Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการทักษะชีวิต 2563

สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการทักษะชีวิต 2563

Published by somporn.4p, 2020-09-15 02:31:59

Description: สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการทักษะชีวิต 2563

Search

Read the Text Version

คานา ด้วย กศน.ตาบลราชคราม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบาง ไทร ได้ดาเนินการจัดกิจกรรม โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน จานวน ๖ ช่ัวโมง ในวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมมี ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั เรือ่ งของสุขภาวะอนามัย. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมมีสุขภาวะอนามัยและคุณภาพ ชีวิตทด่ี ขี ้ึน และ เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมนาความรมู้ าประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ ทาง กศน.ตาบลราชคราม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบาง ไทร หวังเปน็ อย่างย่ิงว่าการจัดกิจกรรม โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน จานวน ๖ ชว่ั โมง จะเป็นประโยชนก์ ับผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมในครงั้ นีไ้ ม่มากก็น้อย และหากการจัดโครงการฯ ใน คร้ังน้ีมีข้อบกพร่องประการใด ทาง กศน.ตาบลราชคราม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อาเภอบางไทร ต้องขออภยั ไว้ ณ ท่ีนด้ี ้วย รายงานสรุปฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทาโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจน ประเมนิ ผลโครงการเพ่ือเป็นการเพิ่มพูนความรู้และเปน็ แนวทางในการจัดทาโครงการในครัง้ ต่อไป สมพร จิตรเี หมิ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

สารบญั หนา้ เร่ือง ๑ บันทกึ ข้อความ ๑๑ คานา ๔๐ สารบัญ ๔๓ บทท่ี ๑ บทนา ๔๕ บทที่ ๒ เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง ๕๕ บทที่ ๓ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ๕๖ บทที่ ๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจ ๕๗ บทที่ ๕ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ ๕๘ ภาคผนวก รูปภาพประกอบโครงการฯ บรรณานกุ รม คณะผจู้ ดั ทา

บทที่ ๑ บทนา 1. ชื่อโครงการ โครงการสง่ เสรมิ ดแู ลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชมุ ชน 2. ความสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรข์ อง กศน. ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 1) สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้คนทกุ ชว่ งวัยมที ักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพ ชีวติ อย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย 3. หลกั การและเหตุผล ปจั จบุ นั สงั คมของคนไทยเริ่มเปล่ียนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทางาน เศรษฐกิจ และวิถี ชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการแข่งขันท้ังทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทาให้วิถีชีวิตของคนในสังคมต้อง เร่งรบี และแข่งขนั ตามกลไกเศรษฐกิจ แตใ่ นความเจรญิ นัน้ กอ่ ให้เกดิ ปัญหาต่างๆเกดิ ขน้ึ ดว้ ย ไม่ว่าจะเป็นปัญหา อาชญากรรม สุขภาพทั้งร่างกายจิตใจ ปัญหาหมอเถ่ือน แต่ระบบเศรษฐกิจนั้นยังคงดาเนินไปเรื่อยๆ โดยท่ี ทรัพยากรที่สาคัญที่สุดคือทรัพยากรมนุษย์นั้นไม่ย่ังยืนและพัฒนาขึ้น เพราะร่างกายมนุษย์เสื่อมลงตาม กาลเวลา ประกอบกับมลภาวะทางสง่ิ แวดล้อมที่เพมิ่ ข้ึน แต่เวลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิด ปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ทาให้ประชาชนหันไปพึ่งพาสินค้าท่ีจะทาให้สุขภาพดีจากส่ือต่างๆ เช่นยาลดความ อ้วน น้าสมุนไพรต่างๆ ซ่ึงไม่จาเป็นและมีราคาแพง ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพด้วยวิธีง่ายๆและได้ผลจึงเป็น ส่ิงท่เี หมาะสมกบั ชว่ งเวลาท่ีเศรษฐกจิ ไมด่ นี ัก รัฐบาลจึงเล็งเห็นความสาคัญเร่ืองของสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนท่ีลดน้อยลงท้ังทาง รา่ งกายและจิตใจจงึ ได้มนี โยบายเร่งด่วนใหม้ ีการส่งเสรมิ เรือ่ งการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนใน ชุมชน โดยเน้นในเร่ืองของการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของแม่และเด็ก การดูแลผู้สูงอายุ และการดูแล ปูองกันโรคไม่ติดต่อ ดังน้ัน ในฐานะ ครู กศน.อาเภอบางไทร ผู้รับผิดชอบจึงได้ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญของสุข ภาวะและสุขอนามัยของประชาชน ตามยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้าง สงั คมแห่งการเรียนรู้ ประเด็นที่ 1 ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย จึงได้จัดทาโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ ประชาชนในพ้ืนท่ีมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของสุขภาวะอนามัย และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ลสูงสดุ ท้งั ต่อตนเอง และผู้อ่นื 4. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสง่ เสริมใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับเรื่องของสขุ ภาวะอนามัย 2. เพอ่ื ให้ผู้เข้ารับการอบรมมสี ขุ ภาวะอนามัยและคณุ ภาพชีวิตที่ดขี ึ้น 3. เพอื่ ให้ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมนาความร้มู าประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้

5. เปา้ หมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ 5.1.1 ประชาชนและผสู้ นใจตาบลราชคราม จานวน ๒๑ คน 5.1.2 ร้อยละ 100 ของประชาชนกลุ่มเปูาหมายเขา้ ร่วมโครงการ 5.1.3 รอ้ ยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเปูาหมายเข้าร่วมนาความรู้เร่ืองสุขภาวะอนามัยไปใช้ ในชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งมีประสิทธีภาพ 5.1.4 ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเปูาหมายเข้าร่วม มีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ใน ระดับมาก 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของสุขภาวะอนามัยอยู่ใน ระดบั ดี 5.2.2 ผู้เข้ารว่ มโครงการนาความรู้มาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวันอยู่ในระดับ ดี 5.2.3 ผู้เข้ารว่ มโครงการ มคี วามพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดบั มาก 6. วิธีการดาเนนิ การ กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พ้นื ที่ดาเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ ๑ คน 1.ข้นั วางแผน (Plan) -ครู กศน.ตาบล กศน. ๙ – ๑๐ อาเภอบางไทร ตาบลราชคราม กรกฎาคม 1.1 เตรียมคน - เพือ่ ให้ -ประชาชน ๒๕6๓ -วิทยากร 1.1.1 ประชมุ ชีแ้ จง กลุ่มเปูาหมายรู้ ประชาชน และรว่ มกนั จัด 1.1.2 แต่งตง้ั กิจกรรม คณะกรรมการ ดาเนนิ งาน 1.1.3 ประสาน วทิ ยากร 1.2 เตรียม - เพ่ือใหส้ ามารถ งบประมาณ ใชง้ บประมาณได้ 1.2.1 เขยี น อย่างเหมาะสม โครงการเพอื่ เสนอ 1.3 เตรยี มวัสดุ - เพื่อให้ 1.3.1 สือ่ การ กลมุ่ เปูาหมายได้ สอน ใช้วสั ดตุ ามที่ 1.4 เตรยี มสถานท่ี - เพ่ือให้จัด 1.4.1 จัดสถานท่ี กจิ กรรมได้บรรลุ เพือ่ ใช้อบรม วัตถุประสงค์

6. วธิ กี ารดาเนนิ การ (ตอ่ ) กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พื้นท่ดี าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 2. ข้ันดาเนนิ การ (Do) -ประชาชน ๒๑ คน กศน. ๒๒ ๒,๑๐๐ บาท 2.1 อบรมใหค้ วามรู้ - เพือ่ ให้ ตาบลราชคราม เรื่องการส่งเสรมิ ดแู ล กลมุ่ เปูาหมายมี -วิทยากร ๑ คน ๑ คน ตาบลราชคราม กรกฎาคม สขุ ภาวะและสขุ อนามยั ความร้ใู นเร่ืองการ 256๓ ของประชาชนในชุมชน สง่ เสรมิ ดูแล ครู กศน.อาเภอ กศน. สขุ ภาวะและ บางไทร ตาบลราชคราม ๒๒ 2.2 จดั กระบวนการ สุขอนามัยของ กรกฎาคม เรียนรเู้ ร่อื ง ประชาชนใน 256๓ ชุมชน - การดแู ลสุขภาวะ - เพอื่ ให้ อนามยั ของแมแ่ ละเดก็ กลุ่มเปูาหมายเกดิ ความรู้ ความ - การดแู ลสขุ ภาวะ เขา้ ใจในการดแู ล อนามยั สาหรับผสู้ ูงอายุ สุขภาวะอนามยั ของแม่และเด็ก - การดูแลและปูองกัน ผู้สงู อายุ และ โรคไมต่ ดิ ตอ่ การปูองกนั โรคไม่ ติดต่อ รวมทัง้ 3 ขน้ั ประเมิน แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (Check) ขอ้ มูลร่วมกนั 3.1 ประเมินระหว่าง โครงการ โดยวธิ สี งั เกต - เพอื่ ดูผลสัมฤทธิ์ และซักถาม ในการนาความรู้ 3.2 ประเมินหลงั การ ไปใช้ จัดโครงการ - เพ่ือให้รบั รู้ผล การดาเนนิ 3.2.1 แบบสอบถาม โครงการ ความพงึ พอใจ

6. วิธกี ารดาเนนิ การ (ตอ่ ) กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พ้ืนท่ีดาเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 4. ขั้นปรบั ปรงุ พฒั นา ๒๒ – ๓๐ กรกฎาคม (Action) - ครู กศน. 2๑ คน กศน.อาเภอ 256๓ 4.1 รายงานผลเพือ่ รบั - เพ่ือใหไ้ ด้ บางไทร การประเมินโครงการที่ ข้อสรุปในการ อาเภอบางไทร ประชุมประจาเดอื น ปรับปรงุ การทา 4.2 สรปุ ผลการ โครงการ ปรับปรุงผลการ - เพือ่ เขยี น ประเมนิ รายงานสรุปผล การปรับปรุงเปน็ หลักฐานในการ ปฏิบัติงาน -คณะทางาน 4.3 เขียนรายงาน - เพอ่ื ใหไ้ ด้ กศน.อาเภอ สรุปผลการปรบั ปรงุ ขอ้ สรปุ การทา บางไทร เพือ่ เป็นหลักฐานใน กจิ กรรมเพ่ือเปน็ รวบรวมขอ้ มลู การปฏบิ ัตงิ าน หลกั ฐานในการ นาผลการนิเทศ ดาเนนิ โครงการ และประเมินผล มาพัฒนา ปรบั ปรุงแกไ้ ข 7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ งบประมาณประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ผลผลติ ที่ 4 ผูร้ ับบริการการศกึ ษานอกระบบ กจิ กรรมจดั การศึกษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน รหสั งบประมาณ 200023๕๗04000000 รหัสกิจกรรมหลัก 200021400o๒๘๘๒ แหล่งของเงิน 6๓11200 ศูนย์ต้นทุน 2000200214 จานวน ๒,๑๐๐ บาท (สองพนั หนงึ่ รอ้ ยบาทถว้ น) ซง่ึ มรี ายละเอียดค่าใช้จา่ ย ดังน้ี ๗.๑ ค่าอาหารกลางวัน 1 มอื้ ๆ ละ ๕0 บาท จานวน ๒๑ คน เป็นเงิน ๑,๐๕0 บาท ๗.๒ ค่าอาหารว่างและเครอื่ งด่ืม ๒ มอื้ ๆละ 2๕ บาท จานวน ๒๑ คน เป็นเงิน ๑,๐๕0 บาท รวมเปน็ เงิน ๒,@๐๐ บาท (สองพนั หน่ึงร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ ขอถวั จา่ ยทกุ รายการตามทีจ่ ่ายจรงิ

8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค.6๒) (ม.ค.-มี.ค.6๓) (เม.ย.-ม.ิ ย.6๓) (ก.ค.-ก.ย.6๓) 1. อบรมใหค้ วามรู้เรื่องการส่งเสริมดูแลสุข ภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน - - - ๒,๑๐๐- 2. จัดกระบวนการเรยี นรูเ้ รอ่ื ง - - - ๒,๑๐๐- - การดแู ลสขุ ภาวะอนามัยของแม่และเดก็ - การดแู ลสุขภาวะอนามยั สาหรับผู้สูงอายุ - การดูแลและปูองกนั โรคไม่ติดต่อ 3. เสวนาสรุปวิธีการนาความรู้เร่ืองการ สง่ เสรมิ ดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของ ประชาชนในชมุ ชนมาปรับใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ในชวี ติ ประจาวัน - เรื่องส่งเสริมการฝกึ อาชพี เสรมิ - เรอ่ื งการบริหารจดั การขยะในชุมชน รวม 9. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ 9.1 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร 9.๒ นายสมพร จิตรีเหิม ครู กศน.ตาบลราชคราม 10. เครอื ข่าย 10.1 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพประจาตาบลราชคราม 10.2 ผู้นาท้องถน่ิ /ผู้นาชุมชนตาบลราชคราม 11. โครงการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง - โครงการจัดการศึกษาตอ่ เนือ่ ง 12. ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของ ประชาชนในชมุ ชน ตลอดจนนาความร้ทู ีไ่ ด้มาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน 13. ตวั ชว้ี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output) 13.1.1 จานวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการ 13.1.2 จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและ สขุ อนามยั ของประชาชนในชุมชน อยู่ในระดับ ดี 13.1.3 จานวนผู้เข้ารว่ มโครงการทนี่ าความร้มู าประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวันอย่ใู นระดบั มาก 13.1.4 จานวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการทมี่ คี วามพึงพอใจตอ่ โครงการ อย่ใู นระดบั มาก

13.2 ตัวช้วี ดั ผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 20 คน นาความรู้ในในด้านการการส่งเสริมดูแลสุข ภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชุมชนไปปฏบิ ตั ใิ ช้ในการดาเนินชวี ติ อย่ใู นระดับ มาก 14. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 ประเมนิ ระหว่างจัดโครงการ 14.1.1 สงั เกต ซักถาม การตอบคาถาม 14.2 ประเมนิ หลังเสรจ็ สนิ้ โครงการ 14.2.1 ตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ ลงชอ่ื …………………….…………………ผ้เู สนอโครงการ (นายสมพร จติ รีเหิม) ครู กศน.ตาบล ลงช่ือ………………………..……………..ผ้เู ห็นชอบโครงการ (นางสาวหทัยรัตน์ ศิรแิ ก้ว) ครผู ชู้ ว่ ย ลงชือ่ ……………………………………….ผอู้ นมุ ัตโิ ครงการ (นางสาววริศรา คานึงธรรม) ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอบางซา้ ย รกั ษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางไทร

กาหนดการ โครงการสง่ เสรมิ ดแู ลสขุ ภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชุมชน วันท่ี ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ***************************************************************** เวลา 08.00 – 08.30 น. รายงานตวั /ลงทะเบยี น เวลา 08.30 – 09.00 น. พธิ ีเปดิ โดย ผอ.กศน.อาเภอบางซา้ ย เวลา 09.00 – 1๐.๓0 น. รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร (นางสาววริศรา คานึงธรรม) เวลา ๑๐.๓0 – 1๐.๔0 น. เรื่องการส่งเสริมดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน เวลา ๑๐.๔0 – 1๒.๐0 น. 1) การดแู ลสุขภาวะอนามัยของแม่และเด็ก เวลา 12.00 – 13.00 น. 2) การดูแลสขุ ภาวะอนามยั สาหรับผ้สู งู อายุ เวลา 13.00 – 1๔.๓0 น. โดยวทิ ยากร (นางนวลจนั ทร์ เนื่องมะโน) เวลา ๑๔.๓0 – 1๔.๔0 น. รบั ประทานอาหารว่างพร้อมเคร่อื งด่ืม เวลา ๑๔.๔0 – 1๖.๐0 น. เร่อื งการสง่ เสริมดแู ลสขุ ภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชุมชน (ตอ่ ) เวลา 1๖.00 – 1๖.30 น. 3) การดแู ลและปูองกันโรคไม่ตดิ ต่อ วิธกี ารจัดกระบวนการเรยี นรู้/การบรรยาย โดยวทิ ยากร (นางนวลจันทร์ เน่ืองมะโน) พกั รับประทานอาหารกลางวนั - เสวนาสรุปวิธีการนาความรู้เร่ืองการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและ สุ ข อ น า มั ย ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น ชุ ม ช น ม า ป รั บ ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ชวี ติ ประจาวัน - เร่ืองส่งเสรมิ การฝกึ อาชีพเสริม การทาหนา้ กากอนามยั และ เจลลา้ งมือ โดยวิทยากร (นายสมพร จติ รีเหิม) รบั ประทานอาหารวา่ งพร้อมเครอ่ื งดื่ม - เรอื่ งการบรหิ ารจัดการขยะในชมุ ชน วธิ ีการจดั กระบวนการเรยี นรู้/การบรรยาย โดยวทิ ยากร (นายสมพร จิตรเี หิม) พธิ ปี ดิ โครงการโดย ผอ.กศน.อาเภอบางซ้าย รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร (นางสาววรศิ รา คานงึ ธรรม) -------------------------------------------- หมายเหตุ ตารางอาจปรับเปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม

บทท่ี ๒ เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 1. ความหมายของสุขภาพ สุขภาพ หมายถึง “ความสุขปราศจากโรค ความสบาย” (พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525) สุขภาพ หมายถึง “ สภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ รวมถึงการดารงชีวิตอยู่ ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข และมิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่การปราศจากโรคและทุพพลภาพ เท่าน้ัน” Health is a state of complete physical mental and social well– being and not merely the absence of disease or infirmity)” (องค์การอนามัยโลก (WHO : World Health Organization 1946) “สุขภาพ” หมายถึง สุขภาวะ (state of well being) หรือภาวะที่เป็นสุขทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ(spiritual/หรือปัญญา) คือ ความสุขและคุณค่าชีวิต( ตามนิยาม ของ WHO) “สขุ ภาพ”หมายถงึ ภาวะของมนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์ ท้ังทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชอ่ื มโยงกนั เป็นองค์รวมอยา่ งสมดลุ (พระราชบญั ญตั ิสุขภาพ) สุขภาพ หมายถึง ภาวะท่ีปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ภาวะความสามารถท่ีพอเหมาะของแต่ละ บุคคล ท่ีจะสามารถแสดงบทบาท และทางานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ในสังคมท่เี ขาอาศัยอยู่ สุขภาพ เป็นสภาพแห่งความสุข อันเกิดจากความสมดุลระหว่างร่างกายกับจิตใจและ ความสามารถท่จี ะปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับส่งิ แวดลอ้ ม ทั้งภายในและภายนอกรา่ งกายของตน สุขภาพในดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชน การมสี ุขภาพดี ถือวา่ เปน็ สิทธขิ ั้นพนื้ ฐาน ที่มนุษย์ทุกคนพึง มีพึงได้ “สุขภาพ”เป็นสิทธิของมนุษยชน มนุษย์ทุกคนไม่ว่าจะมีความแตกต่างกันทางด้าน เชื้อชาติ ศาสนา ความเช่ือม่ันทางการเมือง ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ย่อมมีสิทธิท่ีจะได้รับการส่งเสริมคุ้มครองเพื่อให้มี สุขภาพใน ระดบั อนั สมควร\" (รัฐธรรมนญู ขององคก์ ารอนามยั โลก) นอกจากน้ีในรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั ล่าสดุ ปี พ.ศ.2540 ได้กาหนดหนา้ ที่ของรัฐ ในการคุ้มครองสิทธขิ องราษฎรในด้านสุขภาพไว้ในหลายมาตราด้วยกัน เช่น มาตรา 52 ระบุถึงสิทธิในการรับ บริการทางสาธารณสุข ทไ่ี ดม้ าตรฐาน มาตรา 53 ระบุความคุ้มครองเด็กและเยาวชน และมาตรา 86 ระบุถึง การค้มุ ครองแรงงาน เป็นตน้ ในสังคมไทยมีคากล่าวท่ีว่า \"อโรคยา ปรมาลาภา\" \"ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ\" ซึ่ง แสดงใหเ้ หน็ ว่า สังคมไทยกม็ มี มุ มองเรือ่ งสขุ ภาพในเชิงโรคภยั ไข้เจบ็ เป็นหลัก การดูแลสุขภาพของสังคมไทยจึง ใหค้ ณุ คา่ และความสาคญั ต่อการรักษาโรค มีการสร้างโรงพยาบาล และทุ่มเททรัพยากรส่วนใหญ่ท้ังของภาครัฐ และเอกชนไปในการรักษาพยาบาลในทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ มองสุขภาพเป็นเรื่องของการเปลี่ยนแปลงใน ระดับต่างๆ ในมนุษยว์ ่า แตกตา่ งไปจากคนทั่วๆ ไป มากน้อยเพยี งใด เช่น

- การเปลย่ี นแปลงทางอารมณ์ ความคิด และพฤตกิ รรม - การเปลยี่ นแปลงทางสรีรวิทยา การทาหนา้ ทขี่ องอวัยวะตา่ งๆ ในร่างกาย - การเปล่ยี นแปลงทางเคมีภายในร่างกาย - การเปลยี่ นแปลงทางเนือ้ เย่อื รูปรา่ งของสว่ นตา่ งๆ ในร่างกาย เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่กล่าว ต้องใช้ความรู้ความชานาญ และเคร่ืองมือช่วยวัด จึงเป็น เร่ืองยากทคี่ นนอกวงการวทิ ยาศาสตร์ และการแพทยจ์ ะเขา้ ใจได้โดยง่าย การมองสุขภาพแบบองค์รวมที่ประกอบด้วยมิติท้ังสาม คือ ร่างกาย สังคม และจิตใจ ผสมผสานกับการมองสุขภาพในเชิงบวก ธรรมนูญแห่งองค์การอนามัยโลก ในปี ค.ศ.1946 จึงได้บัญญัติ ความหมายของคาว่า \"สุขภาพ\" ไว้ว่า \"สุขภาวะท่ีสมบูรณ์ ทั้งทางร่างกาย สังคม และจิตใจ ประกอบกัน ไม่ใช่ เพียงการปราศจากโรคภยั ไขเ้ จ็บ หรอื ความพกิ ารเทา่ น้ัน\" แต่เนอ่ื งดว้ ยความหมายของคาวา่ สุขภาพ ท่ีองค์การ อนามัยโลก ได้บัญญัติขึ้นอย่างสมบูรณ์ และเป็นอุดมคติ คงจะบรรลุถึงได้ยากสาหรับคนทุกคน ดังนั้นในการ ต้ังเปูาหมายการบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าของพลโลกทุกคนในปี ค.ศ.2000 โดยองค์การอนามัยโลก เม่ือปี ค.ศ.1983 (4) จึงระบุระดับสุขภาพ ที่ต้องการบรรลุถึงไว้เพียงระดับหนึ่งว่า \"พลโลกทุกคนบรรลุถึงสถานะ สุขภาพ ในระดบั ท่เี ออ้ื ใหใ้ ชช้ วี ิตทีม่ ปี ระโยชน์ ทัง้ ทางสงั คม และเศรษฐกิจ\" สุขภาพจึงมีความหมายท่ีเน้นความเป็นอยู่ที่สมบูรณ์ท้ังทางร่างกาย จิตใจ และสังคม น่ันคือ ต้องมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาพทางสังคมครบทุกด้าน และในท่ีประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก เมอื่ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 ได้ตกลงเติมคาว่า “Spiritual Well-being” หรือสุขภาวะทางจิตวิญญาณ เขา้ ไป ในคาจากัดความของสุขภาพเพ่มิ เตมิ จงึ อาจกล่าวได้ว่า สุขภาพ หมายถึง ภาวะของการดารงชีวิต ที่มคี วามสมบรู ณท์ ั้งรา่ งกาย จติ ใจ รวมทั้งการอยรู่ ่วมกันในสังคมได้ด้วยดี อยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม และการ ใชส้ ตปิ ญั ญา จะเหน็ ไดว้ า่ สุขภาพคือวิถีแห่งชีวิต โดยสุขภาพจะเป็นเสมือนหนึ่งวิถีทางหรือหนทางซึ่งจะนา บคุ คลไปส่คู วามสุขและความสาเร็จต่างๆ นานาได้ หรืออาจกล่าวได้ว่า “สุขภาพชีวิต” ลักษณะของสุขภาพดี โดยภาพรวม คือ ร่างกายมีการพัฒนาสมวัย ร่างกายสามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างปกติ ตอบสนองต่อ ส่ิงแวดล้อมได้เหมาะสม สามารถปรับตัวให้สมดุลได้ มีกลไกปูองกันอันตรายอย่างเหมาะสมจากมุมมองต่างๆ ทีน่ าเสนอ สรปุ ได้วา่ สขุ ภาพ คือ ความสขุ กายสบายใจ มีชีวติ ชวี า และมีคุณค่า จะต้องครอบคลุมสิ่งทสี่ าคัญ 4 ประการคือภาวะท่ัวไปของร่างกายและจิตใจจะต้องแข็งแรงสมบูรณ์ มีสุขภาวะทางจิตวิญญาณ จะต้อง ปราศจากโรคหรือความทุพพลภาพ จะต้องเป็นผู้ที่สามารถดารงตนและปฏิบัติภารกิจต่างๆ ในสังคมได้เป็น ปกติสขุ

2. ความสาคัญของสขุ ภาพ สุขภาพเป็นส่ิงสาคัญและจาเป็นยิ่งต่อความเจริญงอกงามและพัฒนาการทุก ๆ ด้านในตัวบุคคล สขุ ภาพเป็นรากฐานที่สาคัญของชีวิต โดยเริ่มมาตั้งแต่มีการปฏิสนธิในครรภ์มารดาวัยทารก วัยผู้ใหญ่จนถึงวัย ชรา สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าไดต้ รัสไวเ้ ปน็ พระพุทธสภุ าษติ วา่ “อโรคยา ปรมาลาภา” ซ่ึงแปลว่า “ความ ไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ” พระพุทธภาษิตข้อนี้ แม้แต่ชาวอารยประเทศทางตะวันตกก็ยังยอมรับนับถือ กัน และเห็นพ้องต้องกันว่า “สุขภาพคือพรอันประเสริฐสุด (Health is the greatest blessing of all)” นอกจากนยี้ ังมีสภุ าษิตของชาวอาหรบั โบราณกลา่ วไว้ว่า “คนทีม่ สี ุขภาพดีคอื คนที่มีความหวัง และคนท่ีมี ความหวังคือคนที่มีทุกสิ่งทุกอย่าง (He who has health has hope and he who has hope has everything)” ซ่ึงน่ันกห็ มายความว่าสขุ ภาพจะเปน็ เสมือนหนง่ึ วิถีทางหรือหนทางซ่ึงจะนาบุคคลไปสู่ความสุข และความสาเรจ็ ตา่ งๆ นานาได้ ชีวิตเป็นสิ่งมีค่ายิ่งกว่าทรัพย์สินใด ๆ ทุกคนย่อมรักษาและหวงแหนชีวิตของตนเอง ปรารถนาให้ ตนเองมีชีวิตที่อยู่เย็นเป็นสุข จึงจาเป็นต้องรักษาสุขภาพอนามัยให้แข็งแรงสมบูรณ์อยู่เสมอ การมีสุขภาพดี ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ หรอื การบาดเจบ็ จากอบุ ตั ิเหตุต่าง ๆ มีกล้ามเน้ือที่ทางานได้ดี สามารถทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ร่างกายสามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี ไม่มีความวิตกกังวล ไม่ถูกความเครียดมา รบกวน สามารถดารงชวี ิตอยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ย่อมเป็นส่ิงที่ปรารถนาของมนุษย์ทุกคน สุขภาพจึง เปรยี บเสมอื นวถิ ีแห่งชวี ิต ทจี่ ะนาไปสู่ความสุขและความสาเร็จตา่ งๆ ในชีวิตได้ ประสิทธิภาพในการทางานของประชาชนในทุกสาขาอาชีพจะต้องอาศัยสุขภาพที่ดี แข็งแรงสมบูรณ์ เป็นปัจจัยสาคัญ การพัฒนาประเทศจะดีหรือไม่ข้ึนอยู่กับสุขภาพท่ีดีของคนในชาติเป็นสาคัญ ประเทศท่ี ประชาชนมีสุขภาพดี มีสติปัญญา มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความสามารถในการประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยง ตนเองและครอบครัวได้ ไม่เบียดเบียนและทารา้ ยซึง่ กันและกนั ยอ่ มเกิดความสงบสุข และเม่ือบุคคลในชาติมี สขุ ภาพกายและจติ ดี มีมนั สมองท่มี ศี ักยภาพ ย่อมเปน็ ผูท้ ีม่ คี วามสามารถเรียนรู้ และสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ได้ดี ซึ่งจะส่งผลตอ่ การพัฒนาทง้ั ด้านเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศโดยรวม กรอบความคิดเร่ืองสุขภาพในปัจจุบันวางอยู่บนฐานที่ว่าด้วยเร่ือง สุขภาวะ (well-being) ทั้งมิติทาง กาย ทางใจ ทางสังคม และทางปัญญา (จิตวิญญาณ)และทั้งมิติของคน ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังน้ัน สุขภาพมผี ลกระทบมาจากหลายปัจจัย จึงต้องให้ความสาคัญกับองค์ความรู้ ท้ังเรื่องของการดาเนินงานทาง สาธารณสุข การจัดบริการสาธารณสุข และเร่ืองต่างๆ ที่ปรากฏในสังคม เพราะส่ิงเหล่านี้มีผลกระทบต่อ สขุ ภาพทง้ั ทางตรง และทางอ้อม ทงั้ ด้านบวก และด้านลบ องค์ความรู้เพือ่ การพัฒนาสุขภาพและระบบสุขภาพ จึงไม่ใช่เรื่องของระบบการแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเรื่องความร่วมมือกันของสังคม ที่จะมาร่วมสร้าง ค่านิยมที่ถูกต้องเก่ียวกับสุขภาพ สร้างส่ิงแวดล้อมที่ปลอดภัย และเอื้อต่อการมีสุขภาพดี ร่วมสร้างวัฒนธรรม ของการดาเนินชวี ติ ทไ่ี มเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผ้อู ่นื และร่วมกันสร้างสังคม ทีอ่ ยรู่ ่วมกันอย่างมสี นั ตสิ ุข

3. ปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ สขุ ภาพ มนุษย์เม่ือเกิดเป็นตัวอ่อนหลังการปฏิสนธิก็ได้รับอิทธิพลทางพันธุกรรมมาจากพ่อและแม่ที่เป็น ตัวกาหนดสุขภาพ บางคนจึงอาจได้รับโรคหรือความบกพร่องท่ีถ่ายทอดทางพันธุกรรมติดตัวมาด้วย และ ระหว่างอยู่ในครรภ์มารดาสุขภาพของทารกก็ข้ึนอยู่กับสุขภาพของมารดาในขณะนั้น จนเมื่อคลอดออกมาสู่ โลกภายนอกกม็ ปี ัจจัยมากมายท่ีมอี ิทธิพลต่อสขุ ภาพของมนุษย์ เช่น - ความยากจน การขาดรายไดน้ าไปสคู่ วามขาดแคลน อาหาร นา้ ทีอ่ ยู่อาศัย เครอื่ งนุ่งห่มที่ถกู สุขลกั ษณะ ขาดการศึกษา และดอ้ ยฐานะในสังคม - สงคราม ทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บ ความอดอยาก ขาดสาธารณปู โภค โรคระบาด - ด้อยการศกึ ษา ขาดความรู้ ทาใหไ้ มอ่ าจดแู ล ปกปูองสขุ ภาพของตวั เองได้ - การคมนาคม มีทัง้ ขอ้ ดีขอ้ เสีย ขอ้ ดี คอื ทาใหม้ คี วามสะดวกสบายในการเดนิ ทาง ข้อเสีย อุบตั ิเหตุเพ่ิมขน้ึ / การแพรก่ ระจายของโรคติดต่อ จากพ้ืนทห่ี น่ึงไปยังอกี พ้นื ท่ีหน่งึ เป็นไปได้อย่างรวดเรว็ - มลภาวะ ฝนุ เสียงดัง สารเคมี ล้วนมีผลเสียตอ่ สุขภาพ ผู้ท่อี าศยั อยู่ในเมืองใหญ่ หรอื ทางานอย ในโรงงานอตุ สาหกรรม ล้วนได้รับผลเสียจากมลภาวะ ถา้ ไมม่ กี ารควบคมุ - อาหาร การบริโภคอาหารที่มีไขมนั สูง มีความสัมพันธก์ บั การเกดิ มะเรง็ ลาไส้ เต้านม และต่อม ลูกหมาก ส่วนมะเร็งกระเพาะอาหาร และลาไส้ สัมพันธ์กับการกินอาหารรมควัน อาหารไหม้เกรียม และ อาหารหมักดอง - ส่วนคนที่กินจนอว้ นจะมโี อกาสเปน็ โรคเบาหวาน และนว่ิ ในถงุ นา้ ดี มากกว่าคนน้าหนักปกติ สาหรับโรคหลอดเลอื ดหัวใจและสมองอดุ ตนั ซ่ึงเปน็ สาเหตขุ องการเสยี ชีวิตสงู สุดกส็ มั พนั ธ์กบั การกินอาหารท่ีมี โคเลสเตอรอลสงู - บุหรี่ และสารเสพยต์ ดิ ลว้ นเปน็ ท่ที ราบกันดี ถงึ พษิ รา้ ยทมี่ ตี ่อสขุ ภาพ - การออกกาลังกาย การขาดการออกกาลงั กายจะทาให้อ่อนเพลยี วิงเวยี นศีรษะ ปวดเมอ่ื ย ร่างกายได้งา่ ย นอกจากนย้ี ังทาใหเ้ สน้ เอ็น กระดูก กลา้ มเนอ้ื และหัวใจเสอื่ มเร็วกว่าปกติ เป็นตน้ จากตัวอย่างทย่ี กมาสามารถแบง่ ได้เป็น 3 กลุม่ ปัจจัยหลกั ๆ คอื 1) พนั ธกุ รรม 2) สงิ่ แวดลอ้ ม ทง้ั ในเชงิ กายภาพ ชวี ภาพ และสังคม 3) พฤติกรรม และครรลองชีวิต เมื่อวเิ คราะห์สุขภาพในองคร์ วม จะเหน็ ว่ามีปจั จยั ต่างๆ ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ สุขภาพดงั น้ี 3.1 ปจั จยั ดา้ นตวั บคุ คล คอื ปจั จยั ของแตล่ ะบุคคลไดแ้ ก่ 3.1.1 พนั ธุกรรม ส่งิ มชี วี ิตทกุ ชีวติ ถูกกาหนดโดยพนั ธุกรรม ซึ่งถ่ายทอดมาจากบิดามารดา ความบกพรอ่ งทางพนั ธุกรรมเปน็ สาเหตขุ องสภาพดอ้ ยทางสุขภาพและการเกดิ โรคภยั ตา่ งๆ ในปัจจบุ ัน ความก้าวหน้าทางการแพทย์ ทาให้สามารถค้นคว้าและเข้าใจถึงลักษณะสายพันธุกรรมต่างๆ ซ่ึงเป็นปัจจัย กาหนดลักษณะของมนุษย์ และเป็นต้นเหตุของโรคต่างๆ ได้เพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ ทาให้เราสามารถนาไปใช้หาวิธี ปอู งกนั และแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งต่างๆ ที่จะมีผลกระทบต่อสขุ ภาพของมนษุ ย์ได้เพมิ่ ข้ึน

3.1.2 พฤตกิ รรมดารงชีวติ เป็นที่ประจักษ์ว่าพฤติกรรมการดารงชีวิตเป็นปัจจัยสาคัญในการเกิดโรค เช่น พฤติกรรมการกินอาหาร การใช้สารกระตุ้นต่างๆ เช่น เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด เป็นสาเหตุของความเสื่อม ของระบบต่างๆ ของร่างกาย และยังสามารถก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงของเนื้อเยื่อ เกิดเป็นโรคมะเ ร็งได้ มี การประมาณกันวา่ ประชากรโลกประมาณ 500 ลา้ นคน ที่ยงั มีชีวิตอย่ใู นขณะนี้ จะเสียชีวิตจากโรคที่มีต้นเหตุ จากบหุ ร่ี หากแนวโน้มแบบแผนการสูบบุหรข่ี องประชากรโลกยังเปน็ เช่นปัจจุบัน นอกจากน้ี ความเครียดในการดารงชีวิตประจาวัน การใช้ชีวิตประจาวันที่ไม่เหมาะสม การมี กิเลส ตัณหาความอยาก การเบียดเบียนทาร้ายมนุษย์ด้วยกัน การขาดการพักผ่อน ขาดการออกกาลังกายท่ี สมดลุ พอเพียง รวมทง้ั การมพี ฤตกิ รรมที่เส่ียง ประมาท ไม่คานึงถึงความปลอดภัยทั้งในการทางาน การปัจเจก บคุ คล และบคุ คลอน่ื ๆ ในสังคมด้วย 3.2 ปัจจยั ด้านสภาพแวดลอ้ มภายนอก สขุ ภาพของมนุษย์เกี่ยวพันอย่างแน่นแฟูนกับระบบอ่ืนๆ ใน สังคมรอบๆ ตัว ไม่ว่าจะเป็นส่ิงแวดล้อมกายภาพ สภาพท่ีอยู่อาศัย สภาพอากาศที่เป็นพิษ ที่อยู่อาศัยท่ีไม่ สะอาด ก่อให้เกิดพาหะนาโรคต่างๆย่อมเป็นปัจจัยท่ีบ่ันทอนสุขภาพ เช่นเดียวกับสภาพสงครามหรือคว าม วุ่นวาย ความไม่สงบทางการเมือง ก็เป็นต้นเหตุของการทาร้ายชีวิตมนุษย์ ก่อเกิดความพิการทางกาย ทาง จิตใจ ซึ่งเป็นที่ตระหนักและพบเห็นโดยทั่วไปด้านสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมน้ัน ความยากจนเป็น สาเหตขุ องความเจ็บปวุ ยและทุกขท์ รมานทสี่ าคญั ท่ีสุด ในขณะท่ีประชากรโลกมากกว่า 1,000 ล้านคน อยู่ใน สภาพทีย่ ากจนสดุ ขีด ความยากจนเปน็ สาเหตทุ เี่ ดก็ จานวนมากไม่ได้รบั วคั ซีนปอู งกันโรคท่ีจาเป็น ประชาชนไม่ มีน้าสะอาดด่ืม ขาดสภาพสุขาภิบาลที่เหมาะสมตลอดจนมารดาต้องเสียชีวิตจากการคลอดบุตร ความยากจน เป็นต้นเหตุของอายุขัยท่ีส้ัน ความพิการ ความทุกข์ทรมาน ความเครียด ภาวะจิตผิดปกติ การติดยาเสพติด ตลอดจนการฆ่าตัวตาย องค์การอนามัยโลกได้ประมาณการไว้ว่า ในแต่ละปี เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ทั่วโลก ประมาณ 12.2 ล้านคน ตายจากสาเหตุซึ่งสามารถปูองกันได้ด้วยค่าใช้จ่ายไม่ก่ีเหรียญสหรัฐต่อหัว ในปี พ.ศ. 2543 ประชาชนของประเทศที่ร่ารวยที่มีอายุขัยเฉลี่ย 79 ปี ในขณะที่ประชาชนในประเทศกลุ่มยากจนที่สุด บางประเทศมีอายุขยั เฉลีย่ เพยี ง 42 ปี ซงึ่ แตกต่างกันเกอื บเทา่ ตวั 3.3 ปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพ ปัจจุบันได้มีการนาคาว่าระบบบริการสุขภาพไปใช้ใน ความหมายท่ีแตกต่างกันซ่ึงผู้ศึกษาจาเป็นจะต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจนในเบ้ืองต้นในบางแห่งการกล่าวถึง ระบบบริการสุขภาพอาจจะกาหนดเพียงโครงสร้างองค์กร การให้บริการโดยระบบการแพทย์ตะวันตกที่มี แพทย์และบุคลากรวิชาชีพต่างๆ เป็นผู้ให้บริการ ในขณะที่นักมานุษยวิทยาทางการแพทย์ให้ความหมาย โดยรวมถึงกิจกรรมต่างๆ ในการให้การรกั ษาพยาบาลผู้ปุวย ซึ่งรวมความเชือ่ ทางศาสนา และความเชื่อพ้ืนบ้าน ต่างๆ ด้วย หากพิจารณาความหมายอย่างกว้างของระบบบริการสุขภาพ อาจมีความหมายรวมถึงการสร้าง สง่ิ แวดล้อมทีส่ ง่ เสรมิ สุขภาพ การเสริมสร้างศักยภาพต่างๆ ท่ีทาให้ประชาชนสามารถรักษาสุขภาพของตนเอง ให้ดี การปูองกันโรค การรักษาพยาบาลผู้ปุวย การฟ้ืนฟูสภาพผู้พิการ ซึ่งเป็นการพิจารณาองค์รวมของระบบ บริการเพ่ือสุขภาพ บนพื้นฐานของความมั่นคงทางสังคม (Social solidarity) จะเห็นได้ว่า ระบบบริการ สุขภาพเป็นระบบทีเ่ ชือ่ มโยงกับระบบต่างๆ ของสังคม และก่อเกดิ บนพ้นื ฐานความเชื่อ คุณค่า วัฒนธรรม และ ประวตั ิศาสตรข์ องแต่ละชาติ

ซงึ่ สามารถแสดงความเชื่อมโยงปัจจัยที่มผี ลต่อสุขภาพและพลวัตรที่เก่ียวกับสขุ ภาพได้ดังน้ี ภาพท่ี 1 แสดงปจั จัยและความเช่ือมโยงพลวัตท่เี กีย่ วกับสุขภาพ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของสขุ ภาพ 1. เกิดและเติบโตข้นึ ในครอบครัวท่ีมีความพร้อมและอบอุ่น 2. ได้รับการพัฒนาทั้งทางกาย ทางใจ และสติปัญญาดีพอที่จะปรับตัว และอยู่ในโลกที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สามารถตัดสินใจในการบริโภคและมีพฤติกรรมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาพดี มีจิตใจ สบาย สงบ 3. มีหลักประกันและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพท่ีสมเหตุสมผล สะดวก คุณภาพดี โดยมี ค่าใชจ้ า่ ยท่เี หมาะสมและเป็นธรรม 4. อยใู่ นชุมชนทเ่ี ขม้ แข็ง มกี ารรวมพลัง และมคี วามรบั ผิดชอบรว่ มกนั ในการดูแลสุขภาพของ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยเฉพาะเดก็ ผูส้ งู อายุ ผู้ด้อยโอกาส และผพู้ กิ าร 5. ดารงชวี ิตแิ ละประกอบอาชพี อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดแี ละปลอดภัย 6. มีอายุยืนยาวอย่างมีคุณภาพ ไม่เจ็บปุวยอย่างไม่สมเหตุสมผล และตายอย่างสมศักด์ิศรี ของความเป็นมนษุ ย์ 4. องค์ประกอบของสขุ ภาพ ในอดีตคาว่า สขุ ภาพ หมายถงึ สุขภาพกายเปน็ หลกั ต่อมาจึงได้รวมสุขภาพจิตเข้าไปด้วย เพราะเห็นว่า คนท่ีมีสุขภาพกายสมบรู ณแ์ ขง็ แรง แต่สุขภาพจติ เสอื่ มโทรมหรอื เปน็ โรคจติ ก็ไม่สามารถดาเนินชีวิตเป็นปกติสุข ได้ ซ้าร้ายอาจจะทาร้ายผู้อื่นได้อีกด้วย ปัจจุบัน คาว่า สุขภาพ มิได้หมายความเฉพาะสุขภาพกายและ สุขภาพจิตเท่าน้ัน แต่ยังได้รวมถึงสุขภาพสังคม และสุขภาพจิตวิญญาณอีกด้วย จึงสามารถสรุปได้ว่าใน ความหมายของ \"สขุ ภาพ\" ในปจั จุบนั มีองคป์ ระกอบ 4 สว่ น ด้วยกนั คอื 4.1 สุขภาพกาย (Physical Health) หมายถึง สภาพท่ีดีของร่างกาย กล่าวคือ อวัยวะต่างๆอยู่ใน สภาพที่ดี มีความแข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ร่างกายสามารถทางานได้ตามปกติ และมี ความสมั พันธ์กบั ทกุ ส่วนเปน็ อยา่ งดี และกอ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพทีด่ ีในการทางาน 4.2 สุขภาพจิต (Mental Health) หมายถึง สภาพของจิตใจท่ีสามารถควบคุมอารมณ์ได้ มีจิตใจเบิก บานแจม่ ใส มิใหเ้ กิดความคบั ข้องใจหรือขัดแย้งในจติ ใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมี ความสุข สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงผู้มีสุขภาพจิตดี ย่อมมีผลมาจาก สุขภาพกายดีด้วย ดังที่ John Lock ได้กล่าวไว้ว่า “A Sound mind is in a sound body” คือ “จิตใจที่ แจม่ ใส ย่อมอยูใ่ นร่างกายทส่ี มบูรณ์” 4.3 สุขภาพสังคม (Social Health) หมายถึง บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุขสมบูรณ์ มี สภาพของความเป็นอยู่หรือการดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ไ ม่ทาให้ผู้อื่น หรือสังคม เดอื ดรอ้ น สามารถปฏิสมั พนั ธ์และปรับตวั ใหอ้ ยใู่ นสังคมได้เปน็ อยา่ งดีและมีความสุข 4.4 สุขภาพจิตวิญญาณ (Spiritual Health) หมายถึง สภาวะที่ดีของปัญญาที่มีความรู้ท่ัว รู้เท่าทัน และความเขา้ ใจอยา่ งแยกได้ในเหตุผลแห่งความดีความช่ัว ความมีประโยชน์และความมีโทษ ซึ่งนาไปสู่ความมี จติ อนั ดีงามและเอื้อเฟอ้ื เผือ่ แผ่

5. มติ ทิ างด้านสุขภาพ ในองคป์ ระกอบสขุ ภาพทั้ง 4 ดา้ นนั้น แตล่ ะดา้ นยังมี 4 มติ ิ ดังน้ี 5.1 การส่งเสริมสุขภาพ เป็นกลไกการสร้างความเข้มแข็งให้แก่สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคม และสขุ ภาพจิตวิญญาณ 5.2 การป้องกนั โรค ไดแ้ ก่ มาตรการลดความเส่ียงในการเกิดโรค รวมท้ังการสร้างภูมิคุ้มกันเฉพาะโรค ดว้ ยวธิ ีการต่างๆ นานา เพ่ือมิใหเ้ กิดโรคกาย โรคจิต โรคสังคม และโรคจติ วิญญาณ 5.3 การรักษาโรค เมื่อเกิดโรคขึ้นแล้ว เราต้องเร่งวินิจฉัยโรคว่าเป็นโรคอะไร แล้วรีบให้การรักษาด้วย วิธีทีไ่ ด้ผลดที สี่ ดุ และปลอดภัยที่สุดเท่าที่มนษุ ย์จะรู้และสามารถให้การบริการรักษาได้ เพื่อลดความเสียหายแก่ สขุ ภาพ หรือแมแ้ ต่เพือ่ ปูองกันมิใหเ้ สียชีวิต 5.4 การฟื้นฟูสภาพ หลายโรคเมอื่ เป็นแลว้ กอ็ าจเกิดความเสียหายต่อการทางานของระบบอวัยวะหรือ ทาใหพ้ ิการ จงึ ตอ้ งเรม่ิ มาตรการฟน้ื ฟใู ห้กลับมามีสภาพใกลเ้ คยี งปกตทิ ีส่ ดุ เทา่ ท่จี ะทาได้ ท้ัง การส่งเสรมิ สุขภาพ และการปูองกันโรคน้ี เราเรียกรวมกันว่า \"การสร้างสุขภาพ\" เป็นการ ทากอ่ นเกดิ โรค ส่วนการรกั ษาโรค และการฟื้นฟูสภาพนี้ เราเรียกรวมกันว่า \"การซ่อมสุขภาพ\" เป็นการทา หลังจากเกิดโรคแล้ว และเป็นท่ีเชื่อกันว่า \"การสร้างสุขภาพ\" มีประสิทธิผลดีกว่า และเสียค่าใช้จ่ายน้อย กว่า \"การซอ่ มสขุ ภาพ\" เนือ่ งจาก \"การสรา้ งสุขภาพ\" เป็นสง่ิ ที่ประชาชนสามารถทาไดด้ ้วยตัวเอง ส่วน \"การ ซอ่ มสขุ ภาพ\" ตอ้ งอาศยั หนว่ ยงานดา้ นการแพทย์เป็นหลกั แม้ว่าสุขภาพโดยองค์รวมแล้วจะเป็นภาวะของมนุษย์ที่เช่ือมโยงกันท้ัง ทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม แต่ในเร่ืองของสถิติสาขาสุขภาพน้ัน มีข้อจากัดในการศึกษาทาให้ในข้ันต้นจะกล่าวถึงเฉพาะ สุขภาพทางกาย และสุขภาพทางจิต เทา่ น้ัน 6. สขุ ภาพองค์รวม สุขภาพของมนุษย์ประกอบด้วยร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาขณะเดียวกันการดารงชีวิตก็มิอาจ แยกตวั อยโู่ ดดเดย่ี วไดห้ ากยังต้องมีความสัมพันธ์กับคนอื่น เริ่มจากพ่อ แม่ ญาติพ่ีน้องไปจนถึงผู้คนในสังคมด้วย เหตนุ ี้บุคคลต้องมสี ขุ ภาพทางกายและจิตใจจะต้องสมั พันธ์กนั ด้วยดีควบคู่ไปกับความสัมพันธ์ทางสังคมถึงจะทาให้ เกิดภาวะสุขภาพท่ีดีได้ แม้จะปลอดโรคหรือปัจจัยทางกายภาพท่ีเป็นตัวก่อโรคก็ใช่ว่าบุคคลจะมีสุขภาพหรือสุข ภาวะทด่ี ีได้ การเสรมิ สรา้ งสุขภาพในลักษณะตา่ ง ๆ จึงเปน็ การปรับตัวใหเ้ ข้ากบั สงิ่ แวดล้อมอยา่ งสมดลุ ครอบคลุม ร่างกายท่ัวทุกระบบ การปรับตัวลักษณะนี้นอกจากการปรับตัวทางด้านร่างกายแล้วต้องมีการปรับตัวด้าน พฤติกรรมและการปรับตัวระดับจิตสานึก หากเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ืองย่อมก่อให้เกิดแบบแผนในระดับบุคคล เรยี กวา่ วถิ ีชวี ติ บคุ ลิกภาพ และอุปนิสัย หากเกิดข้ึนอย่างสอดคล้องทั้งชุมชนหรือสังคมย่อมกลายเป็นวัฒนธรรม สขุ ภาพซ่ึงเป็นเรื่องของดุลยภาพในท่ามกลางปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรวมท้ังแนวทางในการรักษาสุขภาพท่ีเน้น การดารงชีวิตให้มีความประสานสอดคล้องกับกฎเกณฑ์ธรรมชาติ การส่งเสริมให้บุคคลมีชีวิตที่สมดุลบุคคลแต่ละ คนจะมบี ทบาทมากทสี่ ดุ ในการดแู ลสุขภาพของตนเอง บุคคลภายนอกหรือเทคโนโลยีมีส่วนช่วยหนุนเสริมเท่านั้น การมีสุขภาพดีไม่ใช่ขึ้นอยู่กับความก้าวหน้าทางการแพทย์เพียงอย่างเดียวแต่ข้ึนอยู่กับสิ่งแวดล้อมที่ดีรวมทั้งมี ครอบครัวท่อี บอุ่นและชุมชนท่ีเอื้ออาทรตอ่ กัน

6.1 นยิ าม แนวคดิ แบบสุขภาพองคร์ วมมองวา่ โรคมิได้เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งเพยี งอย่างเดียว แมก้ ระท่ังโรคตดิ เช้อื กม็ ีสาเหตมุ าจากปจั จัยอื่นนอกจากตัวเชือ้ โรคเอง กลา่ วอีกนัยหนึ่งสุขภาพองค์รวมมีทัศนะ วา่ โรคแตล่ ะโรคนั้นเกดิ จากหลายสาเหตุ มหี ลายองค์ประกอบเข้ามาเกี่ยวข้อง และองค์ประกอบเหล่านั้นมิได้มี แค่องค์ประกอบทางกายภาพเท่านั้นหากมักมีองค์ประกอบทางด้านจิตใจและความสัมพันธ์ทางสังคมเข้า เกี่ยวข้องด้วยเสมอ สุขภาพเป็นตัวตัดสินที่สะท้อนถึงการที่เราเข้าไปเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพและทางสงั คมรอบตัวเราอย่างไร เรามีทศั นคตอิ ยา่ งไร และเรามีปฏิสัมพันธ์กับคนอ่ืนอย่างไร ด้วยการ มอง “สุขภาพ”ในฐานะทเ่ี ป็นทั้งหมด (Totality) ของการมีชีวิตอยู่ของบุคคลจึงเป็นทรรศนะแบบองค์รวมของ เรื่องสุขภาพ (Holistic view of health) ซึ่งมาจากการมีปฏิสัมพันธ์กันของปัจจัยทางกายภาพ ทางจิตใจ อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณ และส่ิงแวดล้อมที่ทาให้บุคคลมีคุณภาพชีวิตโดยไม่สามารถแยกแยะ จิตใจ ร่างกาย หรือส่ิงแวดล้อมออกจากกันอย่างอิสระแต่ต้องมองอย่างเช่ือมโยงมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ซ่ึง ผลลัพธ์ขององค์รวมต้องมาจากแนวคิดท่ีหลากหลาย (Mcevor and Duffy , 2008, p.418) พระไพศาล วสิ าโล (2550) ให้คาจากัดความของสุขภาพแบบองค์รวมวา่ “การคดิ แบบองค์ รวม” เป็นการเช่อื มโยงชีวิตของผู้คนกบั สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม การเมอื ง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ศาสนา จึงควรปรับ ทรรศนะเร่ืองสุขภาพทั้งหมดของประชาชนและสาธารณะรวมถึงศึกษาวิจัยการแพทย์พหุลักษ ณ์ทุกด้านโดย เน้นความเข้าใจวิธีคิดของประชาชน จึงเป็นการศึกษาระบบคิดหรือศึกษาวัฒนธรรมในทรรศนะคุณค่าของ วัฒนธรรมท้องถิ่นกับการพัฒนาท่ีมีเปูาหมายให้เกิดความหลากหลายท่ีบูรณาการข้ึน เป็นการเปิดคุณค่าให้ สังคมมีทางออก ดังน้ันสุขภาพองค์รวมจึงเก่ียวข้องกับเร่ืองวัฒนธรรม ความหลากหลายของท้องถ่ิน การ ส่งเสริมให้มีองค์กรชุมชนเพ่ือให้ชุมชนเป็นตัวของตัวเอง สามารถพัฒนาเศรษฐกิจ จิตใจ วัฒนธรรม การเมือง ส่ิงแวดล้อม ที่สามารถพึ่งตนเองได้ เป็นประชาธิปไตย มีการกระจายอานาจมีความชอบธรรม ส่งเสริมการ จัดตั้งสถานบาบัดธรรมชาติ เช่น เกษตรผสมผสาน เกษตรไร้สารเคมี ทาให้ได้สัมผัสธรรมชาติ สัมผัสกับเพ่ือน บ้านรวมถงึ ชุมชนรอบขา้ งได้รบั ประทานอาหารปลอดสารพิษได้อยูก่ บั ธรรมชาติ โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (2549) ให้นิยามสุขภาพแบบองค์รวมว่าเป็นเรื่องที่เก่ียวข้องกับทั้งชีวิต มากกวา่ การเนน้ แคค่ วามเจบ็ ปวุ ยหรือการจัดการกับส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกาย โดยพิจารณา “คนท้ังคน” ท่ี เกี่ยวเนื่องกันของร่างกายจิตใจ และจิตวิญญาณ รวมทั้งปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ท่ีมีปฏิสัมพันธ์กับคนคน น้ัน สุขภาพแบบองค์รวมเน้นความสัมพันธ์ที่มีดุลยภาพของระบบสุขภาพที่ไม่มีการแยกขาดระหว่างร่างกาย จิต สังคม และนิเวศวิทยา กระบวนการทางสุขภาพจึงไม่แยกขาดตัดตอนออกจากกระบวนการทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม สุขภาพแบบองค์รวมจึงมิได้หมายถึงเฉพาะเทคนิคการดูแลสุขภาพแต่รวมถึงการ ปรบั วถิ ีชวี ติ พฤติกรรมสุขภาพ การกนิ อาหาร ตลอดจนการเข้าไปเกี่ยวข้องกับสังคมของบุคคลด้วยภารกิจของ การสร้างระบบสุขภาพท่ีเป็นองค์รวมจึงเป็นเร่ืองของการสร้างองค์ความรู้หากเห็นความสาคัญของการท่ีจะทา ให้จินตนาการใหม่ของระบบสุขภาพที่ต้องการให้เกิดบริการสุขภาพที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์เป็นจริงและ เข้าใจลักษณะองค์รวมของความเป็นมนุษย์จะต้องมีความเข้มแข็งทางวิชาการอย่างมากและมีการสร้างความรู้ และทกั ษะต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ในการสร้างกลไกเพ่ือพัฒนาความรู้ในการเข้าใจสุขภาพในมิติองค์รวมมากขึ้น และทาอย่างไรให้คนทางานบริการระดับต้นมีความละเอียดอ่อนลึกซึ้งสามารถผสมผสานศาสตร์และศิลป์ท่ีจะ ทาใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพมมี ิตขิ องความเป็นมนุษย์

ในขณะท่ชี มุ ชนเป็นผถู้ ูกกระทาตามความรู้และทกั ษะที่นักวิชาการและผู้เช่ียวชาญสร้างข้ึนแต่นั่นกลับ ไม่ไดท้ าให้ผู้คนในชมุ ชนมสี ุขภาพทีด่ ไี ด้ตามความคาดหวงั และยงั ซา้ เตมิ ให้คนในชุมชนขาดการพึ่งตนเอง ดังน้ัน ปรัชญาสุขภาพแบบองค์รวม (Holistic health philosophy) จึงเป็นการทาให้แต่ละบุคคลสามารถสร้าง คณุ ภาพชีวติ ของตนเองได้ นาไปสกู่ ารดูแลตนเองและสร้างเงื่อนไขท่ีบุคคลสามารถส่งเสริมและปูองกันสุขภาพ ของตนเองให้ปราศจากโรคและมีความเป็นอยู่อย่างมีคุณภาพ แต่เน่ืองจากมีความแตกต่างของกระบวนทัศน์ พ้ืนฐานเกี่ยวกับมนุษย์และธรรมชาติทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปรัชญาพื้นฐานที่ทาความเข้าใจในเร่ือง สขุ ภาพ 6.2 ปรชั ญาและแนวคดิ สุขภาพแบบองคร์ วม ชีวติ ในโลกยคุ ปัจจุบันมแี ตค่ วามรบี ร้อนและขาดการดแู ลสุขภาพทด่ี ี ทั้งน้ี เพราะทุกคนม่งุ สนใจ แต่การทางาน และทาหนักขึ้นเร่ือยๆ ซึ่งบางครั้งก็ไม่รู้ว่าสุขภาพเป็นอย่างไร จะมารู้ตัวอีกทีก็ต่อเม่ือมีอาการ ผิดปกติ เช่น อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ มีไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูงเป็นต้น ซ่ึงเท่ากับว่าเราละเลยไม่ได้ ดแู ลและปูองกนั ตัวเราเองจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ด้วยเหตุน้ี คนจานวนมากจึงหันกลับมาคิดและดูแลตนเอง แบบองค์รวมทั้งร่างกาย จิตใจ และจติ วญิ ญาณ ท่ีรจู้ กั ในช่ือ สุขภาพองคร์ วมหรือ holistic health นน่ั เอง สุขภาพองค์รวม หมายถึงความสมดุลของทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณไม่ เพียงแต่ไมเ่ จบ็ ปุวยหรือไมม่ ีโรคหากยังครอบคลุมถงึ การดาเนนิ ชีวิตท่ียืนยาวและมีความสุขของทุกคนด้วย ปรัชญาสุขภาพแบบองค์รวมท่ีเป็นข้อโต้แย้งระหว่างปรัชญาตะวันตกและตะวันออก เน่ืองจากปัญหาด้านสุขภาพในปัจจุบันมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นได้มีปัญหาใหม่ท่ีรุนแรงเกิดขึ้น ยากที่จะ แก้ไขจนกระทั่งการแพทย์สมัยใหม่ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ไม่สามารถสนองตอบต่อปัญหาสุขภาพที่ หลากหลายของปัจเจกได้ วิกฤตการณ์ท่ีมนุษย์เผชิญอยู่ในปัจจุบันทั้งในวิถีชีวิตทางสังคม ทาง ธรรมชาติ และระบบนิเวศเป็นผลมาจากกระบวนทัศน์ในการเข้าใจ “ความจริง” ท่ีผิดพลาดของวิธีวิทยา แบบตะวันตกทาให้การขยายผลไปสู่การปฏิบัติมีปัญหาและทาให้การสร้างความรู้มีข้อบกพร่องโดยนัยยะนี้ วกิ ฤตการณ์ด้านสุขภาพในปจั จุบนั จงึ เป็นภาพสะท้อนของปัญหากระบวนทัศน์ด้านสุขภาพและวิธีวิทยาในการ แสวงหาความรู้ที่มีข้อบกพร่องด้วยเช่นกัน ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากความแตกต่างของกระบวนทัศน์ที่ตอบ คาถามพน้ื ฐานเกยี่ วกับมนุษยแ์ ละธรรมชาตดิ ้วยโลกทัศนท์ แี่ ตกต่างกันอย่างสิ้นเชงิ

นักวิชาการท่ีโต้แย้งกระบวนทัศน์ลดส่วน กลไกและวิธีวิทยาแบบตะวันตกได้อธิบา p ปรากฏการณข์ องข้อขัดแยง้ ในกระบวนทศั นส์ ขุ ภาพจานวนมากที่เสนอให้หันมาศึกษาการคิดแบบองค์รวมหรือ การคิดถึงสรรพส่ิงในจักรวาลแบบไม่แยกส่วนเพราะทุกส่ิงล้วนเก่ียวข้องสัมพันธ์กันการหันกลับมาทบทวน แนวคิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสุขภาพและการเจ็บปุวยโดยเฉพาะในมุมมองของนักสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา จึงเป็นทางออกทางหน่ึงของปัญหาสุขภาพของคนในสังคม โดยการมุ่งหากระบวนทัศน์ใหม่ที่ใช้ ปัญหาเป็นตัวต้ัง (Problem Orientation) พิจารณาอย่างรอบด้านโดยไม่แยกส่วน ทาให้ทรรศนะแบบองค์ รวมเข้ามามีอิทธิพลต่อเร่ืองสุขภาพ จึงต้องพิจารณาครอบคลุมท้ัง 4 มิติ อย่างเช่ือมโยงเป็นองค์รวมและมอง มนุษย์ 2 ระดับ คือ มนุษย์เป็นระบบชีวิตที่ประกอบด้วยระบบย่อยท่ีเก่ียวเนื่องและพ่ึงพิงกันไม่อาจแยกจาก กันได้ และมนุษย์อยู่ในฐานะระบบย่อยของระบบท่ีใหญ่กว่า เช่น ระบบสังคมและธรรมชาติแวดล้อมดังนั้น มนุษย์จึงได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและขณะเดียวกันก็ส่งผลกระทบและพยายาม เปลยี่ นแปลงส่ิงแวดล้อมอยู่เสมอสุขภาพท่ีดีจึงมิได้อยู่ท่ีการคิดค้นยาหรือสารใหม่ และสุขภาพทางสังคมก็มิได้ อยู่ท่ีการคิดคน้ เทคโนโลยีเพอ่ื ให้มนุษย์ใช้ทรัพยากรได้อย่างไม่จากัดโดยไม่คานึงถึงมลพิษและความเส่ือมโทรม ของทรพั ยากรแต่สุขภาพทัง้ ระดับบคุ คล สังคม และส่ิงแวดล้อมจะย่ังยืนได้ต่อเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทัง้ ต่อตนเอง สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ มโดยทรรศนะการประสานกลมกลนื อย่างมดี ุลยภาพทกุ ระดับ แนวคิดเรอื่ งสขุ ภาพองคร์ วมไดจ้ างหายไปช่วั คราวจากสงั คมตะวันตกในช่วงศตวรรษที่ 20 เน่ืองจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่หักเหค่านิยมความเชื่อของคนเก่ียวกับสุขภาพว่าตัวเช้ือ โรค คือ สาเหตุของความเจ็บปุวยและต้องใช้ยาสังเคราะห์เพื่อฆ่าเชื้อโรคและแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับสุขภาพ โดย ไม่ต้องสนใจต่อวิถีชีวิตและสุขภาพที่ไม่เหมาะสมอย่างไรก็ตามในบางสภาวะของสุขภาพการใช้วิธีรักษาแบบ แผนปัจจุบันเป็นอันตรายต่อสุขภาพมากกว่าตัวเชื้อโรคเสียอีก นอกจากน้ีโรคเร้ือรังอีกหลายโรคไม่ตอบสนอง ต่อการบาบัดทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประชาชนจึงเริ่มแสวงหาทางเลือกอื่นและหันกลับไปสู่วิถีการดูแล สุขภาพแบบองค์รวม (Holistic lifestyle) และการบาบัดแบบองค์รวม (Holistic healing) ซึ่งมีเทคนิค ทางเลอื กให้เลอื กมากขึ้น 6.3 หลักการพ้นื ฐานของสุขภาพองคร์ วม สุขภาพแบบองค์รวมมีพ้ืนฐานอยู่บนกฎเกณฑ์ที่ว่า “ส่วนรวมท้ังหมดถูกสร้างขึ้นมาจาก สว่ นย่อยทีส่ มั พนั ธ์เก่ียวเนื่องและพึ่งพาต่อกัน” โลกประกอบด้วย อากาศ พ้ืนดิน น้า พืช และสัตว์ที่ต้องอาศัย และพึ่งพาซ่ึงกันและกัน ไม่สามารถแยกจากกันได้เพราะถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งสูญเสียหรือถูกทาลายไปจะทาให้ ดลุ ยค์ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งสว่ นต่าง ๆ เสยี ไป ซึง่ จะทาให้สว่ นอ่นื ถูกทาลายไปดว้ ยเช่นเดียวกับชีวิตมนุษย์แต่ละ คนจะประกอบข้ึนด้วยร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และจิตวิญญาณ ถ้าองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งของชีวิต สญู เสยี การทางานไปกจ็ ะส่งผลตอ่ องคป์ ระกอบอนื่ ที่เหลือ มีการใชแ้ นวคดิ ดังกล่าวเพอื่ เสริมสร้างการออกกาลัง กาย การส่งเสริมสุขภาพจิต และการส่งเสริมสุขภาพทางจิตวิญาณในกลุ่มผู้หญิง พบว่า กิจกรรมท่ีใช้ต้อง อาศัยแรงสนับสนุนทางสังคมเพ่ือให้กลุ่มตัวอย่างเกิดการรับรู้ในความสามารถของตนเอง (Jorna, Ball and Salmon, 2006, p.398) ในขณะเดียวกันชีวิตและองค์ประกอบของชีวิตแต่ละด้านก็จะเก่ียวเนื่องและ สัมพนั ธ์กบั สิ่งแวดลอ้ มรอบตัวเชน่ กนั แต่แมว้ า่ องค์รวมมีส่วนยอ่ ยหลายอย่างมาประกอบกันแต่ทว่าองค์รวมก็มี คณุ สมบตั ใิ หม่ท่สี ่วนประกอบยอ่ ยไม่มี หลกั การพ้ืนฐานของสขุ ภาพองคร์ วม ดงั น้ี

6.3.1 ทัศนะแบบองค์รวมให้คุณค่าของคาว่า “สุขภาพ” ว่ามีความหมายมากกว่าแค่การไม่เจ็บปุวย แต่หมายถึงการปรับ แก้ไข และพัฒนาให้เกิดสุขภาวะที่ดีอย่างต่อเน่ือง สุขภาพองค์รวมจึงเป็น กระบวนการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองตลอดวิถีของชีวิต ถือเป็นพันธะสัญญาและความรับผิดชอบส่วนบุคคลท่ีต้อง พยายามเดนิ หน้าปรบั แก้ไข พฒั นา และดารงตนให้มีสุขภาวะท่ีดีไม่ว่ากาลังอยู่ในสภาวะสุขภาพระดับใด จาก ระดบั ข้ันความเจบ็ ปวุ ย การมีสุขภาพถดถอยชั่วคราว ภาวะทย่ี งั ไม่แสดงออกถงึ เจ็บปุวย จนถึงการมีสุขภาพที่ดี เยี่ยม ซึ่งช่วงระหว่างสภาวะ 2 ประการหลังควรได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพ และดารงสถานะสุขภาพที่ดีไว้ เสมอเชน่ กัน ไมใ่ ชใ่ หค้ วามสนใจเฉพาะการรกั ษาพยาบาลในยามเจบ็ ปวุ ยเท่านน้ั 6.3.2 สุขภาพของเราจะเป็นแบบเดยี วกบั ทว่ี ิถีชวี ติ ของเราเป็นหลักการนีไ้ ดร้ ับการสนบั สนุนปัจจัยท่ีมี ผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพของบุคคลเป็นผลกระทบจากคุณภาพของการบริการ พันธุกรรม ส่ิงแวดล้อม และวิถีการดาเนินชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพ เม่ือมีภาวะความเจ็บปุวยด้วยการติดเช้ือหรือโรคเรื้อรังเกิดข้ึน หลักการของสุขภาพองค์รวมก็สามารถนามาประยุกต์ได้ กนกวรรณ ศรีสุภรกรกุล(2552) พบว่า การ ปรับเปลี่ยนจากการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (Holistic health) มาเป็นการแพทย์แบบองค์รวม (Holistic medicine) บุคคลากรทางการแพทย์จะใช้หลักการสุขภาพองค์รวมแลกเปล่ียนเรื่องการรักษา และการดูแล สุขภาพกับคนไข้โดยจะให้คาแนะนาระบบการเยียวยาแบบธรรมชาติ (Natural healing system) และให้ พจิ ารณาสภาวะเงอื่ นไขปัจจัยทัว่ ทั้งตวั คน และสถานการณท์ เ่ี กี่ยวข้อง การปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้เหมาะสม โดยการให้ผู้ปุวยเข้าใจธรรมชาติและความไม่สมดุลของร่างกายและร่วมกันพิจารณาปัญหาการเจ็บปุวย การ วางแผนการรกั ษาร่วมกบั ผรู้ กั ษา สง่ ผลใหผ้ ปู้ ุวยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้คลายความวิตกกังวลและมีความ มัน่ ใจในการรกั ษา 6.4 ปัจจัยทีน่ าไปสู่การดแู ลสขุ ภาพองคร์ วมในสงั คมไทย ในปัจจุบันกระแสความสนใจด้านศาสตร์สุขภาพองค์รวมมีการขยายตัวอย่างกว้างขวางในสังคมไทย ความต่นื ตัวในการแสวงหาการดแู ลสขุ ภาพองค์รวมเหลา่ นีม้ รี ากฐานมาจากปจั จยั หลายประการ คอื 6.4.1 สถานะสุขภาพและแบบแผนความเจ็บปุวยของประชาชนเปล่ียนแปลงไป ในปัจจุบันปัญหา สุขภาพอนามัยของคนในประเทศได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบไปตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่ที่มีความ สลบั ซับซ้อนมากข้นึ การเปลีย่ นแปลงที่เห็นได้ชัดเจนในด้านสภาวะสุขภาพ ประชาชนเสียชีวิตเนื่องจากโรค ไม่ติดต่อที่มีแนวโน้มที่สูงขึ้น ตลอดจนภาวะความเครียด ปัญหาสุขภาพจิต และโรคจากปัญหาอาชีวอนามัย และอนามัยส่ิงแวดล้อม โรคเหล่านี้มีส่วนทาให้ประชาชนแสวงหาทางเลือกอื่นนอกเหนือจากการแพทย์แผน ปัจจุบันท้งั นี้ส่วนหน่งึ เปน็ เพราะการแพทย์แผนปัจจุบนั เองก็ไมส่ ามารถรักษาโรคเหล่านี้ให้หายขาดได้ และยังมี ข้อจากัดในการสนองความพึงพอใจของผู้ปุวยท่ีมีปัญหาจากโรคเหล่านี้ ในขณะเดียวกันประชาชนมีทัศนะว่า การแพทย์แผนปัจจุบันจะมีประสิทธิภาพสูงเฉพาะในกลุ่มโรคปัจจุบันและโร คติดเชื้อทาให้การแพทย์และ ศาสตร์สุขภาพองค์รวมท่ีเสนอแนวคิดและทางออกท่ีแตกต่างต่อปัญหาสุขภาพเหล่าน้ีได้กลายเป็นทางเลือก ใหมข่ องประชาชนไทยมากขึน้

6.4.2 ข้อจากัดของการแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์แผนปัจจุบันหรือการแพทย์แบบ ชีวภาพ (Biomedicine) ถือว่าร่างกายมนุษย์ประกอบขึ้นจากเซลล์ท่ีรวมกันเป็นเน้ือเย่ือและอวัยวะ อวัยวะ ย่อยแต่ละชนิดน้ันมีหน้าที่ต่างกัน สุขภาพดีเกิดจากการท่ีอวัยวะต่าง ๆ สามารถทาหน้าท่ีตามปกติของตนเอง และประสานกับอวัยวะอ่ืนอันเป็นผลให้กระบวนการทางชีววิทยาดาเนินไปได้ตามปกติ วิทยาการการแพทย์ ตะวันตกจึงอธิบายปรากฏการณ์ความเจ็บปุวยโดยอาศัยข้อเท็จจริงทางชีววิทยาเป็นสาคัญโดยความเจ็บปุวย จะต้องถูกสืบค้นให้พบว่ามีสาเหตุมาจากการผิดปกติของอวัยวะใด และการเยียวยารักษาก็จะมุ่งไปแก้ปัญหา เฉพาะส่วนที่อวัยวะที่ผิดปกติน้ัน การท่ีแนวคิดชีวเวชศาสตร์ยึดถือข้อเท็จจริงทางชีววิทยาเป็นสาคัญในการ อธิบายภาวะความเจ็บปุวย การรักษาจึงมุ่งไปท่ีการจัดการให้อวัยวะท่ีผิดปกติน้ันสามารถทาหน้าที่ได้ ตามเดิม การบาบัดรักษาจึงเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะท่ี แนวทางการแก้ไขปัญหาความเจ็บปุวยจึงจากัดตัวอยู่ ในขอบเขตของการแก้ไขปัญหาความเจ็บปุวยทางกายเป็นสาคัญ และไม่สามารถเช่ือมโยงไปสู่มิติทางสังคม จิตวิทยาของการเจบ็ ปุวยได้ ซงึ่ เป็นผลใหข้ าดการใช้มาตรการทางสังคมและมาตรการทางจิตวิทยาในการเย่ียว ยารักษาผู้ปุวยด้วยปรัชญาทางการแพทย์ดังกล่าว การแพทย์แผนปัจจุบันจึงมีแบบแผนการปฏิบัติท่ีมีลักษณะ เฉพาะตวั คือ 1) กระบวนการดูแลรักษาสุขภาพและความเจ็บปุวย การแพทย์แผนปัจจุบันมองหาสาเหตุท่ี เฉพาะและเน้นดา้ นกายภาพ ทาใหก้ ารวนิ จิ ฉัยและประเมนิ ผลการรักษามุ่งเน้นที่การเปล่ียนแปลงที่สามารถวัด ได้เป็นหลัก ทาให้จากัดอยู่เฉพาะในดา้ นกายภาพ และการแก้ปญั หาเฉพาะส่วน เฉพาะโรคแยกขาดจากกันโดย ขาดการพิจารณาทัง้ ระบบ 2) ระบบการจัดบริการในระบบการแพทย์แบบตะวนั ตก แพทยแ์ ละโรงพยาบาลขนาดใหญ่เป็นท่ี รวมศูนย์ความรู้และเทคโนโลยีทางการแพทย์ซึ่งเน้นการซ่อมสุขภาพมากกว่าการ ส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมใน สถาบันทางการแพทย์มีศูนย์กลางอยู่ที่ความเจ็บปุวยมากกว่าท่ีจะเน้นการมีสุขภาพดี จึงมีลักษณะบริการท่ีตั้ง รับ คือ ปล่อยให้เจ็บปุวยแล้วรักษา นอกจากน้ันบริการทางการแพทย์แบบตะวันตกยังจะมีลักษณะเหมือน ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปกล่าว คือ มีการจัดระบบบริการที่เหมือนกัน เป็นรูปแบบเดียวกัน โดยมิได้สนใจความ แตกต่าง หลากหลายด้านสังคมวัฒนธรรมของชุมชน ท้ังน้ีเป็นเพราะวัฒนธรรมการแพทย์ตะวันตกถือเอา องค์ประกอบทางกายภาพเป็นสาคัญและถือว่ามนุษย์มีกายภาพที่ดาเนินไปตามกฏเกณฑ์ทางสรีรวิทยาท่ี เหมือนกนั 3) ระบบความสัมพันธ์ของผู้ปุวยและแพทย์ การแพทย์แผนตะวันตกเป็นศาสตร์ที่เน้นบทบาท ของผู้เชี่ยวชาญ กล่าวคือ เรื่องสุขภาพในระบบการแพทย์ตะวันตกเป็นเรื่องของแพทย์ผู้ซ่ึงมีความรู้ความ ชานาญ และเป็นผู้จัดการกับความเจ็บปุวยโดยเทคนิคและวิทยาการทางการแพทย์ บทบาทของผู้ปุวย คือ การ ให้ความร่วมมือ และพ่ึงพาแพทย์ ผู้ปุวยจึงมีอานาจต่อรองต่า เมื่อเกิดความไม่พึงพอใจต่อการรักษาพยาบาล ของแพทย์ก็จะไม่สามารถต่อรองได้แต่จะเก็บความรู้สึกไม่พอใจไว้ ซึ่งหากเปรียบเทียบกับการแพทย์ทางเลือก อ่ืน เช่น การแพทย์พื้นบ้านแล้วจะเห็นว่าผู้ปุวยและญาติมีส่วนที่จะสามารถพูดจาปรึกษาหารือ และ แลกเปลยี่ นความรู้สกึ นกึ คิดกับผ้ใู ห้การรกั ษาได้มากกวา่ แม้ว่าการแพทย์แผนปัจจบุ นั จะมีจุดแข็งหลายประการแต่ก็มีข้อจากัดท่ีทาให้ไม่สามารถตอบสนองต่อ ความพงึ พอใจ และสนองต่อปัญหาท่ีมีอยู่อย่างหลากหลายได้ ระบบการแพทย์และการบาบัดทางเลือกอ่ืน ๆ ซ่ึงก็มีจุดแข็งจุดอ่อนเฉพาะตัวจึงมีส่วนในการตอบสนองปัญหาบางด้านท่ีกา รแพทย์แผนปัจจุบันไม่สามารถ สนองตอบได้

6.5 องค์ประกอบของสขุ ภาพองค์รวม องค์ประกอบของสขุ ภาพองค์รวมมี 5 มติ ิ ได้แก่ 6.5.1 มิตทิ างกาย (Physical dimension) เป็นมติ ิทางร่างกายทส่ี มบรู ณ์ แข็งแรงปราศจากโรค หรือความเจบ็ ปวุ ย มีปัจจัยองค์ประกอบท้ังด้านอาหาร สิ่งแวดล้อม ท่ีอยู่อาศัย ปัจจัยเกื้อหนุนทางเศรษฐกิจที่ เพยี งพอและสง่ เสรมิ ภาวะสุขภาพ 6.5.2 มิติทางจิตใจ (Psychological dimension) เป็นมิติท่ีบุคคลมีสภาวะทางจิตใจท่ีแจ่มใส ปลอดโปรง่ ไม่มีความกงั วล มีความสขุ มเี มตตาและลดความเหน็ แกต่ วั 6,5,3 มิติทางสังคม (Social dimension) เป็นความผาสุกของครอบครัว สังคม และชุมชน โดยชุมชนสามารถให้การดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สังคมมีความเป็นอยู่ท่ีเอ้ืออาทร เสมอภาค มีความ ยุติธรรม และมีระบบบรกิ ารท่ีดแี ละทัว่ ถงึ 6.5.4 มิตทิ างจติ วญิ ญาณ (Spiritual dimension) เป็นความผาสุกท่ีเกิดจากจิตสัมผัสกับสิ่งท่ีมี บคุ คลยดึ มั่นและเคารพสูงสุดทาให้เกิดความหวงั ความเชือ่ ม่นั ศรทั ธา มีการปฏิบัติในสิ่งท่ีดีงามด้วยความมี เมตตา กรณุ า ไม่เหน็ แก่ตวั มคี วามเสียสละ และยินดีในการที่ได้มองเห็นความสุขหรือความสาเร็จของบุคคล อืน่ ท้งั น้ีสุขภาวะทางจติ วิญญาณจะเกดิ ข้นึ เมอื่ บุคคลมีความหลุดพ้นจากตัวเอง (Self transcending) 6.5.5 มิติทางอารมณ์ (Emotional dimension) คนเราจะตอบสนองต่ออารมณ์ท้ังทางด้าน บวกและลบผลที่จะเกดิ ขึน้ เป็นส่ิงทด่ี หี รือไมด่ ที ัง้ นอ้ี ยู่ทีก่ ารควบคุมของแตล่ ะบุคคล มิตสิ ขุ ภาพองคร์ วมทง้ั 5 มติ ิซง่ึ ถือเปน็ สขุ ภาวะจะมคี วามสมั พันธเ์ ชื่อมโยงกนั โดยสขุ ภาวะทางจิตวิญญาณจะเป็นมิติที่สาคัญที่บูรณาการความเป็นองค์รวมของ กาย จิต อารมณ์ และสังคมของ บุคคลและชุมชนให้สอดประสานเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จิตวิญญาณเป็นสิ่งสาคัญของสุขภาพท่ีจะกุมสุข ภาวะในมิติอื่นให้ปรับตัวประสานกันอย่างครอบคลุมและครบถ้วนทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และชุมชน หาก ขาดสขุ ภาวะทางจติ วญิ ญาณ บคุ คลจะขาดความสมบรู ณ์ในตนเอง มีความร้สู ึกบกพร่องหาก 6.6 ระดบั ของสุขภาพองค์รวม แยกอออกเปน็ 3 ระดบั คอื 6.6.1 องค์รวมระดับบุคคล คือ การทาให้เกิดความสมดุลภายในตัวเราแต่ละคนทั้งในด้าน รา่ งกายและจิตใจ เกิดเป็นเอกภาพที่กลมกลืนระหว่างร่างกาย จิตใจ และวิญญาณโดยที่หนทางไปสู่ความเป็น เอกภาพในการดาเนินชีวิตให้เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารที่เหมาะสม มีพฤติกรรมที่โน้มนาไปสู่ คณุ ภาพท่ีดีและทาจิตใจให้ผ่อนคลาย 6.6.2 องค์รวมระดับครอบครัวและชุมชน 1) ครอบครวั บคุ คลจะมีสุขภาพดหี รือไมค่ รอบครัวมีความสาคัญมาก ครอบครัวท่ีอบอุ่น สมาชิก ในครอบครัวมีความรักให้กันและกัน ช่วยกันดูแลให้ทุกคนมีสุขภาพท่ีดีท้ังร่างกายและจิตใจ ทุกคนมีหน้าท่ี รับผิดชอบและบทบาทแตกตา่ งกันไป เมอ่ื มาประกอบกนั เข้ากท็ าให้เกิดความเป็นเอกภาพองคร์ วม 2) ชมุ ชน ชุมชนทม่ี คี วามเกื้อกูล เอ้ืออาทรซึ่งกันและกัน สุขภาพและชีวิตของคนในชุมชนก็ย่อ มดไี ปด้วย ชมุ ชนชนบทไทยในอดตี นา่ จะเป็นแบบอย่างของความเป็นองค์รวมในระดับครอบครวั และชมุ ชนได้ดี 6.6.3 องค์รวมระดับสงั คม สงั คมในทน่ี ้รี วมถึงส่งิ แวดลอ้ มหรอื ธรรมชาติด้วย แบ่งเป็น 2 ด้าน 1) ความสัมพันธ์ระหว่างคนต่อคน หมายถึงคนในสังคมมีความเป็นเอกภาพกันถึงแม้ว่าคนใน สงั คมนน้ั จะมคี วามแตกต่างและหลากหลาย แต่คนจานวนมากมเี จตจานงอยา่ งเดยี วกนั ท่จี ะสร้างสังคมทดี่ งี าม

2) ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ ต้นไม้ ปุาไม้ ภูเขา แม่น้า ลาธาร อากาศ ถ้าเราทุกคนตระหนักว่ามนุษย์นั้นเป็นส่วนหน่ึงของธรรมชาติและเรียนรู้ท่ีจะอยู่ร่วมกับสรรพชีวิต อน่ื เคารพในแม่น้า ลาธาร ต้นไม้ ปุาไม้ สัตว์นานาพันธุ์ ตระหนักและจริงจังท่ีจะใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยัง่ ยนื ก็จักเกดิ ความสัมพันธ์ทีก่ ลมกลืนระหวา่ งคนกับธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม จะเห็นได้ว่าการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเป็นทางเลือกหน่ึงในการดูแลสุขภาพมิให้เจ็บปุวย เพียงแต่มนษุ ย์ต้องเรยี นรูก้ ฎแห่งธรรมชาติเพื่อให้รู้จักตัวเอง และท่ีสาคัญต้องมีแนวทางในการปฏิบัติตนเองให้ สอดคล้องกบั ธรรมชาตแิ ละลดความต้องการเทคโนโลยีที่ตอบสนองภาวะสุขภาพทางกายท่ีไม่จาเป็น การดูแล สุขภาพแบบองค์รวม คือ ความสมดุล กลมกลืนระหว่างร่างกาย จิตใจ และสังคมสิ่งแวดล้อม จึงเป็นวิถี ของการมสี ุขภาพที่ดีและงดงาม 6,7 เทคนคิ วธิ ีการพน้ื ฐานในการสรา้ งสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม วิธกี ารในการสง่ เสรมิ สุขภาพท่คี รอบคลุมทงั้ ทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและจิตวญิ ญาณ ในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ดังน้ี 1) อาหารและโภชนาการ 2) การผ่อนคลายความเครยี ด 3) การดูแลจิตใจและการทาสมาธิ 4) การหลกี เลีย่ งส่งิ แวดลอ้ มที่ไม่เออ้ื ตอ่ สขุ ภาพ 5) การพักผ่อนที่เพยี งพอ 6) การออกกาลังกายทเี่ หมาะสมกับวัย เพศ และสภาพรา่ งกาย 7) การปูองกันโรค การคัดกรองโรค และการคน้ หาโอกาสเสย่ี ง อาทิ การคัดกรอง เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลกู 8) การแบ่งปนั ความรกั และสรา้ งสัมพันธภาพระหวา่ งคนรอบขา้ ง รวมทงั้ ตนเอง 9) การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ 10) การสรา้ งสมั พันธภาพทางจติ วิญญาณและการเยียวยา 11) การพัฒนาปญั ญา 6.8 ดัชนีสุขภาพระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ดัชนีชี้วัดสุขภาพยึดตามประเด็น หลัก 14 ประเดน็ โดยแบ่งดัชนีวดั เป็น 3 ระดบั และอาจจดั กลุ่มได้ 5 หมวด ดังน้ี

หมวดท่ี 1 : สุขภาพรา่ งกาย จติ ใจพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ประเด็นหลัก ร ะ ดั บ บุ ค ค ล ระดับ ชมุ ชน ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ภ า ค ครอบครัว ประเทศ 1. คนไทยมีสุขภาพ - คนในครอบครัว มี - ชุมชนมีการปูองกัน - มี กา ร เฝู า ระ วั งแ ล ะ รา่ งกายแขง็ แรง ไม่ปุวย ร่างกายแข็งแรง ไม่ปุวย และเฝูาระวังโรคระบาดใน ควบคุมโรคระบาดท่ีมี และไม่ตายจากโรคท่ี ด้วยโรคเรื้อรัง และ ชมุ ชน ประสิทธิภาพ ปูองกันได้ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย เ ห ลื อ - ชุมชนมีการจัดระบบ - มี ก า ร ปู อ ง กั น โ ร ค ท่ี ตวั เองได้ การดูแลรักษาเบ้ืองต้นและ ปอู งกันไดอ้ ยา่ งครอบคลุม การดแู ลผ้ปู ุวยเร้อื รัง - มีระบบฟื้นฟูสภาพและ ชุมชนมีการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้พิการอย่างท่ัวถึง และผู้พิการที่ช่วยเหลือ และเหมาะสม ตนเองไม่ได้ 2. คนไทยมีสุขภาพจิต - คนในครอบครัว มี - ชุมชนมีกิจกรรมส่งเสริม - มี แ ผ น ง า น แ ล ะ ดี มีความพึงพอใจใน ความสุขและพอใจใน สุขภาพจิตท่ีดีและส่งเสริม ง บ ป ร ะ ม า ณ ส่ ง เ ส ริ ม ชีวิต และมีภูมิคุ้มกัน ชี วิ ต แ ล ะ ส า ม า ร ถ ศักยภาพในการจัดการกับ สุขภาพจิตท่ีดีและพัฒนา ทางจิตใจ จั ด ก า ร กั บ ปั ญ ห า ที่ ปญั หาชีวติ ศักยภาพในการจัดการกับ เกิดขึน้ - ชุมชนมีระบบส่งเสริม ปัญหาชวี ติ - คนในครอบครัว มี ความภาคภูมิใจในชีวิตของ - มีระบบให้คาปรึกษา ความภาคภูมิใจในชีวิต คนในชมุ ชน ด้ า น สุ ข ภ า พ จิ ต ท่ี และมีอิสรภาพในการ - ชุมชนมีศูนย์รวมจิตใจใน ค ร อ บ ค ลุ ม แ ล ะ มี ดาเนินชีวิต การแกไ้ ขปญั หาชีวติ ประสิทธิภาพ - ชุมชนมีการดูแลผู้ปุวย - มีระบบบริการรักษา โรคจติ ในชุมชน ผปู้ วุ ยทางจิตทที่ ั่วถึง

หมวดที่ 1 : สุขภาพรา่ งกาย จติ ใจพฤติกรรมสุขภาพ (ตอ่ ) ประเดน็ หลัก ระดับ บคุ คล ครอบครวั ระดบั ชุมชน ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ภ า ค ประเทศ 3. คนไทยปราศจาก - คนในครอบครัวไม่ดื่มสุรา - ชุมชนมีกติกาของชุมชน - มีกฎหมายควบคุมการ ความเสี่ยงต่อปัญหา ไม่สูบบุหรี่ ไม่เสพส่ิงเสพติด ในการควบคุมการดื่มสุรา ดื่มสุรา การสูบบุหร่ี การ สุขภาพ ไ ม่ อ้ ว น ขั บ ร ถ อ ย่ า ง การสูบบุหรี่ การเสพสิ่งเสพ เสพสิ่งเสพติด การขับข่ีไม่ และมีพฤติกรรม ปลอดภัย มีเพศสัมพันธ์ท่ี ตดิ ปลอดภัยและมีการปฏิบัติ สร้างเสริมสุขภาพที่ ปลอดภัย ออกกาลังกาย - ชุมชนมีการส่งเสริมการ ต า ม ก ฎ ห ม า ย อ ย่ า ง มี เพียงพอ อย่างสม่าเสมอ กินผักผลไม้ ขั บ ร ถ ที่ ป ล อ ด ภั ย ประสิทธิภาพ เพยี งพอ พกั ผ่อนเพยี งพอ เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย การ - มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม กินผักผลไม้และพักผ่อน เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย อยา่ งเพียงพอ การออกกาลังกาย การ - ชุมชนมีกิจกรรมการออก บริโภคผักผลไม้ อย่าง กาลงั กายท่เี หมาะสมกบั วยั ต่อเนอ่ื ง หมวดท่ี 2 : สขุ ภาพปญั ญา คณุ ธรรม การเรียนรู้ ปัจจัยดารงชวี ิต ประเด็นหลกั ระดับ บคุ คล ครอบครัว ระดับ ชมุ ชน ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ภ า ค ประเทศ 4. คนไทยเข้าใจ - คนในครอบครัวปฏิบัติตาม - ชุมชนปีกิจกรรมส่งเสริม - มีแผนงานกิจกรรม และ และใช้หลักคุณธรรม หลั ก คุ ณ ธ ร ร ม ห รื อ ห ลั ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ง บ ป ร ะ ม า ณ ส่ ง เ ส ริ ม หรือหลักศาสนาใน ศาสนา เปน็ ประจา คุณธรรมหรือหลักศาสนา คุณธรรมและการปฏิบัติ การดารงชีวติ - คนในครอบครัวรู้จักการ เปน็ ประจา ตา มห ลั กศ า สน า อย่ า ง ให้ทาน ให้อภัย และมีสานึก - ชุมชนมีการส่งเสริมให้ ชั ด เ จ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ในการกระทาของตน คนในชุมชนรู้จักการให้ทาน ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ ผ่ า น ให้อภัยและมีสานึกในการ สือ่ สารสาธารณะ กระทาของตน 5 . ค น ไ ท ย มี ก า ร คนในครอบครัวมีโอกาสใน - ชุมชนมีกิจกรรมส่งเสริม - มี แ ผ น ง า น แ ล ะ เ รี ย น รู้ ท่ี น า ไ ป สู่ การศึกษาและการเรียนรู้ การเรียนรู้ ด้านทักษะใน งบประมาณส่งเสริมการ ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ที่ ร ว ม ท้ั ง ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ก า ร เรียนรู้นอกระบบโรงเรียน เ พี ย ง พ อ แ ล ะ แหล่งขอ้ มูล จนเกดิ ทักษะใน ประกอบอาชพี ทเี่ หมาะสม เพอื่ สรา้ งทกั ษะชีวิต เหมาะสมตลอดช่วง การดาเนนิ ชีวิตทีเ่ หมาะสม - ชุมชนมีศูนย์กลางการ - มีหลักสูตรการพัฒนา ชวี ติ เรยี นร้ขู องชมุ ชน ทักษะชีวิตในสถานศึกษา - ชุมชนมีการถ่ายทอดภูมิ ระดบั ต่างๆ ปญั ญาทอ้ งถนิ่

หมวดท่ี 2 : สขุ ภาพปญั ญา คุณธรรม การเรยี นรู้ ปัจจยั ดารงชีวิต (ต่อ) ประเดน็ หลัก ระดบั บคุ คล ครอบครัว ระดบั ชุมชน ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ภ า ค ประเทศ 6. คนไทยมีปัจจัย - คนในครอบครัวมีปัจจัยสี่ - ชุมชนมีการจัดการแหล่ง - มีการส่งเสริมอาชีพใน ดารงชีวิตที่เพียงพอ ในการดาเนินชีวิตท่ีเพียงพอ อาหารที่เพียงพอ และ ท้ อ ง ถิ่ น อ ย่ า ง มี และมีหลักประกัน ไม่ขัดสน มีรายได้เพียงพอ ป ล อ ด ภั ย ส า ห รั บ ก า ร ประสิทธิภาพ ชี วิ ต ท่ี มั่ น ค ง ด้ ว ย ต่อรายจ่าย บรโิ ภคของคนในชมุ ชน - มีระบบสวัสดิการสังคม สมั มาชพี - คนในครอบครัวมีอาชีพ - ชุ ม ช น มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ที่เกื้อกูลผู้ด้อยโอกาสอย่าง สุจริตที่สามารถเล้ียงตนเอง อาชพี ในทอ้ งถิ่น เพียงพอและต่อเนือ่ ง และครอบครวั ได้ - ชุมชนมีการส่งเสริมการ - มกี ารส่งเสริมการใช้ชีวิต ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง การ อย่างพอเพียง การทา ทาการเกษตรธรรมชาติ เกษตรธรรมชาติ การทา การทาบัญชีครัวเรือน บัญชีครัวเรือนอย่างทว่ั ถงึ หมวดที่ 3 : ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ประเด็นหลกั ระดับ บุคคล ครอบครัว ระดับ ชมุ ชน ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ภ า ค ประเทศ 7 . ค น ไ ท ย มี - คนในครอบครัวมีความ - ชุมชนมีกิจกรรมส่งเสริม - มีระบบสวัสดิการ เพื่อ ค ร อ บ ค รั ว ที่ มี รักและการดูแลกันและกัน ก า ร ใ ช้ เ ว ล า ร่ ว ม กั น ใ น สนบั สนนุ ครอบครัวที่มีการ ความสุขและมีการ ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง ไม่ใช้ ครอบครวั ดแู ลเด็กและผูส้ งู อายุ ดแู ลซ่งึ กันและกันทั้ง ความรุนแรง พูดคุยและทา - ชุมชนมีกติกาควบคุม - มี ก ฎ ห ม า ย คุ้ ม ค ร อ ง ด้านร่างกายและ กิ จ ก ร ร ม ร่ ว ม กั น อ ย่ า ง ความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงในครอบครัว จิตใจ สม่าเสมอ และคุ้มครองผู้ได้รับความ แ ล ะ มี ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม - คนในครอบครัวมีการ รนุ แรง กฎหมายอย่างเคร่งครดั ดูแลเด็กและผู้สูงอายุ อย่าง - ชุมชนมีการดูแลเด็กและ - มีระบบดูแลเด็กและ ไม่ทอดท้ิง ท้ังร่างกาย และ ผู้สูงอายุ กรณที ค่ี รอบครัวไม่ ผู้สูงอายุ กรณีที่ครอบครัว จิตใจ สามารถดแู ลเองได้ ไม่สามารถดแู ลตนเองได้

หมวดท่ี 3 : ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ( ต่อ ) ประเด็นหลัก ระดบั บุคคล ครอบครัว ระดับ ชุมชน ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ภ า ค ประเทศ 8. คนไทยอยู่ในชุมชนท่ี - คนในครอบครัวมีการ - จัดทาแผนชุมชนโดย - มีการส่งเสริมการจัด มีความเข้มแข็ง และมี ชว่ ยเหลอื คนในชมุ ชน การมีส่วนร่วมของคนใน แผนชุมชนอย่างทั่วถึง การบารุงรักษาวฒั นธรรม - คนในครอบครัวมีการ ชมุ ชน และตอ่ เนื่อง ประเพณีอันดีงาม พึ่งตนเองและมีส่วนร่วม - มี อ ง ค์ ก ร ชุ ม ช น ท่ี - มีการส่งเสริมกองทุน ในการพัฒนาชุมชน เ ข้ ม แ ข็ ง มี ผู้ น า ต า ม ชมุ ชนท่ีมกี ารจดั การที่ดี - คนในครอบครัวมีการ ธรรมชาติมีศักยภาพใน - มี แ ผ น ง า น แ ล ะ ปฏิบัติและใช้ชีวิตตาม การพฒั นาและพง่ึ ตนเอง งบประมาณบารุงรักษา วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ - ชุมชนมีการระดมทุน วัฒนธรรมไทยอย่างเป็น หรือทรัพยากรเพ่ือการ รปู ธรรม พั ฒ น า ชุ ม ช น อ ย่ า ง มี - มี ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ประสทิ ธภิ าพ ยอมรับความหลากหลาย - ชุมชนมีการสืบสาน ทางวัฒนธรรม โดยยึด ประเพณีท้องถ่ินท่ียึด คุณค่าของวัฒนธรรมดั่ง เหนยี่ วคนในชุมชน เดิม 9. คนไทยอยู่ในสังคมที่มี - คนในครอบครัวรู้สึก - ชุมชนมีความสงบสุข - มีกฎ หมายและกา ร ความสุข และปลอดภัย ปลอดภัยในชีวิตและ ป ล อ ด ภั ย ป ร า ศ จ า ก บังคับใช้ที่มีประสิทธิภาพ ทรัพย์สิน อาชญากรรม และความ ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม - ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว มี รนุ แรง อาชญากรรมและความ บท บ า ท ใ นก า ร รั ก ษ า - ชมุ ชนมีกตกิ าชุมชนใน รุนแรง ความสงบสุขในชมุ ชน การควบคุมอาชญากรรม - มกี ารส่งเสริมการแก้ไข และความรนุ แรง ปญั หาโดยสนั ติวิธี

หมวดท่ี 4 : สภาพแวดลอ้ ม ประเดน็ หลกั ระดับ บุคคล ครอบครัว ระดบั ชุมชน ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ภ า ค ประเทศ 1 0 . ค น ไ ท ย อ ยู่ ใ น - อยู่ในส่ิงแวดล้อมที่ดี - มี ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ ดี - มี ก ฎ ห ม า ย ค ว บ คุ ม ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ท่ี ดี ปราศจากมลภาวะทาง ปราศจากมลภ าวะทาง ส่ิงแวดล้อมและการบังคับ และเหมาะสมต่อการ อากาศ นา้ ดิน เสียง อากาศ น้า ดิน เสียง และมี ใชท้ ไ่ี ด้ผลและตอ่ เนื่อง สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ - ได้รับอาหารที่ปลอดภัย ก ติ ก า ใ น ก า ร รั ก ษ า - มี ก า ร เ ฝู า ร ะ วั ง แ ล ะ ไร้สารพษิ ส่ิงแวดล้อมในชุมชน ควบคุมมลภาวะทางอากาศ - มีการควบคุมขยะ สิ่ง - มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัย และนา้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ปฏิกูล และดูแลรักษา ไรส้ ารพิษ - มีการส่งเสริมและติดตาม ทรพั ยากรธรรมชาติ - มีการควบคุมขยะ ส่ิง แหล่งจาหน่ายอาหารให้ - อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ ปฏิกูล และการดูแลรักษา ปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน เอื้อต่อการมีสุขภาพดี มี ทรัพยากร ธรรมชาติอย่าง - มี ก า ร ก า จั ด ข ย ะ ที่ ไ ด้ พื้นที่สาหรับกิจกรรมสร้าง เหมาะสม มาตรฐานและพอเพียง เสรมิ สขุ ภาพ - มีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อ - มีมาตรการในการดูแล - ด้ รั บ ก า ร ป ก ปู อ ง ก า ร มี สุ ข ภ า พ ดี มี พ้ื น ที่ รักษาทรัพยากรธรรมชาติ คุ้มครองให้ห่างไกลจาก สาหรับกิจกรรมสร้างเสริม อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ พื้นที่เส่ียงต่อสุขภาพ และ สขุ ภาพ - มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม พ้ื น ท่ี อบายมขุ ในรูปแบบตา่ งๆ - มีการปกปูองคุ้มครองให้ สาธารณะสาหรับการสร้าง ห่างไกลจากพื้นที่เสี่ยงต่อ เสริมสุขภาพอย่างเพียงพอ สุขภาพ และอบายมุขใน และทั่วถงึ รปู แบบต่างๆ - การควบคุมพ้ืนท่ีหรือ สถานท่ีซึ่งเส่ียงต่อสุขภาพ และสรา้ งปญั หาสงั คม 11. คนไทยได้รับส่ือที่ - ได้รับส่ือท่ีส่งเสริมการมี - มสี ื่อของทอ้ งถนิ่ ท่ีสง่ เสริม - มีสัดส่วนเวลา ช่วงเวลา เพียงพอและเหมาะสม สุขภาพดี ปลูกฝังคุณธรรม การมีสุขภาพดี ปลูกฝัง หรือ เน้ือท่ี ท่ีเหมาะสมของ สาหรับการสร้างเสริม และการใช้ชวี ติ พอเพียง คุณธรรม และการใช้ชีวิต ส่อื สาธารณะที่ส่งเสริมการมี สุขภ าพ และ ได้รั บ - ไ ด้ รั บ ก า ร ป ก ปู อ ง พอเพียง ท่ีสอดคล้องกับวิถี สุขภาพดี ปลูกฝังคุณธรรม ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง ใ ห้ คุ้มครองจากส่ือท่ีส่งเสริม ชีวติ ของชมุ ชน และการใช้ชวี ติ พอเพยี ง ห่างไกลจากสื่อที่ไม่ ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและ - มีการปกปูองคุ้มครองคน - มี ก า ร ค ว บ คุ ม สื่ อ เหมาะสม สื่อที่สร้างทัศนคติบริโภค ในชุมชนจากส่ือท่ีส่งเสริม สาธารณะท่ีเสี่ยงต่อสุขภาพ นยิ ม ปั จ จั ย เ สี่ ย ง ต่ อ สุ ข ภ า พ ส่งเสริมบริโภคนิยม และ รวมท้ังส่ือท่ีสร้างทัศนคติ สรา้ งปญั หาสังคม บรโิ ภคนยิ มและสร้างปัญหา สงั คม

หมวดท่ี 5 : ระบบบริการสขุ ภาพ ประเดน็ หลัก ร ะ ดั บ บุ ค ค ล ระดบั ชมุ ชน ระดบั จงั หวัด ภาค ประเทศ ครอบครัว 1 2 . ค น ไ ท ย มี - ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว - ชุมชนมีการจัดระบบ - มีระบบบริการและระบบการ โ อ ก า ส ใ น ก า ร สามารถใช้บริการเม่ือ สวัสดิการชุมชนเพ่ือการ คลังที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการท่ี เ ข้ า ถึ ง แ ล ะ ใ ช้ จาเปน็ โดยไม่ตอ้ งกงั วล ดู แ ล สุ ข ภ า พ ข อ ง ค น ใ น เปน็ ธรรม บรกิ ารสุขภาพโดย เร่ืองค่าใช้จ่ายของการ ชุมชน - มี ก าร จั ดบ ริ ก าร ส่ งเ ส ริ ม ป ร า ศ จ า ก บริการสุขภาพและไม่ - ชุมชนมีส่วนร่วมในการ สุขภาพ คัดกรองความเส่ียง อปุ สรรค ถูกกีดกันการใช้บริการ ส่งเสริมสุขภาพ ปูองกันโรค ปูองกันโรคพื้นฐาน ท่ีครอบคลุม และได้รับการ ทีจ่ าเป็น คัดกรองความเสี่ยง ครบถ้วนและทัว่ ถึง บริการสร้างเสริม - ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว สุ ข ภ า พ อ ย่ า ง ได้รับบริการส่งเสริม ครบถว้ นท่ัวถงึ สุขภาพปูองกันโรค คัด กร อ ง ค ว า ม เ สี่ ย ง ที่ ครบถว้ นตามวัย 13. คนไทยได้รับ - คนในครอบครัวมี - ชุมชนมีส่วนร่วมในการ - มี ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ ก า ร บริการสุขภาพที่มี ความรู้ในการเลือกใช้ จัดระบบบริการของรัฐและ ดาเนินงานเสริมสร้างความรู้ใน คุ ณ ภ า พ แ ล ะ บรกิ ารท่ีเหมาะสม ท้องถ่ิน การเลอื กใชบ้ รกิ าร สมเหตสุ มผล - ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว - ชุมชนมีส่วนร่วมในการ - มี ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ จั ด ส ร ร ด้ ว ย ได้รับการคุ้มครองจาก ตรวจสอบและคุ้มครองคน ทรัพยากรสุขภาพท่ีเพียงพอและ ท รั พ ย า ก ร ที่ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ที่ ไ ม่ ในชุมชนจากบริการท่ีไม่ ทว่ั ถึง เ พี ย ง พ อ แ ล ะ จ า เ ป็ น แ ล ะ อ า จ จ ะ จาเป็นและอาจจะกระทบ - มีระบบรักษาพยาบาลและส่ง เหมาะสม กระทบตอ่ สุขภาพ ตอ่ สุขภาพ ตอ่ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ - มีระ บบพัฒ นาคุณ ภ าพ ที่ ตอ่ เนือ่ งและมปี ระสิทธิภาพ - มรี ะบบควบคุมการให้บริการ ท่ีไม่จาเป็นและอาจจะกระทบ ต่อสุขภาพ 1 4 . ค น ไ ท ย มี ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว มี - ชุ ม ช น มี บ ท บ า ท แ ล ะ - มีงบประมาณด้านการส่งเสริม บ ท บ า ท ใ น ก า ร บทบาทในการส่งเสริม กิจกรรมในการส่งเสริม สุขภาพที่เพียงพอและจัดสรร สร้างเสริมสุขภาพ สุขภาพของตนเองและ สขุ ภาพของคนในชมุ ชน ไปสู่พื้นที่อยา่ งเหมาะสม ข อ ง ต น เ อ ง ครอบครัว - ชุ ม ช น มี ก า ร ร ะ ด ม - มีแผนงานและการดาเนินงาน ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ทรัพยากรเพ่ือการส่งเสริม กระจายบทบาทในการส่งเสริม ชุมชน สุขภาพในชุมชน สขุ ภาพสู่ทอ้ งถน่ิ

สรปุ สุขภาพคือวิถีแห่งชีวิต สุขภาพเป็นเสมือนหนึ่งวิถีทางหรือหนทางซ่ึงจะนาบุคคลไปสู่ความสุข และความสาเร็จต่างๆ นานาได้ ลักษณะของสุขภาพดี โดยภาพรวม คือ ร่างกายมีการพัฒนาสมวัย ร่างกาย สามารถปฏิบตั ิภารกจิ ไดอ้ ย่างปกติ ตอบสนองตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มได้เหมาะสม สามารถปรับตัวให้สมดุลได้ มีกลไก ปอู งกันอนั ตรายอย่างเหมาะสมจากมุมมองตา่ งๆ ท่นี าเสนอ สขุ ภาพ คือ ความสุขกายสบายใจ มีชีวิตชีวา และ มีคุณค่า จะต้องครอบคลุมสิ่งที่สาคัญ 4 ประการคือภาวะทั่วไปของร่างกายและจิตใจจะต้องแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาวะทางจิตวิญญาณ จะต้องปราศจากโรคหรือความทุพพลภาพ จะต้องเป็นผู้ท่ีสามารถดารง ตนและปฏิบตั ภิ ารกิจต่างๆ ในสังคมได้เป็นปกตสิ ุข ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ ประกอบด้วยปัจจัยด้านตัวบุคคล ได้แก่ พันธุกรรม พฤติกรรม ดารงชีวิต ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก และปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพ \"สุขภาพ\" ในปัจจุบัน มี องค์ประกอบ 4 ส่วน ด้วยกันคือ สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคมและสุขภาพจิตวิญญาณ ในมิติ ทางด้านสุขภาพ ขององค์ประกอบสุขภาพทั้ง 4 ด้านนั้น แต่ละด้านมี 4 มิติ คือ การส่งเสริมสุขภาพ การ ปอู งกันโรค การรกั ษาโรค และการฟืน้ ฟูสภาพ การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน เป็นแนวทางสาคัญในการสร้าง สุขภาพตามแนวทางการสาธารณสุขแนวใหม่ที่ให้ความสาคัญ ต่อ “การสร้างสุขภาพ นาการซ่อม สุขภาพ” การสรา้ งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมการสร้างเสริมสุขภาพท้ังทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิตวิญาณ และยังหมายรวมถึงสิ่งแวดล้อมและนโยบายสาธารณะท่ีเก่ียวข้อง การพัฒนาศักยภาพของ บุคคล เสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง การจัดปรับระบบบริการสุขภาพที่เอ้ือต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และกระจายให้สามารถเข้าถึงได้ ตลอดจนการจดั ส่ิงแวดลอ้ มที่เอ้อื ตอ่ การสร้างเสริมสุขภาพ กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม อาทิ อาหารและโภชนาการสร้างสุขภาพ การ ผอ่ นคลายความเครียด การดูแลด้านจิตใจและการเรียนรู้วิธีสร้างสมาธิ การหลีกเล่ียงส่ิงแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อ สุขภาพ การพักผ่อนที่เพียงพอ การออกกาลังกายท่ีเหมาะสมกับวัย เพศ และสภาพร่างกาย การปูองกัน โรค การคัดกรองโรค และการค้นหาโอกาสเสี่ยง อาทิ การคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง เต้านมและมะเร็งปากมดลูก .การแบ่งปันความรัก และสร้างสัมพันธภาพระหว่างคนรอบข้าง รวมทั้ง ตนเอง การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ การสร้างสัมพันธภาพทางจิตวิญญาณและการดูแล รวมทั้งการ พฒั นาปญั ญา การประเมินภาวะสุขภาพตามดัชนีในระดับจังหวัด-ภาค-ประเทศ ระดับชุมชน ระดับครอบครัว และบุคคล ใน 5 หมวด คือ หมวดท่ี 1 : สุขภาพร่างกาย จิตใจพฤติกรรมสุขภาพ หมวดที่ 3 : ครอบครวั ชมุ ชน สังคม หมวดท่ี 4 : สภาพแวดลอ้ ม และ หมวดท่ี 5 : ระบบบริการสุขภาพ กจิ กรรม 1.วิเคราะห์บอกลักษณะของผ้ทู ่ีมสี ขุ ภาพดี 2.อภิปรายถงึ ปัจจยั ทีมอี ทิ ธพิ ลตอ่ สุขภาพ 3.องค์ประกอบของการดูแลสุขภาพองคร์ วม

ใบความรู้ ๑ ความหมายของ “สุขภาพ” องค์การอนามยั โลก ไดใ้ ห้ความหมายของคาว่า “สุขภาพ” ไว้ว่า สุขภาพ หมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณ์ ของรา่ งกาย จิตใจ และสังคม มใิ ช่เพยี งแตป่ ราศจากโรคและความพกิ ารเท่านน้ั พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๐ มาตรา ๓ กาหนดไวว้ ่า “สขุ ภาพ” หมายความวา่ ภาวะของมนษุ ยท์ ่สี มบูรณ์ ท้ังทางกาย ทางจิต ทาง ปญั ญา และทางสังคม เชอื่ มโยงกันเปน็ องคร์ วมอยา่ งสมดลุ ใบความรู้ ๒ ความหมายของ “สุขภาพกาย สุขภาพจิต สขุ ภาพปัญญาและ สขุ ภาพสังคม” สุขภาพกาย หมายถึง สภาพที่ดีของร่างกาย กล่าวคือ อวัยวะต่างๆอยู่ในสภาพท่ีดีมีความแข็งแรง สมบูรณ์ ทางานได้ตามปกติ และมีความสัมพันธ์กับทุกส่วนเป็นอย่างดี และก่อให้เกิดประสิทธิภาพท่ีดีในการ ทางาน สุขภาพจิตใจ หรือ สุขภาพจิต หมายถึง สภาพของจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มีจิตใจเบิก บานแจม่ ใส มใิ หเ้ กิดความคบั ขอ้ งใจหรอื ขัดแย้งในจติ ใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและส่ิงแวดล้อมได้อย่างมี ความสุข สุขภาพปญั ญา หมายถึง สภาวะท่ีดีของปัญญาที่มีความรู้ทั่ว รู้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกได้ใน เหตุผลแหง่ ความดีความชว่ั ความมปี ระโยชนแ์ ละความมีโทษ ซงึ่ นาไปสู่ความมีจติ อนั ดีงามและเออื้ เฟือ้ เผ่ือแผ่ สุขภาพสงั คม หมายถงึ บคุ คลทม่ี ีสภาวะทางกายและจิตใจทสี่ ขุ สมบรู ณ์ สามารถปฏิสมั พนั ธแ์ ละปรับตวั ใหอ้ ยูใ่ นสังคมไดเ้ ป็นอยา่ งดแี ละมคี วามสขุ

การดูแลสขุ ภาพแบบองคร์ วม การดูแลสขุ ภาพแบบองคร์ วมนน้ั ให้ความสาคญั กับการมีสุขภาพดีแบบภาพรวมท้ังชีวติ ของมนุษย์ โดยไมไ่ ด้ เน้นที่การเจ็บปุวยเฉพาะสว่ นใดส่วนหนึง่ ของร่างกาย แต่ให้ความสาคญั กับความสัมพนั ธท์ ่ีเชื่อมโยงกนั ท้ังร่าย กาย จิตใจ สงั คม และปญั ญาหรอื จติ วญิ ญาณ ซ่งึ องคป์ ระกอบท้ังหมดนนั้ จะตอ้ งสานสัมพันธแ์ ละพง่ึ พาอาศัย กันอย่างมีดุลยภาพ องค์ประกอบของสขุ ภาพองคร์ วม 1. มติ ิทางกาย ซึ่งเป็นมิติของสุขภาพที่เกย่ี วข้องกบั สภาพโดยทว่ั ไปทางกายของมนุษย์ ท้งั ภายใน ภายนอก และรวมถงึ สภาพแวดล้อมรอบตวั ด้วย ท้งั นี้มิติทางกายจะยดึ เอาความแข็งแรงสมบรู ณ์ของรา่ งกาย ไม่เจ็บ ไม่ไข้ ไรซ้ ่งึ โรคภัยเปน็ สาคญั โดยมอี าหารท่ถี กู หลักโภชนาการ สมรรถนะทางกาย ภาวะทางเศรษฐกจิ ที่ เพียงพอต่อการดารงชีวิต เป็นปจั จยั ทีจ่ ะส่งผลต่อสภาวะสุขภาพดังกล่าวได้ 2. มิตทิ างจติ ซ่ึงเปน็ มติ ิของสขุ ภาพท่ีเกีย่ วข้องกบั สภาวะทางจติ ใจหรืออารมณ์ที่มผี ลกับสขุ ภาพ โดยรวมของมนุษย์ ไมว่ ่าจะเปน็ ภาวะอารมณ์ที่แจ่มใสรา่ เริง ผอ่ นคลายไมต่ งึ เครยี ด รู้สึกมีความสขุ และปลอด โปรง่ โดยท่ีมีหลักการจัดการกบั สภาวะความเครยี ดไม่ให้เกิดวกิ ฤตทางอารมณ์เกิดขึน้ เป็นปจั จัยสง่ ผลตอ่ สภาวะสุขภาพจติ ที่ดีได้ 3. มิติทางสงั คม ซงึ่ เป็นมติ ิของสุขภาพที่เก่ียวข้องกับสภาวะโดยทว่ั ไปทางสงั คมที่มผี ลกับสุขภาพ โดยรวมของมนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นสภาพสงั คมท่ีมคี วามผาสุกทั้งระดับครอบครัว สงั คมและชมุ ชน โดยที่แต่ละ ระดบั มีความสมั พนั ธ์อนั ดตี ่อกนั สมาชกิ ในสงั คมนั้นๆ มคี วามเอ้อื อาทรตอ่ กนั จัดระบบบริการจากภาครฐั ที่มี ความเสมอภาคกัน ส่งิ เหล่านี้จัดไดว้ า่ เปน็ ปจั จัยที่สาคัญมากทจ่ี ะสง่ ผลต่อสภาวะสุขภาพทางสงั คมท่ีดไี ด้

4. มติ ิทางปัญญาหรอื ทางจิตวิญญาณ ซ่งึ เปน็ มิติของสุขภาพทีเ่ กี่ยวกบั การมคี วามรู้ เฉลียวฉลาด รู้เทา่ ทนั สง่ิ ต่างๆ ที่จะเปลยี่ นแปลงไป ท้งั ทางกาย จิตใจ และสงั คม ทาใหเ้ กิดแรงศรัทธาตอ่ ตนเองและมี ความหวงั ต่อความสาเรจ็ ท่ีจะทาใหต้ นเองมคี วามผาสุกดว้ ยสัมมาชีพและเปน็ ปัจจยั ส่งผลต่อสภาวะสุขภาพ โดยรวมของมนุษยอ์ ยา่ งสมบูรณ์ แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการปฏิบัติเพ่ือให้เกิดสุขภาพกายแข็งแรง เจริญเติบโต ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ และสามารถดารงชวี ติ อย่ใู นสังคมได้อย่างปกติสุข การสง่ เสริมสุขภาพหรือการสร้างเสริมสขุ ภาพ เป็นกระบวนการทม่ี ีลกั ษณะดังนี้ 1. เน้นกิจกรรมพลายลักษณะที่มุงสร้างสมรรถนะของการสร้างสุขภาพดีควบคุมปัจจัยเสี่ยง และเป็น กระบวนการทมี่ ุ่งดาเนนิ การกันทั้งบคุ คลและสงั คม 2. เน้นกระบวนการส่งเสริมให้ประชาชนเพิ่มสมรรถนะในการควบคุมดูแลและพัฒนาสุขภาพของตนเอง หลักการส่งเสริมสุขภาพการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ อย่ายึดติดกับความสะดวกสบายมากเกินไป พักผ่อนใหเ้ พียงพอและฝึกการปฏิบัติทางจติ เพื่อลดความตึงเครยี ด เปน็ ตน้ วิธกี ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของตนเองสามรถปฏบิ ัติได้ดังน้ี 1. รบั ประทานอาหารทม่ี ีคุณคา่ ทาสงโภชนาการหลากหลายไมซ่ า้ ซาก โดยเฉพาะผักผลไม้ควรมีทุกม้อื 2. ออกกาลังสม่าเสมอ ทาจิตใจให้เบิกบาน จะช่วยคลายความเครียดและปูองกันภาวะเสี่ยงเกิดโรค เกย่ี วกบั ขอ้ ตอ่ กระดูก และโรคหัวใจ รวมทั้งระบบการไหลเวียนของโลหิต 3. ทาสมาธิ เลน่ โยคะ หรือการนวดเพอื่ สขุ ภาพเพอ่ื ผ่อนคลายความเครยี ด 4. ละเว้นสารเสพตดิ ทกุ ชนดิ ท่ีจะบ่นั ทอนสขุ ภาพ 5. หลีกเลี่ยงความเสย่ี งท่ีจะก่อให้เกิดอบุ ัติเหตุ 6. ตรวจสุขภาพประจาปี ซง่ึ เปน็ การดแู ลและส่งเสริมสขุ ภาพท่ดี มี าก วธิ ีการลดความเสย่ี งทางสขุ ภาพ ซึง่ สามารถทาไดด้ ังน้ี 1. ผทู้ อ่ี ยู่ในภาวะเสย่ี งต่อการตโิ รคควรฉีดวคั ซนี ปอู งกนั โรค 2. รกั ษาความสะอาดของใชต้ ่างๆ 3. ไม่คุลกคลีกบั ผปู้ วุ ย 4. ไมร่ บั ประทานอาหารสุกๆดิบ 5. ออกกาลังสม่าเสมอ 6. ล้างมอื ให้สะอาดก่อนรบั ประทานอาหาร หลงั จากถา่ ยอจุ จาระ 7. ตดิ ตามขอ้ มลู ข่าวสารเกี่ยวสขุ ภาพ 8. ไม่ใช้สิ่งของร่วมกบั ผปู้ ุวย 9. ทาลายเช้ือโรคให้ถูกวิธี กาจดั แหลง่ เพาะพนั ธเุ์ ชือ้ โรค 10.การควบคุมสุขาภบิ าล อาหาร นา้ ด่ืม และน้านม 11.จัดสิง่ แวดล้อมให้ถูกสุขลกั ษณะ 12.ให้ความรูอ้ ุบัติเหตุและการปอู งกนั

การประเมินสุขภาพสว่ นบคุ คลของตนเอง การประเมินสุขภาพส่วนบุคคลของตนเองจะเป็นแนวทางในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้มีสุขภาพดีท่ี ยัง่ ยนื ตลอดไป การประเมนิ สขุ ภาพส่วนบุคคลประกอบดว้ ยรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ความสะอาดส่วนบคุ คล 2. การกินอาหารทมี่ ีประโยชน์ 3. การพักผ่อนใหเ้ พียงพอ 4. การวางทา่ ทางท่ีถูกต้อง 5. การออกกาลงั กายพอสมควร 6. การรจู้ กั รกั ษาความสะอาดของบา้ นเรือนของตน 7. การทาจิตใจให้ผอ่ งใส 8. การรจู้ ักปูองกนั อุบตั เิ หตุ 9. การควบคมุ และหาทางปูองกนั โรคติดตอ่ 10.การตรวจสุขภาพร่างกายอยา่ งสมา่ เสมอ 11.การสวมเส้ือผา้ และใช้ของใชท้ ี่สะอาด และจดั เกบ็ ใหเ้ ป็นระเบียบ 12.การมีความรเู้ กี่ยวกบั การทจ่ี ะรักษาสุขภาพพลานามยั ใหแ้ ข็งแรง ประโยชนข์ องการสง่ เสรมิ สุขภาพ 1. มีสุขภาพดีท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ทาให้ดารงชีวิตอยู่ร่วมกับคนอ่ืนในสังคมได้ อย่างปกตสิ ขุ 2. โอกาสเกิดโรค การเจบ็ ปวุ ย และความผิดปกติต่างๆมนี ้อยมาก 3. ไมเ่ สียเวลาในการเรียน เน่อื งจากไม่เจ็บปุวย 4. ไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการรักษาอาการเจ็บปุวยตา่ งๆ 5. มพี ฒั นาการทางดา้ นร่างกายเป็นไปตามปกติ แนวทางการสร้างเสรมิ และพฒั นาสุขภาพของชุมชน การสร้างเสริมสุขภาพชุมชนของบคุ คลในชุมชนตอ้ งได้รับความร่วมมือจากทุกคนในชุมชน เพ่ือนาไปสู่ การมีสุขภาพและคุณภาพท่ดี ีของคนในชุมชน และสงั คมโดยส่วนรวม รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ได้กาหนดให้คนไทยทุกคนได้รับโอกาสและมีความเสมอภาคเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการด้าน สุขภาพ และได้รับบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐานเดียวกัน โดยไม่คานึงถึงเศรษฐกิจและสังคม กระทรวง สาธารณสุขได้ดาเนินการรณรงค์การสร้างสุขภาพภายใต้กลยุทธ์ “รวมพลังสร้างสุขภาพ” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ทุกกลุ่มทุกวัยมีความรู้และทักษะด้านสุขภาพ โดยมุ่งเน้นให้ศูนย์สุขภาพชุมชนและ สถานีอนามัยเป็นหน่วยบริการสุขภาพหลัก ในการดาเนินงานประสานและเชื่อมโยงกับองค์กรภาคี เครือข่าย สขุ ภาพชมุ ชนทงั้ สว่ นกลางและส่วนภูมิภาค มีบทบาทสาคัญในการผลักดันให้นโยบาย ดังกล่าวสัมฤทธิผลและ บรรลเุ ปาู หมาย การดาเนินงานสร้างเสริมและพัฒนาสุขภาพของชุมชนของกระทรวงสาธารณสุขที่กาหนดไว้อย่างเป็น รปู ธรรม ได้แก่ ๑.ส่งเสริมให้ประชาชนรวมกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในรูปของชมรมด้านสุขภาพครอบคลุมทุกชุมชน และหมู่บา้ นโดยยดึ แนวคิด “ใช้พื้นฐานบูรณาการทกุ ภาคสว่ น สร้างกระบวนการเรยี นรสู้ วู่ ถิ ชี ุมชน” อันจะทาให้เกดิ การสร้างสุขภาพทีย่ ่งั ยืนและถาวร ซงึ่ เนน้ กิจกรรมสรา้ งสุขภาพตาม นโยบาย ๖ อ นโยบาย ๖ อ มีดังน้ี

๑. สง่ เสริมใหค้ นไทยทกุ กล่มุ อายุ ออกกาลงั กาย วนั ละ ๓o นาที อย่างนอ้ ย ๓ วันต่อสปั ดาหอ์ ย่างสม่าเสมอ ๒. สง่ เสริมให้คนไทยเลอื กซ้ือและบรโิ ภค อาหาร ที่สะอาดมคี ุณคา่ และปลอดสารปนเปื้อน ๓. ส่งเสริมให้คนไทยสร้าง อนามัย สิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อความสะอาดปลอดภัยของท่ีอยู่อาศัยและพัฒนา ส่ิงแวดลอ้ มให้เอื้อตอ่ สุขภาพ ๔. ส่งเสริมใหค้ นไทยมี อารมณ์ ทดี่ ี และร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในชมรมต่างๆ เช่น ชมรมสร้างสุขภาพของวัยทางาน เพ่อื การมสี ขุ ภาพจติ ทดี่ แี ละแจ่มใส ๕. ส่งเสริมให้คนไทยปลอดโรค อโรคยา โดยเฉพาะโรคท่ีทาให้คนไทยเสียชีวิตในลาดับแรกๆคือ มะเร็ง หัวใจ เบาหวาน ๖. ส่งเสริมใหค้ นไทยลด ละ เลกิ อบายมขุ เพอื่ ลดปัญหาสุขภาพท่ีเกิดจาก บุหรี่ สุรา สารเสพติดและการพนัน ในชุมชน ๒. บทบาทของการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมและพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน คือ การร่วม กิจกรรมทีเ่ ออื้ อานวยใหผ้ ู้คนในชมุ ชนมีการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ขี นึ้ เช่น ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มทูบีนัมเบอร์ วัน ชมรมแอโรบิก กลุ่มประชาคม ชมรมสรา้ งสุขภาพ กล่มุ กีฬา ๓. ชมรมสร้างสุขภาพ (Health Promotion Club) หมายถึง กลุ่มบุคคลท่ีมีความสนใจในกิจกรรม เหมือนๆกัน ซึ่งเป็นชมรมหรือกลุ่มที่มีอยู่แล้วในชุมชน หรือมารวมกลุ่มกันใหม่ แล้วสมัครเป็นเครือข่ายชมรม สรา้ งสุขภาพกบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของกระทรวงสาธารณสุข มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรูด้ า้ นสขุ ภาพ ๔. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาส่ิงแวดล้อมชุมชน ดังน้ันคนในชุมชนจึงควรมีส่วนร่วมในการช่วยลด ปัญหาภาวะโลกร้อน ดงั นี้ - รณรงคใ์ ห้คนในชุมชนลดการใช้พลังงานในบ้าน - ใช้หลอดไฟแบบประหยัด เชน่ หลอดตะเกียบ หลอดผอม - การขจี่ กั รยาน หรอื ใชว้ ธิ ีเดินเม่ือไปทาธุระใกล้บ้าน - จดั สิง่ แวดล้อมในบา้ นให้น่าอยู่ - ใชผ้ ลิตภณั ฑ์ทีม่ ีสว่ นช่วยในการดแู ลสิง่ แวดลอ้ ม - ใช้นา้ อยา่ งประหยดั และคุ้มคา่ - ปลกู ตน้ ไมใ่ นบริเวณบ้าน - ลดปริมาณการใช้ถงุ พลาสตกิ - สนบั สนนุ สนิ คา้ และผลติ ภณั ฑเ์ กษตรในทอ้ งถนิ่ - จดั ตั้งชมรมหรอื จัดตง้ั กิจกรรมรณรงค์สง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน

.การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพตนเองทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และจิตวิญญาณ การที่นักเรียนจะสามารถสร้างศักยภาพของตนในการจัดการกับปัญหาทางอารมณ์และความเครียดน้ัน ควรจะพิจารณาวธิ ีการสรา้ งศกั ยภาพของตนเองต่อไปน้ี 1.) การสรา้ งเสริมสขุ ภาพตนเองทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ โดยมีวิธีการ ดาเนินชีวติ ที่ส่งเสริมสุขภาพ (Healthy lifestyles) เพื่อให้มีสุขภาพดีและคงอยู่ ซ่ึงสามารถต้านทานกับปัญหา ทางอารมณ์และความเครยี ดได้ โดยปฏิบัตพิ ฤตกิ รรมดงั ต่อไปน้ี 1. การรบั ประทานอาหารใหถ้ ูกหลักโภชนาการหรือโภชนบญั ญัติ 2. การเปลย่ี นแปลงนิสัยที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เช่น การใช้ยานอนหลับ การดื่มกาแฟ การ ใช้สารเสพตดิ 3. ออกกาลังกายอยา่ งถกู วธิ ีและสมา่ เสมอ จะชว่ ยให้ร่างกายสดช่นื โลหติ ไหลเวียนสะดวก 4. การพกั ผอ่ นและนอนหลับใหเ้ พยี งพอกบั ความต้องการของรา่ งกาย 5. อยู่ในสถานท่ที ีอ่ ากาศบรสิ ทุ ธ์ิ โดยหลีกเล่ยี งมลพษิ หรอื หาโอกาสเดินทางไปต่างจงั หวัด 6. การขับถ่าย ต้องฝึกให้ขับถ่ายเป็นประจาสม่าเสมอ เพ่ือขจัดของเสียมิให้ตกค้างในร่างกาย เป็นเวลานาน 7. สภาพแวดล้อม จัดสร้างสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่ถูกสุขลักษณะ สร้างบรรยากาศท่ีดีทั้งใน บ้าน โรงเรยี น และชมุ ชน 8. อารมณ์ ฝกึ การผอ่ นคลายจติ ด้วยวธิ ตี ่างๆ เช่น สมาธิ โยคะ ฝึกหายใจ เป็นต้น สร้างอารมณ์ ขัน เช่น อ่านหนังสือขาขัน ดูการแสดงหรือฟังเทปตลก ดูรายการบันเทิงทางโทรทัศน์ หาโอกาสเข้าใกล้ผู้มี อารมณข์ ัน เป็นต้น ความรู้สกึ ที่ดหี รอื การหัวเราะจะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายหล่ังฮอร์โมนเอ็นโดฟิน (สารแห่งความสุข) ออกมา ฮอร์โมนจากความเครียดจะลดลง จานวนเม็ดเลือดขาวจะเพ่ิมข้ึน ทาให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายมี ประสิทธิภาพในการปูองกนั โรคได้ดขี ึน้ 9. สร้างและพฒั นาความอดทนและความต้านทานให้กับร่างกายเพ่ือ จะได้ต่อสู้กับความเครียด ได้ โดยอาศยั สภาพของร่างกาย 10. เรียนรู้ท่ีจะผ่อนคลายและวิธีที่จะทาให้มีความรู้สึกที่ดีขึ้น อาจทาโดยการนวดเพ่ือผ่อน คลาย

2.) รู้จักตนเอง เพ่ือจะได้สามารถสร้างแผนการบริหารจัดการทางอารมณ์และความเครียดของ ตนได้ การรู้จักตนจะได้จากการประเมินข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง (Self-assessment) เช่น ความสามารถ ความ ถนัด ทักษะการติดต่อสื่อสาร ฯลฯ และสามารถวิจารณ์ตนเองได้ ความสามารถในการรู้จักตนเองน้ีจะช่วยให้ คลายความไม่สบายใจหรอื ความเครียดบางอย่างได้ 3.) มีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น สัมพันธภาพท่ีดีกับบุคคลอ่ืนจะปูองกันการเกิดปัญหาทาง อารมณ์และความเครียดได้ โดยมีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในด้านการพูด การฟัง การเขียน การแสดงออก ทางกาย และสามารถแสดงออกตามท่ีตนต้องการ และปูองกันสิทธิส่วนบุคคล (Assertiveness) ได้ ปัญหาทาง อารมณแ์ ละความเครียดบางครั้งเกิดจากการไมก่ ล้าพดู หรือแสดงออกเพื่อรักษาสิทธขิ องตนได้ 4.) การพัฒนาทกั ษะชวี ิต เปน็ ทักษะความสามารถในการหลกี เลี่ยงความเครียดหรือปูองกันส่ิงที่ เปน็ บอ่ เกดิ ของความเครยี ด อาจกลา่ วอกี นัยหน่ึงได้วา่ เป็นการหริหารจัดการสิง่ แวดลอ้ มของชีวิตให้มีลักษณะท่ี ไม่ก่อให้เกิดความเครียด โดยการวางแผนตั้งเปูาหมายในชีวิต การบริหารเวลาและทักษะการแก้ปัญหา ทักษะ เหล่านี้จะช่วยปูองกันปัญหาทางอารมณ์และความเครียดได้ดี เพราะล้วนเป็นสาเหตุของการเกิดความเครียด หากบุคคลไม่สามารถบริหารส่งิ ดงั กลา่ วไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5.) การปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพของตนเอง จากการศึกษาวิจัยพบว่าบุคลิกภาพของตนเองบุคคลมี ความสัมพันธ์กับความเครียด และทาให้เกิดโรคท่ีสัมพันธ์กับความเครียด หากนักเรียนได้เรียนรู้ลักษณะ บางอย่าง และวิเคราะห์ตนเองว่ามีบุคลิกภาพลักษณะใด ก็จะสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือสร้าง บุคลิกภาพลักษณะที่ดีนั้น เพ่ือหลีกเล่ียงจากความเครียดได้ ลักษณะของบุคลิกภาพ มีดังน้ี ได้มีการแบ่ง ออกเป็น 2 ชนิด คือ บุคลิกภาพชนิด ก (Type A) และบุคลิกภาพชนิด ข (Type B) ซึ่งมีบุคลิกภาพที่แตกต่าง กันอย่างเห็นได้ชัด และบุคลิกภาพชนิด ก. จะเป็นบุคลิกลักษณะท่ีนาไปสู่การมีความเครียดได้ ซึ่งจะแตกต่าง จากบคุ ลิกภาพชนดิ ข. กลา่ วคอื ผู้ที่มบี ุคลกิ ภาพชนิด ข. จะปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยปราศจากความเครียด มี ชวี ิตทม่ี คี วามสุข รจู้ กั ผอ่ นคลาย ทางานโดยมีการวางแผน เปน็ ต้น ดังรายละเอียดดังต่อไปน้ี

บคุ ลิกภาพ Type A : มบี คุ ลิกลกั ษณะดังน้ี 1. ชีวติ เตม็ ไปดว้ ยการแขง่ ขนั อยูต่ ลอดเวลา 2. มเี รือ่ งหรอื งานเร่งด่วนทีต่ ้องแข่งกับเวลาเป็นประจา 3. พยายามท่จี ะทางานให้มากขน้ึ และเรว็ ข้ึน 4. แสดงกิริยาที่ไม่เป็นมิตรกับบุคคลอื่น และตามใจตนเอง ดดยเฉพาะกับบุคคลที่หยุดย้ังการทางาน ของตนให้ช้าลง 5. รู้สึกว่าตนเองไม่สามารถผ่อนคลาย และทาตัวเองให้มีความสุขในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ ช่วง พกั ผอ่ นหรือมีเวลาว่าง 6. พูดเรว็ 7. ไมส่ ามารถเผชญิ และแก้ปัญหาอนั เปน็ สาเหตุของความเครยี ดได้ 8. มีความรู้สึกว่าตนเองไม่มีความปลอดภัย ถ้าไม่สามารถท่ีจะบังคับ ควบคุมบุคคลหรือสิ่งแวดล้อมที่ เขา้ มาเกย่ี วขอ้ งกบั ชีวิตของตน บคุ ลกิ ภาพ Type B : มีบคุ ลิกลักษณะดังนี้ 1. ผ่อนคลายและไม่มีความกดดัน 2. เรยี นรูท้ จ่ี ะมีชีวิตอยูอ่ ย่างเป็นสุข 3. มีความสุขทจี่ ะอยกู่ ับเพ่ือนฝงู และครอบครัว 4. ใหเ้ วลาตนเองทจ่ี ะพัฒนาตนใหเ้ ปน็ “คน” ทสี่ มบูรณ์ 5. มคี วามต้องการหรอื พยายามทจ่ี ะประสบความสาเรจ็ โดยปราศจากความเรง่ ดว่ น

บทที่ ๓ สรุปผลการดาเนนิ งาน ขั้นตอนการดาเนินงานในการจัดกิจกรรม โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของ ประชาชนในชุมชน จานวน ๖ ชั่วโมง เป้าหมาย จานวน ๒๑ คน จดั ได้ ๒๔ คน วันท่ี ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓ ณ กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา มดี ังน้ี ๑. ข้ันวางแผน (Plan) ๑.๑ สารวจความต้องการ วิเคราะหค์ วามต้องการ ของกลุม่ เป้าหมาย ๑.๒ ประชมุ ชี้แจงผูเ้ ก่ยี วขอ้ งและแต่งตั้งคณะ ดาเนินงาน ๑.๓ จัดทาหลกั สตู ร/ อนุมตั หิ ลักสตู ร ๑.๔ ประสานเครอื ข่าย ๒. ขั้นดาเนินการ (Do) ดาเนินการจัดกิจกรรม ๒.๑ จดั ฝึกอบรม โครงการส่งเสรมิ ดูแลสุขภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชุมชน จานวน ๖ ชวั่ โมง 1. อบรมใหค้ วามรูเ้ ร่ืองการส่งเสริมดแู ลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชมุ ชน 2. จดั กระบวนการเรียนรเู้ รื่อง - การดแู ลสขุ ภาวะอนามยั ของแม่และเดก็ - การดแู ลสุขภาวะอนามยั สาหรบั ผ้สู งู อายุ - การดูแลและปูองกันโรคไม่ติดต่อ 3. เสวนาสรปุ วธิ ีการนาความรู้เรือ่ งการสง่ เสรมิ ดแู ลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชนมา ปรบั ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน - เรอื่ งสง่ เสริมการฝึกอาชีพเสรมิ - เรอื่ งการบริหารจัดการขยะในชมุ ชน ๓. ขั้นตรวจสอบ (Check) ๓.๑ ประเมนิ ความพึงพอใจ (แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ)์ ๓.๒ การนเิ ทศติดตามผล ๔. ขั้นปรบั ปรงุ แก้ไข (Action) ๔.๑ นาผลการนเิ ทศมาปรบั ปรุงพฒั นา

ขอ้ มูลผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมดแู ลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชมุ ชน เป้าหมายผู้เขา้ ร่วมโครงการจานวนทงั้ หมด ๒๑ คน จัดได้ ๒๔ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๙ คน คดิ เป็นร้อยละ ๓๗.๕๐ เพศหญงิ จานวน ๑๕ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๖๒.๕๐ รวม จานวน ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ ๒. อายุ คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายุเฉล่ยี ตง้ั แต่ ต่ากว่า ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๗.๕๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๙ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐๘.๓๔ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๘๓ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓๓ และอายุ ๖๐ ปขี ้ึนไป จานวน ๘ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๒๔ คน ๓. ระดับการศกึ ษา จานวน ๗ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๙.๑๘ ต่ากวา่ ประถมศกึ ษา จานวน ๔ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๖.๖๖ ประถมศกึ ษา จานวน ๙ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๗.๕๐ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน ๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๖.๖๖ มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ อนุปริญญา/ปว.ส. จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ ปรญิ ญาตรี จานวน ๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ สูงกว่าปรญิ ญาตรี จานวน ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม ๔. ผ้เู ข้ารว่ มโครงการฯ โดยเฉลย่ี ประกอบอาชพี รับราชการ จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๐ คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๕๐ รบั จ้าง จานวน ๑๕ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๐๘.๓๔ เกษตรกร จานวน ๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๙.๑๖ คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ ค้าขาย จานวน ๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ พ่อบา้ น/แมบ่ า้ น จานวน ๗ คน อาชีพอ่นื ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๒๔ คน

ผลการดาเนินงาน ๑. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ท่ีต้ังเป้าหมายไว้ จานวน ๒๑ คน จัดได้ ๒๔ คน ประกอบอาชีพ ตามกลมุ่ เปา้ หมาย ๒๔ คน ๒. วิทยากรใหค้ วามรู้ โดยวิธกี ารบรรยาย วธิ กี ารสาธิต และวิธีการฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากท่ีสุด (ตามเอกสารบทที่ ๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจและสรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ) ปญั หาและอุปสรรคในการปฏิบัตงิ าน - ขอ้ เสนอแนะ -

บทท่ี ๔ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ หลักสูตร/โครงการสง่ เสริมดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน จานวน ๖ ชว่ั โมง วนั ท่ี ๒๒ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 256๓ สถานที่จดั กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ขอ้ มูลพน้ื ฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ คาชแ้ี จง แบบประเมนิ ความพึงพอใจ มี ๒ ตอน ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลท่ัวไป คาชแี้ จง โปรดใส่เคร่ืองหมาย  ลงในช่อง  ทีต่ รงกบั ข้อมลู ของทา่ นเพียงช่องเดียว เพศ  ชาย  หญงิ อายุ  ต่ากว่า ๑๕ ปี  ๑๕-๒๙ ปี  ๓๐-๓๙ ปี  ๔๐-๔๙ ปี  ๕๐-๕๙ ปี  ๖๐ ปีข้ึนไป ระดบั การศึกษา  ตา่ กว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา  มัธยมศึกษาตอนตน้  มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย  อนุปรญิ ญา/ปว.ส.  ปรญิ ญาตรี  สงู กวา่ ปริญญาตรี  อืน่ ๆ โปรดระบุ............................................................................................. ประกอบอาชีพ  ผนู้ าทอ้ งถ่นิ  อบต./เทศบาล  พนักงานรัฐวิสาหกจิ  ทหารกองประจาการ  เกษตรกร  รบั ราชการ  ค้าขาย  รบั จ้าง  อสม.  แรงงานต่างด้าว  พอ่ บ้าน/แมบ่ ้าน  อืน่ ๆ โปรดระบุ..........................

ตอนที่ ๒ ด้านกระบวนการจดั กิจกรรมและความพึงพอใจของผูเ้ รียน/ผูร้ ับบริการ คาชีแ้ จง โปรดใส่เครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ ง  ท่ตี รงกับความคิดเหน็ ของทา่ นเพียงชอ่ งเดียว ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา มาก ปาน นอ้ ย 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ ทส่ี ดุ มาก กลาง น้อย ท่ีสุด 2 เน้ือหาเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ 3 เน้ือหาปจั จบุ นั ทันสมัย 4 เนื้อหามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย 9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร 10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องทถ่ี า่ ยทอด 11 วิทยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใช้สอื่ เหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นรว่ มและซกั ถาม ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 13 สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 14 การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ให้เกดิ การเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแกป้ ญั หา ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอืน่ ๆ.................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

บทท่ี ๕ สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ หลกั สตู ร/โครงการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชมุ ชน จานวน ๖ ชัว่ โมง วันท่ี ๒๒ เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 256๓ สถานทจ่ี ดั กศน.ตาบลราชคราม อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ตอนที่ ๑ ข้อมลู ทั่วไป โครงการส่งเสรมิ ดแู ลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชุมชน จานวน ๖ ชั่วโมง เป้าหมาย ๒๑ คน จดั ได้ ๒๔ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๙ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๗.๕๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๒.๕๐ เพศหญงิ จานวน ๑๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๒๔ คน

๒. อายุ คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ โดยมีอายเุ ฉลีย่ ต้ังแต่ ต่ากว่า ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๗.๕๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๙ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๘.๓๔ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๒ คน คดิ เป็นร้อยละ ๒๐.๘๓ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน ๕ คน คดิ เป็นร้อยละ ๓๓.๓๓ และอายุ ๖๐ ปขี ึน้ ไป จานวน ๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๒๔ คน 25 20 15 ชำย หญิง รวม 10 5 0 ต่ำกวำ่ 15 ปี 15-29 30-39 40-49 50-59 60 ปี ขนึ ้ ไป รวม

๓. ระดับการศึกษา จานวน ๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๙.๑๘ ตา่ กวา่ ประถมศกึ ษา จานวน ๔ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๖.๖๖ ประถมศึกษา จานวน ๙ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓๗.๕๐ มธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน ๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๖.๖๖ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ อนปุ ริญญา/ปว.ส. จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ ปริญญาตรี จานวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน ๒๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม 25 20 15 ชำย 10 หญิง รวม 5 0

๔. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลีย่ ประกอบอาชพี รับราชการ จานวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๖๒.๕๐ รบั จา้ ง จานวน ๑๕ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คิดเปน็ ร้อยละ ๐๘.๓๔ เกษตรกร จานวน ๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๙.๑๖ คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คา้ ขาย จานวน ๒ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น จานวน ๗ คน อาชพี อ่นื ๆ จานวน ๐ คน รวม จานวน ๒๔ คน 25 20 15 ชำย 10 หญิง 5 รวม 0 รวม หญิง ชำย

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของ ประชาชนในชมุ ชน จานวน ๖ ช่วั โมง เป้าหมาย ๒๑ คน จัดได้ ๒๔ คน ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเน้ือหา มาก ปาน น้อย 1 เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ ทส่ี ดุ มาก กลาง นอ้ ย ที่สุด 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความตอ้ งการ 3 เน้ือหาปจั จบุ นั ทันสมัย 20 4 - - - 4 เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 21 3 - - - ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 19 5 - - - 5 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม 23 1 - - - 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 22 2 - - - 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย 22 2 - - - 9 วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 18 6 - - - ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 23 1 - - - 10 วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในเร่อื งทีถ่ ่ายทอด 21 3 - - - 11 วิทยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนรว่ มและซักถาม 21 3 - - - ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 23 1 - - - 13 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และส่งิ อานวยความสะดวก 21 3 - - - 14 การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ 15 การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 22 2 - - - 20 4 - - - 23 1 - - -

ส่วนประเมินผลความพึงพอใจด้วยเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยรวม คะแนนและเกณฑ์ระดับความพึงพอใจเป็นนี้ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปรับปรุง มีคา่ คะแนน ๑ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น พอใช้ มคี า่ คะแนน ๒ ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง มคี า่ คะแนน ๓ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดี มคี า่ คะแนน ๔ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดีมาก มคี า่ คะแนน ๕ และคา่ คะแนนเฉลีย่ มีเกณฑ์ดงั นี้ คะแนนเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เหน็ ปรบั ปรุง พอใช้ คะแนนเฉล่ยี ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ปานกลาง ดี คะแนนเฉล่ยี ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดมี าก คะแนนเฉลย่ี ๓.๕๐ – ๔.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ คะแนนเฉล่ยี ๔.๕๐ – ๕.๐๐ หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook