Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เบส สุขศึกษา111

เบส สุขศึกษา111

Published by somjai Jug, 2022-01-11 07:49:47

Description: เบส สุขศึกษา111

Search

Read the Text Version

ชือ่ ผลงาน ผลการปฏิบตั ิงานทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ผู้เสนอผลงาน สำนักั งานเขตพน้ื ท่ีการศึักษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานีัเขตั1 ……………………………………………………………………………………………………………….. รูปแบบการฝึกสมรรถนะความคล่องตวั 3 step (Agility - 3step) สาหรับนกั เรียนประถมศึกษาปีที่ 6 นางสมใจััเผือกเหลก็ ตาแหนง่ ัครู คศ.2 ครูผู้สอนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรยี นวดั เขานางเภา อาเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวดั สุราษฎร์ธานี เหตผุ ลและความเปน็ มา ตามท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการขบั เคลื่อนการศึกษาภายใตย้ ุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) แผนการ ปฏริ ปู ประเทศด้านการศกึ ษา นโยบายรัฐบาลดา้ น การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรูแ้ ละการพฒั นาศกั ยภาพของ คนไทยทกุ ชว่ งวยั นอกจากน้ียังคงอยู่ภายใต้แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตฉิ บับท่ี 12 (พ.ศ.2561- 2564) โดยคาดหวงั วา่ ผู้เรยี นทกุ ช่วงวยั จะได้รบั การพฒั นาทกุ มติ ิ เปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพและมคี วามพรอ้ ม ในการพฒั นาประเทศสคู่ วามม่นั คง มัง่ คง่ั และยงั่ ยืน ดงั น้ันนโยบายและจุดเน้นทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการศึกษาจงึ มงุ่ ไป ท่ีการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ การพฒั นาศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษยใ์ นสถานศึกษาท่สี อดคล้องกบั หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ได้แก่ การพัฒนาผ้เู รยี น ใหม้ ีความรอบรแู้ ละทักษะชวี ติ เพ่อื เปน็ เครอ่ื งมอื ในการ ดำรงชีวิตและสร้างอาชีพ เชน่ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สุขภาวะและทศั นคติท่ีดีต่อการดูแลสุขภาพ โดยเร่ิมต้น จากการพฒั นาผู้เรยี นให้มีสขุ ภาพรา่ งกายทสี่ มบรู ณ์แข็งแรง สร้างความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือในการเลน่ กีฬา หรือออกกำลงั กายได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ กฬี าทุกประเภทยอ่ มอาศัยทกั ษะพน้ื ฐานของสมรรถนภาพรา่ งกาย เพ่ือใหม้ ที ักษะทางการกฬี าใน ระดบั ทีส่ งู ข้ึน จาเปน็ ต้องใชค้ วามแขง็ แรงของ กล้ามเนื้อสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายในการเคลอ่ื นท่ี เช่น การใช้ ความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ หาซง่ึ ใชก้ ับกีฬาแทบทกุ ประเภท ในสว่ นของความแขง็ แรงกลา้ มเนือ้ ส่วน อ่นื ๆ ข้ึนอยู่กับประเภทของกีฬาทีเ่ ลอื กเลน่ เช่น กฬี าแบดมินตัน บาสเกตบอล วอลเลยบ์ อล ใชค้ วามแขง็ แรงของ กล้ามเน้ือขาและแขนในการกระโดด ตี ตบลูกบอล เป็นต้น ดังน้ันความคล่องตัว ความเร็วในการเล่นกีฬาจึง เปน็ ทกั ษะของกีฬาพ้ืนฐานแตล่ ะประเภท ซง่ึ เปน็ ความสามารถของกล้ามเน้อื ท่ี ออกแรงให้มากที่สดุ ในการหด ตวั การยืดตัว การออกแรงกระทาเพอ่ื ตอ่ ตา้ นความตา้ นทานวตั ถุหรอื สงิ่ ที่อยกู่ ับท่ี และการออกแรงกระทาเพ่อื ต่อตา้ นความ ตา้ นทานหรอื วัตถเุ คล่ือนท่ีไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพหากมีความคลอ่ งตัว มคี วามเร็วทาใหเ้ กดิ สมรรถภาพร่างกายสงู ตามไปด้วย ดงั ทส่ี ุขสวสั ดิ์ ชนะพาล (2550) ไดว้ ิจัยเรือ่ งการฝึกเสรมิ ดว้ ยแบบฝกึ ความ คล่องตัวว่องไวที่มีต่อความสามารถในการเล่นกีฬาพบวา่ หลักการทดลองกลุ่มทดลองมคี วามสามารถในการเล่น กฬี ามากกวา่ กลุ่มควบคุม ไมเ่ พยี งแตส่ มรรถภาพทางรา่ งกายท่แี ขง็ แรงเทา่ นั้นยงั ตอ้ งอาศัยสภาพจิตใจที่

เขม้ แขง็ ไม่ย่อท้อ มใี จรกั ในการออกกาลงั กายควบคไู่ ปกบั ความพร้อมทางรา่ งกายยงิ่ จะสง่ ผลใหก้ ารเลน่ กฬี า ประสบผลสาเร็จ เป็นการสรา้ งความสัมพันธ์ ระหว่างสมอง จิตใจและการเคลอ่ื นไหว (Coordination) ถา้ เราได้ทาการฝึกฝนบอ่ ย ๆ เราก็จะมีทกั ษะเพ่ิมมากข้ึน ซง่ึ สามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ โดย ฝึกไดห้ ลากหลาย รปู แบบ วงการกีฬาในปัจจุบนั นิยมใชก้ ารฝกึ ความคลอ่ งตวั เพราะนกั กฬี าทม่ี คี วามคล่องตวั น้ันจะสามารถ เคล่อื นไหวและทำกิจกรรมต่าง ๆ ในการออก กำลังกายหรือเล่นกีฬาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ันข้าพเจ้าจึง ทดสอบสมรรถภาพความคล่องตัวของนักเรียนในกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชา พ31102 พลศึกษา (แฮนบอล) ของนักเรยี นระดบั ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 พบวา่ จากการทดสอบสมรรถภาพ ทางรา่ งกายของ นักเรยี นระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มสี มรรถภาพทางกายต่ากวา่ เกณฑม์ าตรฐานโดยเฉลี่ย มีคา่ 21.55 จึงทาให้ผศู้ กึ ษาไดศ้ ึกษารูปแบบการฝกึ สมรรถนะพื้นฐานความคล่องตัวแบบตา่ งๆ เพื่อสรา้ งความ คล่องตัวและความรวดเร็วสาหรบั นกั เรยี นในการเลน่ กฬี า และไดพ้ ฒั นารปู แบบการฝกึ สมรรถนะพ้นื ฐานและ ผสมผสานรปู แบบการฝึกซึง่ สามารถนาไปปรบั ใชก้ ับการออกกาลงั กายไดใ้ นชวี ิตประจาวนั ใชเ้ ป็น ทกั ษะ พน้ื ฐานการเล่นกีฬาทกุ ประเภทรวมถึงสามารถพฒั นานักเรยี นสคู่ วามเป็นเลิศทางการแข่งขนั เพิ่มสงู ขน้ึ อีกด้วย ดงั นนั้ ผูศ้ กึ ษาจงึ มีความสนใจท่ีจะพฒั นาสมรรถภาพทางกายดา้ นความคลอ่ งตวั ด้วยรปู แบบการฝกึ สมรรถนะความคล่องตัว 3 step สาหรับ นักเรยี นระดับประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2564 วัตถุประสงคข์ องการพัฒนา 1. เพื่อสร้างรูปแบบการฝึกสมรรถนะความคล่องตัว 3 step ของนักเรียนระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 2. เพื่อเปรยี บเทยี บสมรรถนะความคลอ่ งตวั ก่อนและหลังการใชร้ ูปแบบการฝกึ สมรรถนะความ คล่องตัว 5 step ของนกั เรียนระดบั ประถมศึกษา ปีท่ี 6 3. เพ่อื ประเมนิ ความพงึ พอใจในการใชร้ ปู แบบการฝกึ สมรรถนะความคล่องตัว 3 step ของนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษาปีที่ 6 ระยะเวลาในการพัฒนา 1 ธันวาคม 2563 ถึง 10 กุมภาพันธ์ 2564 กลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นา ประชากร ไดแ้ ก่ นกั เรยี นระดับประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2564 จานวน 8 คน กลุ่มตวั อยา่ ง นักเรยี นระดับประถมศึกษาปที ี่ 6 จานวน 8 คน วิธักี าร/ขน้ั ตอนการดำเนิันงาน การนารูปแบบการฝกึ สมรรถนะความคลอ่ งตวั 3 step สู่การจัดการเรยี นรูใ้ นรายวชิ าพลศึกษา ผ้รู ายงานไดด้ าเนนิ การตามข้นั ตอนของ กระบวนการวิจัยและพัฒนา โดยมขี ั้นตอนการดาเนนิ การ ดงั นี้

ข้ันตอนท่ี 1 ขั้นวางแผน (Plan) 1. ศกึ ษานโยบาย จดุ เน้น ควบคู่กบั หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 2. ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎีทเ่ี กยี่ วข้องกบั หลักการฝกึ ความคล่องตวั อยา่ งหลากหลายวธิ ี เพื่อวางแผน การจดั การเรยี นร้คู วบคกู่ ับการวัดและ ประเมินผล เพอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามจุดประสงค์ของการประยกุ ตใ์ ช้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ โดยวเิ คราะห์รปู แบบที่เหมาะสมกับการพฒั นานักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 3. นารปู แบบการฝกึ ทักษะความคลอ่ งตัวท่ีผศู้ ึกษาไดส้ รา้ งขนึ้ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั นักเรียนเพือ่ ดคู วาม เปน็ ไปไดแ้ ละความเหมาะสม ได้รูปแบบการ ฝึกทกั ษะความคลอ่ งตวั 3 step ดงั น้ี 3.1 ขน้ั ที่ 1 (step 1) หว่ งสปีดริง (speed ring) 3.2 ข้ันท่ี 2 (step 2) ห่วงวิ่งซิกแซก (Running zigzag) 3.3 ข้ันท่ี 3 (step 3) แบบผสมผสาน (Mixed) 4. กาหนดเนือ้ หา ตวั ชี้วดั และเวลาในการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจดั ทาแผนการ จดั การเรียนร้ทู ม่ี งุ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ของผู้เรียน แล้วนาไปปรกึ ษาผเู้ ชยี่ วชาญจากกลุม่ สาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา โรงเรยี นวัดเขานางเภา เพอ่ื ขอขอ้ แนะนาในการจัดทาแผนการจดั การเรียนรูแ้ ละ กิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ หมาะสม ขั้นตอนที่ 2 ขั้นการดาเนินงาน ( DO and Check ) 1. ดาเนนิ การจดั ทาแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ประยกุ ตใ์ ช้รปู แบบความคลอ่ งตวั 3 step ของนกั เรยี นระดบั ประถมศึกษาปที ี่ 6 เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมสอดคล้องในแตล่ ะด้านเพ่อื นำมาปรับปรุงแกไ้ ข 2. ทดสอบปฏบิ ัตติ ามแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยนารปู แบบการฝกึ ความคล่องตวั 3 step มาใชก้ บั นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 2.1 ขนั้ ที่ 1 (step 1) ห่วงสปีดริง (speed ring) 2.2 ข้ันที่ 2 (step 2) ห่วงว่ิงซกิ แซก (Running zigzag) 2.3 ข้ันท่ี 3 (step 3) แบบผสมผสาน (Mixed) 3. สร้างแบบประเมินความพึงพอใจเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ โดยศึกษาความพงึ พอใจ 4 ดา้ นคือ ด้านครผู สู้ อน กิจกรรมการ เรยี นรู้ สื่อการสอน และการวัดผลประเมินผลเสนอต่อผเู้ ชย่ี วชาญ เพือ่ ตรวจสอบความเหมาะสมดา้ นตา่ ง ๆ ด้วยการหาคา่ เฉลย่ี (������̅) คา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แลว้ นา ข้อเสนอแนะของผู้เชยี่ วชาญมาปรับปรงุ จดั พมิ พเ์ ปน็ ฉบับสมบรู ณ์เพื่อนาไปใชก้ ับกลมุ่ ตัวอย่างต่อไป ขั้นตอนท่ี 3 ขัน้ ทดลองใช้และหาประสิทธิภาพ ( DO and Check ) 1. นาแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ไปหาประสทิ ธภิ าพของการจัดกจิ กรรมการเรียนรกู้ บั นกั เรียน นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ซึ่งไมใ่ ช่ กลมุ่ เป้าหมาย จานวน 8 คน โดยการเปรยี บเทียบกับเกณฑส์ มรรถภาพทาง กายดา้ นความคล่องแคลว่ ว่องไวสาหรบั เดก็ ไทย (สุพติ ร สมาหิ โต,2555) แลว้ นาผลทไ่ี ดม้ าปรบั ปรงุ แก้ไข เกณฑก์ ารแปลความหมายของคา่ เฉลย่ี ของการใชร้ ปู แบบการฝึกความคล่องตวั ดงั น้ี ข้ันท่ี 1 ห่วงสปดี ริง (speed ring)

5.25 – 7.00 หมายความว่า มคี วามคลอ่ งแคล่วระดบั ดีมาก 7.01 – 8.25 หมายความว่า มีความคล่องแคล่วระดับดี 8.26 – 9.00 หมายความว่า มีความคล่องแคล่วระดับปานกลาง 9.01 – 10.25 หมายความว่า มคี วามคล่องแคลว่ ระดับต่า 10.26 – 12.25 หมายความวา่ มีความคล่องแคลว่ ระดบั ต่ามาก เกณฑ์ขน้ั ที่ 2 หว่ งวิ่งซิกแซก 8.00 – 9.75 หมายความว่า มคี วามคลอ่ งแคลว่ ระดบั ดีมาก 9.76 – 11.51 หมายความว่า มีความคลอ่ งแคลว่ ระดับดี 11.52 – 13.27 หมายความวา่ มีความคล่องแคล่วระดบั ปานกลาง 13.28 – 15.03 หมายความวา่ มีความคล่องแคล่วระดับต่า 15.04 – 16.79 หมายความวา่ มคี วามคล่องแคลว่ ระดับต่ามาก เกณฑ์ขั้นท่ี 3 แบบผสมผสาน 15.32 – 17.72 หมายความวา่ มีความคล่องแคลว่ ระดับดีมาก 17.73 – 20.13 หมายความวา่ มคี วามคล่องแคล่วระดบั ดี 20.14 – 22.24 หมายความว่า มคี วามคล่องแคลว่ ระดับปานกลาง 22.25 – 24.82 หมายความวา่ มีความคล่องแคล่วระดบั ต่า 24.83 – 27.23 หมายความวา่ มีความคล่องแคลว่ ระดับต่ามาก ขั้นตอนที่ 4 ข้ันนาไปใช้จริงและวิเคราะห์ผล (Check) 1. ดาเนนิ การวดั สมรรถนะความคล่องตวั กอ่ นการใช้รูปแบบการฝึกสมรรถนะความคลอ่ งตัว 3 step ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 30 คน 2. จดั กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ใ่ี ชร้ ูปแบบการฝกึ สมรรถนะความคล่องตัว 3 step กบั กลุ่มเป้าหมาย ซ่ึง เปน็ นกั เรียนระดบั ประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 8 คน โดยใชเ้ วลาในการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามรูปแบบการฝกึ จานวน 8 สปั ดาห์ ดังนี้ สปั ดาห์ที่ รปู แบบการฝึก สัปดาหท์ ี่ 1 – 8 1. อบอนุ่ ร่างกายและยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 2. ฝึกขน้ั ที่ 1 (step 1) หว่ งสปดี ริง (speed ring) จานวน 3 รอบ 3. ข้ันที่ 2 (step 2) ห่วงว่งิ ซกิ แซก (Running zigzag) จานวน 3 รอบ 4. ข้ันท่ี 3 (step 3) แบบผสมผสาน (Mixed) จานวน 3 รอบ 5. เรยี นวชิ าพลศกึ ษา (บาสเกตบอล) ตามโปรแกรมปกติ 6. คลายกลา้ มเนือ้ ใหร้ า่ งกายอยใู่ นสภาพปกติ

3. ดำเนินการวัดสมรรถนะความคล่องตัวหลังการใช้รูปแบบการฝึกสมรรถนะความคล่องตัว 3 step กบั กลมุ่ เป้าหมาย ซึง่ เปน็ นกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวน 8 คน 4. ดาเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู โดยนาผลการวัดสมรรถนะ มาเปรียบเทยี บก่อนและหลังการใช้รูปแบบการฝึกสมรรถนะความคลอ่ งตวั 3 step 5. ประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียนโดยใช้แบบประเมนิ ความพงึ พอใจทใ่ี ช้มาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ข้ันตอนที่ 5 ข้ันสรปุ และรายงานผล ( Action) 1. นาผลจากการวเิ คราะห์ข้อมลู มาสรุป จัดทำรายงานเป็นรูปเลม่ และเผยแพรผ่ ลงาน

กรอบแนวคิด : รปู แบบการฝกึ สมรรถนะความคล่ัองตัว 3 step สาหรับนกั เรียนระดบั ประถมศึกษาปีทัี่ 6 นโยบาย/จุดเน้น กระทรวง/ รปู แบบการฝกึ สมรรถนะ ความ ผลการใช้รูปแบบการฝึก สมรรถนะความ สพฐ. (การพัฒนาและ คลอ่ งตัว 3 step คล่องตัว 5step ของนักเรียนระดบั เสริมสร้างศักยภาพ ขั้นที่ 1 (step 1) ห่วงสปีดริง ประถมศึกษาปที ่ี 6 ทรัพยากรมนษุ ย์) (speed ring)ขั้นที่ 2 (step 2) - สมรรถนะความคลอ่ งตวั ของ ห่วงวิ่งซิกแซก (Runningzigzag) นักเรยี นระดบั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 หลักสูตรสถานศึกษา/ กลุ่มสาระ ขั้นที่ 3 (step 3) การเรยี นรู้ สุขศึกษาและพลศกึ ษา -ความพงึ พอใจของ นักเรยี น แบบผสมผสาน (Mixed) ระดับประถมศึกษาปีท่ี 6 ตอ่ หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การใช้รปู แบบการฝกึ - แนวคิดการจดั การ เรียนรู้ที่เน้น แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้ รูปแบบ สมรรถนะความคล่องตัว 5 ผ้เู รียนเป็น สาคัญ การฝึกสมรรถนะ ความคล่องตวั 3 step - แนวคดิ การพัฒนา step ทกั ษะด้านกีฬาสูค่ วาม เปน็ เลิศ - แนวคดิ เก่ยี วกบั สมรรถนะความคล่องตัว

แผนภาพแสดงรูปแบบกระบวนการฝึกสมรรถนะความคล่องตัว 3 step สาหรบั นักเรยี นระดับประถมศึกษาปีที่ 6 คดั เลอื กรปู แบบการฝึกสมรรถนะความคลอ่ งตวั

ศกึ ษา/วเิ คราะห์หลัักสูตั ร/แนวคิัดทฤษฎีทั ่เี กี่ัยวข้องดาเนินงาน ไมผ่ าน (Plan) ผา่ น จดั ทาโครงสรา้ งรายวชิ า/แผนการจดั การเรยี นรู้ รวบรวม/วิเคราะ หขั์ ้อั มูัล (DO) ตรวจสอบแผน (CHECK) การจัดัเรียั นรู้ัจากผัู้เช่ียวชาญ (Act) นารปัู แบบใช้ัจริงกับนักเรียน ดาเนนิ กจิ กรรมการเรียนรู้รายวิชาพลศึกษา นเิ ทศกากับตดิ ตาม วดั /ประเมนิ ผล การใช้รััปู แบบการฝักึ สมรรถนะความคลอ่ั งตััว สรปุ รายงานผล/เผยแพร่

สรุปผลการดาเนินงาน ผลตามวัตถุประสงค์ 1. มีรูปแบบการฝกึ สมรรถนะความคล่องตัว 3 step ของนักเรยี นระดับประถมศึกษาปที ี่ 6 ดังนี้ ขน้ั ที่ 1 (step 1) ห่วงสปดี รงิ (speed ring) จานวน 10 หว่ ง ข้ันท่ี 2 (step 2) ห่วงวง่ิ ซกิ แซก (Running zigzag) จานวน 10 ห่วง ขน้ั ที่ 3 (step 3) แบบผสมผสาน (Mixed) โดยใชบ้ นั ไดลิง 12 ข้นั และ หว่ งด้านข้างซ้ายขวา 3 หว่ ง จานวน 2 แถว 2. ผลการเปรยี บเทยี บสมรรถนะความคลอ่ งตวั ก่อนและหลงั การใชร้ ปู แบบการฝกึ สมรรถนะความ คล่องตัว 3 step ของนกั เรียนระดับ ประถมศึกษาปีท่ี 6 คนที่ ก่อนการใช้ หลังการใช้ หลังการใช้ รปู แบบการฝึกสมรรถนะฯ (วินั าทีั) รปู แบบการฝึกสมรรถนะฯ สัปดาห์ท่ี 4 รูปแบบการฝึกสมรรถนะฯ สัปดาห์ท่ี 8 (วิันาท)ี (วิันาท)ี ข้ัน 1 ขั้น 2 ข้ัน 3 ขั้น 1 ข้ัน 2 ข้ัน 3 ขั้น 1 ขั้น 2 ขั้น 3 1 8.07 11.20 21.32 7.94 10.05 19.86 6.91 8.12 16.15 2 8.05 12.40 21.59 7.95 10.77 19.94 6.84 8.23 16.11 3 7.58 12.48 21.45 7.32 11.02 19.67 6.52 8.90 16.05 4 7.89 11.58 22.00 7.21 10.87 21.00 6.03 8.43 17.09 5 9.46 12.00 21.46 8.80 11.10 19.85 6.87 8.89 16.03 6 8.75 12.69 21.98 8.12 11.20 19.01 6.20 8.75 15.46 7 9.32 12.31 21.75 8.51 11.11 19.96 6.15 8.70 16.00 8 9.10 13.07 22.00 8.34 11.81 20.02 6.00 9.12 17.37 9 9.17 12.61 21.28 8.32 11.05 19.89 5.89 8.63 16.20 10 8.01 11.43 21.41 7.12 10.24 19.90 4.88 8.00 16.12 11 8.36 10.54 21.00 7.10 9.05 18.75 4.85 7.61 15.64 12 8.39 10.92 21.03 8.11 9.00 18.79 5.00 7.55 15.67 13 7.85 11.58 20.67 6.96 10.46 18.20 4.96 8.26 15.15 14 9.01 12.03 22.54 8.32 10.74 20.10 5.41 8.30 17.32 15 8.55 11.61 22.51 7.43 9.05 20.12 6.51 7.40 17.28 16 9.00 12.00 22.45 8.11 10.82 20.01 6.54 8.84 17.11 17 7.14 12.47 22.48 6.05 10.84 20.04 5.24 8.87 17.00 18 8.07 11.51 21.91 7.10 9.75 18.52 4.98 7.31 15.38 19 7.51 12.06 21.30 6.96 10.41 18.71 5.12 8.82 15.10

คนท่ี ก่อนการใช้ หลงั การใช้ หลังการใช้ รปู แบบการฝึกสมรรถนะฯ (วนัิ าทีั) รูปแบบการฝึกสมรรถนะฯ สัปดาห์ที่ 4 รูปแบบการฝึกสมรรถนะฯ สัปดาห์ที่ 8 (วนิั าท)ี (วนิั าท)ี ขั้น 1 ขั้น 2 ข้ัน 3 ข้ัน 1 ข้ัน 2 ขั้น 3 ขั้น 1 ขั้น 2 ขั้น 3 6.60 20 7.60 11.89 21.01 8.01 10.52 18.36 4.99 8.89 15.00 21 8.88 11.45 21.59 9.87 12.28 21.14 9.00 10.23 18.24 6.97 8.41 15.01 22 10.02 12.57 21.63 7.77 23 9.35 12.41 21.57 7.21 11.01 18.00 6.98 8.84 15.00 11.07 21.46 6.57 24 8.17 11.56 21.35 6.55 11.04 18.21 6.75 8.78 15.17 11.20 20.94 7.84 25 8.05 11.71 21.00 8.63 10.85 17.79 6.02 8.50 14.76 12.05 21.87 7.01 26 7.92 11.11 20.84 230.83 10.26 17.75 5.95 8.21 14.75 27 7.53 355.79 646.53 11.85 21.55 7.69 10.21 17.75 4.96 8.14 14.75 28 8.22 ปาน ปาน ดี 29 9.11 กลาง กลาง 10.00 18.43 4.45 7.97 15.43 30 7.88 10.20 17.60 5.12 8.87 14.64 รวม 252.01 คา่ เฉลย่ี 8.40 10.74 17.48 6.21 8.95 14.62 ระดบั ปาน 9.97 18.47 5.50 7.34 15.31 กลาง 314.37 570.42 174.80 251.63 472.67 10.47 19.01 5.82 8.38 15.75 ดี ดี ดมี าก ดีมาก ดีมาก 3. เพอื่ ประเมินความพงึ พอใจในการใชร้ ปู แบบการฝกึ สมรรถนะความคล่องตัว 3 step ของนักเรียน ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 อยู่ในระดับมาก ปัจจัยของความสาเร็จ 1. นกั เรยี นมีความพร้อมในการพฒั นาสมรรถนะความคลอ่ งตัวตามรปู แบบการฝึกสมรรถนะความ คลอ่ งตัว 3 step และมคี วามมงุ่ มั่นสู่ ความสาเร็จ 2. มวี สั ดอุ ปุ กรณใ์ นการฝกึ สมรรถนะความคลอ่ งตัวครบทงั้ 3 step 3. ผบู้ ริหารสง่ เสริมสนบั สนุนใหค้ รผู สู้ อน นกั เรยี นไดแ้ สดงผลงาน แลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละสรา้ งขวญั กาลังใจแก่ครผู ้สู อนอยา่ งตอ่ เนื่อง ประโยชนท์ ี่ได้รบั 1. นักเรยี นไดร้ บั การพฒั นาสมรรถภาพทางกายดา้ นความคล่องตัวจากการรูปแบบการฝึกสมรรถนะ ความคล่องตัว 3 step

2. นักเรยี นสามารถพฒั นากระบวนการฝกึ ทักษะ ทาให้นกั เรียนมคี วามเรว็ และระดบั ความคล่องตัว เพ่มิ มากขนึ้ 3. ครูผ้สู อนสามารถนารูปแบบการฝึกสมรรถนะความคลอ่ งตวั ไปใช้กบั กฬี าทกุ ประเภทและพฒั นา นักเรียนไปสู่ความเป็นเลศิ 4. นกั เรียนมผี ลงานการแข่งขันทักษะทางด้านกีฬาในระดบั ประเทศ การเผยแพร่ 1. เผยแพร่ให้แก่ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษาในโรงเรียนสังกัดสานักงาน เขตพนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาพษิ ณุโลก อตุ รดติ ถ์ เอกสารอา้ งอิง สขุ สวสั ดิ์ ชนะพาล. (2550). ผลของการฝกึ เสริัมด้ัวยโปรแกรมการฝึักความคล่ัองแคล่วั ว่ัองไว้ัทมี่ ตัี ่ัอัความสามารถในการเล้ียงลูกฟตุ บอลของนกั กีฬาฟุตบอล อายุ 12-14 ปี. วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ (พลศึกษา).จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , กรงุ เทพฯ

ภาคผนวก

แนวคดิ /หลกั การฝกึ ความคล่องตัว คาวา่ Speed แปลว่าความเร็วในการว่ิง ออกตัว ซึ่งในเชิงกีฬาน้ัน Speed มตี ัวแปลหลาย อย่าง เช่น ความเร็วในการตอบสนองของประสาท (ตอบสนองช้ากท็ ำเวลาได้ไม่ดี) ความแขง็ แรง ของกล้ามเนื้อ (แรงน้อย ก็ว่ิงไดไ้ มเ่ ร็ว) Agility แปลไดว้ า่ ความคล่องตัว และความเรว็ ในการ ตอบสนอง เปล่ยี น ทศิ ทาง ซงึ่ ต่างจาก Speed ตรงที่นอกจากจะต้องเคล่ือนทีเ่ ร็วแล้ว ยงั ต้อง ตอบสนอง และเปลยี่ นทิศทางไดเ้ รว็ ด้วย การฝกึ ความเร็ว (Speed) นั้นอาศยั ความต่อเนื่องในการทำงานของระบบ Anaerobic คือ การทายังไงใหร้ ่างกายเราทางานหนักมากๆ ได้นานขึ้น (ว่งิ เร็วได้ Speed ไม่ตก) ซึ่งคาตอบกค็ ือ การฝกึ ให้รา่ งกายชินกบั การใชร้ ะบบทไ่ี ม่พงึ Oxygen ได้นานขึ้นนัน่ เอง ตัวอย่างกก็ ารฝึก • Shuttle Run Drill • Sprint Drill • ฝึก Cardio ใน zone ที่เข้มข้นมากๆ การฝึกความคลอ่ งตัว (Agility) การพัฒนาความสามารถของสมรรถภาพทางกายของ นกั กฬี าในดา้ นความคล่องแคล่ววอ่ งไว หรอื Agility Training จะทาให้เราสามารถเปล่ยี นทิศทาง ได้อย่างรวดเร็ว และมีการตอบสนองตอ่ ระบบประสาทสง่ั การไดด้ ีอกี ด้วย ซง่ึ การฝกึ น้นั จะต้องมี ความควบคู่กัน เนอื่ งจากจะมีการส่งผลตอ่ สมรรถภาพของร่างกายในการเคล่ือนไหวและปฏกิ ริ ิยา ตอบสนองตอ่ กฬี าที่เล่นอย่างรวดเร็ว เชน่ การกระโดดปัดลูกบาสเกตบอล การทีเ่ รามคี วาม คล่องตัวน้ีจะเป็นพนื้ ฐานของสมรรถภาพทางกาย และเป็นปัจจยั สำคัญตอ่ การเล่นกีฬาหลายชนิด วิธีการฝึกความคล่องตวั (Agility) มี ตงั้ แต่การใช้ Agility loop, Ladder drill และ Cone ในการฝกึ หรอื การฝึกหลบหลีกสงิ่ กดี ขวางตา่ ง ๆ และการฝึกประสาทสงั่ การตา่ ง ๆ Agility ring น้ันคอื อะไร ? อุปกรณ์เสริมสาหรับฝึกซ้อมว่ิง ซ้อมกฬี า Speed Ring Sport Training Ring Agility Ring มขี นาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 40 ซม เป็นอุปกรณ์สาหรับ ฝึกความเร็ว และความคลอ่ งตวั ของ กาลงั ขา เพ่ิมความเรว็ การเคลื่อนไหว และสามารถใช้ได้กบั ทกุ ประเภทกีฬา

รปู ภาพตวั อยา่ งของ Agility ring ประโยชน์ของ Agility ring คอื อุปกรณ์ทช่ี ่วยพัฒนาในเรื่องความคลอ่ งตัว (Agility) และความเร็ว (Speed) ซงึ่ การ ฝกึ ซ้อม แตล่ ะแบบสำหรบั ฝกึ กับอุปกรณ์น้ีตอ้ งใชค้ วาม รวดเร็วในการเคลื่อนท่ีระยะส้ัน ๆ สร้างความสมั พันธ์ระหว่างสมองกับการเคล่ือนไหว (Coordination) ในการฝึก Agility ring ถา้ เรา ได้ทาการฝึกฝนบอ่ ย ๆ เรา กจ็ ะมีทกั ษะเพม่ิ มากขึ้น นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ เช่น ตอนที่เราไป เลน่ กฬี ากับเพ่อื น ๆ เราก็จะมีทักษะความคลอ่ งแคลว่ ว่องไวมากกว่าฝ่ายตรงข้าม ๆ ทาให้ เรา ได้เปรยี บกวา่ หรอื การเล่นกีฬาบาสเกตบอล เราก็จะมีทกั ษะการหลบหลกี ที่เร็วกว่าผ้อู น่ื ได้ แตใ่ น นักกีฬานนั้ การฝึกรปู แบบนีน้ น้ั มีความสาคญั มาก ๆ เพราะนกั กีฬาแต่ละประเภทนัน้ จะตอ้ งใช้ ความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็ว ในการแข่งขัน ใครฝึกทักษะความเรว็ และความคล่องตวั มากกว่า ก็มีโอกาสทจ่ี ะ ได้รบั ชัยชนะที่มากกว่าได้ ในการฝกึ แต่ละคร้ังก็จะช่วยในเรื่องการฝกึ Cardio ไปใน ตัวอกี ดว้ ย เพราะจะเปน็ การฝกึ ทตี่ ่อเน่ือง แตล่ ะครง้ั ทฝ่ี กึ กจ็ ะทาให้อัตรา การเตน้ ของหัวใจเราเตน้ สูง และอยู่ในโซนที่ช่วยเบริ ์นไขมันไดด้ ีอีกด้วย รปู แบบการฝกึ ด้วย Agility ring การฝกึ ดว้ ย Agility ring น้ัน สามารถฝึกได้หลากหลายรูปแบบ ยกตัวอย่างเชน่ 1. วิ่งให้ 2 เทา้ แตะชอ่ งว่าง ไปจนสดุ ขนั้ สดุ ท้าย แล้วกลบั มา 2. กระโดดขาคไู่ ปตามชอ่ งวา่ งจนถงึ ช่องสดุ ท้าย แลว้ กระโดดกลบั มา

3. ยา่ เทา้ ด้านนอกอุปกรณ์ แล้วยา่ ดา้ นในไปทีละขึ้นจนถงึ ข้ันสดุ ท้ายแล้วยา่ กลับมาเหมือนเดิม 4. ใชท้ ่า Squat ในการฝกึ คือ Squat ด้านนอกแล้วกก็ ระโดดเทา้ ชิดกนั ด้านใน แลว้ ก็ กระโดนไป Squat ด้านนอกในข้ันถัดไป แลว้ กระโดดเท้าชิดด้านใน ทาไปจนถงึ ขน้ั สุดทา้ ยแลว้ กลบั มา 5. เอาเทา้ แตะอุปกรณ์ แลว้ ค่อย ๆ สไลดไ์ ปด้านขา้ ง สลบั เอาเทา้ แตะดา้ นใน ไปจนถงึ ช่องสุดท้ายแลว้ สไลดเ์ อาเท้าแตะดา้ นในกลับมา ฝกึ แบบ นี้ไปกลับ อยา่ งละ 2 รอบ 3 เซต แตใ่ นการ ฝึกทกุ ครงั้ ควรจะต้องใชน้ าฬกิ าจับเวลาทกุ ครง้ั เพ่อื ท่เี ราจะได้ร้วู ่า แตล่ ะรอบเราใชเ้ วลาไปเทา่ ไหร่ในการฝกึ เพื่อท่จี ะทำให้เราได้พฒั นาทักษะน้ไี ด้ดีขึ้นอีกในครั้งต่อ ๆ ไป ยง่ิ ฝึกบ่อย ๆ กจ็ ะมคี วาม คลอ่ งแคลว่ ว่องไว มีความเร็วทม่ี ากยง่ิ ขึน้ ทาใหท้ ากิจกรรมตา่ ง ๆ ได้ ดีมากยง่ิ ขึ้น และยงั สามารถ ช่วยทำให้มสี ุขภาพที่แขง็ แรง ร่างกายมีความฟิตมากย่ิงขน้ึ

ภาพกจิ กรรมการฝกึ สมรรถนะความคล่องตวั 3 step (Agility - 3step) สาหรับนกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ั6 ขน้ั ท่ี 1 (step 1) หว่ งสปีดรงิ (speed ring) จานวน 10 ห่วง

ข้นั ที่ 2 (step 2) หว่ งวง่ิ ซิกแซก (Running zigzag) จานวน 10 หว่ ง

ข้ันท่ี 3 (step 3) แบบผสมผสาน (Mixed) โดยใชบ้ นั ไดลิง 12 ขน้ั และ หว่ งด้านข้างซา้ ยขวา 3 หว่ ง จานวน 2 แถว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook