Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice

Best Practice

Published by Prathumrat Tongsuk, 2021-09-11 14:11:24

Description: Best Practice

Keywords: Best Practice

Search

Read the Text Version

BestPractice มาตรการเพิ่มจำนวนผเู้ขา้สอบและพัฒนาระดับผลสัมฤทธป์ิลายภาคเรียน ภาคเรยีนที่๑ปีการศึกษา๒๕๖๔ของนักศึกษากศน.อำเภอหว้ยทับทนั นายสมคดิพนัธแ์ก่น นักวชิาการศึกษา ศนูย์การศึกษานอกระบบและการศกึษาตามอธัยาศัยอำเภอห้วยทบัทัน สำนักงานสง่เสรมิการศึกษานอกระบบและการศกึษาตามอธัยาศยัจงัหวดัศรสีะเกษ สำนักงานสง่เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ก คำนำ การรายงานผลปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) เร่ือง มาตรการเพิ่มจานวนผู้เข้าสอบและ พัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของนักศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทับทนั เพื่อให้การใช้งบประมาณของสานักงาน กศน. ในการจ้างพิมพ์แบบทดสอบเกิดประโยชน์สูงสุดกับ ผู้เรียน ได้ประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า รวมถึง กศน.อาเภอห้วยทับทัน ยังมุ่งเน้นพัฒนาบุคลากร ครูผู้สอน ให้มีศักยภาพสูงสุด ในการถ่ายทอดความรู้และทักษะทางวิชาการให้แก่นักศึกษาอย่างสุด ความสามารถ โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 อีกท้ังยังช่วยพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้อง กับหลักสูตรสถานศึกษา ตรงตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อันจะ ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่สูงขึ้น เพื่อเป็นบุคลากรที่ดี มีองค์ความรู้นาไปพัฒนา ประเทศและสังคมสบื ไป ข้าพเจ้า จึงได้จัดทารายงานฉบับนี้ขึ้น เพื่อรายงานสภาพความสาเร็จในการดาเนินงาน ขอขอบพระคณุ บุคลากรทุกท่านทีม่ ีสว่ นรว่ มในการดาเนินงาน จนสาเร็จลุล่วงเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย และหวังเป็นอย่างยิ่งคงจะเป็นประโยชน์ให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาต่อไป นายสมคิด พันธ์แก่น นกั วิชาการศกึ ษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั

สำรบัญ ข เร่อื ง หน้ำ คำนำ ก สำรบัญ ข ความเปน็ มาและความสาคัญ ๑ วัตถปุ ระสงค์ ๒ เป้าหมาย ๒ หลกั การและแนวคิด ๓ กระบวนการผลติ งานหรือข้ันตอนการดาเนินงาน (วิธีปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ) ๕ ผลการดาเนินงาน ผลสัมฤทธิแ์ ละประโยชน์ที่ได้รับ ๑๒ ปัจจัยความสาเรจ็ ๑๒ ทาไมถึงเลือกเป็น Best Practice ๑๓ บทเรียนทีไ่ ด้รบั ๑๓ ภำคผนวก ๑๔ ภาพประกอบ/อืน่ ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง

๑ กระบวนการหรือวิธีปฏบิ ตั ิที่เปน็ เลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน มาตรการเพิม่ จานวนผู้เขา้ สอบและพฒั นาระดับผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของนักศกึ ษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั ชือ่ เจ้าของผลงาน นายสมคิด พนั ธ์แก่น ตาแหน่ง นักวิชาการศกึ ษา สถานศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทัน อาเภอหว้ ยทับทัน จังหวดั ศรสี ะเกษ 1. ความสาคญั และความเป็นมา การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ถือได้ว่ามี ความสาคัญยิง่ ในการพัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รียน วิธีสอนหรอื รูปแบบการเรียนการสอนเป็นส่วน หนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาเปลี่ยนแปลงให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้และมีทักษะในการเรียนได้ดีขึ้น ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒, แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕, แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญ งอกงามของบุคคลและสังคม โดยมีความมุ่งหมายของการจดั การศึกษาต้องเป็นไป เพื่อพัฒนา คนไทยให้เปน็ มนุษย์ทีส่ มบูรณ์ ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรม ในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขด้วย กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายด้านการศึกษา โดยกาหนดให้เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทกุ ระดับช้ัน โดยวัดผลจากการผา่ นการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติ และนานาชาติ ขจัดความไม่รู้หนังสือให้สิ้นไปจากสังคมไทย เน่ืองจากการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาเปน็ กระบวนการที่จะช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาศักยภาพและความสามารถด้านต่างๆ ที่ จะดารงชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุข จึงเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่า ประเด็นของ “คุณภาพการศึกษา” เป็นประเด็นที่สาคัญที่สุดประเด็นหนึ่ง ซึ่งสังคมไทยและ กระทรวงศึกษาธิการกาลังให้ความสาคัญเป็นอันดับต้นๆ และพยายามพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาทุกแห่ง สถานศึกษาจาเป็นต้องสร้างความเชื่อม่ันแก่สังคม ว่า สามารถจัดการศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพตามที่สังคมคาดหวัง สามารถจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น และบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาที่กาหนดไว้ ในการนี้ สานักงาน กศน. ได้ให้ความสาคัญในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุก ระดบั ของการศึกษา มาตรการเพม่ิ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๒ ดังนั้น การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นสิ่งสาคัญที่จะพัฒนาและผลักดันให้ การนานโยบายของสานักงาน กศน.ไปสู่การปฏิบัติที่บรรลุเป้าหมายจึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหาร หน่วยงานและสถานศึกษา ที่จะต้องบริหารจัดการสถานศึกษาให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตรงตามเจตนารมณ์ของการจัดการศึกษา ในยุคปฏิรูปการศึกษา ก่อให้เกิดความสามัคคี และ ลดความขัดแย้งในการทางาน เพิ่มความไว้วางใจ สร้างบรรยากาศที่ดีในการทางาน ช่วยให้ ผู้ร่วมงานมีสุขภาพจิตดี สร้างความเป็นประชาธิปไตย ลดค่าใช้จ่ายและใช้ทรัพยากรเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสถานศึกษาต้องกาหนดเป้าหมายว่า แต่ละปีจะทาอย่างไร ให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเพิ่มขึ้น และเป็นสัดส่วนเท่าใดตามสภาพความพร้อมของ สถานศึกษา จากเหตุผลดังกล่าว สานักงาน กศน. จังหวัดศรีสะเกษ โดย ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอห้วยทับทัน จึงดาเนินการตามแผนและนโยบายอีกท้ัง เป้าหมายทีก่ าหนดเพื่อยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนขึน้ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าสอบปลายภาคเรียน แล้วนาปัญหามาวิเคราะห์เพื่อหา แนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยใช้ระบบติดตามและให้คาปรึกษาผู้เรียนของครู กศน.อาเภอ หว้ ยทบั ทนั ใหม้ ีร้อยละการเข้าสอบทีส่ งู ขึน้ 2.2 เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน ของนักศึกษา ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอห้วยทับทัน 2.3 เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน ของศูนย์ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหว้ ยทับทนั ใหม้ ีผลสมั ฤทธิ์เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเน่อื ง 3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.อาเภอห้วยทับทัน ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ทีม่ สี ิทธิส์ อบปลายภาคเรียน) 3.2 เชิงคุณภาพ - นกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั มีจานวนผู้เข้าสอบที่สูงข้ึน และมีผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรียน ทีส่ ูงขึน้ อย่างตอ่ เนื่อง มาตรการเพ่ิมจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั

๓ 4. หลกั การและแนวคดิ กรอบแนวคิดทีเ่ กี่ยวข้อง 1. ศาสตรแ์ หง่ พระราชา การใชข้ ้อมลู ท่ีมีอยจู่ รงิ การประยกุ ต์ใช้ - ผลสัมฤทธิใ์ นสถานศึกษา ศึกษาวิจัยข้อมูลของสถานศึกษา - ผลปลายภาค 2 เทอม ย้อนหลงั กอ่ นทาการยกระดับผลสัมฤทธิ์ - หลักสูตร - แผนการสอน - การวดั ประเมนิ ผล เข้าใจ - บนั ทกึ หลงั สอน - การใชข้ อ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ แสวงหาข้อมูลเพอ่ื ให้ได้มาซงึ่ - การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ปัญหา - ศกึ ษามาตรฐานตวั ชีว้ ดั รายปี จากสารสนเทศและผลการ วเิ คราะหข์ ้อมูล - การวเิ คราะห์และวจิ ัย ค้นหาปัญหา ปจั จัยแห่ง - หลักสูตร มาตรฐานตัวช้ีวัด/ ความสาเร็จ การจัดการเรียนการสอน /ผล วเิ คราะหแ์ ละวิจยั สอบ ทดลองจนไดผ้ ลจริง ตวิ สอบ จัดทาข้อสอบ การยกระดบั แผนการจัดการเรียนรู้ (หลาย ๆวิธี) ระเบดิ จากขา้ งใน สร้างความมุ่งมั่น ปรับเปลี่ยนการ สอน มีการออกแบบการเรียนรู้ เขา้ ถึง บนั ทกึ หลงั สอน เขา้ ใจกลุ่มเปา้ หมาย รับฟังปัญหาอย่างเข้าใจ(สะท้อน ความเห็น,ระดมความคดิ ) สร้างปัญญา ให้ความรคู้ วามเขา้ ใจ ความจาเปน็ วธิ กี ารเพ่อื ยกระดับ (อบรม/ ประชมุ ) เริม่ ต้นด้วยตนเอง สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของครู พึ่งพาตนเองได้ ร่วมมือกับ สานักงาน กศน.จังหวัด พฒั นา ศรสี ะเกษในระยะแรก ตน้ แบบเผยแพรค่ วามรู้ ส่งเสริมครูท่ีประสบความสาเร็จ ขยายผลตอ่ ไป มาตรการเพิ่มจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๔ 2. กรอบแนวคิดท่เี กี่ยวข้อง Professional Learning Community (PLC) สคู่ ุณภาพซ่ึงเป็นกระบวนการพัฒนาครูโดย ใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ที่เกิดจากการรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนักวิชาการศึกษาในสถานศึกษา กศน.อาเภอห้วยทับทัน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นสาคญั 3. กรอบความเชื่อมโยงหลกั สตู ร แผนภมู ิกระบวนการยกระดับคุณภาพการเรยี นรู้ 1. ขนั้ เตรียมการ 1.1 ประชุมชีแ้ จงประเด็นระดมสมอง และเป้าหมายโครงการ 1.2 แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ งาน 1.3 กาหนดเกณฑ์การประเมินผลตามเป้าหมายโครงการ 2. ขั้นดาเนนิ งาน หลักสูตร มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด 2.1 พัฒนาครูผ่านกระบวนการอบรม ทต่ี อ้ งรู้ ตัวช้ีวดั ที่ควรรู้ และ 2.2 จดั ทาแผน/โครงการยกระดับ ตวั ช้ีวัด 2.3 พฒั นาครผู ่านกระบวนการนเิ ทศ แผนจดั การเรยี นรู้/การ 3. ตรวจสอบและ จดั การเรียนรู้ 5 สาระ ประเมินผล การเรยี นรู้ 4.ข้ันปรบั ปรงุ และพัฒนา นาผล พัฒนาครูผา่ นกระบวนการ ประเมนิ มาวเิ คราะห์ และพัฒนาการ นิเทศประกอบด้วย กิจกรรม ดาเนินงาน เย่ยี มชัน้ เรยี น กจิ กรรมนเิ ทศ ภายใน/กิจกรรมนิเทศ ภายนอก 5. สรปุ ผลการประเมนิ และ ครูไดร้ ับการพฒั นาความรู้ ข้อเสนอแนะ และทักษะเกยี่ วกบั ด้าน การจัดการเรยี นรู้ มาตรการเพม่ิ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๕ 5. กระบวนการผลิตงานหรอื ขั้นตอนการดาเนินงาน(วิธีปฏิบัติทีเ่ ป็นเลิศ) การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสู่การปฏิบัติจริงในสถานศึกษาได้อย่างเป็นระบบ และต่อเนือ่ ง และวางแผนพัฒนาครตู ามข้ันตอนดงั นี้ 1. ข้ันเตรยี มการ ดาเนนิ การ ดังน้ี 1.1 ประชุมชี้แจง ให้ความรู้ คณะครู และร่วมอภิปรายระดมพลังสมอง ความคิด ถึง วัตถุประสงค์และคุณค่าของการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ โดยอาศัยกรอบแนวคิดศาสตร์ พระราชา และกรอบหลักสูตร การเชื่อมโยงมาตรฐาน ตัวชี้วัด ที่เน้นการเรียนรู้เพื่อพัฒนา วิชาชีพครูโดยเน้นการเรียนรู้ของนักศึกษา เป็นหัวใจสาคัญมุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของ บุคคลและองค์กรมีองค์ประกอบสาคัญ 6 องค์ประกอบ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ร่วม ทีมร่วม แรงร่วมใจ ภาวะผู้นาร่วม การเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ ชุมชนกัลยาณมิตร และโครงสร้าง สนบั สนนุ 1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน วิเคราะห์ข้อมูลกาหนดแนวทางการดาเนินงาน วางแผนดาเนนิ งาน 1.3 กาหนดเกณฑ์การประเมินผลตามเป้าหมายของโครงการ 1.3.1 คณะครปู ระจากลุ่ม กศน.ตาบล เข้าใจและประกอบกิจกรรมเพือ่ พัฒนาตนเอง 1.3.2 ครูได้รับการพัฒนาวิชาชีพครู 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตน ด้านความรู้และ ทกั ษะ และด้านการปฏิบตั ิงาน 1.3.3 นักศึกษาได้รับการส่งเสริมพัฒนาด้านวิชาความรู้และทักษะชีวิตให้สมบูรณ์พร้อม เป็น Thailand 4.0 และใช้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพมีความสามารถครบทุกมิติโดย พิจารณาตามเกณฑด์ งั น้ี 1) ร้อยละของเวลาเรียนทีเ่ ป็นการเรียนโดยการลงมือกระทา (Active Learning) 2) ร้อยละของนักศึกษาที่มีปัญหาด้านการเรียนและปัญหาส่วนตัว และต้องการได้รับการดูแล ทันที 3) ร้อยละที่เพิ่มของผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนกั ศกึ ษา 4) ผลการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษา 2. ขัน้ ดาเนินงาน ดาเนนิ การดังนี้ 2.1 ครูเข้าอบรม โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ สาหรับการเรียน การสอนออนไลน์ ประจาปีงบประมาณ 2564 ในวันที่ 9 สิงหาคม 2564 ณ กศน.อาเภอ หว้ ยทับทัน 2.1.1 จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ 18 สปั ดาห์ / โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ 2.1.2 พัฒนาครผู ่านกระบวนการนเิ ทศ ติดตามประเมินผล มาตรการเพิม่ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๖ 2.1.3 จัดหาหนังสือ สื่อ การเรียน และโสตทัศนวัสดุสื่อ คอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้ ประโยชน์ร่วมกนั ได้ 2.1.4 ติดตงั้ เวบ็ ไซต์สาหรับแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 2.1.5 พฒั นาสือ่ On Hand (ออนแฮนด์) และคมู่ อื พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ เพือ่ นาไปใช้กับผเู้ รียน 2.2 พฒั นาครผู า่ นกระบวนการนิเทศ ประกอบด้วย 2..2.1 กิจกรรมเยี่ยมช้ันเรียน (Walk in) และกิจกรรมระบบนิเทศภายในตามแนวคิด ของการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ที่เน้นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิชาชีพครูโดยเน้นการเรียนรู้ของ นักศึกษาเป็นหวั ใจสาคัญมุ่งเน้นการพฒั นาการเรียนรู้ของบุคคลให้เกิดการรวมตัว รวมใจ รวม พลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนักวิชาการศึกษาในสถานศึกษา กศน.อาเภอห้วยทับทัน บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตรในพื้นที่ทางานจริงร่วมกัน อย่างมี วิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกันแบบทีมเรียนรู้ โดยครูเป็นผู้นาร่วม เพื่อร่วม เรียนรู้และพฒั นาวิชาชีพตนเองให้เกิดผลที่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่มีหัวใจสาคญั คือการใส่ ใจดูแล และรบั ผิดชอบความสาเรจ็ ของผู้เรยี นรว่ มกนั มีข้ันตอนการดาเนินงานดงั น้ี 1) กิจกรรมเยี่ยมชั้นเรยี น (Walk in) ดาเนินการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ได้แก่ ฝ่ายบริหาร ครู กศน.ตาบลทุก ตาบล หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อจัดตั้งคณะกรรมการเยี่ยมชั้นเรียน จัดทา ปฏิทินกาหนดการเยี่ยมชั้นเรียน และวางแผนการดาเนินงานโดยคณะกรรมการที่มีหน้าที่เยี่ยมชั้น เรียน ได้แก่ ฝ่ายบริหาร หัวหน้างานการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการยกระดับผลสัมฤทธิ์ มอบหมายให้หัวหน้างานการศึกษาขั้นพื้นฐานแจ้งปฏิทินกาหนดการเยี่ยมช้ันเรียน และชี้แจง รายละเอียดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับกิจกรรมเยี่ยมชั้นเรียนแก่ครูประจากลุ่มทราบ และดาเนินการ เยีย่ มช้ันเรยี น คร้ังท่ี 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อ สารวจสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน โดยมี การดาเนินงาน ดังน้ี ขน้ั เตรียมการก่อนเยี่ยมชนั้ เรียน จัดทาปฏิทินการนิเทศเยี่ยมช้ันเรียน โดยใช้เวลาในการเยีย่ มชั้น เรียนครู กศน.ตาบล แต่ละคนประมาณ 10 – 15 นาที ใช้เวลาในการเยี่ยมชั้นเรียนครู กศน.ตาบล รวม 1 สัปดาห์ และสร้างเครือ่ งมอื เพือ่ ใช้ในการเยีย่ มชน้ั เรียนครั้งที่ 1 ขั้นสรุปงานหลังนิเทศเยี่ยมช้ันเรียน หลังจากการเยี่ยมชั้นเรียนคร้ังที่ 1 มีการประชุมเพื่อสรุปผล สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครู กศน.ตาบล คัดกรองปัญหาสาคัญที่ควรได้รับการแก้ไข เร่งด่วนและประเด็นปัญหาในการพัฒนาครูวางแผนการเยี่ยมชั้นเรียนครั้งที่ 2 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ แก้ไขปัญหาจากการสารวจสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครูในการเยี่ยมชั้นเรียนครั้งที่ 1 มาตรการเพมิ่ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๗ โดยกาหนดเป็นประเด็นการสังเกตในการเยี่ยมช้ันเรียนคร้ังที่ 2 ตลอดจนวางแนวทางในการให้ ข้อเสนอแนะที่เป็นไปในทิศทางเดียวกนั (เช่น รูปแบบการเสนอแนะ ขอบเขต ช่วงเวลา เป็นต้น เพื่อไม่ให้ เป็นการบั่นทอนกาลังใจในการทางาน และเป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับคนหมู่มากที่สามารถยอมรับได้) สร้างเคร่ืองมือ เพื่อใช้ในการนิเทศเยี่ยมช้ันเรียนคร้ังที่ 2 และประชุมชี้แจงครูทุกท่านว่า จะมีการนิเทศ เยี่ยมช้ันเรยี นโดยแจ้งประเดน็ สาคัญทีเ่ ปน็ จุดเน้นในการเยีย่ มชนั้ เรียนคร้ังต่อไป ครง้ั ที่ 2 มีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ แก้ไขปญั หาจากการสารวจสภาพปัญหาจากการเยีย่ มชั้นเรยี นคร้ังที่ 1 ข้ันเตรียมการก่อนเยี่ยมช้ันเรียน จัดทาปฏิทินการเยี่ยมช้ันเรียน โดยใช้เวลาในการเยี่ยมชั้นเรียนครู แต่ละคนประมาณ 50 นาที ใช้เวลาในการเยี่ยมชั้นเรียนครู กศน.ตาบล 2 สัปดาห์ (โดยอาจเน้นการใช้ เวลาที่มากกว่ากับครูกลุ่มที่ต้องการการพฒั นา) และจัดเตรียมเอกสาร เคร่อื งมือเพื่อเยี่ยมช้ันเรียนครั้ง ที่ 2 ข้ันสรุปงานหลังเยี่ยมชั้นเรียน หลังจากการเยี่ยมช้ันเรียนครั้งที่ 2 ประชุมเพื่อสรุปผลสภาพปัญหา การจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน และร่วมเสนอแนวทางแก้ไขและวางแผนการดาเนินงานต่อไป และประชุมชี้แจงหรือแจ้งผลการเยี่ยมช้ันเรียนแก่ครู แจง้ ประเดน็ ที่ครูมีการพัฒนาได้ดีขนึ้ ประเด็นที่ยัง สามารถพฒั นาเพิ่มขึน้ ได้อีก ตลอดจนระดมความคดิ เห็น ข้อเสนอแนะแนวทางในการพฒั นา 2.2.2 กิจกรรมระบบนิเทศภายใน ดาเนนิ การดังนี้ 1) ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ได้แก่ คณะกรรมการยกระดับคุณภาพผลสมั ฤทธิ์ ฝา่ ยบริหาร หัวหน้ากลุ่มงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดทาปฏิทินกาหนดการเข้านิเทศการจัดการเรียนการ สอน และวางแผนการดาเนินงานโดยเปน็ การประชมุ พร้อมกบั การประชมุ กิจกรรมเยีย่ มชนั้ เรียน 2) มอบหมายให้หัวหน้ากลุ่มงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน แจ้งปฏิทินกาหนดการเข้านิเทศการจัดการ เรียนการสอน และชีแ้ จงรายละเอียดและแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอน แก่ครูในกลุ่มสาระการเรียนรขู้ องตนเองทราบ 3) คณะกรรมการนเิ ทศ เข้านิเทศการจดั การเรียนการสอนของครู กศน.ตาบล และแจง้ กาหนด ปฏิทินการเข้านิเทศการจดั การเรียนการสอนของครูให้ได้ทราบ 4) ประชุมเพื่อสรุปผลการดาเนินงาน ข้อดี ข้อด้อยในการดาเนินงาน และ หาแนวทางการพัฒนา หรอื แนวทางปฏิบตั ิเพื่อการพัฒนาต่อไป 5) สรปุ ผลการดาเนินงานและจัดทารายงานผลการดาเนินงาน 2.3 คณะกรรมการยกระดบั คุณภาพนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลด้านการจัดการเรยี นการสอนของครู 3. ขน้ั ตรวจสอบและประเมินผล การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานท้ัง การพัฒนาครผู ่านกระบวนการ อบรม การจดั ทาแผน/โครงการยกระดับ การพัฒนาครูผา่ นกระบวนการนิเทศ ประเมินผลจาก คณะกรรมการ มาตรการเพิ่มจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั

๘ 3.1 การพัฒนาครูผ่านกระบวนการนิเทศประเมินผลจากการวิเคราะห์มีการวิเคราะห์ความสอดคล้อง ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด การวางแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน วิธีการ จดั การเรียนรู้ การเลือกรูปแบบที่เหมาะสม การวิเคราะห์ความสอดคล้องของวิธีสอน หรือการกาหนด รูปแบบที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา การพัฒนารูปแบบไปใช้ในการ จัดทาแผนจัดการเรียนรู้ และจัด กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมอื ที่ใช้ ส่ิงที่ต้องการวดั วิธีการวดั และเกณฑ์การวัด ให้สอดคล้องกับ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สิ่งที่เราต้องการจะวัด (พิจารณาจากมาตรฐาน/ตัวชี้วัด หรือ ผลลพั ธ์ทีเ่ ราต้องการ) กิจกรรมท่ีกาหนดให้เรียนคือ กิจกรรมที่เชื่อมโยงกับตัวชี้วัดต้องรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการ หลังจาก ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา บันทึกหลังสอน ตลอดจนถึงการวิจัยและพัฒนาไป ด้วยกนั 3.2 นกั ศึกษาได้รบั การส่งเสริมพัฒนาด้านวิชาความรู้โดยพิจารณาตามเกณฑด์ ังน้ี 3.2.1 ร้อยละของเวลาเรียนที่เปน็ การเรียนโดยการลงมือกระทา (Active Learning) 3.2.2 ร้อยละที่เพิม่ ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียน 3.2.3 ผลการเข้าร่วมกิจกรรมแขง่ ขนั จากหน่วยงานต่างๆ 3.2.4 ผลการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียน 4. ขน้ั ปรบั ปรงุ และพัฒนา โดยนาผลการประเมินมาวิเคราะห์ และพัฒนาการดาเนินงานคร้ังต่อไปสรุปผลการประเมิน และข้อเสนอแนะ สรปุ ผลการดาเนนิ งานทั้ง 3 กิจกรรม ตามเกณฑท์ ี่กาหนด 1.การพฒั นาครผู า่ นกระบวนการอบรม 2. การจัดทาแผน/โครงการสอนยกระดับ 3. การพัฒนาครูผา่ นกระบวนการนเิ ทศ การสนทนาเกี่ยวกบั การวางแผนจดั การเรียนรู้ (Planning Conversation) การสนทนาเกี่ยวกับการวางแผนจัดการเรียนรู้ เป็นขั้นตอนที่ผู้นิเทศสนับสนุนใหค้ รูได้ระบเุ ป้าหมาย การเรียนรู้ และอธิบายหรือสาธิตเกี่ยวกับสิ่งที่จะสอน โดยผู้นิเทศใชค้ าถามนาเพือ่ ให้ครูได้ไตร่ตรอง เกี่ยวกับการสอนของตนเองก่อนที่จะนาไปปฏิบัติการสอนในช้ันเรียน ผู้นิเทศจึงจาเป็นต้องใช้ คาถามเพือ่ ให้ครูได้ไตรต่ รองเกี่ยวกบั การดาเนินการในเรือ่ งต่อไปนี้ 1. การทาความเข้าใจมาตรฐานตัวช้วี ัด 2. วิเคราะหผ์ ลสอบ 3. วิเคราะหก์ ารออกแบบการเรียนรู้ 4. การทาความเข้าใจเกีย่ วกบั เป้าหมายการเรียนรู้และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 5. การระบเุ นือ้ หาสาระและวิธีการทีจ่ ะสอน มาตรการเพิม่ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๙ 6. การกาหนดกระบวนการ กิจกรรม และสือ่ การเรียนการสอน 7. การกาหนดหลกั ฐานการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล 8. การระบปุ ระเภทของข้อมลู ทีจ่ ะใช้สาหรบั การสะท้อนคิดเกีย่ วกบั การปฏิบัติการสอน 9. การทดลองใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ก่อนการนาไปใช้สอนในช้ันเรียน ระยะท่ี 2 การสังเกตและการรวบรวมข้อมูลสาหรับการนิเทศ (Coaching Observation and Data Gathering) การสังเกตและการรวบข้อมลู เพื่อนาไปใช้ในการนิเทศเป็นข้ันตอนที่ผู้นิเทศทาการสังเกตการสอนในชั้น เรียนของครูและรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ครูนาไปใช้ในการสะท้อนคิดเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนของ ตนเอง ข้อมูลสาหรับการนิเทศ จะต้องเป็นข้อมูลที่ใช้สาหรบั การแลกเปลี่ยนเพือ่ ให้เกิดการเรียนรทู้ ักษะ ทีต่ อ้ งการ และเปน็ ข้อมูลเพื่อการปรับปรงุ การปฏิบตั ิงาน โดยใช้ วิธีการรวบรวมข้อมูลสาหรับการนเิ ทศ 2 วิธีดังน้ี 1. การบนั ทึกวาจาของครูและผเู้ รียนตามที่ต้องการ โดยครแู ละผนู้ ิเทศควรตกลงร่วมกนั ก่อนว่า ครู ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับคาพูดของครูและผู้เรียนในเร่ืองใดบ้าง และเทคนิคนี้จะมีประโยชน์อย่างยิ่งใน กรณีที่ครูต้องการทบทวน ไตร่ตรองเกี่ยวกับการใช้คาถามของตนเอง ระดับการคิดของผู้เรียน หรือ สงั เกตปริมาณการพดู ของครูในชน้ั เรียนว่ามีมากน้อยเพียงใด 2. การบันทึกเสียงหรือบันทึกวีดิทัศน์ (Audio or Video Recording) อาจเป็นการบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งหมดในช้ันเรียน การบันทึกเหตุการณ์บางส่วน หรือบันทึกเฉพาะประเด็นที่ครูต้องการทราบหรือ สนใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนของตน เช่น การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน พฤติกรรมของ ผเู้ รียน 3. การสนทนาเพื่อสะท้อนคดิ (Reflecting Conversation) การสนทนาในขั้นตอนนี้เป็นทั้งการสะท้อนคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ปฏิบัติไปแล้วและเป็นการเริ่มการ สนทนาเกี่ยวกับการวางแผนการจดั การเรียนรู้สาหรับครั้งต่อไป ผนู้ ิเทศควรสนับสนุนให้การสนทนา มีบรรยากาศที่ผอ่ นคลาย และจัดเตรียมข้อมูลที่ได้จากการสังเกตเพื่อให้ครูนามาใช้ในการวิเคราะห์ และเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติการสอนของตนเอง ให้ครูสรุปและสะท้อนสิ่งที่เกิดขึ้นขณะสอน บอกวิธีการประเมินผล เปรียบเทียบระหว่างสิ่งที่เกิดขึ้นกับสิ่งที่วางแผนไว้ ระบุผลกระทบของ พฤติกรรมการสอนที่มีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน บอกสิ่งที่จะนาไปใช้ในการวางแผนการจัดการ เรียนรู้ในคร้ังต่อไป 3.1 กาหนดกล่มุ เปา้ หมาย นกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทัน ระดบั ประถม มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ที่ตอ้ ง เข้ารบั การสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 มาตรการเพ่มิ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๑๐ 3.2 การดาเนินการจัดกิจกรรม 3.2.1 ประชุมชีแ้ จงบคุ ลากรเพือ่ ชีแ้ จงแนวทางกิจกรรมยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการพฒั นา ผลสมั ฤทธิท์ างการ 3.2.2 จัดทาแผนงาน /จัดโครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน จานวน 2 โครงการ โครงการพฒั นาผ้เู รยี นและยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษา กศน.อาเภอห้วยทับทนั ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 (ติวสอบ N – NET) โครงการคา่ ยวิชาการเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น นักศกึ ษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา ๒๕๖4 (ติวสอบปลายภาค) 3.2.3 ครผู สู้ อนวิเคราะห์ ตรวจสอบ และติดตามนักศึกษา อย่างต่อเน่อื ง 3.2.4 ครผู สู้ อนบริหารจัดการชั้นเรยี น เช่น เลือกเทคนิคกลวิธีการสอน การจดั สภาพแวดล้อมและ บรรยากาศช้ันเรยี นใหเ้ อือ้ ต่อการเรียนรู้ 3.2.5 ครูสร้างความตระหนักและกระตุ้นใหน้ ักศึกษาเหน็ ความสาคญั กับการเตรียมความพร้อมใน การเข้ารับการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 3.2.6 ครผู สู้ อนทอดแทรกกิจกรรมการสอนเสริม จากคู่มอื พฒั นาผลสัมฤทธิ์ 3.2.7 การรายงานสภาพปญั หาและการตดิ ตามการดาเนินการจดั การเรียนการสอน ของ กศน. ตาบลทั้ง 6 ตาบล 3.2.8 การสรุปรายงายผลการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ในการประชมุ ทุกครั้งเพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกนั และเพือ่ นาผลมาประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดผลมากที่สุด มาตรการเพม่ิ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั

๑๑ มาตรการเพิ่มจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดับผลสัมฤทธิป์ ลายภาคเรียนท่ี ๑/2564 ของนักศกึ ษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทัน 1.ประชุมวางแผนการสารวจผู้คาด 1.ดาเนินการสารวจผู้คาดว่าจะมา ว่ า จ ะ ม า ส อ บ ป ล า ย ภ า ค เ รี ย น ที่ สอบปลายภาค กรณีไม่สามารถมา 1/2564 สอบได้เกิดจากปัญหาอะไร ศึกษา 2.จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ รายกรณีแล้วหาแนวทางแก้ไขเร่งด่วน ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ / เ ส น อ ข อ อ นุ มั ติ โดยใช้ระบบติดตามผู้เรียน และให้ โครงการฯ ต่อผู้บริหาร คาปรึกษา 3 . จั ด ท า ค า สั่ ง ค ณ ะ ด า เ นิ น ง า น 2 . ค รู ก ศ น . ต า บ ล ทุ ก ต า บ ล โครงการฯ มอบหมายภาระงาน ดาเนนิ การติวเข้มก่อนสอบโดยใช้คู่มือ 4 . จั ด เ ต รี ย ม คู่ มื อ เ พื่ อ พั ฒ น า เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ที่คณะครูได้ ผลสัมฤทธิ์ จัดทาข้ึน 5.จดั เตรียมสถานที่ตวิ สอบ 1. 3.ผู้เรียนทาแบบทดสอบเสมือนจริง 6.จดั เตรียมเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อวัดระดับคะแนนก่อนสอบ หากได้ คะแนนน้อยจะได้หาแนวทางในการ กระบวนการเพิ่ม จานวนผเู้ ข้าสอบและ พฒั นาผลสัมฤทธิ์ การปรับปรงุ แก้ไขส่วนที่มีปัญหา การตรวจสอบผลการดาเนินงานใน หรือถ้าไม่มปี ญั หาใดๆก็ยอมรับแนว แต่ละขั้นตอนของแผนงานว่ามีปัญหา ทางการปฏิบัติตามแผนงานทีไ่ ด้ผล อะไรเกิดขึ้นจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลง สาเรจ็ เพือ่ นาไปใช้ในการทางานครั้ง แก้ไขแผนงานในข้ันตอนใดบ้าง ต่อไป - 1.กรณีศึกษาผู้คาดว่าจะไม่มาสอบ หากมีแนวทางที่สามารถแก้ไขได้ ให้ - 1. วิเคราะหก์ รณีปัญหาในการขาด เร่งดาเนินการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน สอบเพือ่ หาแนวทางให้ความ โดยใช้ระบบติดตามและให้คาปรึกษา ช่วยเหลือผู้เรยี นในภาคเรียนต่อไป - 2.เปรียบเทียบผลคะแนนการทดสอบ เสมือนจริง ระหว่างก่อนติวและหลัง - 2. วิเคราะห์จากแบบสอบถาม ติวสอบ - 3. สรปุ ผลการสารวจผคู้ าดว่าจะมา - 3.แจกแบบสอบถามความพึงพอใจ และสรปุ แนวทางพฒั นาผลสัมฤทธิ์ฯ มาตรการเพ่ิมจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั

๑๒ 6. ผลการดาเนินงาน ผลสมั ฤทธิ์และประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ 6.1 หน่วยงาน/สถานศึกษา หน่วยงานและสถานศึกษา กศน.อาเภอห้วยทับทัน มี กระบวนการทางานเพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้มีร้อยละของผู้เข้าสอบปลายภาคเรียน และมี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนที่สงู ขนึ้ 6.2 บุคลากร ผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เปน็ ผู้มีศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถหาประสิทธิภาพสื่อ ออกแบบสื่อการจัดการเรียนการสอน และสามารถจัดการเรียน การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.3 ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ผู้เรียนและผู้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ได้รับการส่งเสริม ด้านการศึกษาที่เหมาะตามศักยภาพ มีทักษะที่จาเปน็ ในศตวรรษที่ 21 และกระบวนการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต ได้รับการพัฒนาคุณภาพ เป็นผู้มีทักษะ การเรียนรู้ มีระดับผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น และสามารถนาองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดารงชีวิต และการประกอบสัมมาชีพได้เปน็ อย่างมีคณุ ภาพ 7. ปัจจัยความสาเรจ็ 7.1 ครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่เข้ารับการพัฒนาสามารถนาความรู้ ความเข้าใจที่ได้รับ ไปขับเคลือ่ นและจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสถานศกึ ษาได้ 7.2 กศน.อาเภอห้วยทับทัน มีแผนจัดการเรียนรู้และแนวทางการขับเคลื่อนการยกระดับ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน สู่การปฏิบัติจริงในสถานศกึ ษาที่มปี ระสิทธิภาพ 7.3 มี Team ขับเคลื่อนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถนิเทศ ติดตาม การ ขบั เคลื่อนของสถานศึกษาได้ตามแผนที่กาหนด 7.4 ครูมีการพัฒนาตามแผน/โครงการ และกรอบการยกระดับผลการเรียน ไปใช้ในการ พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 7.5 เพือ่ ให้นักศึกษา กศน.มีความรู้ และทกั ษะตามมาตรฐานการเรียนรใู้ น 5 สาระการเรียนรู้ 7.6 เพือ่ ให้นักศึกษามีผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาทีส่ งู ขึน้ และสามารถจบหลกั สูตรได้ตามเกณฑ์ 4 ภาคเรียน มาตรการเพิม่ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๑๓ 8. ทาไมถึงเลือกเป็น Best Practice เพื่อให้การใช้งบประมาณของสานักงาน กศน. ในการจ้างพิมพ์แบบทดสอบเกิด ประโยชน์สูงสุดกบั ผเู้ รียน ได้ประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า รวมถึง กศน.อาเภอหว้ ยทับทัน ยังมุ่งเน้นพัฒนาบุคลากร ครูผู้สอน ให้มีศักยภาพสูงสุด ในการถ่ายทอดความรู้และทักษะทาง วิชาการใหแ้ ก่นักศกึ ษาอย่างสุดความสามารถ โดยมุ่งเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ เพื่อให้ผเู้ รียนได้รับ ความรู้และทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 อีกทั้งยังช่วยพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการศึกษาข้ัน พื้นฐานให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ตรงตามมาตรฐาน การศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 9. บทเรยี นท่ไี ดร้ บั 9.1 ทาให้ทราบสภาพปัญหาของผู้เรียนอย่างแท้จริง เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อย ผู้พลาด ผู้ขาด โอกาสทางการศึกษา ให้ได้รับความรู้และจบการศึกษา แล้วนาไปประกอบสัมมาชีพได้อย่างสม ภาคภมู ิ 9.2 ช่วยเพิ่มพูนความรู้และทักษะที่จาเป็นให้แก่ผู้เรียน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ปลายภาคของ ผเู้ รียนใหส้ ูงข้ึน 9.3 ครู มีแผนจัดการเรียนรคู้ รบ 18 สปั ดาห์ เพือ่ ในไปใช้ในห้องเรียนออนไลน์ NFE-LMS /พบ กลุ่มกไ็ ด้ 9.4 ครู มีคู่มือ ออนแฮน เพื่อนาไปใช้กับผเู้ รียนในช่วงของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid 19) มาตรการเพิม่ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๑๔ 10. ภาคผนวก (ภาพประกอบ/อืน่ ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง) ประชมุ วางแผนการสารวจผคู้ าดว่าจะมาสอบปลายภาค 1/2564 และวางแผนจดั โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ KM ทกุ สปั ดาห์ นายปัญญา นาคทอง ผอ.กศน.อาเภอห้วยทับทัน ประธานการประชุมวางแผนแนวทางขบั เคลือ่ น มาตรการเพิ่มจานวนผเู้ ข้าสอบและพฒั นาระดับผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรียนที่ ๑/ ๒๕๖๔ มาตรการเพ่ิมจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั

๑๕ โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ สาหรับการเรียนการสอนออนไลน์ ประจาปี งบประมาณ 2564 ในวันท่ี 9 สิงหาคม 2564 ณ กศน.อาเภอห้วยทับทัน เพื่อจัดทาสือ่ ค่มู ือพัฒนาผลสมั ฤทธิข์ องนกั ศึกษา ประจาภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 มาตรการเพม่ิ จานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๑๖ แผนจัดการเรียนรู้พบกล่มุ /ออนไลน์ NFE-LMS เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธิข์ องผ้เู รยี น 3 ระดบั คมู่ ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของ กศน.อาเภอหว้ ยทับทนั ท้งั 3 ระดับ มาตรการเพิ่มจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั

๑๗ ON HAND ใบความร้ใู บงาน แบบทดสอบเพื่อพฒั นาผลสัมฤทธิผ์ ูเ้ รยี น ทงั้ 3 ระดับ รายงานผลการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นเพือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ในภาคเรียนท่ี 1/2564 มาตรการเพ่ิมจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอหว้ ยทบั ทนั

๑๘ ร้อยละของนักศกึ ษาท่เี ขา้ สอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ข้อมลู การสารวจผู้คาดว่าจะมาสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 มาตรการเพิ่มจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั

๑๙ อ้างถึง หนังสือ สานักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ ท่ี ศธ.0210.70/1747 ลงวันท่ี 18 สิงหาคม 2564 เร่อื ง การเพิ่มจานวนผู้เข้าสอบและพัฒนาระดบั ผลสัมฤทธิป์ ลายภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ.2551 มาตรการเพิ่มจานวนผเู้ ขา้ สอบและพฒั นาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ของนกั ศึกษา กศน.อาเภอห้วยทบั ทนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook