปลูก” กำรปลกุ นนั้ ใชก้ บั ผใู้ หญ่ ที่บำงคร้ังได้หลงลืม หรือละเลยกำรน�ำคุณธรรม และจริยธรรมมำใช้ในกำรประพฤติปฏิบัต ิ ส่วนกำรปลูกน้ันใช้ส�ำหรับเด็กและเยำวชนที่เปรียบดังผ้ำขำว และจะเป็นพลังส�ำคัญที่จะขับเคลื่อน สงั คมไทยในอนำคต ในกำรแกไ้ ขสงั คม คงตอ้ งทำ� ทงั้ สองสว่ น แตค่ วรเนน้ “กำรปลกู ” กบั เยำวชนมำกกวำ่ กำรปลูกในผู้ใหญ่ เพรำะกำรปลูกในผู้ใหญ่เป็นไปได้ยำกกว่ำกำรปลูกฝังใหม่ อย่ำงไรก็ดี “กำรปลูก” ผู้ปลูกต้องเข้ำใจ และทุ่มเท กระท�ำอย่ำงต่อเน่ืองจึงจะเห็นผลสังคมในปัจจุบันผู้ใหญ่ไม่เพียงจะละเลย กำรปลกู ฝังจติ สำ� นึกทดี่ ีๆ ให้กับเยำวชนแตย่ ังสรำ้ งจิตส�ำนึกท่ีผิดๆ ใหก้ ับเยำวชนอีกดว้ ยโดยตัง้ ใจ และ ไมต่ ง้ั ใจ กำรมองเหน็ ภำพกำรกระทำ� ทไ่ี มด่ งี ำมของผใู้ หญซ่ ำ้� แลว้ ซำ้� อกี เชน่ กำรทจุ รติ กำรละเมดิ กฎหมำย กำรใชแ้ ละกำรทำ� ลำยทรพั ยำกรธรรมชำตอิ ยำ่ งไมร่ คู้ ณุ คำ่ กำรเหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นตวั มำกกวำ่ ประโยชน์ ส่วนรวม กำรบูชำเงินทองมำกกว่ำควำมดีงำม เป็นต้น สิ่งเหล่ำน้ีจึงหล่อหลอมให้เยำวชนขำดจิตส�ำนึก แห่งควำมดีงำม คุณธรรมในสังคมจึงอ่อนล้ำอย่ำงเช่นทุกวันน้ี กำรเร่งปลูกฝังจิตส�ำนึกในเร่ืองดีๆ และ ลดเงือ่ นไขท่จี ะน�ำไปสูก่ ำรปลกู ฝง่ั สง่ิ ผิดๆ ใหก้ ับเด็กๆ จงึ เป็นเร่อื งทสี่ งั คมตอ้ งชว่ ยกันเร่งแกไ้ ข 106 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การป้องกนั การทจุ รติ ”
ภาคผนวก
ค�ำสัง่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ ๖๔๖/๒๕๖๐ เรือ่ ง แตง่ ตง้ั คณะอนุกรรมการจดั ท�ำหลักสูตรหรือชดุ การเรียนรู้และสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ ริต ---------------------------------------- ด้วย คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมคร้ังที่ ๘๕๕-๒๖/๒๕๖๐ เม่ือวันท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๐ ได้มีมติเห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต เพื่อด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ส�ำหรับใช้เป็นเน้ือหามาตรฐานกลางให้สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้อง นำ� ไปพจิ ารณาปรบั ใชใ้ นการเรยี นการสอนใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายครอบคลมุ ทกุ ระดบั ชน้ั เรยี น เพอื่ ปลกู ฝงั จติ สำ� นกึ ในการแยกแยะประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง และสร้างพฤติกรรมท่ีไม่ยอมรับและ ไม่ทนต่อการทุจริต อันเป็นการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ “สรา้ งสงั คมไม่ทนตอ่ การทจุ ริต” กลยุทธ์ที่ ๑ ปรบั ฐาน ความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และกลยทุ ธท์ ่ี ๓ ประยกุ ต์หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นเครือ่ งมือต้านทุจรติ ฉะน้ัน อาศัยอำ� นาจตามมาตรา ๑๙ (๑๖) แหง่ พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปอ้ งกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ จงึ ขอแต่งตงั้ คณะอนกุ รรมการ จดั ทำ� หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอื่ ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ โดยมอี งคป์ ระกอบ ดงั นี้ ๑. รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธรี านวุ ัฒศิริ ประธานอนกุ รรมการ ๒. รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ (นายประหยัด พวงจำ� ปา) ๓. ผชู้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ (นายกิตติ ล้มิ พงษ)์ ๔. ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนุกรรมการ (นายอทุ ิศ บัวศร)ี ๕. ผอู้ ำ� นวยการส�ำนักปอ้ งกันการทจุ ริตภาคการเมือง อนกุ รรมการ 108 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การป้องกนั การทจุ ริต”
๖. ผู้อ�ำนวยการสำ� นกั ปอ้ งกันการทจุ รติ ภาครฐั วิสาหกจิ อนุกรรมการ และธุรกจิ เอกชน อนกุ รรมการ ๗. ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั ปอ้ งกนั การทจุ รติ ภาคประชาสังคม อนุกรรมการ และการพัฒนาเครือข่าย อนกุ รรมการ ๘. ผแู้ ทนสำ� นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อนกุ รรมการ (ด้านการสรา้ งหลกั สตู รและสื่อการเรียนรู)้ อนุกรรมการ ๙. ผู้แทนส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน อนุกรรมการ (ด้านการสร้างหลกั สตู รและส่อื การเรียนรู้) อนกุ รรมการ ๑๐. ผู้แทนส�ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (ดา้ นการสร้างหลกั สูตรและสื่อการเรียนรู้) อนกุ รรมการ ๑๑. ผแู้ ทนส�ำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อนกุ รรมการ (ดา้ นการสร้างหลกั สตู รและสอ่ื การเรียนรู้) อนุกรรมการ ๑๒. ผู้แทนสำ� นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา อนุกรรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและสอื่ การเรียนร)ู้ ๑๓. ผแู้ ทนสำ� นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ อนกุ รรมการ การศึกษาตามอธั ยาศัย (ดา้ นการสร้างหลกั สตู รและสื่อการเรยี นรู้) อนุกรรมการ ๑๔. ผู้แทนส�ำนกั งานลกู เสือแห่งชาต ิ (ดา้ นการสรา้ งหลักสูตรและสื่อการเรยี นรู้) ๑๕. ผูแ้ ทนทป่ี ระชุมอธกิ ารบดีแห่งประเทศไทย (ดา้ นการสร้างหลักสตู รและสื่อการเรียนรู้) ๑๖. ผู้แทนทป่ี ระชุมอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั (ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและสอื่ การเรยี นรู้) ๑๗. ผู้แทนคณะกรรมการอธกิ ารบดมี หาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคล (ดา้ นการสร้างหลักสูตรและสื่อการเรยี นรู้) ๑๘. ผแู้ ทนสถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ กองบญั ชาการกองทัพไทย (ดา้ นการสรา้ งหลกั สูตรและสื่อการเรยี นรู้) ๑๙. ผู้แทนกรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก (ด้านการสรา้ งหลักสตู รและสอ่ื การเรียนร)ู้ ระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ 109
๒๐. ผแู้ ทนกรมยุทธศกึ ษาทหารเรอื อนุกรรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลกั สตู รและสื่อการเรียนร้)ู ๒๑. ผ้แู ทนกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ อนกุ รรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและส่อื การเรยี นร)ู้ ๒๒. ผแู้ ทนกองบญั ชาการศกึ ษา ส�ำนกั งานต�ำรวจแห่งชาติ อนุกรรมการ (ด้านการสร้างหลกั สตู รและส่อื การเรยี นรู้) ๒๓. พลโท ดร.ชยั ฤกษ์ แกว้ พรหมมาลย์ อนกุ รรมการ ๒๔. นายเสฏฐนันท์ อังกูรภาสวชิ ญ ์ อนกุ รรมการ ๒๕. นายสุเทพ พรหมวาศ อนุกรรมการ ๒๖. ผอู้ ำ� นวยการส�ำนักป้องกันการทจุ ริตภาครัฐ อนกุ รรมการและเลขานุการ ๒๗. นายสมพจน์ แพ่งประสิทธ ิ์ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ ๒๘. นางสาวกลั ยา สวนโพธ ิ์ ผู้ช่วยเลขานุการ ๒๙. นายสราวุฒิ เศรษฐกร ผูช้ ่วยเลขานกุ าร ๓๐. นายกาญจน์บณั ฑติ สนนชุ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๓๑. นายเทอดภูมิ ทัศนพิมล ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร ๓๒. นายธนวัฒน์ มะแมน้ ผู้ชว่ ยเลขานุการ โดยคณะอนกุ รรมการฯ มีอำ� นาจหน้าทด่ี งั น้ี ๑. ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และ สื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกนั การทุจรติ ๒. ก�ำหนดแนวทางและขอบเขตในการจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ “สร้างสงั คมไมท่ นต่อการทุจริต” ๓. พิจารณายกร่างและจัดท�ำเนื้อหาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้าน การป้องกันการทุจริต โดยก�ำหนดโครงสร้างหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์ของรายวิชา เนื้อหาสาระ จัดระเบยี บ/ลำ� ดบั ของเน้ือหาสาระ วธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ รวมทง้ั อืน่ ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๔. พิจารณาให้ความเห็นเพ่ิมเติมเก่ียวกับการจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบ การเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ เพอ่ื ใหม้ เี นอ้ื หาทค่ี รอบคลมุ และสมบรู ณ์ พรอ้ มทงั้ น�ำเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ ทั้งน้ี ใหด้ ำ� เนนิ การแลว้ เสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ๕. ก�ำหนดแผนหรือแนวทางการน�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้าน การปอ้ งกนั การทุจรติ ไปใชใ้ นหนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง ๖. ด�ำเนินการอ่นื ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย 110 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”
ทัง้ น้ี ต้ังแตบ่ ดั นี้เป็นตน้ ไป สัง่ ณ วันท่ ี ๒๖ เดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ พลต�ารวจเอก (วชั รพล ประสารราชกิจ) ประธานกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ 111
รายชอ่ื คณะทำ� งาน จดั ทำ� หลักสูตรหรือชดุ การเรียนรู้ และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทจุ ริต กล่มุ การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน -------------------------------- ทป่ี รึกษา ๑. นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ๒. นางสาวอษุ ณีย์ ธโนศวรรย ์ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๓. นายสุรศกั ด์ิ อินศรีไกร ผูอ้ �ำนวยการสำ� นักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา ๔. นายอุทศิ บวั ศรี ผูช้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม การทจุ ริตแห่งชาติ คณะทำ� งาน ครู โรงเรียนอนบุ าลเสาไห้ สพป.สระบุรี เขต ๑ กลมุ่ ที่ ๑ หลักสูตรปฐมวัย ครู โรงเรียนอนุบาลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๔ ๑. นางธารณี พรมหนู ครู โรงเรียนอนุบาลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๔ ๒. นางสมบัตร สืบศักด ิ์ ครู โรงเรียนอนบุ าลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบุรี เขต ๔ ๓. นางสาวนภัสสร ภริ มย์รักษ ์ ครู โรงเรียนวดั เก้าช่ัง สพป.สิงหบ์ ุรี ๔. นางสาวลกั ขณา โคบุตร ครู โรงเรยี นวดั ระนาม สพป.สิงห์บรุ ี ๕. นางสมใจ จีนเทห่ ์ ครู โรงเรยี นวดั บา้ นป้องน้อย สพป.ราชบุรี เขต ๒ ๖. นางสาวกชกร จนี เทห์ ครู โรงเรียนอนบุ าลเดมิ บางนางบวช (วดั ท่าชา้ ง) ๗. นางสุพกิ า ต้นสอน สพป.สุพรรณบรุ ี เขต ๓ ๘. นายพัฒนา พวงมาลี ครู โรงเรียนวัดบ่อกรุ “คุรุประชาสรรค์” สพป.สพุ รรณบุรี เขต ๓ ๙. นางสุภคั ษร พรอดุ มประเสรฐิ ครู โรงเรียนวดั บ่อกรุ “คุรุประชาสรรค”์ สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต ๓ ๑๐. นางฐติ พิ ร ศรีแจ่ม ครู โรงเรียนวัดนํา้ พุ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๓ ๑๑. นางอารยี ว์ รรณ เข็มเงนิ 112 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การปอ้ งกันการทุจรติ ”
กลมุ่ ที่ ๒ หลกั สตู รประถมศึกษาตอนต้น ครู โรงเรียนชลประทานอนุเคราะห์ ๑. นางสาวสภุ ัสสร สภุ าพ สพป.พระนครศรีอยธุ ยา เขต ๑ ครู โรงเรยี นชลประทานอนเุ คราะห์ ๒. นางสาวกนกนพ วรัฏธร สพป.พระนครศรอี ยธุ ยา เขต ๑ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนวัดทงุ่ คอก (สุวรรณสาธุกิจ) ๓. นางอารี พวงวรินทร ์ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒ ครู โรงเรยี นวัดท่งุ คอก (สุวรรณสาธุกจิ ) ๔. นางละเอียด สะอิง้ ทอง สพป.สุพรรณบรุ ี เขต ๒ ครู โรงเรียนอนบุ าลวดั อ่างทอง สพป.อ่างทอง ๕. นางสาวเรณู กศุ ลวงษ์ ครู โรงเรียนบา้ นนาดา สพป.นราธิวาส เขต ๑ ๖. นางสุจิรา อาบ ู ครู โรงเรยี นเมอื งนราธิวาส สพป.นราธวิ าส เขต ๑ ๗. นางสาววไิ ลวรรณ ทองไหม ครู โรงเรียนบ้านมะนังกาหยี สพป.นราธิวาส เขต ๑ ๘. นางสาวนิตยา อาหมาด ครู โรงเรียนบา้ นบอื เจ๊าะ สพป.นราธิวาส เขต ๑ ๙. นางสาวกสั มานี มามะ ครู โรงเรยี นบา้ นโคกพนอม สพป.นราธิวาส เขต ๑ ๑๐. นางสาวนิสรนิ เทพลักษณ์ ครู โรงเรียนบ้านฮูแตยือลอ สพป.นราธิวาส เขต ๑ ๑๑. นายยกู ฟิ ลี มาหะ ครู โรงเรยี นบา้ นยอื สาแม สพป.นราธิวาส เขต ๑ ๑๒. นางสาวซาฮาเราะ เจะย ิ ผ้อู �ำนวยการโรงเรยี นวัดนางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต ๒ กลมุ่ ที่ ๓ หลักสูตรประถมศกึ ษาตอนปลาย ครู โรงเรียนวัดสมถะ (สมถวิทยาคาร) สพป.ราชบุรี เขต ๒ ๑. นายกติ ตพิ งศ์ ศรัทธาวาณชิ ย์ ครู โรงเรยี นวดั นางแกว้ สพป.ราชบุรี เขต ๒ ๒. นางพรทิพย์ อิม่ ศลิ ป ์ ครู โรงเรยี นวัดนางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต ๒ ๓. นางอจั ฉราวดี บญุ โต ครู โรงเรยี นวดั นางแก้ว สพป.ราชบรุ ี เขต ๒ ๔. นางสาวศิริเพ็ญ จนั ทรท์ อง ครู โรงเรียนวัดนางแก้ว สพป.ราชบรุ ี เขต ๒ ๕. นางสาวเสาวรส แสนแซว ครู โรงเรยี นบ้านกูวา สพป.นราธวิ าส เขต ๑ ๖. นางสมพร ค�ำนุช ครู โรงเรียนบา้ นยะหอ สพป.นราธวิ าส เขต ๑ ๗. นางรสุ นานี ยะโกะ๊ ครู โรงเรียนสายนํา้ ทิพย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร ๘. นางซเี ตาะห์ นมิ ะ ครู โรงเรยี นสายนา้ํ ทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร ๙. นางสนุ ทรี ทองชิตร์ ครู โรงเรยี นสายนํ้าทิพย์ สพป.กรุงเทพมหานคร ๑๐. นางสาวพชิ ญดา ไชยดี ครู โรงเรียนสายน้ําทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร ๑๑. นางสาวศศิธร ค�ำนงึ ๑๒. นางสาวณิชนนั ทน์ สวุ รรณาภั ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ 113
กลุ่มที่ ๔ หลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนต้น ครู โรงเรียนวัดนางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต ๒ ๑. นางสาวสุธรี า ศิริพริ ุณ ๒. นางสลิตตา มะโนวฒั นา ครู โรงเรียนวดั นางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต ๒ ๓. นางทิวาพร อุณยเกยี รต ิ ครู โรงเรียนวัดดอนกระเบือ้ ง สพป.ราชบรุ ี เขต ๒ ๔. นางสาววรรณดี ศรอี ินสวสั ด์ิ ครู โรงเรียนชุมชนวัดบา้ นเลอื ก สพป.ราชบุรี เขต ๒ ๕. นางสาวฉววี รรณ หอธรรมกลุ ครู โรงเรยี นบ้านลาดวถิ ี สพป.ประจวบครี ีขันธ์ เขต ๒ ๖. นางสาวชนาธปิ เทยี นวรรณ ครู โรงเรยี นบ้านตะพานหนิ (ประชาสามคั ค)ี สพป.ชยั นาท ๗. นายวทิ ยา ศริ ิดำ� รง ครู โรงเรยี นบ้านไพรนกยูง (วันชัยประชาสรรค)์ สพป.ชัยนาท ๘. นางสาวขจร สงั ข์ประเสรฐิ ครู โรงเรยี นบ้านหนองตอ่ สพป.ชยั นาท ๙. นายเมธา สุระจติ ร ครู โรงเรยี นวัดบางปูน สพป.สิงห์บรุ ี ๑๐. นายนพรตั น์ บุญอ้น ครู โรงเรียนบ้านบอ่ กะปงุ สพป.นครสวรรค์ เขต ๒ ๑๑. นางสาวบุษยพรรณ พรหมวาทย์ จนั ทรา ครู โรงเรียนสุรศกั ดมิ์ นตรี สพม. เขต ๒ ๑๒. นางสาวลักษิกา มีกศุ ล ครู โรงเรียนสาคลีวิทยา สพม. เขต ๓ กลุ่มท่ี ๕ หลักสตู รมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ วจิ ยั และพฒั นาองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ สนก. ๑. นายภูธร จันทะหงษ์ ปุณยจรสั ธ�ำรง นกั วชิ าการศึกษา สนก. ๒. นายจักรพงษ์ วงคอ์ า้ ย นกั วิชาการศึกษา สนก. ๓. นายฐาปณฐั อดุ มศร ี ศึกษานิเทศก์ สพป.ราชบุรี เขต ๒ ๔. นายศุภกร มรกต ครู โรงเรียนตากฟา้ วชิ าประสทิ ธ์ิ ชว่ ยราชการ สนก. ๕. นายสพลกิตต์ิ สังข์ทพิ ย์ ครู โรงเรียนเสาไห้ “วิมลวทิ ยานกุ ลู ” สพม. เขต ๔ ๖. นางสาวพรรณราย ธนสตั ยส์ ถติ ย ์ ครู โรงเรียนหนองแคสรกจิ วิทยา สพม. เขต ๔ ๗. นายวรินทร ตันตริ ตั น ์ ครู โรงเรยี นสายนํ้าผ้งึ ในพระอปุ ถมั ภ์ สพม. เขต ๒ ๘. นางเยาวลักษณ์ หงส์หริ ัญเรือง ครู โรงเรยี นอินทรบ์ รุ ี สพม. เขต ๕ ๙. นางสาวขวัญวภิ า ภแู่ ส ครู โรงเรียนอนิ ทรบ์ รุ ี สพม. เขต ๕ ๑๐. นายธรรมสรณ์ สุศิร ิ ครู โรงเรียนชุมชนวดั ใหญโ่ พหกั สพป.ราชบุรี เขต ๒ ๑๑. นางสาววิภา ทวีวงศ์ ครู โรงเรยี นชุมชนวดั ใหญโ่ พหกั สพป.ราชบรุ ี เขต ๒ ๑๒. นางสาวดวงจนั ทร์ บัวเบา 114 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกันการทุจรติ ”
คณะทำ� งานส่วนกลาง ข้าราชการบำ� นาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑. นายไชยวฒั น์ สคุ ันธวิภัติ ข้าราชการบ�ำนาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒. นางสาธพุ ร สคุ ันธวิภตั ิ ขา้ ราชการบ�ำนาญ กระทรวงศึกษาธิการ ๓. นางสาวสรรเสริญ สวุ รรณ ์ ขา้ ราชการบ�ำนาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร ๔. นางสุณสิ าห์ มว่ งคราม เจ้าพนกั งานธรุ การช�ำนาญงาน สนก. ๕. นางสจุ ิตรา พิชัย นกั จัดการงานทั่วไป สนก. ๖. นางสาวณัฐรดา เนตรสว่าง นักจัดการงานทว่ั ไป สนก. ๗. นางสาวมณฑาทพิ ย์ ศริ ิสุมทุม พนักงานบนั ทึกขอ้ มลู สนก. ๘. นางสาวศรัญญา โชต ิ เจา้ หนา้ ที่บรหิ ารทั่วไป สนก. ๙. นายสหัสพล ษรบณั ฑติ เจา้ หน้าท่ีบรหิ ารทั่วไป สนก. ๑๐. นายภูรติ ะ ปราศกาเมศ เจ้าหน้าทบ่ี รหิ ารทัว่ ไป สนก. ๑๑. นางสาวอรอมุ า เสือเฒ่า ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ 115
รายชือ่ คณะบรรณาธกิ ารกิจ หลกั สตู รหรือชดุ การเรยี นรู้และส่อื ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกนั การทจุ ริต กลุ่มการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน -------------------------------- ทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ๑. นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๒. นางสาวอษุ ณีย์ ธโนศวรรย์ ผ้อู ำ� นวยการสำ� นกั พฒั นานวตั กรรมการจัดการศึกษา ๓. นายสุรศักด์ิ อนิ ศรีไกร ผชู้ ่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม ๔. นายอุทศิ บัวศรี การทจุ ริตแหง่ ชาติ คณะท�ำงาน ข้าราชการบ�ำนาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑. นางสาวสรรเสริญ สวุ รรณ์ ขา้ ราชการบำ� นาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร ๒. นางจ�ำนงค์ ศรมี งั กร ศกึ ษานเิ ทศก์ ศึกษาธกิ ารจงั หวัดชยั นาท ๓. นายธนบดพี ิพฒั น์ ดำ� นิล ศึกษานเิ ทศก์ สพป.พิษณโุ ลก เขต ๓ ๔. นางณัฐพร พว่ งเฟอ่ื ง ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ราชบุรี เขต ๒ ๕. นายศภุ กร มรกต ศึกษานเิ ทศก์ สพป. อดุ รธานี เขต ๑ ๖. นายวนิ ยั อสณุ ี ณ อยุธยา ศึกษานิเทศก์ สพป. มหาสารคาม เขต ๓ ๗. นายณัฐพล คุ้มวงศ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.นนทบุรี เขต ๒ ๘. นางเพ็ญจา เสมอเหมอื น ศึกษานเิ ทศก์ สพม. เขต ๑๗ ๙. นางบังอร ควรประสงค ์ ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นสายน้ําทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร ๑๐. นางนิรมล บวั เนียม ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นหนองปลาตอง (ประชาวทิ ยาคาร) ๑๑. นายวชิรเมษฐ์ บำ� รงุ ผดุงวิทย์ สพป. สกลนคร เขต ๑ ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นบ้านแบง สพป.หนองคาย เขต ๒ ๑๒. นายไกรสร พมิ พ์ประชา ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบ้านโคกเฟือง สพป.บุรรี ัมย์ เขต ๓ ๑๓. นายธนกฤติ พรมบตุ ร ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ”์ ๑๔. นายบุณยพงศ์ โพธิวัฒนธ์ นตั สพม. เขต ๑ ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นผักไห่ “สุทธาประมขุ ” สพม. เขต ๓ ๑๕. นางนันทนา ชมช่ืน ผู้อำ� นวยการโรงเรียนบา้ รับร่อ สพป.ชุมพร เขต ๑ ๑๖. นางสาวปยิ นชุ เปี่ยมวิรยิ วงศ ์ ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นบ้านหนิ กบ สงั กัด สพป.ชมุ พร เขต ๑ ๑๗. นางทพิ าภรณ์ หญีตศรคี ำ� ครู โรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี สพป.ลพบรุ ี ๑๘. นางสจุ ติ รา จรรยา 116 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การป้องกนั การทจุ รติ ”
๑๙. นางสาวภณั ฑิลา บ้านด่าน ครู โรงเรยี นคชิ ฌกฏู วิทยา สพม. เขต ๑๗ ๒๐. นางสวุ รรณี ศกั ด์ิชัยสมบูรณ์ ครู โรงเรยี นวัดบางปูน สพป.สงิ ห์บุรี ๒๑. นางลดั ดา คำ� วิจติ ร ครู โรงเรยี นวัดโบสถ์ สพป.สิงห์บุรี ๒๒. นางสาวชญั ญานุช รตั นวชิ ยั ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ”์ สพม. เขต ๑ ๒๓. นางสาวอรสา อิษฐเจริญ ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถัมภ”์ สพม. เขต ๑ ๒๔. นางสาวรตั นากร ศรคี ณุ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ”์ สพม. เขต ๑ ๒๕. นางสาวกัญญาพัชร หมู่ม่วง ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ”์ สพม. เขต ๑ ๒๖. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ”์ สพม. เขต ๑ ๒๗. นางสาวณฐั ทติ า รกั ษา ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต ๑ ๒๘. นางสาวเบญจวรรณ ศิรหิ ัตถ์ ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต ๑ ๒๙. นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ครู โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ”์ สพม. เขต ๑ ๓๐. นางสาวสุวรรณี สมประเสรฐิ ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอปุ ถัมภ์” สพม. เขต ๑ ๓๑. นายบรบิ รู ณ์ พรหมสว่าง ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถัมภ”์ สพม. เขต ๑ ๓๒. นางนติ ยา ภริ มย์กจิ นกั ทรพั ยากรบคุ คล สพร. ๓๓. นายภธู ร จนั ทะหงษ์ ปุณยจรัสธ�ำรง ผอู้ ำ� นวยการกลุ่มบริหารท่ัวไป สนก. ๓๔. นายจกั รพงษ์ วงคอ์ า้ ย นกั วิชาการศึกษา สนก. ๓๕. นายสพลกิตต์ิ สงั ขท์ ิพย ์ ครู โรงเรยี นตากฟา้ วชิ าประสทิ ธ์ิ ช่วยราชการ สนก. ๓๖. นายฐาปณัฐ อุดมศรี นกั วชิ าการศึกษา สนก. ๓๗. นางสุจิตรา พิชัย เจา้ พนักงานธรุ การ สนก. ๓๘. นางสาวณัฐรดา เนตรสวา่ ง นักจดั การงานทัว่ ไป สนก. ๓๙. นางสาวศรัญญา โชติ พนักงานบันทกึ ข้อมลู สนก. ๔๐. นายสหสั พล ษรบัณฑติ เจา้ หนา้ ทีบ่ รหิ ารทัว่ ไป สนก. ๔๑. นางสาวอรอุมา เสอื เฒา่ เจ้าหนา้ ทบ่ี ริหารท่วั ไป สนก. ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 117
รายชอื่ คณะผูป้ ระสานงาน การจดั ทำ� หลักสูตรหรอื ชุดการเรียนรู้และส่อื ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกันการทจุ รติ กลมุ่ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. -------------------------------- ทปี่ รกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม ๑. นายวรวทิ ย์ สขุ บญุ การทจุ ริตแหง่ ชาติ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกนั และปราบปราม ๒. นายประหยดั พวงจำ� ปา การทุจริตแหง่ ชาติ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม ๓. นายกิตติ ลม้ิ พงษ์ การทจุ รติ แหง่ ชาติ ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปราม ๔. นายอุทศิ บัวศรี การทุจรติ แหง่ ชาติ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักปอ้ งกันการทจุ รติ ภาครฐั ๕. นางสาวจนิ ตนา พลอยภัทรภญิ โญ คณะผปู้ ระสานงาน เจา้ พนักงานป้องกันการทจุ รติ เชีย่ วชาญ ๑. นายสมพจน์ แพ่งประสทิ ธิ์ เจ้าพนกั งานปอ้ งกันการทุจริตชำ� นาญการ ๒. นายสราวุฒิ เศรษฐกร เจา้ พนกั งานป้องกันการทจุ รติ ช�ำนาญการ ๓. นายธนวัฒน์ มะแมน้ เจา้ พนักงานปอ้ งกนั การทุจริตปฏบิ ัตกิ าร ๔. นายณฐั พงศ์ มณจี ักร์ นักศกึ ษาฝกึ งาน มหาวยิ าลัยราชภฎั จนั ทรเกษม ๕. นางสาว จดิ าภา แสงหริ ัญ นกั ศึกษาฝกึ งาน มหาวยิ าลัยราชภฎั จันทรเกษม ๖. นางสาววัลภา บุญชู 118 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกนั การทุจริต”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124