ช่วั โมงที่ ๒ ๑) สนทนา อภิปราย ความรู้เดิม เก่ียวกับประเด็นของประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม และการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ๒) แบ่งนกั เรียนออกเปน็ กล่มุ ๆละ ๔ - ๕ คน ๓) แจกใบความรู้ เรอ่ื ง ตัวอย่าง การขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกับประโยชนส์ ว่ นรวม ในรปู แบบต่างๆ ใหแ้ ต่ละกล่มุ ศึกษา ๔) แจกใบงาน เร่ือง ช่วยกันยกตัวอย่างการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ ส่วนรวมใหน้ กั เรยี นลงมือปฏบิ ตั ิ ขน้ั สรปุ ๕) รว่ มกนั เกย่ี วกบั ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมและการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรียนรู้ ๑) คลิปวีดีโอ พระราชด�ำรสั ในหลวงเมอื่ วันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ โดยทีม่ าของคลปิ วดี ีโอ คือ https://www.youtube.com/watch?v=HUwr1tDiEFI&feature=youtu.be ๒) ตัวอยา่ ง พระราชดำ� รัสหรอื พระบรมราโชวาททเ่ี กี่ยวกับประโยชนส์ ว่ นรวม ๓) ใบความรู้ เรอื่ ง มารจู้ ักประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวมและการขัดกันระหวา่ ง ประโยชน์ สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ๔) ใบงาน เร่ือง มารู้จักประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม และการขัดกันระหว่าง ประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๕) ใบความรู้ เรื่อง ตัวอย่าง การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม ในรปู แบบต่างๆ ๖) ใบงาน เรอื่ ง ชว่ ยกนั ยกตวั อย่างการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม ๗) กระดาษชารต์ ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑) ประเมินใบงาน เร่ือง มารู้จักประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม และการขัดกัน ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๒) ประเมนิ ใบงาน เรอ่ื ง ชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ งการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชน์ สว่ นรวม 46 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกนั การทจุ รติ ”
๕.๒ เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการประเมิน แบบประเมินใบงาน ๖. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงช่อื ........................................ครผู สู้ อน (.......................................) ............./............./............. ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 47
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เรอ่ื ง มารจู้ ักประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม และการขัดกันระหว่างผลประโยชน์สว่ นตน และผลประโยชน์สว่ นรวม ประโยชน์ส่วนตน หมำยถงึ กำรทบ่ี ุคคลท่ัวไปในสถำนะเอกชน หรอื เจ้ำหนำ้ ท่ขี องรัฐในสถำนะ เอกชนไดท้ ำ� กิจกรรม หรอื ได้กำรกระท�ำตำ่ งๆ เพอื่ ประโยชนส์ ่วนตน ครอบครวั ญำติ เพื่อน หรอื ของ กลุ่มในสังคม ท่ีมีควำมสัมพันธ์กันในรูปแบบต่ำงๆ เช่น กำรประกอบอำชีพ กำรค้ำ กำรลงทุน เพื่อ หำประโยชน์ในทำงกำรเงินหรอื ในทำงทรพั ย์สินต่ำงๆ เป็นตน้ ประโยชนส์ ว่ นรวม หรอื ประโยชนส์ าธารณะ หมำยถงึ กำรทบี่ คุ คลใดๆ ในสถำนะทเ่ี ปน็ เจำ้ หนำ้ ท่ี ของรัฐ (ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทำงกำรเมือง ข้ำรำชกำร พนักงำนรัฐวิสำหกิจ หรือเจ้ำหน้ำท่ีของรัฐใน หนว่ ยงำนของรฐั ) ไดก้ ระทำ� กำรใดๆ ตำมหนำ้ ทหี่ รอื ไดป้ ฏบิ ตั หิ นำ้ ทอี่ นั เปน็ กำรดำ� เนนิ กำรในอกี สว่ นหนง่ึ ที่แยกออกมำจำกกำรด�ำเนินกำรตำมหน้ำท่ีในสถำนะของเอกชนกำรกระท�ำกำรใดๆ ของเจ้ำหน้ำที่ ของรฐั จงึ มวี ตั ถปุ ระสงคห์ รอื มเี ปำ้ หมำย เพอื่ ประโยชนข์ องสว่ นรวม หรอื กำรรกั ษำผลประโยชนส์ ว่ นรวม การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ หมำยถึง กำรทเ่ี จ้ำหนำ้ ที่ของรัฐไดต้ กอยใู่ นฐำนะเป็นผู้มสี ่วนไดเ้ สียในรปู แบบตำ่ งๆ ตำมที่กฎหมำยบญั ญัตหิ ำ้ มไว ้ และยงั ไดเ้ ขำ้ ไปพจิ ำรณำดำ� เนนิ กำรในกจิ กำรสำธำรณะทเี่ ปน็ กำรดำ� เนนิ กำรตำมอำ� นำจหนำ้ ทใ่ี นกจิ กำร ของรัฐ เพื่อประโยชน์ของรัฐ แต่เม่ือเจ้ำหน้ำที่ของรัฐพิจำรณำได้มีผลประโยชน์ส่วนตนเข้ำไปแอบแฝง หรือได้น�ำประโยชน์ส่วนตนเข้ำไปมีอิทธิพลต่อกำรตัดสินใจ หรือเข้ำไปเก่ียวข้องในกำรตัดสินใจ ในกำรดำ� เนนิ กำรใดๆ ตำมอำ� นำจหนำ้ ท่ีของกำรด�ำเนนิ งำนท่ีเปน็ กิจกำรส่วนรวมของรฐั 48 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจรติ ”
ใบงาน เรื่อง มารจู้ ักประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม และการขดั กันระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชนส์ ว่ นรวม คำาชแ้ี จง นักเรียนสรุปประเด็น และยกตวั อยำ่ ง ประโยชน์ส่วนบคุ คล คือ ………………………....... ตวั อยำ่ ง เชน่ ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ประโยชนส์ ว่ นรวม คือ …………………………....... ตวั อยำ่ ง เช่น ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… กำรขัดกันระหว่ำงประโยชน์ส่วนบุคคลและ ตวั อย่ำง เช่น ผลประโยชนส์ ว่ นรวม คือ ……………………....... ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษำปีที่ ๓ 49
ตัวอยา่ ง พระราชด�ำรัส พระบรมราโชวาท ...บา้ นเมอื งของเราก�ำลงั ตอ้ งการการปรบั ปรงุ และการพฒั นาทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทางทเ่ี ราจะชว่ ยกนั ได้ กค็ อื การท่ที �ำความคดิ ใหถ้ ูกและแน่วแน่ ในอนั ที่จะยดึ ถอื ประโยชนข์ องบ้านเมืองเป็นทหี่ มาย ต้องเพลาการคดิ ถึงประโยชนเ์ ฉพาะตัว และความขัดแยง้ กันในสงิ่ ท่มี ใิ ช่สาระลง พระราชด�ำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว (พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขน้ึ ปใี หม่ ๒๕๔๓) ...การมีเสรีภาพนั้น เป็นของท่ีดีอย่างยิ่ง แต่เม่ือจะใช้ จ�ำเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง และ ความรับผิดชอบ มใิ ห้ล่วงละเมดิ เสรีภาพของผูอ้ นื่ ทเี่ ขามอี ยเู่ ทา่ เทยี มกัน ท้งั มใิ ห้กระทบกระเทือน ถงึ สวสั ดิภาพและความเป็นปกตสิ ุขของส่วนรวมดว้ ย... พระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั (พระราชทานแก่ผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔) ...คนไมม่ ีความสจุ ริต คนไมม่ ีความมั่นคง ชอบแต่มกั ง่าย ไมม่ ีวันจะสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวม ที่ส�ำคัญอันใดได้ ผู้ท่ีมีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้น จึงจะท�ำงานส�ำคัญยิ่งใหญ่ท่ีเป็น คณุ ประโยชน์แท้จริงไดส้ �ำเรจ็ ... พระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั (ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๒) ...สามัคคี คือการเห็นแก่บ้านเมือง และช่วยกันทุกวิธีทาง เพ่ือท่ีจะสร้างบ้านเมืองให้เข้มแข็ง ด้วยการเห็นอกเห็นใจซ่ึงกันและกัน ท�ำงานด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตอย่างตรงไปตรงมา นึกถึง ประโยชนส์ ว่ นรวมนนั้ คือความมัน่ คงของบา้ นเมอื ง... พระราชด�ำรสั ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว. (ในพิธปี ระดับยศนายต�ำรวจชั้นนายพล ๑๕ มกราคม ๒๕๑๙) 50 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทจุ ริต”
ใบความรู้ ตวั อย่าง การขัดกันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวมในรปู แบบตา่ งๆ ๑. การรบั ผลประโยชนต์ ่างๆ ๑.๑ นำยสุจริต ข้ำรำชกำรชั้นผู้ใหญ่ ได้เดินทำงไปปฏิบัติรำชกำรในพ้ืนที่จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ง ในวันดังกล่ำว นำยรวย นำยก อบต. ไดม้ อบงำช้ำงจำ� นวนหนง่ึ คใู่ หแ้ ก ่ นำยสุจรติ เพ่ือเปน็ ของทีร่ ะลกึ นำยสุจริต ได้มอบงำช้ำงดังกล่ำวให้หน่วยงำนต้นสังกัด ตรวจสอบมูลค่ำพร้อมท้ังด�ำเนินกำรให้ถูกต้อง ตำมระเบียบ และกฎหมำย แต่ต่อมำ นำยสุจริต พิจำรณำแล้วเห็นว่ำไม่สมควรรับงำช้ำงดังกล่ำวไว้ จงึ เรง่ ใหห้ นว่ ยงำนตน้ สงั กัดคนื งำช้ำงให้แก ่ นำยรวย ตำมพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มำตรำ ๑๐๓ ประกอบประกำศคณะกรรมกำร ป.ป.ช. เร่ือง หลกั เกณฑ์กำรรับทรพั ยส์ ิน หรือประโยชน์อ่ืนใด โดยธรรมจรรยำของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๗ ประกอบข้อ ๕ (๒) ได้ก�ำหนดว่ำ เจ้ำหน้ำที่ของรัฐผู้ใด ได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดจำกบุคคลอื่นท่ีมิใช่ญำติ ซึ่งมี มูลค่ำเกินกว่ำสำมพันบำท แล้วประสงค์จะรับทรัพย์สินน้ันไว้เป็นสิทธิของตนจะต้องแจ้งรำยละเอียด ข้อเท็จจริงเก่ียวกับกำรรับทรัพย์สินน้ันต่อผู้บังคับบัญชำ หรือผู้มีอ�ำนำจแต่งตั้งถอดถอน หรือ คณะกรรมกำร ป.ป.ช. หรอื ประธำนสภำผแู้ ทนรำษฎร หรือประธำนวุฒสิ ภำ หรอื ประธำนสภำท้องถ่นิ แล้วแต่กรณีในทันทีท่ีสำมำรถกระท�ำได้ เพื่อให้วินิจฉัยว่ำมีเหตุผลควำมจ�ำเป็น ควำมเหมำะสม และ สมควรที่จะให้เจำ้ หน้ำท่ีของรัฐผู้นน้ั รบั ทรพั ย์สินนน้ั ไวเ้ ปน็ สทิ ธิของตน หรอื ไม่ เมื่อข้อเท็จจริงในเร่ืองน้ีปรำกฏว่ำ เมื่อนำยสุจริต ข้ำรำชกำรช้ันผู้ใหญ่ ได้รับงำช้ำงแล้ว ได้ส่งให้หน่วยงำนต้นสังกัดตรวจสอบมูลค่ำ พร้อมท้ังด�ำเนินกำรให้ถูกต้องตำมระเบียบและกฎหมำย แต่ต่อมำ นำยสุจริต พจิ ำรณำเห็นวำ่ ไม่สมควรรบั งำชำ้ งดงั กล่ำวไว ้ จึงสง่ คืนให้นำยรวยไป โดยใช้ระยะ เวลำในกำรตรวจสอบระเบยี บแนวทำงปฏิบัติ และข้อมลู ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งเพือ่ ควำมรอบคอบ และส่งคนื งำช้ำง แกน่ ำยรวยภำยใน ๓ วัน จำกข้อเทจ็ จรงิ จึงฟงั ไดว้ ่ำนำยสจุ รติ มิได้มเี จตนำ หรือมีควำมประสงค์ทจี่ ะรบั งำชำ้ งนน้ั ไวเ้ ป็นสิทธิของตนแตอ่ ย่ำงใด ๑.๒ กำรที่เจ้ำหน้ำท่ีของรัฐรับของขวัญจำกผู้บริหำรของบริษัทเอกชน เพ่ือช่วยให้บริษัทเอกชน รำยน้ัน ชนะกำรประมลู รับงำนโครงกำรขนำดใหญ่ของรฐั ๑.๓ กำรที่บริษัทแห่งหนึ่งให้ของขวัญเป็นทองค�ำมูลค่ำมำกกว่ำ ๑๐ บำท แก่เจ้ำหน้ำที่ในปี ท่ีผ่ำนมำ และปีน้ีเจ้ำหน้ำท่ีเร่งรัดคืนภำษีให้กับบริษัทนั้นเป็นกรณีพิเศษ โดยลัดคิวให้ก่อนบริษัทอ่ืนๆ เพรำะคำดว่ำจะไดร้ บั ของขวญั อกี ระดับชัน้ มัธยมศึกษำปีท่ี ๓ 51
๑.๔ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐไปเป็นคณะกรรมการของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ และได้รับ ความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ จากบริษัทเหล่านั้น ซ่ึงมีผลต่อการให้ค�ำวินิจฉัย หรือข้อเสนอแนะ ท่ีเป็นธรรม หรอื เป็นไปในลกั ษณะท่เี อื้อประโยชน์ตอ่ บรษิ ทั ผใู้ ห้นั้นๆ ๑.๕ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ไดร้ บั ชดุ ไมก้ อลฟ์ จากผบู้ รหิ ารของบรษิ ทั เอกชน เมอื่ ตอ้ งทำ� งานทเี่ กย่ี วขอ้ ง กบั บรษิ ทั เอกชนแหง่ นน้ั กช็ ว่ ยเหลอื ใหบ้ รษิ ทั นนั้ ไดร้ บั สมั ปทาน เนอ่ื งจากรสู้ กึ วา่ ควรตอบแทนทเี่ คยไดร้ บั ของขวัญมา ๒. การท�ำธรุ กิจกบั ตนเองหรอื เปน็ คู่สัญญา ๒.๑ นิติกร ฝ่ายกฎหมายและเร่งรัดภาษีอากรค้าง ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค หารายได้พิเศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกันชีวิตของบริษัทเอกชน ได้อาศัยโอกาสท่ีตนปฏิบัติหน้าท่ี เร่งรัดภาษีอากรค้างผู้ประกอบการรายหนึ่งหาประโยชน์ให้แก่ตนเองด้วยการขายประกันชีวิตให้แก่ หุ้นส่วนผู้จัดการของผู้ประกอบการดังกล่าว รวมทั้งพนักงานของผู้ประกอบการนั้นอีกหลายคน ในขณะที่ตนก�ำลังด�ำเนินการเร่งรัดภาษีอากรค้าง พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าวเป็นการอาศัย ต�ำแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ตาม มาตรา ๘๓ (๓) ประกอบมาตรา ๘๔ แหง่ พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒.๒ การทเ่ี จ้าหนา้ ทใ่ี นกระบวนการจดั ซอ้ื จดั จ้างทำ� สญั ญาใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั ซอ้ื คอมพวิ เตอร์ ส�ำนักงานจากบริษทั ของครอบครัวตนเอง หรือบริษัททีต่ นเองมีหนุ้ สว่ นอยู่ ๒.๓ ผู้บริหารหน่วยงานท�ำสัญญาเช่ารถไปสัมมนาและดูงานกับบริษัท ซ่ึงเป็นของเจ้าหน้าท่ี หรือบริษทั ทผี่ บู้ ริหารมหี นุ้ ส่วนอยู่ ๒.๔ การท่ีผู้ตรวจสอบบัญชีภาครัฐรับงานพิเศษเป็นท่ีปรึกษา หรือเป็นผู้ท�ำบัญชีให้กับบริษัท ท่ีตอ้ งถกู ตรวจสอบ ๒.๕ ภรรยาอดีตนายกรัฐมนตรี ประมูลซื้อท่ีดินย่านถนนรัชดาภิเษก ใกล้กับศูนย์วัฒนธรรม แหง่ ประเทศไทย จากกองทุนเพ่อื การฟื้นฟู และพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการก�ำดูแลของธนาคาร แหง่ ประเทศไทย กระทรวงการคลัง โดยอดตี นายกรัฐมนตรี ซง่ึ ในขณะนนั้ ด�ำรงตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรี ในฐานะเจ้าพนักงาน มีหน้าท่ีดูแลกิจการของกองทุนฯ ได้ลงนามยินยอมในฐานะคู่สมรสให้ภรรยา ประมูลซ้ือที่ดินและท�ำสัญญาซ้ือขายที่ดิน ส่งผลให้เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาซื้อที่ดิน โฉนดแปลงดังกล่าว อันเปน็ การขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกับประโยชนส์ ่วนรวม เปน็ การฝา่ ฝืนต่อ กฎหมาย มคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๐ (๑) 52 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การป้องกันการทจุ ริต”
๓. การท�ำงานหลังจากออกจากต�ำแหน่งหนา้ ทีส่ าธารณะ หรือหลังเกษยี ณ ๓.๑ อดีตผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง เพ่ิงเกษียณอายุราชการไปท�ำงานเป็นท่ีปรึกษา ในบรษิ ัทผลิตหรือขายยา โดยใช้อิทธพิ ลจากท่เี คยดำ� รงตำ� แหนง่ ในโรงพยาบาลดงั กลา่ ว ใหโ้ รงพยาบาล ซ้ือยาจากบริษัทท่ีตนเองเป็นท่ีปรึกษาอยู่พฤติการณ์เช่นน้ี มีมูลความผิดทั้งทางวินัย และทางอาญา ฐานเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ท่ีอาจท�ำให้ผู้อ่ืนเชื่อว่า ตนมีต�ำแหน่งหรือหน้าที่ทั้งที่ตนมิได้มีต�ำแหน่งหรือหน้าที่นั้น เพ่ือแสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายส�ำหรับตนเองหรือผู้อื่น ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒๓ ๓.๒ การที่ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าท่ีขององค์กรด้านเวชภัณฑ์และสุขภาพออกจากราชการไป ทำ� งาน ในบรษิ ทั ผลติ หรอื ขายยา ๓.๓ การที่ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานท่ีเกษียณแล้วใช้อิทธิพลท่ีเคยด�ำรงต�ำแหน่ง ในหน่วยงานรัฐ รับเป็นท่ีปรึกษาให้บริษัทเอกชนท่ีตนเคยติดต่อประสานงาน โดยอ้างวา่ จะได้ติดต่อกับ หน่วยงานรัฐไดอ้ ย่างราบรนื่ ๓.๔ การวา่ จา้ งเจา้ หนา้ ทผ่ี เู้ กษยี ณมาทำ� งานในตำ� แหนง่ เดมิ ทห่ี นว่ ยงานเดมิ โดยไมค่ มุ้ คา่ กบั ภารกจิ ที่ไดร้ ับมอบหมาย ๔. การท�ำงานพเิ ศษ ๔.๑ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี ๖ ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค ได้จัดต้ังบริษัท รับจ้าง ท�ำบัญชี และให้ค�ำปรึกษาเก่ียวกับภาษี และมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับบริษัท โดยรับจ้าง ท�ำบัญชี และย่ืนแบบแสดงรายการให้ผู้เสียภาษีในเขตจังหวัดที่รับราชการอยู่ และจังหวัดใกล้เคียง กลับมีพฤติการณ์ช่วยเหลือผู้เสียภาษีให้เสียภาษีน้อยกว่าความเป็นจริง และรับเงินค่าภาษีอากรจาก ผู้เสียภาษีบางรายแล้ว มิได้น�ำไปย่ืนแบบแสดงรายการช�ำระภาษีให้ พฤติการณ์ของเจ้าหน้าที่ดังกล่าว เป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับกรมสรรพากรว่าด้วยจรรยาข้าราชการ กรมสรรพากร พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๙ (๗) (๘) และอาศัยต�ำแหน่งหน้าท่ีราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัย อย่างไมร่ ้ายแรงตามมาตรา ๘๓ (๓) แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ อีกทงั้ เป็นการปฏบิ ัตหิ น้าที่ราชการโดยมิชอบ เพือ่ ให้เกิดความเสยี หายแก่ทางราชการโดยร้ายแรง และปฏบิ ัติ หน้าท่ีราชการโดยทุจริต และยังกระท�ำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรงเป็นความผิด วินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา ๘๕ (๑) และ (๔) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 53
๔.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐอาศัยต�ำแหน่งหน้าที่ทางราชการรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ เพื่อใหบ้ ริษัทเอกชนทว่ี า่ จา้ งน้ันมีความนา่ เช่ือถือมากกว่าบริษทั คแู่ ข่ง ๔.๓ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่ท�ำงานที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานอย่างเต็มที่ แต่เอาเวลา ไปรบั งานพเิ ศษอ่นื ๆ ท่อี ยนู่ อกเหนอื อ�ำนาจหน้าทที่ ี่ได้รับมอบหมายจากหนว่ ยงานตามกฎหมาย ๕. การร้ขู ้อมูลภายใน ๕.๑ นายช่าง ๕ แผนกชุมสายโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ี องค์การโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย ได้น�ำข้อมลู เลขหมายโทรศพั ทเ์ คลอื่ นทร่ี ะบบ ๔๗๐ MHZ และระบบปลดลอ็ คไปขายใหแ้ กผ่ อู้ นื่ จำ� นวน ๔๐ หมายเลข เพอื่ นำ� ไปปรบั จนู เขา้ กบั โทรศพั ทเ์ คลอื่ นทท่ี น่ี ำ� ไปใชร้ บั จา้ งใหบ้ รกิ ารโทรศพั ทแ์ กบ่ คุ คลทว่ั ไป คณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ตชิ ้ีมลู ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๗ และ มาตรา ๑๖๔ และมีความผิดวินัย ข้อบังคับองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยว่าด้วยการพนักงาน พ.ศ. ๒๕๓๖ ข้อ ๔๔ และ ๔๖ ๕.๒ การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐทราบข้อมูลโครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้าน จึงบอกให้ญาติพ่ีน้องไปซ้ือ ท่ดี ินบริเวณโครงการดังกล่าว เพ่อื ขายใหก้ ับราชการในราคาที่สงู ขน้ึ ๕.๓ การท่ีเจ้าหน้าที่หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงข่ายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุ อุปกรณ์ที่จะใช้ในการวางโครงข่ายโทรคมนาคม แล้วแจ้งข้อมูลให้กับบริษัทเอกชนท่ีตนรู้จัก เพ่ือให้ได้ เปรยี บในการประมลู ๖. การใชท้ รพั ยส์ นิ ของราชการเพอ่ื ประโยชน์ส่วนตน ๖.๑ คณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ ใช้อ�ำนาจหน้าที่โดยทุจริต ด้วยการส่ังให้เจ้าหน้าท่ีน�ำเก้าอี้ พร้อมผ้าคุมเก้าอ้ี เครื่องถ่ายวิดีโอ เคร่ืองเล่นวิดีโอ กล้องถ่ายรูป และผ้าเต็นท์ น�ำไปใช้ในงานมงคล สมรส ของบุตรสาว รวมท้งั รถยนต์ รถตู้สว่ นกลาง เพ่อื ใช้รับสง่ เจ้าหน้าที่เขา้ รว่ มพิธี และขนยา้ ยอุปกรณ์ ท้ังท่ีบ้านพักและงานฉลองมงคลสมรสท่ีโรงแรม ซึ่งล้วนเป็นทรัพย์สินของทางราชการ การกระท�ำของ จ�ำเลยนับเป็นการใช้อ�ำนาจโดยทุจริต เพ่ือประโยชน์ส่วนตนอันเป็นการเสียหายแก่รัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ช้ีมูลความผิดวินัย และอาญา ต่อมาเรื่องเข้าสู่กระบวนการในชั้นศาล ศาลพิเคราะห์พยาน หลักฐานโจทก์แล้วเห็นว่าการกระท�ำของจ�ำเลย เป็นการทุจริตต่อต�ำแหน่งหน้าที่ฐานเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าท่ีซื้อท�ำจัดการหรือรักษาทรัพย์ใดๆ ใช้อ�ำนาจในต�ำแหน่งโดยทุจริตอันเป็นการเสียหายแก่รัฐ และเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ และ ๑๕๗ จงึ พพิ ากษาใหจ้ �ำคุก ๕ ปี และปรับ ๒๐,๐๐๐ บาท คำ� ให้การรับสารภาพเป็นประโยชน์ แก่การพจิ ารณา คดี ลดโทษใหก้ ่ึงหนึง่ คงจำ� คุกจ�ำเลยไว้ ๒ ปี ๖ เดอื น และปรบั ๑๐,๐๐๐ บาท 54 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การป้องกันการทุจริต”
๖.๒ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้มีหน้าท่ีขับรถยนต์ของส่วนราชการ น�ำน้�ำมัน ในรถยนต์ไปขาย และน�ำเงินมาไว้ใช้จ่ายส่วนตัวท�ำให้ส่วนราชการต้องเสียงบประมาณ เพ่ือซ้ือน�้ำมันรถมากกว่า ที่ควรจะเป็น พฤติกรรมดังกล่าวถือเป็นการทุจริต เบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวมเพื่อประโยชน์ ของตนเอง และมีความผิดฐานลักทรพั ย์ ๖.๓ การท่ีเจ้าหน้าที่รัฐ ผู้มีอ�ำนาจอนุมัติให้ใช้รถราชการหรือการเบิกจ่ายค่าน�้ำมันเช้ือเพลิง น�ำรถยนตข์ องสว่ นราชการไปใชใ้ นกิจธุระสว่ นตัว ๗. การน�ำโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้งั เพ่อื ประโยชนใ์ นทางการเมือง ๗.๑ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแห่งหน่ึงร่วมกับพวก แก้ไขเปล่ียนแปลงรายละเอียด โครงการปรับปรุงและซ่อมแซมถนนคนเดินใหม่ ในต�ำบลท่ีตนมีฐานเสียงโดยไม่ผ่านความเห็นชอบ จากสภาฯ และ ตรวจรบั งานทง้ั ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งตามแบบรปู รายการทกี่ ำ� หนด รวมทง้ั เมอ่ื ดำ� เนนิ การแลว้ เสรจ็ ได้ติดป้ายชื่อของตนและพวกการกระท�ำดังกล่าวมีมูลเป็นการกระท�ำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือสวัสดิภาพของประชาชนหรือละเลยไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอ�ำนาจหน้าที่ มมี ลู ความผดิ ทง้ั ทางวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงและทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มหี นงั สอื แจง้ ผลการพจิ ารณา ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหผ้ มู้ อี ำ� นาจ แตง่ ตงั้ ถอดถอน และสำ� นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ทราบ ๗.๒ การท่ีนักการเมืองในจังหวัด ขอเพ่ิมงบประมาณเพ่ือน�ำโครงการตัดถนน สร้างสะพาน ลงในจังหวัด โดยใช้ช่ือหรอื นามสกุลของตนเองเป็นช่ือสะพาน ๗.๓ การท่ีรัฐมนตรีอนุมตั ิโครงการไปลงในพืน้ ทหี่ รอื บ้านเกดิ ของตนเอง ๘. การใชต้ �ำแหนง่ หน้าทแ่ี สวงหาประโยชน์แก่เครือญาติ พนักงานสอบสวนละเว้นไม่น�ำบันทึกการจับกุมที่เจ้าหน้าที่ต�ำรวจชุดจับกุม ท�ำขึ้นในวันเกิดเหตุ รวมเข้าส�ำนวน แตก่ ลบั เปลย่ี นบันทึกและแกไ้ ขขอ้ หาในบนั ทึกการจับกุม เพอื่ ชว่ ยเหลอื ผตู้ อ้ งหา ซึง่ เปน็ ญาติของตนใหร้ ับโทษน้อยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้วมีมลู ความผดิ ทางอาญาและทางวินยั อย่างรา้ ยแรง ๙. การใชอ้ ิทธพิ ลเขา้ ไปมีผลต่อการตัดสนิ ใจของเจ้าหน้าที่รัฐหรือหน่วยงานของรฐั อื่น ๙.๑ เจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้ต�ำแหน่งหน้าที่ในฐานะผู้บริหาร เข้าแทรกแซงการปฏิบัติงานของ เจา้ หนา้ ที่ ให้ปฏิบตั ิหนา้ ทโ่ี ดยมิชอบด้วยระเบยี บ และกฎหมายหรือฝา่ ฝนื จรยิ ธรรม ๙.๒ นายเอ เป็นหัวหน้าส่วนราชการแห่งหน่ึงในจังหวัด รู้จักสนิทสนมกับ นายบี หัวหน้า ส่วนราชการอีกแห่งหน่ึงในจังหวัดเดียวกัน นายเอ จึงใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวฝากลูกชาย คือ นายซี เขา้ รับราชการภายใตส้ งั กดั ของนายบี ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ 55
๑๐. การขัดแย้งกันแห่งผลประโยชนส์ ่วนบุคคลกับประโยชน์สว่ นรวมประเภทอ่ืนๆ ๑๐.๑ การเดินทางไปราชการต่างจังหวัด โดยไม่ค�ำนึงถึงจ�ำนวนคน จ�ำนวนงาน และจ�ำนวนวัน อย่างเหมาะสม อาทิ เดินทางไปราชการจ�ำนวน ๑๐ วัน แต่ใช้เวลาในการท�ำงานจริงเพียง ๖ วัน โดยอีก ๔ วัน เปน็ การเดนิ ทางท่องเทีย่ วในสถานทีต่ า่ ง ๆ ๑๐.๒ เจ้าหน้าที่ผูป้ ฏบิ ัติไม่ใชเ้ วลาในราชการปฏิบัติงานอยา่ งเต็มท่ี เนอื่ งจากต้องการปฏิบัตงิ าน นอกเวลาราชการ เพราะสามารถเบิกเงินงบประมาณค่าตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการได้ ๑๐.๓ เจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐลงเวลาปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการ โดยมไิ ดอ้ ยูป่ ฏบิ ตั งิ านในชว่ งเวลานั้น อยา่ งแทจ้ รงิ แต่กลับใช้เวลาดังกลา่ วปฏบิ ัติกจิ ธรุ ะสว่ นตัว 56 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การป้องกันการทจุ ริต”
ใบงาน เรอื่ ง ชว่ ยกันยกตัวอยา่ งการขดั กนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกับประโยชน์ส่วนรวม คำาชแ้ี จง นักเรียนยกตัวอย่ำงกำรขดั กันระหว่ำงประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ว่ นรวม รปู แบบการขดั กันระหวา่ งประโยชน์ ตวั อย่าง ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม กำรรบั ผลประโยชน์ต่ำงๆ กำรทำ� ธุรกจิ กับตนเองหรอื เปน็ คสู่ ญั ญำ กำรใช้ทรพั ย์สินของรำชกำร เพ่ือประโยชน์สว่ นตน กำรใช้ตำ� แหนง่ หนำ้ ท่แี สวงหำประโยชน ์ แกเ่ ครอื ญำติ กำรทำ� งำนหลังจำกออกจำกตำ� แหนง่ หนำ้ ที่ สำธำรณะหรือหลังเกษยี ณ กำรท�ำงำนพิเศษ กำรรู้ขอ้ มูลภำยใน ระดับชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ ี ๓ 57
รปู แบบการขดั กันระหวา่ งประโยชน์ ตัวอย่าง ส่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม การนำ� โครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตงั้ เพือ่ ประโยชนใ์ นทางการเมือง การใชอ้ ทิ ธพิ ลเข้าไปมผี ลต่อการตดั สนิ ใจ ของเจ้าหน้าท่รี ัฐหรือหนว่ ยงานของรฐั อ่ืน การขัดกนั แหง่ ผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ประโยชน์ส่วนรวมประเภทอืน่ ๆ 58 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ ริต”
แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี ๑ ชือ่ หน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๖ เร่ือง รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น และแนวทาง เวลา ๒ ช่ัวโมง ปอ้ งกนั ผลประโยชน์ทับซ้อนในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม ๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๑.๓ ตระหนกั และเห็นความส�ำคัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกนั การทุจรติ ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับผลประโยชนท์ ับซอ้ น และรูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น ๒.๒ สามารถคิดแยกแยะ และยกตัวอย่างเก่ียวกับผลประโยชน์ทับซ้อน และรูปแบบของ ผลประโยชนท์ ับซอ้ น และเสนอแนะแนวทางป้องกันผลประโยชน์ทบั ซอ้ นในกลุ่มประเทศอาเซียน ๒.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทจุ ริต ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interests) คือ ผลประโยชน์ส่วนตัวของเจ้าหน้าท่ีรัฐ ไปขัดแย้งและผลประโยชน์ส่วนรวมแล้วต้องเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ซ่ึงท�ำให้ตัดสินใจได้ยากในอัน ท่จี ะปฏบิ ัตหิ น้าท่ีให้ เกิดความเปน็ ธรรมและปราศจากอคติ ๑) รูปแบบของผลประโยชน์ทับซอ้ น แบง่ ออกเปน็ ๗ รูปแบบ ไดแ้ ก่ ๑.๑ การรบั ผลประโยชน์ต่างๆ (Accepting benefits) ๑.๒ การท�ำธุรกิจกบั ตวั เอง (Self-dealing) หรอื เปน็ คสู่ ญั ญา (Contracts) ๑.๓ การท�ำงานหลังจากออกจากต�ำแหน่งสาธารณะหรือหลังเกษียณ (Post- employment) ๑.๔ การท�ำงานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ๑.๕ การรบั ร้ขู อ้ มลู ภายใน (Inside information) ๑.๖ การใช้ทรัพย์สินของหน่วยงานเพื่อประโยชน์ของธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s property for private advantage) ๑.๗ การนำ� โครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพื่อประโยชน์ในทางการเมือง (Pork- belling) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 59
๒) แนวทางการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาผลประโยชน์ทบั ซ้อน ๒.๑ การก�ำหนดคุณสมบัติที่พึงประสงค์หรือคุณสมบัติต้องห้าม (Qualification and disqualification from office) ๒.๒ การเปิดเผยขอ้ มูลเก่ียวกบั ทรพั ย์สนิ หนี้สนิ และธรุ กจิ ของครอบครัวให้สาธารณะ ทราบ (Disclosure of personal interests) ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) ๑) ความสามารถในการคิด ๑.๑ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ ๑.๒ ทกั ษะกระบวนการคดิ เชงิ สร้างสรรค์ ๒) ความสามารถในการสอ่ื สาร (อา่ น ฟงั พดู เขียน) ๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ (การสังเกต การระบุ จ�ำแนก วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรุป) ๓.๓ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์/ค่านิยม ๑) มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวงั ดตี ่อผอู้ ่ืน เผ่ือแผแ่ ละแบ่งปนั ๒) มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยรูจ้ ักการเคารพผู้ใหญ่ ๓) มสี ตริ ตู้ วั รคู้ ิด ร้ทู �ำ รปู้ ฏบิ ตั ติ ามพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ๔) มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจไม่ยอมแพ้ต่ออ�ำนาจฝ่ายต่�ำ หรือกิเลส มีความ ละอายเกรงกลัว ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี ๑ ขั้นน�ำ ๑) ชมคลปิ วดี ีโอ โตไปไม่โกง ตอน ผู้ตัดสิน โดยมีทมี่ าของคลปิ วีดีโอ คอื https://www.youtube.com/watch?v=4A7xpbbjm9Q ๒) สนทนาอภิปราย เก่ยี วกบั คลปิ วดี โี อ โตไปไมโ่ กง ตอน ผู้ตดั สิน โดยครูพยายามเช่ือมโยง ใหเ้ ห็นถึงประเด็นเรื่องของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น จากเหตุการณ์ในคลิปวีดโี อ ขั้นสอน ๑) ชมคลิปวีดโี อ รู้ทันกนั โกง ตอน ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น conflict of interest โดยทม่ี า ของคลปิ วีดีโอ คือ https://www.youtube.com/watch?v=34Ixr18MPOs ๒) สนทนาอภิปราย เก่ยี วกบั คลปิ วีดีโอ รู้ทนั กนั โกง ตอน ผลประโยชนท์ ับซอ้ น conflict of interest โดยครูพยายามชีใ้ หเ้ ห็นเรอื่ งของผลประโยชนท์ บั ซ้อน ๓) แบ่งนกั เรียนออกเปน็ กลุ่มๆ ละ ๔ - ๕ คน 60 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ ริต”
๔) แจกใบความรู้ เร่ือง ตัวอย่างโอกาสที่จะเกิดผลประโยชน์ทับซ้อนของข้าราชการ และ เจา้ หน้าท่ี ของรฐั กลุ่มตา่ งๆ ใหน้ กั เรยี นศึกษา ๕) แจกกระดาษชารต์ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ สรปุ ผงั มโนทศั นโ์ อกาสทจี่ ะเกดิ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นของ ข้าราชการและเจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐกลุม่ ตา่ งๆ ได้แก่ นกั การเมอื ง ขา้ ราชการประจ�ำ และเจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ข้าราชการทอ้ งถน่ิ และประชาชน ๖) ตัวแทนกลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอ ๗) สนทนา อภปิ ราย สรปุ โอกาสทจ่ี ะเกดิ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นของขา้ ราชการ และเจา้ หนา้ ที่ ของรฐั กลุม่ ตา่ งๆ รว่ มกัน ช่ัวโมงที่ ๒ ๑) สนทนา อภปิ ราย ความรเู้ ดมิ เกยี่ วกบั ประเดน็ ของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นในกลมุ่ ประเทศ อาเซยี น ๒) นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ ๔ - ๕ คน ๓) นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง ตวั อย่างพฤตกิ รรมผลประโยชน์ทบั ซอ้ นทีพ่ บเห็นบอ่ ย ๔) แจกกระดาษชาร์ต โดยให้แต่ละกลุ่มร่วมคิด ร่วมหาแนวทางการป้องกันและแก้ไข ปัญหาผลประโยชนท์ ับซ้อนในกลุ่มประเทศอาเซยี น ๕) แต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลงาน ขั้นสรุป ร่วมกัน สนทนา อภิปราย สรุปเกี่ยวกับพฤติกรรมผลประโยชน์ทับซ้อน และแนวทาง การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาผลประโยชนท์ บั ซอ้ นในกลุ่มประเทศอาเซยี น ๔.๒ สอื่ การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ ๑) คลิปวดี ีโอ โตไปไมโ่ กง ตอน ผู้ตัดสิน โดยมีทม่ี าของคลิปวดี โี อ คือ https://www.youtube.com/watch?v=4A7xpbbjm9Q ๒) คลิปวีดีโอ รทู้ นั กนั โกง ตอน ผลประโยชน์ทบั ซ้อน conflict of interest โดยท่ีมาของ คลปิ วีดีโอ คอื https://www.youtube.com/watch?v=34Ixr18MPOs ๓) ใบความรู้ เรอ่ื ง ตวั อยา่ งโอกาสทจี่ ะเกดิ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นของขา้ ราชการและเจา้ หนา้ ที่ ของรฐั กลุ่มต่างๆ ๔) ใบความรู้ เรื่อง ตวั อย่างพฤตกิ รรมผลประโยชนท์ ับซอ้ นท่พี บเห็นบอ่ ย ๕) กระดาษชาร์ต ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ 61
๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ ๑) สงั เกตพฤติกรรมการทำ� งานของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ๒) สังเกตพฤตกิ รรมการทำ� งานกล่มุ ๓) การนำ� เสนอผลงาน ๕.๒ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการประเมิน ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำ� งานของนักเรียนเปน็ รายบุคคล ๒) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำ� งานกล่มุ ๓) แบบการประเมนิ ผลการนำ� เสนอผลงาน ๖. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ........................................ครูผู้สอน (.......................................) ............./............./............. 62 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ ริต”
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เร่ือง ตวั อยา่ งโอกาสทจ่ี ะเกดิ ผลประโยชน์ทับซ้อน ของข้าราชการและเจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐกลุม่ ต่างๆ กลุม่ อาชีพ กิจกรรมทมี่ คี วามเส่ียงตอ่ ปญั หาการเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน ๑. นกั กำรเมอื ง กำรรับเงิน หรือผลประโยชน์อ่ืนใด เพ่ือแต่งตั้ง หรือเล่ือนต�ำแหน่งข้ำรำชกำรขึ้นเป็น ๒. ข้ำรำชกำรประจ�ำ ผู้บริหำร และเจำ้ หน้ำท่ีของรัฐ กำรใชอ้ ำ� นำจหนำ้ ที ่ เพื่อให้บรษิ ัทของตน หรอื ของพรรคพวกไดร้ ับงำน/กำรจำ้ งเหมำ จำกรัฐ กำรใชข้ อ้ มูลของทำงรำชกำรเพ่อื แสวงหำประโยชน์ กำรแต่งต้ังคนสนิท/พวกพ้องของตนเป็นกรรมกำรในหน่วยงำนของรัฐ โดยเฉพำะ อย่ำงย่งิ องคก์ รอสิ ระที่ท�ำหน้ำทใ่ี นกำรก�ำกับดูแล (Regulators) สญั ญำ หรือสัมปทำน ของรัฐ กำรใช้ต�ำแหน่งหน้ำที่เลือกผลักดันโครงกำรที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ญำติ/ พวกพอ้ ง ทว่ั ไป กำรน�ำขอ้ มูลลบั / ข้อมลู ภำยใน มำใช้หำประโยชน์ให้แก่ตนเอง หรอื พวกพอ้ ง หวั หนำ้ หนว่ ยงำนซง่ึ ครอบครวั ประกอบธรุ กจิ รบั เหมำกอ่ สรำ้ งแตง่ ตง้ั ใหญ้ ำต/ิ คนสนทิ / คนทีม่ ีควำมสมั พันธฉ์ นั ญำติข้ึนเปน็ ผู้อำ� นวยกำรกองพสั ดุ กำรช่วยญำตมิ ติ ร หรือคนสนทิ ให้ได้งำนในหน่วยงำนทต่ี นมอี ำ� นำจ กำรรับผลประโยชน์ หรือกำรเรียกร้องสิ่งตอบแทนจำกกำรปฏิบัติงำนในหน้ำท่ีควำม รับผิดชอบ กำรรับงำนนอก หรอื กำรท�ำธรุ กจิ ทเี่ บยี ดบังเวลำรำชกำร/งำนโดยรวมของหน่วยงำน กำรท�ำงำนหลังเกษียณให้กบั หน่วยงำนท่มี ผี ลประโยชน์ขัดกับหนว่ ยงำนต้นสังกดั เดิม กำรนำ� รถรำชกำรไปใชใ้ นกิจธุระส่วนตัว และในหลำยกรณีมกี ำรเบิกคำ่ นำ�้ มนั กำรน�ำบุคลำกรของหน่วยงำนไปใชเ้ พ่อื กำรสว่ นตัว ระดับชนั้ มัธยมศึกษำปที ี ่ ๓ 63
กล่มุ อาชีพ กิจกรรมท่มี ีความเสย่ี งต่อปญั หาการเกิดผลประโยชนท์ บั ซอ้ น กลมุ่ วชิ าชีพท่ีเกีย่ วกบั การตรวจสอบ ประเมนิ ราคา และการจดั ซ้อื จัดจ้าง การหาผลประโยชนจ์ ากความไมร่ ใู้ นระเบยี บและขอ้ มลู ของทางราชการของประชาชน โดยเรียกรับเงินและอ้างว่าจะสามารถช่วยให้สามารถเสียค่าธรรมเนียมใน การโอน กรรมสิทธิ์ซ้ือขายที่ดินในราคาท่ีถูกกว่าได้ ผู้บริหารสถาบันการเงิน หวังก้าวหน้า ในอาชีพจึงได้ร่วมมือและให้ความช่วยเหลือแก่นักการเมืองใน การกู้เงินในวงเงินสูง ในรปู แบบการประเมินราคาหลักทรพั ยค์ ำ้ �ประกนั ให้สงู เกนิ กว่าความเป็นจริง ผู้บริหารสถาบันการเงินใช้อำ�นาจหน้าท่ีให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอขายท่ีดินหรือ บ้านพร้อมท่ีดินในโครงการของตนให้แก่ลูกค้าของสถาบันการเงิน เพื่อแลกกับ ความสะดวกในการทำ�ธรุ กจิ กับสถาบันการเงิน เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภาษีอากรได้เปิดสำ�นักงานบัญชีเพ่ือทำ�บัญชีและรับจดทะเบียน จัดตั้งบริษัทจำ�กัด ซ่ึงในเวลาปฏิบัติงานก็จะเลือกให้บริการเฉพาะรายท่ีตนเองได้รับ ประโยชน์จากผู้เสยี ภาษเี ทา่ น้นั การกำ�หนดมาตรฐาน (Specification) ในสินค้าที่จะจัดซ้ือจัดจ้างให้บริษัทของตน หรอื ของพวกพอ้ งได้เปรยี บหรอื ชนะในการประมูล การให้ข้อมูลการจัดซ้ือจัดจ้างแก่พรรคพวก/ญาติ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ใน การประมูล หรือการจ้างเหมารวมถึงการปกปิดข้อมูล เช่น การปิดประกาศ หรือ เผยแพร่ข้อมูลขา่ วสารล่าชา้ หรือพน้ กำ�หนด การยื่นใบเสนอราคา เป็นต้น กล่มุ วชิ าชีพอสิ ระ การรับงานจากภายนอกจนกระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าท่ีประจำ� การใช้สทิ ธใิ นการเบกิ จ่ายยาให้กับญาติแล้วนำ�ยาไปใชท้ คี่ ลินิกสว่ นตัว การรับประโยชน์จากระบบการล็อคบัตรคิวให้แก่เจ้าหน้าที่หรือญาติเจ้าหน้าที่ ใน หนว่ ยงาน โดยผมู้ หี น้าทด่ี แู ลบตั รควิ จะลอ็ คไวม้ ากกว่าทหี่ นว่ ยงานกำ�หนดและไปเรยี ก รับประโยชนจ์ ากบัตรคิวทล่ี ็อคไว้เกินเหล่านน้ั จากผู้รับบริการท่ีตอ้ งการลดั ควิ กลุ่มวชิ าชีพทเี่ กีย่ วกับกระบวนการยตุ ิธรรม การเรียกรับผลประโยชน์จากการอนุญาตให้คนื ของกลาง เปน็ ตน้ กลมุ่ วชิ าชีพวชิ าการ คณะกรรมการตรวจรับผลงานทำ�หนา้ ท่เี สมือนเปน็ นายหนา้ ใหแ้ ก่บริษทั ท่ปี รกึ ษา โดย รับรายงานผลการศึกษามาพิจารณาก่อนและแก้ไขในประเด็นท่ีคาดว่าอาจถูกคณะ กรรมการคนอืน่ ท้วงตงิ รวมถงึ การเขา้ ไปแทรกแซงการพิจารณาของกรรมการคนอ่ืน 64 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต”
กลมุ่ อาชีพ กจิ กรรมท่ีมีความเสี่ยงต่อปญั หาการเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน ๓. ข้าราชการทอ้ งถิ่น ๓.๑ การเข้ามาดำ�เนนิ ธุรกจิ และเป็นคสู่ ญั ญากับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ๔. ประชาชน สมาชิกสภา/ผู้บริหารท้องถิ่นมาดำ�เนินธุรกิจกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีตนเป็น สมาชกิ ญาต/ิ ภรรยา (อาจไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี น) ของผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ เปน็ คสู่ ญั ญาหรอื รบั เหมางาน กับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ สมาชกิ สภา/ผบู้ รหิ ารทอ้ งถนิ่ เขา้ ไปมสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในฐานะผรู้ บั มอบอำ�นาจจากบรษิ ทั ห้างรา้ น ในการยน่ื ซองประกวดราคา สมาชิกสภา/ผู้บริหารท้องถิ่นเป็นบุคคลร่วมเจรจาไกล่เกลี่ยในฐานะตัวแทนบริษัท หา้ งร้าน ในกรณีงานจา้ งเหมามปี ัญหา ผู้บริหารสภา/ผู้บริหารท้องถิ่นหาประโยชน์ส่วนตัวจากการเก็งกำ�ไรจากราคาท่ีดิน ท้ังในรูปของการใช้ข้อมูลภายในไปซ้ือ ท่ีดินไว้ก่อน หรืออาจเป็นในรูปแบบที่กำ�หนด ท่ตี ้ังโครงการในพน้ื ทที่ ีต่ นเองมที ีด่ นิ อยูเ่ พ่ือขายทดี่ นิ ของตนเองในราคาทีส่ ูง องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ทำ�สัญญาเชา่ รถไปสมั มนาและดูงานกบั บริษทั ซึง่ เป็นของ สมาชกิ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ นั่นเอง นายกเทศมนตรีและเทศมนตรขี ายสนิ ค้าหรือบริการของบริษทั ตนเองให้กบั เทศบาล ๓.๒ การใช้งบประมาณหลวงเพือ่ ประโยชน์สว่ นตนและเพือ่ หาเสยี ง การจดั สรรงบประมาณหรอื โครงการเข้าไปในพนื้ ที่ของตนเอง การใช้งบประมาณราชการทำ�โครงการพร้อมเขียนป้ายและชื่อของผู้ของบประมาณ ประกาศให้ชาวบา้ นทราบเพ่ือเปน็ การหาเสยี ง การทส่ี มาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ ซง่ึ มบี ทบาทในการอนมุ ตั แิ ละตรวจสอบการใชง้ บประมาณของ ฝ่ายบริหารกลับไปมีส่วนในการใช้งบประมาณส่งผลต่อการทำ�หน้าท่ีในการตรวจสอบ และใช้วิจารณญาณใน การตัดสินใจอนุมัติเอนเอียงจากความถูกต้องและประโยชน์ สาธารณะ เน่ืองจากต้องการงบท่ีเหลือจากการแปรญัตติไปดำ�เนินการในเขตพื้นที่ ของตน การเสนอใหค้ ่านํ้ารอ้ นนํา้ ชาให้แก่เจ้าหน้าทีเ่ พ่อื แลกกับการลดั คิวรบั บริการ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 65
ใบความรู้ เรอื่ ง ตวั อย่างพฤติกรรมผลประโยชนท์ บั ซอ้ นที่พบเห็นบ่อย ๑. กำรนำ� ทรพั ยส์ นิ ของหนว่ ยงำนมำใชป้ ระโยชนส์ ว่ นตวั เชน่ ใชโ้ ทรศพั ทข์ องหนว่ ยงำนตดิ ตอ่ ธรุ ะ สว่ นตวั นำ� รถรำชกำรไปใช้ในธรุ ะสว่ นตัว เป็นตน้ ๒. กำรใช้อ�ำนำจหนำ้ ท่ชี ว่ ยญำต ิ หรอื บุคคลอนื่ ใหเ้ ข้ำท�ำงำน ๓. กำรใชข้ ้อมูลของหนว่ ยงำน เพอื่ แสวงหำประโยชน์แก่ตนเอง หรอื พวกพอ้ ง เจำ้ หนำ้ ทขี่ องรฐั ทรำบมำตรฐำน (spec) วสั ดอุ ปุ กรณท์ จี่ ะใชใ้ นกำรประมลู แลว้ ใหข้ อ้ มลู กบั บรษิ ทั เอกชน เพอื่ ใหไ้ ดเ้ ปรยี บ ในกำรประมูล ๔. กำรรับงำนนอกแล้วก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่หน่วยงำนของตน เจ้ำหน้ำท่ีของรัฐอำศัย ต�ำแหน่งหน้ำที่ทำงรำชกำรรับจ้ำงเป็นที่ปรึกษำโครงกำรให้บริษัทเอกชน เจ้ำหน้ำที่รัฐน�ำเวลำรำชกำร ไปทำ� งำนสว่ นตวั ๕. กำรน�ำบคุ คลำกรของหนว่ ยงำนมำใช้เพือ่ ประโยชนส์ ว่ นตน ๖. กำรรับสินบนหรือรับของขวัญในรูปของเงินหรือผลประโยชน์อ่ืนใด ส่งผลให้มีกำรตัดสินใจ ทีเ่ อ้ือประโยชน์แก่ผู้ใหส้ นิ บนหรือบุคคลอนื่ ๗. กำรเข้ำท�ำงำนหลังออกจำกงำนเดิมโดยใช้ควำมรู้ ประสบกำรณ์ หรืออิทธิพลจำกท่ีเคย ด�ำรงต�ำแหน่งมำรับงำน หรือเอำประโยชน์ให้กับตนเองหรือพวกพ้อง เช่น เคยท�ำงำนเป็นผู้บริหำร หนว่ ยงำนกำ� กับดแู ลกิจกำรโทรคมนำคม แลว้ ไปทำ� งำนในบริษทั ผใู้ ห้บรกิ ำรโทรศัพท์ ๘. กำรลดั คิวให้กับผใู้ ชบ้ ริกำรทีค่ นุ้ เคย ๙. กำรสง่ เสรมิ หรือสนับสนุนให้ผรู้ ่วมงำนแสวงหำประโยชน์ส่วนตน ๑๐. กำรใหข้ องขวัญหรอื ของก�ำนลั เพ่ือหวงั ควำมก้ำวหน้ำ หรอื หวังผลประโยชนท์ มี่ ชิ อบ ๑๑. กำรซื้อขำยต�ำแหน่ง กำรจ่ำยผลประโยชน์ทั้งที่เป็นตัวเงินและประโยชน์รูปแบบอื่นเพื่อ ให้ไดม้ ำซึง่ กำรเลอ่ื นระดบั ต�ำแหน่ง หรือควำมดีควำมชอบพิเศษ ๑๒. กำรเพกิ เฉยตอ่ กำรรกั ษำผลประโยชน์สว่ นรวม ๑๓. กำรเรียกร้องผลตอบแทนจำกกำรใช้อิทธิพลในต�ำแหน่งหน้ำที่เพื่อส่งผลท่ีเป็นคุณแก่ฝ่ำยใด ฝำ่ ยหนงึ่ โดยไม่เปน็ ธรรม 66 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การป้องกันการทุจริต”
๑๔. การท่ีมีหน้าที่ดูแลหรือจัดการกิจการหรือโครงการใด แล้วเข้ามีส่วนได้เสียเพื่อประโยชน์ ของตนเอง หรือผู้อื่น ๑๕. การใช้ต�ำแหน่งหน้าท่ีหาประโยชน์ให้กับตนเอง ครอบครัว หรือพวกพ้อง เช่น เจ้าหน้าท่ี ของรัฐ ใช้อ�ำนาจหน้าท่ีท�ำให้บริษัทของตนหรือครอบครัวได้งานรับเหมาของรัฐ เจ้าหน้าท่ีฝ่ายจัดซ้ือ จดั จา้ งทำ� สญั ญา ซอ้ื อุปกรณส์ �ำนกั งานจากบรษิ ัทของครอบครัวตนเอง ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ 67
หนว่ ยที่ ๒ ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ๒ ชอื่ หนว่ ย ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรือ่ ง ลกั ษณะความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ เวลา ๒ ช่ัวโมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ ๑.๒ ปฏิบัติตนเปน็ ผ้ลู ะอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ทุกรูปแบบ ๑.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำคญั ของการต่อตา้ นและปอ้ งกันการทจุ ริต ๒.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ นกั เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั ลักษณะความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต ๒.๒ นักเรียนสามารถตระหนกั และเหน็ ความส�ำคัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกนั การทุจริต ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ลกั ษณะความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) ๑) ความสามารถในการคดิ ๒) ความสามารถในการสื่อสาร ๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค/์ คา่ นิยม การใฝ่เรยี นรู้ ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขั้นตอนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ๑) ครอู ่าน กรณีตัวอย่าง ความละอาย และความไมท่ นต่อการทจุ ริต ในประเทศเกาหลีใต้ ใหน้ กั เรยี นฟัง ๒) สนทนา อภิปราย ร่วมกันจากเหตุการณ์ ตัวอย่างความละอายและความไม่ทนต่อ การทุจริตในประเทศเกาหลีใต้ โดยช้ใี ห้เหน็ ถึงผลเสยี ท่ีเกดิ จากการทุจริต และความรบั ผิดชอบทตี่ อ้ งรับ จากผลของการกระทำ� 68 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การป้องกันการทุจรติ ”
๓) ชมคลิปวดี โี อ เร่ือง น้องใหม่รา้ ยบรสิ ุทธ์ิ ตอน เกรด ๔ วชิ าลอก ซึ่งมเี นอ้ื หาเกี่ยวกับ การวางแผน การทุจริตในการสอบ (ที่มาของคลิปวีดิโอ https://www.youtube.com/watch?v= Wf1XMWcU72g) ๔) สนทนา อภปิ ราย คลปิ วดี โี อ เร่อื ง นอ้ งใหม่ร้ายบริสุทธิ์ ตอน เกรด ๔ วชิ าลอก เพอื่ ชใ้ี ห้นกั เรยี นได้เล็งเห็นและตระหนกั ถึงการทจุ รติ เป็นสง่ิ ทไ่ี มด่ ี โดยอาจใช้ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ ๔.๑ นกั เรียนมีความคดิ เห็นอย่างไรกับเหตกุ ารณ์ที่เกดิ ข้นึ ในคลปิ วดี โี อ ๔.๒ นักเรียนคิดว่าสาเหตุใดบ้างที่ท�ำให้ลอกข้อสอบ (ครูพยายามชี้ให้เห็นว่าส่วนหน่ึง มาจากสาเหตกุ ารไม่ท�ำการบ้าน / ชิน้ งานเอง) ๔.๓ นกั เรียนคดิ ว่าเราจะมวี ิธกี ารแก้ไขปญั หาดังกล่าวได้อยา่ งไร ๕) กิจกรรมระดมสมอง โดยให้นักเรียนศึกษาในความรู้ เรื่อง ลักษณะความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต จากน้ันสนทนา อภิปราย โดยครูเป็นผู้ที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดตระหนักและ เหน็ ความสำ� คัญของ การต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ ๔.๒ สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้ ๑) คลิปวิดิโอนอ้ งใหมร่ า้ ยบรสิ ทุ ธ์ิ ตอน เกรด ๔ วชิ าลอก ท่มี าของคลิปวิดโิ อ คอื https://www.youtube.com/watch?v=Wf1XMWcU72g ๒) ใบความรู้ เร่อื ง ลักษณะความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ๓) กระดาษชารต์ ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน สังเกตพฤติกรรมการทำ� งานของผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล ๕.๒ เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการประเมิน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำ� งานของผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคล ๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั ดีขนึ้ ไปถือว่า ผา่ น ๖. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ........................................ครผู ู้สอน (.......................................) ............./............./............. ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 69
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เร่ือง ลักษณะความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต ลักษณะของความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ลกั ษณะของควำมละอำยสำมำรถแบง่ ได ้ ๒ ระดบั คอื ควำมละอำยระดบั ตน้ หมำยถงึ ควำมละอำย ไม่กล้ำที่จะท�ำในสิ่งท่ีผิด เน่ืองจำกกลัวว่ำเม่ือตนเองได้ท�ำลงไปแล้วจะมีคนรับรู้ หำกถูกจับได้จะได้รับ กำรลงโทษหรือได้รับควำมเดือดร้อนจำกสิ่งที่ตนเองได้ท�ำลงไป จึงไม่กล้ำท่ีจะกระท�ำผิด และในระดับ ท่ีสองเป็นระดับที่สูง คือ แม้ว่ำจะไม่มีใครรับรู้ หรือเห็นในส่ิงท่ีตนเองได้ท�ำลงไปก็ไม่กล้ำที่จะท�ำผิด เพรำะนอกจำกตนเองจะได้รับผลกระทบแล้ว ครอบครัว สังคมก็จะได้รับผลกระทบตำมไปด้วย ท้ังชื่อเสียงของตนเอง และครอบครัวก็จะเสื่อมเสีย บำงครั้ง กำรทุจริตบำงเร่ืองเป็นส่ิงเล็กๆ น้อยๆ เช่น กำรลอกข้อสอบ อำจจะไมม่ ใี ครใส่ใจ หรอื สังเกตเหน็ แต่หำกเป็น ควำมละอำยขน้ั สูงแล้วบคุ คลนัน้ ก็จะไม่กลำ้ ท�ำ ส�ำหรบั ควำมไม่ทนตอ่ กำรทจุ ริต จำกควำมหมำยท่ีได้กลำ่ วมำแล้ว คือ เป็นกำรแสดงออกอยำ่ งใด อยำ่ งหน่งึ เกดิ ขน้ึ เพอื่ ให้รบั รูว้ ำ่ จะไม่ทนตอ่ บคุ คล หรอื กำรกระท�ำใดๆ ทีท่ ำ� ใหเ้ กดิ กำรทุจริต ควำมไมท่ น ต่อกำรทุจริตสำมำรถแบ่งระดับต่ำงๆ ได้มำกกว่ำควำมละอำย ใช้เกณฑ์ควำมรุนแรงในกำรแบ่งแยก เช่น หำกเพ่ือนลอกข้อสอบเรำ และเรำเห็นซึ่งเรำจะไม่ยินยอมให้เพื่อนทุจริตในกำรลอกข้อสอบ เรำก็ใช้มือหรือกระดำษมำบังส่วนท่ีเป็นค�ำตอบไว้ เช่นน้ี ก็เป็นกำรแสดงออกถึงกำรไม่ทนต่อกำรทุจริต นอกจำกกำรแสดงออกดว้ ยวธิ ดี งั กลำ่ วทถี่ อื เปน็ กำรแสดงออกทำงกำยแลว้ กำรวำ่ กลำ่ วตกั เตอื นตอ่ บคุ คล ทที่ จุ รติ กำรประณำม กำรประจำน กำรชมุ นมุ ประทว้ ง ถอื วำ่ เปน็ กำรแสดงออกซง่ึ กำรไมท่ นตอ่ กำรทจุ รติ ทั้งสนิ้ แตจ่ ะแตกต่ำงกนั ไปตำมระดับของกำรทุจรติ ควำมตนื่ ตวั ของประชำชน และผลกระทบทีเ่ กดิ ขนึ้ จำกกำรทจุ รติ โดยทำ้ ยบทนไี้ ดย้ กตวั อยำ่ งกรณศี กึ ษำทม่ี สี ำเหตมุ ำจำกกำรทจุ รติ ทำ� ใหป้ ระชำชนไมพ่ อใจ และรวมตัวตอ่ ตำ้ น ควำมจ�ำเป็นของกำรท่ีไม่ทนต่อกำรทุจริตถือเป็นส่ิงส�ำคัญ เพรำะกำรทุจริตไม่ว่ำระดับเล็ก หรือ ใหญ่ย่อมก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อสังคม ประเทศชำติ ดังเช่นตัวอย่ำง คดีรถและเรือดับเพลิงของ กรุงเทพมหำนคร ผลของกำรทุจริตสร้ำงควำมเสียหำยไว้อย่ำงมำก รถและเรือดับเพลิงก็ไม่สำมำรถน�ำ มำใชไ้ ด้ รฐั ตอ้ งสญู เสยี งบประมำณไปโดยเปลำ่ ประโยชน ์ และประชำชนเองก็ไมไ่ ดใ้ ช้ประโยชนด์ ้วยเช่น กนั หำกเกดิ เพลงิ ไหมพ้ รอ้ มกนั หลำยแหง่ รถ เรอื และอปุ กรณด์ บั เพลงิ จะไมม่ ไี มเ่ พยี งพอทจี่ ะดบั ไฟไดท้ นั เวลำ ดังน้ัน หำกยงั มีกำรปล่อยให้มีกำรทุจริต ยินยอมให้มกี ำรทจุ ริต โดยเห็นวำ่ เป็นเรื่องของคนอื่น เปน็ เร่อื งของเจ้ำหน้ำทร่ี ฐั ไม่เก่ียวข้องกบั ตนเองแลว้ สดุ ทำ้ ย ควำมสญู เสยี ทจี่ ะได้รบั ตนเองกย็ ังคงทีจ่ ะได้รบั ผลนั้นอย่แู ม้ไมใ่ ช่ทำงตรงกเ็ ป็นทำงอ้อม 70 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทุจริต”
ดังน้ัน การที่บุคคลจะเกิดความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตได้จ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้อง สร้างให้เกิดความตระหนักและรับรู้ถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการทุจริตในทุกรูปแบบ ทุกระดับ ซ่ึง หากสังคมเป็นสังคมที่มีความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตแล้วจะท�ำให้เกิดสังคมที่น่าอยู่ และ มกี ารพฒั นาในทกุ ๆ ดา้ น ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 71
แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา ๑ ชวั่ โมง หน่วยท่ี ๒ ชอื่ หน่วย ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ เร่ือง การลงโทษทางสงั คมในระดับโลก ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต ๑.๒ ปฏบิ ัติตนเป็นผลู้ ะอายและไม่ทนต่อการทจุ ริตทุกรปู แบบ ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความส�ำคญั ของการตอ่ ตา้ นและป้องกันการทจุ ริต ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ นักเรียนสามารถมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การลงโทษทางสงั คมในระดับโลก ๒.๒ นกั เรียนสามารถตระหนกั และเหน็ ความสำ� คัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกันการทุจรติ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ตัวอยา่ งการลงโทษทางสังคมในระดับโลก ๒) ความสำ� คญั ของการต่อต้านและปอ้ งกนั การทจุ รติ ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด) ๑) ความสามารถในการคดิ ๒) ความสามารถในการส่อื สาร ๓) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ๓.๓ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค/์ คา่ นยิ ม มีวนิ ยั ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ข้ันตอนการเรียนรู้ ๑) นกั เรยี นอ่านกรณตี ัวอย่างความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต ในประเทศบราซลิ ให้เพ่อื นนกั เรียนฟัง ๒) สนทนา อภิปราย ร่วมกันจากเหตุการณ์ตัวอย่างความละอายและความไม่ทนต่อ การทุจริตในประเทศบราซิล โดยชี้ให้เห็นถึงผลเสียที่เกิดจากการทุจริต และความรับผิดชอบท่ีต้องรับ จากผลของการกระทำ� ๓) ชมคลปิ วีดโี อ เร่อื ง ครทู ่ปี รึกษาท�ำเวรแทนนกั เรยี น | ๒๒-๐๑-๕๙ | เชา้ ข่าวชดั โซเชียล | ThairathTV โดยมีท่ีมาจาก https://www.youtube.com/watch?v=nJYXPHtWzyc 72 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกันการทุจรติ ”
๔) กิจกรรมระดมสมอง โดยให้นักเรียนช่วยกันศึกษาใบความรู้ เร่ือง การลงโทษทาง สังคมด้วยการสนทนา อภิปราย โดยครูเป็นผู้ท่ีกระตุ้นให้นักเรียนเกิดตระหนักและเห็นความส�ำคัญ ของการลงโทษทางสงั คมทเ่ี กิดจากการทุกจรติ ในระดบั โลก ๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้ ๑) คลปิ วดี ีโอ เรือ่ ง ครทู ่ปี รกึ ษาท�ำเวรแทนนักเรยี น | ๒๒-๐๑-๕๙ | เช้าข่าวชัดโซเชียล | ThairathTV โดยมที ม่ี าจาก https://www.youtube.com/watch?v=nJYXPHtWzyc ๒) กรณตี วั อยา่ งความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต ในประเทศ ๓) ใบความรูเ้ ร่ือง การลงโทษทางสงั คม ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วิธีการประเมิน สงั เกตพฤติกรรมการทำ� งานของผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล ๕.๒ เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ แบบสงั เกตพฤติกรรมการท�ำงานของผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล ๖. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ........................................ครผู ู้สอน (.......................................) ............./............./............. ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ 73
๗. ภาคผนวก กรณีตัวอยา่ ง ความละอาย และความไม่ทนต่อการทุจริต ในประเทศบราซลิ ท่ีมำ : https://wwwdailynews.co.th/Foreign/540734 ประเทศบรำซิล ปลำยปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ประชำชนในประเทศบรำซิลได้มีกำรชุมนุมประท้วง กำรทุจริต ที่เกิดขึ้นเป็นกำรแสดงออกถึงควำมไม่พอใจต่อวัฒนธรรม กำรโกงของระบบรำชกำรของ ประเทศ โดยมปี ระชำชนจ�ำนวนหลำยหม่นื คนเข้ำรว่ มกำรชุมนมุ ในคร้ังน ้ี และมกี ำรแสดงภำพหน ู เพือ่ เป็นสัญลักษณ์ในกำรประณำมต่อนักกำรเมืองท่ีทุจริต กำรประท้วงดังกล่ำวยังถือว่ำมีขนำดเล็กกว่ำ ครั้งก่อน เพรำะท่ีผ่ำนมำได้มีกำรทุจริตเกิดข้ึนและมีกำรประท้วง จนในท่ีสุดประธำนำธิบดีได้ถูกปลด จำกตำ� แหนง่ เน่อื งจำกกำรกระทำ� ทลี่ ะเมิดตอ่ กฎระเบยี บเรือ่ งงบประมำณ 74 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การป้องกันการทจุ ริต”
ใบความรู้ เรื่อง การลงโทษทางสังคม (Social Sanctions) การลงโทษทางสงั คม (Social Sanctions) ค�ำว่ำ “กำรลงโทษโดยสังคม” หรือเรียกว่ำ “กำรลงโทษทำงสังคม” ซ่ึงตรงกับภำษำอังกฤษ คำ� ว่ำ “Social Sanction” พจนำนุกรมศพั ท์สังคมวิทยำฉบับรำชบณั ฑติ ยสถำน (๒๕๓๒ : ๓๖๑ - ๓๖๒) ไดใ้ หค้ วำมหมำย ของค�ำว่ำ “Social Sanctions” เป็นภำษำไทยว่ำ สิทธำนุมัติทำงสังคม หมำยถึง กำรขู่ว่ำจะลงโทษ หรือกำรสัญญำว่ำจะให้รำงวัลตำมท่ีกลุ่มก�ำหนดไว้ส�ำหรับกำรประพฤติปฏิบัติของสมำชิก เพื่อชักน�ำ ใหส้ มำชิกกระท�ำตำมขอ้ บังคบั และกฎเกณฑ์ Radcliffe - Brown (1952 : 205) อธิบำยกำรลงโทษโดยสังคมว่ำเป็นปฏิกิริยำตอบสนอง ทำงสังคมอย่ำงหน่ึง และเป็นกำรแสดงออกถึงพฤติกรรมที่เป็นด้ำนตรงกันข้ำมระหว่ำงกำรเห็นชอบ กับกำรไม่เห็นชอบพูดอีกอย่ำงหน่ึงก็คือกำรลงโทษโดยสังคมนั้นมีคุณลักษณะวิภำษ (Dialectic) คือ มีทั้งด้ำนบวก และด้ำนลบอยู่ภำยในควำมหมำยของตัวเองส�ำหรับกำรลงโทษโดยสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยู่ในรูปของกำรให้กำรสนับสนุนหรือกำรสร้ำงแรงจูงใจให้แก่ ปัจเจกบุคคล และสังคมให้ประพฤติปฏิบัติให้สอดคล้องกับปทัสถำนของชุมชน หรือของสังคมจำก กำรศึกษำยังพบด้วยว่ำกำรลงโทษโดยสังคมเชิงบวกน้ันอำจเป็นกำรสร้ำงแรงจูงใจให้แก่สังคม เพื่อ ยกระดบั ปทัสถำนของสังคมในระดบั ท้องถ่ินใหไ้ ปสอดคล้องกับปทัสถำนใหม่ในระดบั ระหว่ำงประเทศ Whitmeyer (2002 : 630-632) กล่ำวว่ำ กำรลงโทษโดยสังคม มีท้ังเชิงบวกและเชิงลบ เป็นกำรท�ำงำนตำมกลไกของสังคม กำรลงโทษโดยสังคมเป็นมำตรกำรควบคุมทำงสังคมท่ีต้องกำรให้ สมำชิกในสังคมประพฤติปฏิบัติตำมมำตรฐำน หรือกฎเกณฑ์ท่ีสังคมยอมรับร่วมกัน เม่ือสมำชิกปฏิบัติ ตำมก็จะมีกำรให้รำงวัลเป็นแรงจูงใจ และลงโทษเม่ือสมำชิกไม่ปฏิบัติตำมกฎเกณฑ์ของสังคมและจะ แสดงกำรไม่ยอมรบั สมำชิกคนหนึ่งหรือกลมุ่ คนกลมุ่ หน่งึ โดยสรุปแล้ว กำรลงโทษโดยสังคม (Social Sanctions) หมำยถึง ปฏิกิริยำปฏิบัติทำงสังคม เปน็ มำตรกำรควบคมุ ทำงสงั คมทตี่ อ้ งกำรใหส้ มำชกิ ในสงั คมประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ำมมำตรฐำนหรอื กฎเกณฑ์ ที่สังคมก�ำหนด โดยมีท้ังด้ำนลบและด้ำนบวก การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ (Negative Social Sanction) เป็นกำรลงโทษ โดยกำรกดดันและแสดงปฏิกิริยำต่อต้ำนพฤติกรรมของบุคคลที่ไม่ปฏิบัติ ตำมกฎเกณฑข์ องสงั คม ทำ� ให้บคุ คลน้นั เกดิ ควำม อับอำยขำยหน้ำ สำ� หรับกำรลงโทษโดยสงั คมเชงิ บวก หรือ การกระตนุ้ สังคมเชงิ บวก (Positive Social Sanction) เปน็ กำรแสดงออกในเชิงสนบั สนุนหรือ ใหร้ ำงวลั เปน็ แรงจงู ใจ เพือ่ ให้บุคคลในสงั คมประพฤติปฏิบตั ติ ำมกฎเกณฑ์ของสงั คม ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ ๓ 75
การลงโทษทางสังคม เป็นการลงโทษกับบุคลท่ีปฏิบัติตนฝ่าฝืนกับธรรมเนียม ประเพณี หรือ แบบแผนที่ปฏิบัติต่อๆ กันมาในชุมชน มักใช้ในลักษณะการลงโทษทางสังคมเชิงลบมากกว่าเชิงบวก การฝ่าฝืนดังกลา่ วอาจจะไมผ่ ดิ กฎหมาย แต่ดว้ ยธรรมเนยี มที่ปฏิบัติสืบตอ่ กนั มานน้ั ถูกละเมิด ถกู ฝา่ ฝนื หรือถูกดูหมิ่นเก่ียวกับความเชื่อของชุมชน ก็จะน�ำไปสู่การต่อต้านจากคนในชุมชน แม้ว่าการฝ่าฝืน ดังกล่าวจะไม่ผิดกฎหมายก็ตาม และที่ส�ำคัญไปกว่านั้น หากการกระท�ำดังกล่าวผิดกฎหมายด้วยแล้ว อาจสร้างให้เกิดความไม่พอใจขึ้นได้ไม่เพียงแต่ ในชุมชนน้ัน แต่อาจเก่ียวเนื่องไปกับชุมชนอื่นรอบข้าง หรือเป็นชุมชนที่ใหญ่ท่ีสุด นั่นคือ ประชาชนทั้งประเทศซ่ึงการลงโทษทางสังคมมีทั้งด้านบวกและ ด้านลบ ดงั นี้ การลงโทษโดยสงั คมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยู่ในรปู ของการใหก้ ารสนบั สนุน หรอื การสร้างแรงจงู ใจ หรอื การใหร้ างวัล ฯลฯ แก่บุคคลและสังคม เพือ่ ให้ประพฤติปฏิบัติสอดคล้องกับ ปทสั ถาน (Norm) ของสงั คมในระดับชมุ ชนหรือในระดบั สังคม การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ (Negative Social Sanctions) จะอยู่ในรูปแบบของการใช้ มาตรการต่างๆ ในการจัดระเบียบสังคม เช่น การว่ากล่าวตักเตือน ซึ่งเป็นมาตรการขั้นต�่ำสุดเรื่อยไป จนถึงการกดดันและบบี คน้ั ทางจิตใจ (Moral Coercion) การต่อต้าน (Resistance) และการประทว้ ง (Protest) ในรปู แบบต่างๆ ไมว่ า่ จะโดยปจั เจกบคุ คลหรอื การชมุ นุมของมวลชน การลงโทษทางสงั คมทางลบ จะสรา้ งใหเ้ กดิ การลงโทษตอ่ บคุ คลทถี่ กู กระทำ� การลงโทษประเภทนี้ เป็นลงโทษเพ่ือให้หยุดกระท�ำในส่ิงที่ไม่ถูกต้อง และบุคคลท่ีถูกลงโทษจะเกิดการเข็ดหลาบ ไม่กล้า ท่ีจะท�ำในสิ่งนั้นอีก การลงโทษประเภทนี้มีความรุนแรงแตกต่างกัน ต้ังแต่ การว่ากล่าวตักเตือน การนินทา การประจาน การชมุ นมุ ขบั ไล่ ซง่ึ เป็นการแสดงออกถงึ การไม่ทน ไม่ยอมรับต่อสิง่ ทีบ่ ุคคลอน่ื ได้กระท�ำไป ดังนั้น เมื่อมีใครที่ท�ำพฤติกรรม เหล่าน้ันข้ึน จึงเป็นการสร้างให้เกิดความไม่พอใจแก่ บุคคลรอบข้าง หรือสังคม จนนำ� ไปสู่การต่อต้านดังกล่าว การลงโทษทางสังคมจะมีความรุนแรงมากหรือน้อย ก็ข้ึนอยู่กับการกระท�ำของบุคคลนั้นว่า ร้ายแรงขนาดไหน หากเป็นเรื่องเล็กน้อยจะถูกต่อต้านน้อย แต่หากเรื่องน้ันเป็นเรื่องร้ายแรง เรื่อง ทเี่ กดิ ขนึ้ ประจำ� หรอื มผี ลกระทบตอ่ สงั คม การลงโทษกจ็ ะมคี วามรนุ แรงมากขนึ้ ดว้ ย เชน่ หากมกี ารทจุ รติ เกิดขึ้นก็อาจน�ำไปเป็นประเด็นทางสังคมจนน�ำไปสู่การต่อต้านจากสังคมได้ เพราะการทุจริตถือว่า เป็นสิ่งท่ีไม่ถูกต้อง ผิดกฎหมาย และผิดต่อศีลธรรม บ่อยครั้งท่ีมีการทุจริตเกิดขึ้นจนเป็นสาเหตุของ การชมุ นมุ ประทว้ ง เพอ่ื กดดนั ขบั ไลใ่ หบ้ คุ คลนน้ั หยดุ การกระทำ� ดงั กลา่ ว หรอื การออกจากตำ� แหนง่ นนั้ ๆ หรือการน�ำไปสู่การตรวจสอบและลงโทษโดยกฎหมาย โดยในหัวข้อสุดท้ายของชุดวิชาน้ี ได้น�ำเสนอ ตัวอย่างท่ีได้แสดงออกถึงความไม่ทนต่อการทุจริตที่มีการชุมนุมประท้วง บางเหตุการณ์ผู้ท่ีถูกกล่าวหา ได้ลาออกจากต�ำแหน่ง ซึ่งการลาออกจากต�ำแหน่งนั้นถือเป็นความรับผิดชอบอย่างหน่ึงและเป็น การแสดงออกถงึ ความละอายในสิง่ ท่ีตนเองไดก้ ระท�ำ 76 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การป้องกันการทุจรติ ”
แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา ๒ ชั่วโมง หนว่ ยที่ ๒ ชือ่ หนว่ ย ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓ เรอ่ื ง ตัวอย่างของความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ของประเทศต่าง ๆ ในระดับโลก ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต ๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้ละอายและไมท่ นตอ่ การทจุ ริตทุกรปู แบบ ๑.๓ ตระหนักและเห็นความสำ� คญั ของการต่อต้านและปอ้ งกนั การทุจรติ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ถึงผลเสียจากการศึกษาตัวอย่างของความละอายและความ ไม่ทนตอ่ การทุจริตของประเทศต่างๆ ในระดับโลก ๒.๒ นกั เรยี นสามารถตระหนักและเห็นความสำ� คัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกนั การทุจริต ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ ๒) ผลเสียจากการทจุ รติ ในการสอบ ๓) ความส�ำคญั ของการตอ่ ตา้ นและป้องกนั การทจุ ริต ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ ) ๑) ความสามารถในการคดิ (ทักษะการสงั เกต ทกั ษะการระบุ) ๒) ความสามารถในการส่ือสาร (อา่ น ฟงั พดู เขยี น) ๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ (วิเคราะห์ จดั กลุม่ สรปุ ) ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค/์ คา่ นยิ ม ๑) ใฝเ่ รียนรู้ ๒) ซื่อสัตยส์ ุจรติ ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ ๑ ๑) ชมคลิปวีดีโอ เร่ือง ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันไม่ใช่เร่ืองไกลตัว โดยมีท่ีมาของคลิป https://www.youtube.com/watch?v=f2oscZsL3ZM&t=14s ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ 77
๒) สนทนา อภิปราย ซักถาม จากการชมคลิปวีดีโอ เร่ือง ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน ไม่ใช่เร่ืองไกลตวั โดยใช้ค�ำถาม เช่น ๒.๑ นักเรยี นรสู้ ึกอยา่ งไรจากการรบั ชมคลปิ วีดโี อ ๒.๒ นักเรียนพบเห็นการคอร์รัปชันที่อยู่ใกล้ๆ ตัวนักเรียน เช่น เรื่องใดบ้าง นักเรียน เกดิ ความรสู้ ึกอยา่ งไร และนักเรยี นจะแก้ไขอย่างไร ฯลฯ ๓) ชมคลิปวดี ีโอ เร่อื ง พดู ต่อต้านการทุจริต รางวัลชนะเลศิ ปี ๒๕๕๙ โดยมีทีม่ าของคลปิ https://www.youtube.com/watch?v=GnhRyr9lTZ8 พรอ้ มทง้ั แจกใบความรู้ เรอ่ื ง สถานการณก์ าร ทจุ ริตทเ่ี กิดข้นึ ในประเทศต่างๆ ในโลก ๔) สนทนา อภิปราย ซักถาม จากการชมคลิปวีดีโอ พร้อมท้ังแจกใบความรู้ เรื่อง สถานการณก์ ารทุจริตท่เี กิดข้นึ ในประเทศตา่ งๆ ในโลก ๕) แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาและวิเคราะห์ใบความรู้ เร่ือง สถานการณก์ ารทจุ รติ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในประเทศตา่ งๆ ในโลก แลว้ สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมานำ� เสนอผลการวเิ คราะห์ ๔.๒ ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ การเรยี นรู้ ๑) คลิปวีดีโอ เร่ือง ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันไม่ใช่เรื่องไกลตัว โดยมีที่มาของคลิป https://www.youtube.com/watch?v=f2oscZsL3ZM&t=14s ๒) คลิปวีดีโอ เร่ือง พูดต่อต้านการทุจริต รางวัลชนะเลิศ ปี ๒๕๕๙ โดยมีท่ีมาของคลิป https://www.youtube.com/watch?v=GnhRyr9lTZ8 ๓) ใบความรู้ เรื่อง สถานการณก์ ารทุจริตท่ีเกิดขนึ้ ในประเทศต่างๆ ในโลก ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน ๑) สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานของผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล ๒) สังเกตพฤตกิ รรมการท�ำงานกลุม่ ๓) การนำ� เสนอผลงาน ๕.๒ เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการท�ำงานของผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล ๒) แบบสังเกตพฤตกิ รรมการท�ำงานกล่มุ ๓) แบบบนั ทกึ การนำ� เสนอผลงาน ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินระดบั ดีขึน้ ไป ถือวา่ ผ่าน 78 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การป้องกันการทุจรติ ”
๖. บนั ทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ........................................ครผู สู้ อน (.......................................) ............./............./............. ๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เรื่อง สถานการณก์ ารทจุ ริตที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ในโลก กรณศี กึ ษาประเทศบราซิล ปลำยปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ประชำชนในประเทศบรำซิลได้มีกำรชุมนุมประท้วงกำรทุจริตที่เกิดข้ึน เปน็ กำรแสดงออกถงึ ควำมไมพ่ อใจตอ่ วฒั นธรรม กำรโกงของระบบรำชกำรของประเทศ โดยมปี ระชำชน จ�ำนวนหลำยหม่ืนคนเข้ำร่วมกำรชุมนุมในครั้งน้ี และมีกำรแสดงภำพหนูเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในกำร ประณำมตอ่ นักกำรเมืองทท่ี ุจรติ กำรประทว้ งดังกล่ำวยงั ถือว่ำมีขนำดเล็กกว่ำครงั้ กอ่ น เพรำะทีผ่ ำ่ นมำ ได้มีกำรทุจริตเกิดขึ้นและมีกำรประท้วงจนในท่ีสุดประธำนำธิบดีได้ถูกปลดจ�ำต�ำแหน่ง เน่ืองจำก กำรกระท�ำท่ลี ะเมดิ ต่อกฎระเบยี บเรอื่ งงบประมำณ ที่มำ : https://wwwdailynews.co.th/Foreign/540734 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีที่ ๓ 79
หน่วยท่ี ๓ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลา ๓ ชัว่ โมง หน่วยท่ี ๓ ช่อื หนว่ ย STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ ริต ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง การดำ� เนินการบริษัทสร้างการดี โดยยดึ หลัก STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต ๑ ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ ริต ๑.๒ ปฏิบตั ิตนเปน็ ผ้ทู ี่ STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ รติ ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความส�ำคญั ของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทุจริต ๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรยี นสามารถอธบิ ายความหมายและหลกั การของ STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ รติ ได้ ๒.๒ นักเรยี นสามารถสรุปองคค์ วามรู้ หลกั การของ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต เช่อื มโยง การดำ� เนินการบรษิ ัทสรา้ งการดี ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ความหมาย และหลกั การของ STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ลรวมถงึ ความจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมี ระบบภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ พี อสมควรตอ่ การมผี ลกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลง ทงั้ นจี้ ะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ในหลักวชิ าการและคณุ ธรรมมาใช้ในการวางแผนกอ่ นและการดำ� เนนิ การทุกขนั้ ตอน ๒) องคค์ วามรขู้ องเศรษฐกจิ พอเพียง ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด) ๑) ความสามารถในการส่อื สาร ๒) ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ ๓) ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ ๓.๓ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค/์ ค่านยิ ม ๑) ใฝ่เรียนรู้ ๒) มุ่งมัน่ ในการทำ� งาน ๓) ความซ่ือสัตย์สจุ ริต 80 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การป้องกันการทจุ ริต”
๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้ (ฝึกปฏบิ ัติกจิ กรรม ๓ ช่ัวโมง) ๑) ใหน้ กั เรียนดูคลปิ วดี ีโอ เรอ่ื ง “วถิ พี อเพียง ไมเ่ สย่ี งคอรร์ ัปชัน” เชื่อมโยงสู่การวเิ คราะห์ ปัญหาของประเทศในประเด็น “จากปัญหาการทุจริตของประเทศเราในปัจจุบันนี้ส่งผลกระทบอยา่ งไร ต่อตนเอง ชมุ ชนและประเทศชาติบ้าง” ๒) ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต วิเคราะห์ เพื่อ นำ� ไปสกู่ ารดำ� เนนิ การบรษิ ทั สรา้ งการดวี า่ เมอื่ เราปฏบิ ตั ติ นโดยยดึ หลกั STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ แลว้ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อตนเองต่อผอู้ ืน่ และประเทศชาติอย่างไร ๓) ครแู ละนักเรียนสรปุ ร่วมกนั เราสามารถน�ำหลักการ STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ รติ มาใช้ในการด�ำเนินชีวิต พัฒนาชุมชนสังคมและประเทศชาติได้อย่างไร จะมีประโยชน์ต่อสังคมหรือไม่ อย่างไร และจะสามารถด�ำเนนิ การบริษัทสร้างการดไี ด้อย่างไร ๔.๒ สื่อการเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้ ๑) วดี ีโอ “วถิ พี อเพียง ไมเ่ สย่ี งคอร์รัปชนั ” ๒) ใบความรู้ เรื่อง STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วิธีการประเมนิ ๑) สังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านกลุ่มของนักเรยี นแตล่ ะกลุ่ม ๒) สงั เกตพฤตกิ รรมการน�ำเสนอผลงานของนักเรยี น ๕.๒ เครือ่ งมือที่ใช้ในการประเมนิ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติงานของนักเรยี น ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ ๑) การประเมินพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงานของนักเรยี นระดับดขี ึน้ ไปถอื วา่ ผา่ น ๒) ประเมินผลงานนักเรยี นระดับดขี น้ึ ไป ถอื ว่าผ่าน ๓) นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่าน ๖. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................ครผู ูส้ อน (.......................................) ............./............./............. ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ 81
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เรือ่ ง STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ ริต คาำ อธบิ ายความหมายของ “STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต” ๑) S (sufficient) : ความพอเพียง ผ้นู ำ� ผบู้ รหิ ำร บุคคลทุกระดับ องคก์ รและชมุ ชน นอ้ มนำ� ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง มำปรับประยุกต์เป็นหลักควำมพอเพียงในกำรท�ำงำน กำรด�ำรงชีวิต กำรพัฒนำตนเองและส่วนรวม รวมถึงกำรป้องกันกำรทุจริตอย่ำงย่ังยืน ควำมพอเพียงต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึง ของมนุษย์แม้ว่ำจะแตกต่ำงกันตำมพ้ืนฐำน แต่กำรตัดสินใจว่ำควำมพอเพียงของตนเองต้องตั้งอยู่บน ควำมมเี หตุ มีผลรวมทั้งต้องไมเ่ บยี ดเบียนตนเอง ผู้อืน่ และส่วนรวม ควำมพอเพียงดังกล่ำวจึงเป็นภูมิคุ้มกันให้บุคคลนั้นไม่กระท�ำกำรทุจริต ซ่ึงต้องให้ควำมรู ้ ควำมเขำ้ ใจ (knowledge) และปลกุ ใหต้ นื่ รู้ (realise) ๒) T (transparent) : ความโปร่งใส ผูน้ �ำ ผู้บรหิ ำร บุคคลทกุ ระดบั องค์กรและชมุ ชน ต้อง ปฏิบัติงำนบนฐำนของควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้ ดังน้ัน จึงต้องมีและปฏิบัติตำมหลักปฏิบัติ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ กฎหมำย ด้ำนควำมโปร่งใส ซึ่งต้องให้ควำมรู้ควำมเข้ำใจ (knowledge) และปลุกให้ต่ืนรู ้ (realise) 82 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจรติ ”
๓) R (realise) : ความตื่นรู้ ผู้น�ำ ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของปัญหาและภัยร้ายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบ ภายในชุมชนและประเทศ ความตื่นรู้จะบังเกิดเมื่อได้พบเห็นสถานการณ์ท่ีเส่ียงต่อการทุจริต ย่อมจะ มีปฏิกิริยาเฝ้าระวังและไม่ยินยอมต่อ การทุจริตในท่ีสุดซ่ึงต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) เกีย่ วกบั สถานการณก์ ารทจุ ริตที่เกิดขน้ึ ความร้ายแรงและผลกระทบตอ่ ระดับบุคคลและส่วนรวม ๔) O (onward) : มุ่งไปข้างหน้า ผู้น�ำ ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน มุ่ง พัฒนาและปรับเปล่ียนตนเองและส่วนรวมให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน บนฐานความโปร่งใส ความพอเพียงและร่วมสร้างวัฒนธรรมสุจริตให้เกิดขึ้นอย่างไม่ย่อท้อ ซึ่งต้องมีความรู้ความเข้าใจ (knowledge) ในประเด็นดังกล่าว ๕) N (knowledge) : ความรู้ ผูน้ �ำ ผู้บรหิ าร บุคคลทุกระดบั องคก์ รและชมุ ชน ต้องมคี วามรู้ ความเข้าใจสามารถน�ำความรู้ไปใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินได้อย่างถ่องแท้ ในเร่ือง สถานการณ์ การทุจริต ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและส่วนรวม ความพอเพียงต้านทุจริต การแยกแยะ ผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวมท่ีมีความส�ำคัญยิ่งต่อการลดการทุจริตในระยะยาว รวมทั้ง ความอายไม่กล้าท�ำทุจริตและความไม่ทนเม่ือพบเห็นว่ามีการทุจริตเกิดข้ึน เพ่ือสร้างสังคม ไมท่ นตอ่ การทุจริต ๖) G (generosity) : ความเออื้ อาทร คนไทยมีความเอื้ออาทร มเี มตตา น้ําใจ ต่อกันบนฐาน ของจิตพอเพยี งตา้ นทุจริต ไมเ่ ออื้ ตอ่ การรบั หรอื การใหผ้ ลประโยชน์หรือตอ่ พวกพอ้ ง ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 83
แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลา ๓ ชั่วโมง หน่วยที่ ๓ ชือ่ หน่วย STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจริต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๒ เร่อื ง การด�ำเนนิ การบริษัทสรา้ งการดี โดยยดึ หลกั STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต ๒ ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั STRONG : จิตพอเพยี งต่อต้านทุจริต ๑.๒ ปฏิบัตติ นเป็นผูท้ ่ี STRONG : จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ นทจุ รติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรยี นสามารถอธิบายความหมายและหลกั การของบรษิ ทั สร้างการดไี ด้ ๒.๒ นักเรียนสามารถสรปุ องค์ความรู้ หลกั การของ STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ ริต เช่ือมโยง การดำ� เนินการบริษทั สร้างการดีไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ความหมายและหลกั การของบริษทั สร้างการดี ๒) การการจดั ท�ำโครงสร้างของบริษทั สร้างการด ี ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๓) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ๔) ความสามารถในการแก้ปญั หา ๕) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๓.๓ คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์/คา่ นยิ ม ๑) มวี นิ ัย ๒) ใฝเ่ รียนรู้ ๓) ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขั้นตอนการเรียนรู้ ๑) นกั เรยี นศกึ ษาโครงสรา้ งบรษิ ทั สรา้ งการดี จากนน้ั ใหห้ วั หนา้ หอ้ งเรยี นเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การนำ� อภปิ ราย เพ่ือจดั สมาชิกในห้องเรยี นทำ� หนา้ ที่ในโครงการสร้างของบรษิ ัท 84 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การปอ้ งกนั การทุจรติ ”
๒) ใหส้ มาชกิ ในหอ้ งแตล่ ะคนนำ� เสนอวา่ ตนเองหรอื บคุ คลอนื่ ๆ ในหอ้ งเรยี นมคี วามเหมาะสม กบั บทบาทหนา้ ที่ใด ๓) ใหส้ มาชกิ ในหอ้ งชว่ ยใหว้ ิเคราะห์ผทู้ �ำหน้าทแ่ี ต่ละตำ� แหนง่ โดยใช้หลักการ STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ รติ โดยครูผูส้ อนเน้นยำ้� การยอมรบั ความคดิ เห็นจากผอู้ ่ืนดว้ ยจิตทเ่ี ปน็ ธรรม ๔) บันทึกผ้เู ขา้ รับตำ� แหนง่ ในบรษิ ัทสร้างการดีในโครงสรา้ งของบริษทั ๔.๒ สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ โครงสร้างบรษิ ัทสรา้ งการดี ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน ๑) สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ๒) แบบบนั ทึกโครงสร้างบริษทั สร้างการดี ๕.๒ เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมิน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ ผู้เรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินจาการการสงั เกตพฤติกรรม ๖. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................ครผู สู้ อน (.......................................) ............./............./............. ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ 85
๗. ภาคผนวก โครงสร้าง บรษิ ทั สร้างการดี............................... คณะกรรมการบรษิ ัทสร้างการดี ที่ปรึกษาบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ ๑....................................................... ปปช. สพฐ. ชนุ ชน ๒........................................................ ๓........................................................ ๔........................................................ ๕........................................................ ประธานคณะกรรมการ ชือ่ .................................................. รองประธานคณะกรรมการ ชื่อ.................................................. เลขานุการบรษิ ัท ผอู้ ำานวยการฝายผลติ คณะกรรมการตรวจสอบ ช่อื ................................... ช่ือ................................... ปปช. สพฐ. นอ้ ย ฝายบัญชแี ละการเงิน ผจู้ ัดการ ๑.................................... ๒.................................... ฝา ยลูกคา้ สมั พันธ์ ๓.................................... ชอ่ื ................................... ๔.................................... ๕.................................... ผจู้ ดั การ ผู้จัดการ ฝา ยจดั หาและผลิตภณั ฑ์ ฝายขายผลิตภณั ฑ์ ชื่อ........................................... ช่ือ........................ ฝายจัดหาและผลติ ภัณฑ์ ฝา ยลูกค้าสัมพนั ธ์ ฝายขายผลติ ภณั ฑ์ ๑..............................๒......................... ๑..............................๒......................... ๑..............................๒......................... ๓.............................๔.......................... ๓.............................๔.......................... ๓.............................๔.......................... ๕..............................๖......................... ๕..............................๖......................... ๕..............................๖......................... ๗.............................๘.......................... ๗.............................๘.......................... ๗.............................๘.......................... ๙.............................๑๐........................ ๙.............................๑๐........................ ๙.............................๑๐........................ 86 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การปอ้ งกนั การทุจริต”
แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา ๗ ชัว่ โมง หนว่ ยท่ี ๓ ชอ่ื หน่วย STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจรติ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๒ เรื่อง การดำ� เนนิ การบริษัทสร้างการดี โดยยดึ หลัก STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ รติ ๓ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต ๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้ที่ STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ รติ ๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการต่อต้านและปอ้ งกนั การทจุ ริต ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรียนสามารถด�ำเนินการบรษิ ทั สรา้ งการดีได้ ๒.๒ นกั เรียนสามารถสรปุ องคค์ วามรู้ หลักการของ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทุจริต เชอื่ มโยง การด�ำเนินการบริษทั สรา้ งการดีได้อย่างถกู ต้อง ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ด�ำเนนิ การบริษทั สร้างการดี ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๒) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๓.๓ คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์/คา่ นยิ ม มมี ุ่งมั่นในการท�ำงาน ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้นั ตอนการเรียนรู้ (ฝึกปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ๗ ชว่ั โมง) ๑) ขั้นวางแผน (Plan) ๑ ชัว่ โมง นักเรียนร่วมกับครูที่ปรึกษาประชุมคณะกรรมการบริษัทสร้างการดี ประเด็นเก่ียวกับ การระดมเงนิ ลงทนุ การสรา้ งผลติ ภณั ฑ์ การผลติ การตลาด การประชาสมั พันธ์ ๒) ข้นั ปฏบิ ตั งิ าน (Do) ๔ ชว่ั โมง นักเรียนลงมือปฏิบัติงานเพ่ือสร้างผลิตภัณฑ์ การตลาด และการประชาสัมพันธ์ รวมถงึ การเปดิ รา้ นเพ่อื จ�ำหนา่ ยผลิตภัณฑ์ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ 87
๓) ขนั้ ตรวจสอบการปฏบิ ัติงาน (Check) ๑ ชั่วโมง คณะกรรมการบริษัทสร้างการดี ร่วมกันประเมินการด�ำเนินงานตามแผนที่วางไว้ ในเรอ่ื งสรา้ งผลิตภัณฑ์ การตลาด และการประชาสมั พันธ์ รวมถงึ การเปิดรา้ นเพอื่ จ�ำหน่ายผลติ ภัณฑ์ ๔) ขั้นปรบั ปรุงแกไ้ ข (Act) ๑ ช่ัวโมง คณะกรรมการบริษัทสร้างการดีร่วมกันปรับปรุงและพัฒนาตามผลการประเมิน เพ่ือ พฒั นา สรา้ งผลิตภณั ฑ์ การตลาด และการประชาสัมพันธ์ให้ดยี ่ิงขึ้น ๕) ครูที่ปรึกษาบริษัทสร้างการดีร่วมกับนักเรียนถอดรหัสบทเรียนจากการปฏิบัติงานว่า สิ่งที่ดำ� เนินการสอดคล้องกับหลักการ STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจรติ อยา่ งไร ๔.๒ สื่อการเรียนร้/ู แหลง่ การเรยี นรู้ บริษทั สรา้ งการดี ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ๕.๒ เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการประเมิน ๑) แบบรายงานการดำ� เนนิ งานบรษิ ทั สรา้ งการดี ๒) แบบสังเกตการทำ� งานกลมุ่ ๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน ผลการด�ำเนนิ งานบริษทั สรา้ งการดี ๖. บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................ครูผ้สู อน (.......................................) ............./............./............. 88 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การปอ้ งกันการทจุ รติ ”
หน่วยที่ ๔ พลเมอื งและความรับผดิ ชอบต่อสงั คม แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลา ๒ ชั่วโมง หน่วยที่ ๔ ช่ือหนว่ ย พลเมอื งและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่ือง แนวทางการปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งดี ๑ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกบั พลเมอื งและมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามหนา้ ที่พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกันการทจุ รติ ๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ อธบิ ายแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดไี ด้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมอื งดี ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ ) ๑) ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ - ทักษะกระบวนการคิดเชิงสรา้ งสรรค์ ๒) ความสามารถในการสื่อสาร (อา่ น ฟงั พดู เขียน) ๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ (การสังเกต การระบุ วเิ คราะห์ จัดกลุม่ สรปุ ) ๓.๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์/คา่ นิยม ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซ่อื สัตยส์ ุจริต ๓) มีวินัย ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ข้นั ตอนการเรยี นรู้ ๑) ชมคลิปวดิ ีโอ เกีย่ วกบั การรูจ้ กั หน้าท่ี เพ่อื ให้รจู้ กั หนา้ ท่ี และความรบั ผิดชอบของตนเอง และรับผิดชอบต่อหน่วยงาน โดยสื่อให้เห็นถึงการไม่ตั้งใจท�ำงาน โดยเล่นอินเตอร์เน็ต/โทรศัพท์ ในเวลาท�ำงาน ที่มาของวิดีโอ https://www.youtube.com/watch?v=GATjrfppBBA จากกรม ส่งเสรมิ วัฒนธรรม และสนทนาอภปิ รายเกี่ยวกบั วดิ ีโอทีไ่ ด้รบั ชม ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ 89
๒) นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละ ๕ - ๖ คน แตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษา ใบความรู้ เรอ่ื ง แนวทาง การปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมอื งดที ้ัง ๓ ด้าน คอื ดา้ นสังคม ดา้ นเศรษฐกิจ และดา้ นการเมอื งการปกครอง ๓) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนน�ำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนจากการศึกษา ใบความรู้ เรื่อง แนวทางการปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งดี ทง้ั ๓ ดา้ น คือ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และดา้ นการเมอื ง การปกครอง ๔) นักเรียนร่วมกันสรุปภาพรวมของกิจกรรมในสาระแนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมือง ดแี ลว้ ทำ� เปน็ แผนท่ีความคดิ ๔.๒ สือ่ การเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้ ๑) คลิปวิดีโอ เก่ียวกับ การรู้จักหน้าที่ เพื่อให้รู้จักหนา้ ที่และความรับผิดชอบของตนเอง และรับผิดชอบต่อหน่วยงาน โดยส่ือให้เห็นถึงการไม่ตั้งใจท�ำงาน โดยเล่นอินเตอร์เน็ต/โทรศัพท์ ในเวลาท�ำงาน ท่ีมาของวีดีทัศน์ https://www.youtube.com/watch?v=GATjrfppBBA จาก กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม ๒) ใบความรู้ เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมอื งดี ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วิธีการประเมิน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการท�ำงานของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๕.๒ เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการประเมนิ แบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล ๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ดขี ึน้ ไป ๖. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชือ่ ........................................ครผู ้สู อน (.......................................) ............./............./............. 90 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เรอื่ ง แนวทางการปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมอื งดี แนวทำงกำรปฏบิ ัติตนเป็นพลเมืองดตี ำมวิถีชีวิตประชำธปิ ไตยควรมแี นวทำงกำรปฏิบัตติ น ดังนี ้ ดา้ นสงั คม ได้แก่ ๑) กำรแสดงควำมคิดอยำ่ งมเี หตุผล ๒) กำรรับฟงั ขอ้ คิดเห็นของผ้อู ื่น ๓) กำรยอมรบั เมอ่ื ผู้อน่ื มเี หตุผลที่ดีกวำ่ ๔) กำรตัดสนิ ใจโดยใช้เหตผุ ลมำกกวำ่ อำรมณ์ ๕) กำรเคำรพระเบียบของสังคม ๖) กำรมจี ติ สำธำรณะ คือ เหน็ แกป่ ระโยชน์ของส่วนรวมและรักษำสำธำรณสมบัติ ดา้ นเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ ๑) กำรประหยัดและอดออมในครอบครวั ๒) กำรซอ่ื สตั ย์สจุ รติ ตอ่ อำชีพที่ท�ำ ๓) กำรพฒั นำงำนอำชพี ใหก้ ำ้ วหนำ้ ๔) กำรใชเ้ วลำวำ่ งให้เป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม ๕) กำรสร้ำงงำนและสร้ำงสรรค์สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมไทย และสงั คมโลก ๖) กำรเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคที่ดี มีควำมซ่ือสัตย์ ยึดมั่นในอุดมกำรณ์ท่ีดีต่อชำติ เปน็ สำ� คญั ด้านการเมอื งการปกครอง ได้แก่ ๑) กำรเคำรพกฎหมำย ๒) กำรรบั ฟังขอ้ คดิ เหน็ ของทุกคนโดยอดทนตอ่ ควำมขัดแยง้ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ๓) กำรยอมรับในเหตุผลท่ดี ีกวำ่ ๔) กำรซอื่ สัตยต์ อ่ หน้ำท่โี ดยไม่เหน็ แก่ประโยชน์สว่ นตน ๕) กำรกล้ำเสนอควำมคิดเห็นต่อส่วนรวมกล้ำเสนอตนเองในกำรท�ำหน้ำที่สมำชิก สภำผแู้ ทนรำษฎร หรอื สมำชิกวฒุ สิ ภำ ๖) กำรทำ� งำนอย่ำงเต็มควำมสำมำรถเต็มเวลำ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษำปีที ่ ๓ 91
แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา ๒ ชั่วโมง หนว่ ยท่ี ๔ ชอื่ หนว่ ย พลเมืองและความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง แนวทางการปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งดี ๒ ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั พลเมอื งและมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามหน้าที่พลเมอื งและมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ๑.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทุจรติ ๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ อธิบายแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดไี ด้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดี ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด) ๑) ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ - ทกั ษะกระบวนการคดิ เชงิ สร้างสรรค์ ๒) ความสามารถในการส่ือสาร (อ่าน ฟัง พดู เขยี น) ๓) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต (การสงั เกต การระบุ วิเคราะห์ จดั กลมุ่ สรุป) ๓.๓ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค/์ คา่ นยิ ม ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซื่อสัตยส์ จุ รติ ๓) มวี นิ ยั ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ ช่ัวโมงที่ ๑ ๑) ครูน�ำสนทนาถึงแนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีท้ัง ๓ ด้าน คือ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านการเมอื งการปกครอง ท่ีได้ศึกษามาก่อนหนา้ นี้แล้ว ๒) นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มๆ ละ ๕-๖ คน แต่ละกลุ่มวิเคราะห์พฤติกรรมตาม ใบงาน เรื่อง แนวทางการปฏิบัตติ นเป็นพลเมอื งดี 92 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่ิมเตมิ การป้องกันการทจุ ริต”
ชั่วโมงที่ ๒ ๓) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนน�ำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนจากวิเคราะห์ พฤตกิ รรมตามใบงาน เร่อื ง แนวทางการปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งดี ๔.๒ สื่อการเรียนร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้ ใบงาน เร่อื ง แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดี ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำ� งานของผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล ๒) แบบประเมนิ ใบงาน ๕.๒ เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานของผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล ๒) แบบประเมนิ ใบงาน ๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ดขี น้ึ ไป ๖. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงช่อื ........................................ครผู ู้สอน (.......................................) ............./............./............. ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ 93
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตนเปน็ พลเมอื งดี แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดี ตวั อย่างของพฤติกรรม ทีน่ ักเรียนควรแสดงออก ด้านสงั คม ๑) กำรแสดงควำมคดิ อย่ำงมีเหตผุ ล ๒) กำรรบั ฟังขอ้ คิดเห็นของผูอ้ น่ื ๓) กำรยอมรบั เม่ือผู้อ่นื มีเหตุผลทดี่ กี ว่ำ ๔) กำรตดั สนิ ใจโดยใช้เหตผุ ลมำกกว่ำอำรมณ์ ๕) กำรเคำรพระเบียบของสังคม ๖) กำรมีจิตสำธำรณะ คือ เหน็ แกป่ ระโยชน์ของส่วนรวมและรกั ษำ สำธำรณสมบตั ิ ดา้ นเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ ๑) กำรประหยัดและอดออมในครอบครวั ๒) กำรซ่อื สตั ยส์ จุ รติ ต่ออำชพี ทที่ ำ� ๓) กำรพฒั นำงำนอำชพี ใหก้ ำ้ วหนำ้ ๔) กำรใชเ้ วลำว่ำงใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม ๕) กำรสรำ้ งงำนและสรำ้ งสรรคส์ ง่ิ ประดษิ ฐใ์ หมๆ่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ตอ่ สังคมไทยและสงั คมโลก ๖) กำรเปน็ ผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภคทด่ี ี มคี วำมซอ่ื สตั ย ์ ยดึ มน่ั ในอดุ มกำรณ์ ที่ดตี อ่ ชำตเิ ปน็ สำ� คญั ด้านการเมืองการปกครอง ได้แก่ ๑) กำรเคำรพกฎหมำย ๒) กำรรบั ฟงั ขอ้ คดิ เหน็ ของทกุ คนโดยอดทนตอ่ ควำมขดั แยง้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ๓) กำรยอมรบั ในเหตุผลท่ดี กี ว่ำ ๔) กำรซื่อสัตย์ตอ่ หนำ้ ทโ่ี ดยไม่เห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนตน ๕) กำรกล้ำเสนอควำมคิดเห็นต่อส่วนรวมกล้ำเสนอตนเองในกำร ท�ำหนำ้ ท่ีสมำชกิ สภำผู้แทนรำษฎร หรอื สมำชกิ วุฒสิ ภำ ๖) กำรท�ำงำนอยำ่ งเต็มควำมสำมำรถเตม็ เวลำ 94 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”
แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา ๒ ชั่วโมง หนว่ ยที่ ๔ ช่อื หนว่ ย พลเมืองและความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓ เรอ่ื ง การพจิ ารณาความเป็นพลเมอื ง ๑ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับพลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๑.๒ ปฏิบตั ติ นตามหน้าท่พี ลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความส�ำคญั ของการตอ่ ตา้ นและป้องกันการทุจรติ ๒.. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อธบิ ายแนวทางการพจิ ารณาความเปน็ พลเมือง ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ แนวการพิจารณาความเปน็ พลเมือง ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กดิ ) ๑) ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ - ทักษะกระบวนการคดิ เชิงสรา้ งสรรค์ ๒) ความสามารถในการสือ่ สาร (อ่าน ฟัง พูด เขยี น) ๓) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ (การสงั เกต การระบุ วิเคราะห์ จัดกลุ่ม สรปุ ) ๓.๓ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค/์ ค่านยิ ม ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซื่อสัตยส์ ุจริต ๓) มวี ินัย ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ๑) ชมคลิปวดิ โี อ เกีย่ วกบั ความอดทน อดกลน้ั เพ่อื ใหร้ ้จู ักความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง สังคม เคารพกฎ กตกิ า เน้ือหาเป็นการขับรถแซงผอู้ ื่นไปมา และไม่เคารพกฎจาจร โดยมที ่จี าก https://www. youtube.com/watch?v=dWmZDGYtE_k จากกรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 95
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124