Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

Description: กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

Search

Read the Text Version

6 บากเตรีย 1 7 สังคายนาคร้งั ท่ี ๓ และสง่ ศาสนทตู ๑. พระมชั ฌนั ติกะ ไป กัสมรี -คนั ธารรัฐ ปาฏลีบุตร ๒. พระมหาเทวะ ไป มหงิ สกมณฑล ตักสิลา พ.ศ. ๒๓๕ มสี ังคายนา ครั้งท่ี ๓ ปรารภการทม่ี ี ๓. พระรักขิตะ ไป วนวาสี(รฐั ) 2 อา่ วเบงกอล เดยี รถียม์ ากมายปลอมบวชเขา้ มา เนื่องจากเกดิ ลาภ ๔. พระโยนกธรรมรกั ขิต ไป อปรนั ตกะ(รฐั ) อาอณโศาจกักร สักการะในหม่สู งฆ์อุดมสมบูรณ์ พระอรหนั ต์ ๑,๐๐๐ รปู ๕. พระมหาธรรมรักขิต ไป มหารัฐ มีพระโมคคัลลีบุตรตสิ สะเถระเป็นประธาน ประชุมท�ำ ๖. พระมหารักขติ ไป โยนกรฐั 4 ที่อโศการาม เมอื งปาฏลีบุตร โดยพระเจา้ อโศกมหาราช ๗. พระมัชฌิมะ ไป เทศภาคแห่งหิมวันต์ ทรงอุปถมั ภ์ ใชเ้ วลา ๙ เดอื น ๘. พระโสณะและอุตตระ ไป สุวรรณภมู ิ ทะเลอาหรบั ๙. พระมหินทะ ไป ตมั พปัณณทิ วปี (ลังกา) หลังสงั คายนาแล้ว มกี ารจัดสง่ พระศาสนทูต ๙ 5 สาย ไปประกาศพระศาสนา (แต่ละแหง่ มีพระภิกษรุ ว่ ม คณะพอครบสงฆ์ที่จะใหอ้ ุปสมบท) คือ 8 3 9 พุทธศาสนาต้ังมั่นในลังกา อย่างไรก็ดี สงั คายนาครง้ั นเ้ี ป็นกิจกรรมตามขอ้ ปรารภพเิ ศษ โดยท่ัวไปไมน่ ับเข้าในประวตั ิสงั คายนา พ.ศ. ๒๓๖ (ฝร่งั นบั =247 BC) ทลี่ งั กาทวีป พระเจ้าเทวานมั ปยิ ติสสะครองราชย์ (พ.ศ. ๒๓๖-๒๗๖) ต่อมา พระนางอนุฬา ชายาแห่งพระกนษิ ฐภาดา ทีอ่ นุราธปุระ (ไทยนิยมเรียกกันมาวา่ อนุราธบรุ )ี ทรงสดบั ของพระเจ้าเทวานมั ปิยตสิ สะ และสตรใี นราชส�ำนกั ธรรมจากพระมหินทเถระแลว้ ทรงนบั ถือและอปุ ถัมภ์ จ�ำนวนมากปรารถนาจะอปุ สมบท พระมหนิ ทเถระ บำ� รุงพระพุทธศาสนาอยา่ งย่งิ รวมทัง้ สร้างมหาวหิ าร ที่ จึงแนะนำ� พระราชาให้ส่งทูตไปทลู พระเจา้ อโศก ขอ ได้เป็นศนู ยก์ ลางใหญข่ องพระพุทธศาสนาเถรวาทสบื มา อาราธนาพระสงั ฆมติ ตาเถรีมาประดษิ ฐานภกิ ษุณีสงฆ์ ในลังกาทวปี พระเถรไี ด้น�ำกิง่ พระศรมี หาโพธ์มิ าปลูกท่ี ในปนี น้ั มสี งั คายนา ครง้ั ท่ี ๔ ปรารภการประดษิ - อนุราธปุระด้วย ฐานพระพุทธศาสนาในลังกาทวีป เพ่อื ให้พระพทุ ธศาสนา ต้งั มั่นและเจรญิ สืบไป (ต�ำนานว่า พระสงฆ์ ๖๘,๐๐๐ รูป ประชุมกนั ) มีพระมหนิ ทเถระเป็นประธานและเป็นผู้ถาม พระอรฏิ ฐะเปน็ ผ้วู สิ ัชนา ณ ถปู าราม เมอื งอนรุ าธบรุ ี โดย พระเจา้ เทวานัมปยิ ตสิ สะทรงอปุ ถมั ภ์ ใช้เวลา ๑๐ เดือน 38 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

๙ สาย มีไทยและจนี ดว้ ย? (สารัตถทปี นี ว่า มหิงสกมณฑล=อนั ธกรัฐ; สาสนวงส์ ว่าเทศภาคแห่งหิมวนั ต์=จนี รัฐ คือประเทศจนี ; สวุ รรณภมู =ิ สุธรรมนคร คือเมอื งสะเทิมในพมา่ บางมติวา่ =หริภญุ ชรัฐ บางมติวา่ =สิยามรฐั ; อปรนั ตรฐั คง=สนุ า- ปรนั ตรฐั ; มหารฐั บางมตวิ า่ =สิยามรฐั ) ราชาแหง่ ลงั กาทวปี ครง้ั นน้ั คอื พระเจา้ เทวา- นมั ปยิ ตสิ สะ (พงึ สงั เกตวา่ ใชค้ ำ� นำ� พระนามอยา่ งเดยี วกบั พระเจา้ อโศกมหาราช ท่ีปรากฏในศิลาจารึกว่า “เทวา- นัมปยิ ปิยทัสส”ี และต�ำนานวา่ มเี ชอ้ื สายศากยะทัง้ สอง พระองค์) โขตาน จีน พุทธศาสนาบนเสน้ ทางสู่จีน ไทย อนิ เดีย 240 BC (โดยประมาณ; ฝรัง่ นบั =พ.ศ. ๒๔๓ เรา นับ=พ.ศ. ๓๐๓) ต�ำนานวา่ โอรสองคห์ น่งึ ของพระเจ้า อโศกฯ ไดต้ ั้งอาณาจกั รขึ้นทีโ่ ขตาน (Khotan ปัจจุบัน= Hotan ในมณฑลซนิ เกยี งของจนี ) ตอ่ มา นดั ดาของ กษัตรยิ อ์ งค์น้ี ไดน้ �ำพระพทุ ธศาสนาเขา้ ส่โู ขตาน (บาง ตำ� ราว่าพทุ ธศาสนาเขา้ สู่โขตาน 217 BC) และทน่ี ัน่ พระพุทธศาสนาไดเ้ ปน็ ศาสนาประจ�ำชาติ (จากโขตานน้ี พระพทุ ธศาสนาจะไปส่จู นี ใน พ.ศ. ๖๐๘/ค.ศ. 65) พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 39

มหาสถูปสาญจี อยู่ในสภาพดีทส่ี ดุ (Vidisha/Bhilsa) หา่ งไปทางตะวนั ตกเฉียงใต้ ๒๓ กม. พระมารดาของเจา้ ชายมหนิ ท์ และเจา้ หญิงสงั ฆมิตตา ผู้ (ถ้าวัดจากอชุ เชนี ก็มาทางตะวันออก ๑๘๗ กม.) ไดอ้ ปุ สมบทและไปประดษิ ฐานพระพุทธศาสนาในลังกา แมว้ ่าต่อมาราชวงศโ์ มริยะจะส้นิ ไปในปี 185 ทวปี ในกาลต่อมา BC (พ.ศ. ๒๙๘) และแม้วา่ ถาวรวตั ถุมากมายท่ีพระเจา้ มหาสถปู สาญจี กับวทิ ิสาเทวี อโศกฯ สร้างไวจ้ ะถูกทำ� ลายและพังพินาศไปแล้วตาม พทุ ธสถานโดยเฉพาะมหาสถปู สาญจนี ี้ คงเปน็ กาลเวลาแทบท้งั หมด แตม่ ีปชู นียสถานส�ำคัญแห่งหน่งึ ความสำ� คญั ของวทิ ิศา คือ เม่อื กอ่ นครองราชย์ ตัวอย่างท่ีชว่ ยใหค้ นปัจจบุ นั มีจินตนาการมองเหน็ ภาพ ซึ่งไดข้ ุดข้ึนมาให้เห็นในปัจจบุ นั และนับว่าเปน็ พทุ ธสถาน พระเจ้าอโศกฯ ได้มาเปน็ อุปราชครองตักสลิ า และต่อมา วัดวาอารามทัง้ หลาย ที่พระเจ้าอโศกได้ทรงสร้างไว้ ซง่ึ ท่ีรักษาไวไ้ ดด้ ีที่สดุ ในอนิ เดยี คือ สาญจี โดยเฉพาะมหา ครองแคว้นอวันตี ท่เี มืองอุชเชนี (ปจั จบุ นั =Ujjain) ครง้ั สูญสิ้นไปแลว้ สถปู ทบ่ี รรจพุ ระบรมสารรี ิกธาตุ ซ่ึงค้นพบเมอ่ื ปี ๒๓๖๑ นั้นไดอ้ ภิเษกกบั พระชายาองคแ์ รก ซึ่งเปน็ ธดิ าของพอ่ ค้า ชาวศากยะ ทเ่ี มอื งวิทศิ านี้ คือพระวทิ สิ าเทวี ซ่งึ เป็น หลงั ยคุ โมรยิ ะ ราชวงศส์ าตวาหนะ ทร่ี งุ่ เรอื งในยคุ มหาสถปู สาญจีน้นั จุดสังเกตปัจจบุ นั คืออยู่ทาง ต่อมา ก็ไดอ้ ปุ ถัมภบ์ �ำรุงพุทธศาสนาทีส่ าญจนี ้ดี ว้ ย ตะวันออกเฉยี งเหนือของเมืองโภปาล (Bhopal) ห่าง ๓๒ กม. พระเจา้ อโศกฯ ทรงสรา้ งไว้ใกล้เมืองวิทศิ า มองโกเลีย ก�ำแพงเมืองจีน อาณาจกั รฮนั่ อินเดีย ไทย 40 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

จ๋ินซีฮ่องเต้ สร้างก�ำแพงเมืองจนี แต่ราวศตวรรษที่ 4 BC) เพ่อื ป้องกนั การรกุ รานจาก ภายนอก โดยเฉพาะชนเร่ร่อนเผ่าเสียงนุ (Hsiung-nu) 221 BC (ตามฝร่งั =พ.ศ. ๒๖๒ เรานับ=พ.ศ. ๓๒๒) ทเ่ี มอื งจีน หลังจักรพรรดิองคส์ ดุ ท้ายของราชวงศ์ 206 BC (ฝร่งั นบั =พ.ศ. ๒๗๗ เรานบั =พ.ศ. ๓๓๗) โจพ้นราชสมบัตใิ นปี 256 BC แลว้ แควน้ ต่างๆ แยง่ ชิง แมว้ ่าจ๋นิ ซีฮ่องเต้จะยิ่งใหญ่ แตต่ อ่ มาทรงก่อความเคียด- อำ� นาจกัน ในทส่ี ุด เจา้ แคว้นจ๋นิ นอกจากปราบพวกอื่น แค้นแกผ่ ้คู น เช่น กำ� จัดปราชญ์ลทั ธขิ งจอ๊ื ที่ขัดแย้งและให้ ที่แย่งชิงดว้ ยกัน ๖ แควน้ แล้ว ยังผนวกดินแดนจนี เผาตำ� ราเสยี มาก เม่ือสวรรคตในชว่ งปี 210-209 BC แล้ว นอกนั้นเขา้ มารวมท้ังหมด แล้วประกาศตนเป็นจ๋ินซี กเ็ กิดการสูร้ บจนทีส่ ดุ หลังสวรรคตเพียง ๔ ปี ถงึ ปี 206 ฮอ่ งเต้ (Ch’in Shih huang-ti หรือ Shi Huangdi) เป็น BC ราชวงศ์จ๋นิ กจ็ บ และถูกฆ่าล้างโคตรหมดสน้ิ จักรพรรดิองค์แรกทรี่ วมประเทศจีนไดเ้ ป็นอันเดียว ตอ่ นเ้ี ปน็ ยคุ ราชวงศฮ์ ่ัน (Han) ทเี่ ร่ิมดว้ ยสง่ เสริม 214 BC (ฝรงั่ นบั =พ.ศ. ๒๖๙ เรานับ=พ.ศ. ๓๒๙) ลัทธขิ งจอ๊ื และปกครองเมอื งจีนสบื มา ๔๒๖ ปี (206 BC จ๋ินซฮี ่องเต้ ทรงกอ่ สร้างจดั เชือ่ มตอ่ ก�ำแพงเมอื งจีนให้ -ค.ศ. 220=พ.ศ. ๓๓๗-๗๖๓) เปน็ ระบบอนั เดยี ว (Great Wall of China หรอื “กำ� แพง หมน่ื ล”ี้ ) ยาว ๖,๔๐๐ กม. (ของเดมิ มีบ้างแลว้ สรา้ งมา พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 41

กษตั รยิ พ์ ราหมณก์ �ำจดั พทุ ธศาสนา ก็กลายเป็นฝ่ายต้ังรบั ทพั ของโยนก ศุงคะครองถึงเพยี ง แม่น�้ำนมั มทา และอยู่ได้ ๑๑๒ ปกี ็ส้ินวงศ์ เพราะกษตั ริย์ 185 BC (ว่าตามฝรัง่ แตเ่ รานบั =245 BC =พ.ศ. องค์สดุ ท้ายถูกพวกพราหมณน์ ั่นเอง สมคบกนั ปลง ๒๙๘) หลังจากพระเจา้ อโศกครองราชย์ ๓๗ ปี (บางที พระชนม์ แล้วพราหมณป์ โุ รหติ ขึน้ ครองราชย์ ต้ังวงศ์ใหม่ ค�ำนวณได้ ๔๑ ปี) และโอรส-ปนดั ดาครองต่อมาอีก ๔๗ ชือ่ กาณวายนะใน พ.ศ. ๔๑๐ (73 BC) ปี ถึงพ.ศ. ๒๙๘ พราหมณป์ ุษยมิตร ซงึ่ เปน็ อ�ำมาตย์ ได้ ปลงพระชนม์กษัตรยิ ์พฤหทั รถ ล้มราชวงศโ์ มรยิ ะ ตั้ง เร่อื งขา้ งเคยี งในอินเดยี ตัวเปน็ กษัตริย์ เร่มิ ราชวงศศ์ ุงคะ แลว้ ลม้ เลิกเสรภี าพ ทางศาสนา รอื้ ฟื้นพธิ อี ัศวเมธ (ฆา่ ม้าบชู ายญั ) ตามหลัก (ลทั ธไิ ศวะ-ลัทธิโยคะ) ศาสนาพราหมณ์ขึ้นมาประกอบอยา่ งใหญ่ยิ่งถึง ๒ ครง้ั และกำ� จดั พุทธศาสนาอยา่ งรนุ แรง เชน่ ฆ่าพระ เผาวัด 150 BC (ประมาณ พ.ศ. ๔๐๐) ลทั ธิไศวะ ที่ และถึงกับประกาศให้คา่ หวั ชาวพุทธ นบั ถอื พระศวิ ะเจริญเด่นขน้ึ มาเป็นนิกายส�ำคัญของฮนิ ดู ในช่วงเวลาใกล้กันน้ี ปตญั ชลิได้แต่งโยคสตู ร ซ่ึงท�ำให้ อย่างไรก็ตาม ศุงคะครองอำ� นาจได้ไมก่ วา้ งขวาง ลทั ธิโยคะของฮนิ ดูมอี ทิ ธพิ ลมากขึ้น (ช่วงเวลาไม่แน่นอน เพราะตอนนไ้ี ดม้ อี าณาจักรตา่ งๆ แตกแยกออกไปแล้ว อาจแตง่ ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 5 คอื ราว พ.ศ. ๑๐๐๐ กไ็ ด)้ แมแ้ ต่ม้าอปุ การแหง่ พธิ อี ัศวเมธ ที่ปุษยมิตรปล่อยไปราน เขา กถ็ กู ทพั กรีกแห่งโยนกสกดั อยู่ และตอ่ มาศงุ คะ ปตญั ชลิ กรกี รุ่งทโี่ ยนก 190-180 BC (ตามฝรั่ง=พ.ศ. ๒๙๓-๓๐๓ =เรา นบั พ.ศ. ๓๕๓) ในช่วงน้ี ซึ่งราชวงศ์โมริยะอ่อนแอลงจน ถูกโคน่ และราชวงศศ์ งุ คะขน้ึ ครองอ�ำนาจนน้ั พระเจา้ เดมตี รอิ สุ (Demetrius) กษัตรยิ ร์ าชวงศ์อินเดีย-กรีก แห่งบากเตรีย หรอื อาณาจักรโยนก ได้แผ่อ�ำนาจลงมา ครองอินเดยี แถบพายพั จนถงึ ปญั จาบ ทำ� ใหด้ นิ แดน ของศุงคะถกู จ�ำกัดแคบลงมาก ราชาเดมีตริอุสสวรรคต ราว 167 BC (พ.ศ. ๓๗๖) เดมตี ริอุส 42 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

พญามลิ นิ ทป์ น่ิ โยนก ยอยกพทุ ธศาสนา มาจนปัจจุบนั (บางมตวิ า่ เรมิ่ ในยคุ ราชวงศก์ ษุ าณ) แต่ จากซา้ ย: อาณาจักรกรีกโยนกทงั้ หมดอยู่มาอกี ไมน่ าน กส็ ิ้นอำ� นาจ พญามลิ นิ ท์ 160-135 BC (ตามฝรั่งวา่ =พ.ศ. ๓๒๓-๓๔๘; เรา ใน 128 BC (ฝร่ังวา่ =พ.ศ. ๓๕๕ เรานบั =พ.ศ. ๔๑๕) เศียรพระพทุ ธรูปคันธาระ นับ=พ.ศ. ๓๘๓-๔๐๘ แตค่ ัมภีรว์ า่ พ.ศ. ๕๐๐=43 BC) รวมเข้าในอาณาจักรกุษาณ ทจ่ี ะรงุ่ เรืองตอ่ มา จนสน้ิ วงศ์ พญามลิ ินท์ หรอื Menander กษัตริย์บากเตรยี หรือ ในพ.ศ. ๗๖๓ โยนก ซ่งึ ฝรงั่ ว่าเป็น Indo-Greek king ทยี่ ่ิงใหญ่ท่ีสดุ ครองดนิ แดนไพศาลตงั้ แตโ่ ยนก และคนั ธาระ (= อฟั กา- นสิ ถานตอนเหนือ ผา่ นปากีสถาน) ลงมาถงึ อินเดียพายพั ครองราชย์ท่สี าคลนคร (Sialkot) ทรงเป็นพุทธมามกะ พระพทุ ธศาสนาเจริญรุ่งเรอื งในดินแดนแถบนี้ทัง้ หมด พ.ศ. ๕๐๐ (= 43 BC; แตฝ่ รัง่ วา่ =160-135 BC =พ.ศ. ๓๒๓-๓๔๘=เรานับ พ.ศ. ๓๘๓) ตามเร่อื งมลิ ินท- ปญั หา วา่ พระนาคเสนตอบค�ำถามของพญามิลนิ ท์ เป็น เหตุใหท้ รงเลอ่ื มใสในพุทธศาสนา ในยุคนี้เริ่มเกดิ มีพระพุทธรูปศลิ ปะคันธาระ แบบ กรีก อันถอื กันว่าเปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของพระพุทธรปู ทสี่ บื เทคโนโลย:ี เกิดกังหันน้�ำ 100 BC (ชว่ งประมาณ พ.ศ. ๔๕๐) กรกี และ โรมนั โบราณ ร้จู ักใชก้ งั หนั นำ�้ ซึ่งถือวา่ เป็นประดษิ ฐกรรม อย่างแรกของมนษุ ย์ทีใ่ ชผ้ ันพลังงานโดยไม่ตอ้ งอาศัยแรง สัตว์ และได้เป็นแหลง่ พลงั งานท่ีสำ� คัญตอ่ มากว่าพนั ป)ี พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 43

ทมฬิ ก์ สามอาณาจักรทมฬิ อาณาจกั ร คือ ถิ่นอนิ เดียใต้ ปาณฑยะ (Pandya อยู่ใตส้ ดุ ) พ.ศ. ๔๕๕ (ไทยนับ=88 BC; ฝร่ังนบั =28 BC โจละ (Cola หรอื Chola อยเู่ หนอื ขนึ้ มาจนตอ่ กบั หลักฐานบางแห่งวา่ พ.ศ. ๔๓๖ บ้าง ๔๕๐ บ้าง) ในลงั กา ทวีป มีสังคายนาครัง้ ท่ี ๕ อันธระ) เจระ หรือ เกราละ (Cera, Chera หรอื Kerala เรอ่ื งนีเ้ ก่ียวข้องกบั ชาวทมิฬจากอนิ เดียอันควร ทราบ เป็นดินแดนผนื แคบๆ ทอดจากเหนอื ลงสดุ ใต้ตามชาย- ทะเลฝ่ังตะวันตกเคยี งไปกบั ๒ อาณาจักรแรก พวกเจระ เชอ่ื มความยอ้ นภูมหิ ลังว่า ในชมพทู วปี ตอนล่าง นไี้ มพ่ ดู ภาษาทมฬิ อยา่ ง ๒ พวกแรก แตพ่ ดู ภาษามลายลมั ตอ่ จากดนิ แดนของชนชาวอันธระ (แคว้นกลิงคะ บางต�ำราไมจ่ ัดพวกเจระเปน็ ทมฬิ แตท่ ้งั ชาวทมิฬและ อนั เปน็ ดินแดนสดุ ท้ายที่พระเจ้าอโศกพชิ ิตนั้น เทยี บ พวกเจระ กล็ ว้ นเป็นทราวิทเช่นเดียวกับชาวอันธระทอ่ี ยู่ บัดน้ีได้แก่รฐั โอริสสา และอันธรประเทศน)ี้ คอื พ้นเขต เหนอื ข้ึนไป) จกั รวรรดิอโศกลงไป จนตลอดถงึ ปลายแหลมสดุ ประเทศ อนิ เดยี เปน็ “ทมฬิ กะ” คอื ดินแดนของชนชาวทมิฬ ๓ ลังกาทวีป คแู่ ค้นแดนทมฬิ พระพุทธรปู กษัตริย์ทมิฬเขา้ ครองลงั กา ที่ Mihintale เท่าทท่ี ราบ หลงั จากรชั กาลของพระเจ้า เทวา- นมั ปยิ ตสิ สะ ทพ่ี ระมหนิ ทเถระเปน็ ศาสนทตู มาประดษิ ฐาน พระพุทธศาสนา และพระสังฆมิตตาเถรมี าต้ังภกิ ษณุ ีสงฆ์ แลว้ ไมน่ าน (พระเจา้ เทวานมั ปยิ ตสิ สะสวรรคต พ.ศ. ๒๗๖ นบั อยา่ งฝรั่ง=207 BC; นับอยา่ งเรา=267 BC) พอถึง พ.ศ. ๓๐๖ (ฝรั่งนบั =177 ไทยนบั =237 BC) ชาวทมิฬ ๒ คน ช่อื เสนะ และคุตตกิ ะ เข้ามาชงิ เมืองอนุราธปุระ จาก พระเจ้าสูรตสิ สะ แล้วครองราชย์จนถงึ ปี ๓๒๘ เจ้าชาย สงิ หฬนามวา่ อเสละจงึ มาชงิ เมอื งคืนได้ 44 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

ถ้าเทยี บปัจจบุ นั ครา่ วๆ ปาณฑยะ และโจละ คอื รัฐ ทมิฬนาฑุ (Tamil Nadu) สว่ นเจระ คอื รฐั เลก็ ๆ ทชี่ ื่อ เกราละ (Kerala) แตพ่ ระเจ้าอเสละครองราชย์ไดเ้ พียง ๑๐ ปี ถงึ พระนามว่าพระเจ้าทุฏฐคามณีอภัย (ครองราชย์ถงึ พ.ศ. ปจั จัยสี่ พ.ศ. ๓๓๘ เจา้ ทมฬิ ชาวโจละนามวา่ “เอฬาระ” ไดม้ ายัง ๔๐๖=ฝรงั่ นับ 77 ไทยนับ 137 BC) พระภกิ ษจุ �ำนวนมากเดินทางลี้ภัยไปพ�ำนกั รักษา เกาะสิงหฬ (คือศรีลงั กา) แล้วจับพระเจา้ อเสละได้ ยึด อำ� นาจแล้วทมิฬกข็ ึ้นครองแผน่ ดนิ อีก แต่หลงั รชั กาลพระเจ้าทฏุ ฐคามณีอภัยไมน่ าน ถงึ ธรรมวนิ ยั ในชมพทู วปี สว่ นพระเถระทคี่ า้ งอยใู่ นลงั กาทวปี ปี ๔๒๕ พระเจ้าวัฏฏคามณอี ภัยขน้ึ ครองราชย์ พวกทมฬิ กย็ งั ชีวติ โดยยากถงึ กับต้องฉนั รากไม้ใบไม้ ทยี่ ังหอบกาย ปรากฏว่า พระเจา้ เอฬารทมฬิ น้เี ป็นราชาทม่ี ี ชาวปาณฑยะยกทพั มายดึ ครองอนรุ าธปุระได้ พระเจา้ ไหวกเ็ พยี รสาธยายรกั ษาพระปรยิ ัตธิ รรมและมารวมตัว เมตตา เทย่ี งธรรม และแมจ้ ะมิไดน้ ับถือพระพุทธศาสนา วัฏฏคามณอี ภัยหนีไปหลบซอ่ นองค์อย่นู าน ๑๔ ปีเศษ รว่ มคดิ ร่วมปรึกษาสบื พระธรรมวินยั ไว้ จนกระท่ัง พ.ศ. มากอ่ น ก็ไดเ้ อาพระทยั ใสเ่ คารพเป็นอย่างดี แต่เพราะ โดยไดร้ ับความเกอ้ื กูลจากพระเถระชอ่ื มหาติสสะ ๔๕๕ พระเจ้าวฏั ฏคามณีอภยั รวมกำ� ลังเข้มแขง็ พอ จงึ ยก เป็นชาวต่างชาตแิ ละมาได้ราชสมบัติด้วยการแย่งชงิ ใน พลมารบสงั หารกษัตรยิ ์ทมฬิ ไดแ้ ละขน้ึ ครองราชยใ์ หม่ ทีส่ ดุ เจา้ ชายสิงหฬจากแคว้นโรหณะในภาคตะวนั ออก ลงั กาเขา้ ยคุ เข็ญ พุทธศาสนาพบวิกฤต เฉียงใตข้ องเกาะสงิ หฬได้ยกทพั มารบเพ่ือขับไลท่ มฬิ เมือ่ บ้านเมอื งสงบเรยี บรอ้ ย พระเถระทัง้ ทห่ี ลบ พระเจ้าเอฬารทมิฬสวรรคตในท่รี บเมอ่ื พ.ศ. ๓๘๒ (รวม ระหวา่ งนัน้ บ้านเมืองขาดความม่ันคงปลอดภยั ซ่อนอยู่ในลงั กาทวปี และท่ีกลับมาจากชมพูทวีป ก็มา ครองราชยไ์ ด้ ๔๔ ป)ี เจา้ ชายสิงหฬแห่งโรหณะข้ึน ขา้ วยากหมากแพง เตม็ ไปด้วยโจรผู้รา้ ย ประชาชนนน้ั ทงั้ ซกั ซอ้ มทวนทานพระธรรมวนิ ยั กันจนมั่นใจว่าครบถว้ น ครองราชย์ท่อี นุราธปุระ รวมเกาะสงิ หฬไดท้ ้งั หมด มี ตนเองกเ็ ดือดรอ้ นและไม่มีก�ำลังเกอื้ หนุนพระสงฆด์ ว้ ย สมบรู ณ์ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 45

แดนทมิฬในยคุ อโศก ทมฬิ กับพุทธศาสนา อาณาจกั รเหลา่ นีม้ มี าแตโ่ บราณ อย่างนอ้ ยตงั้ แต่ อยา่ งไรก็ตาม เรอ่ื งราวคร้งั โบราณของอาณาจกั ร สมยั พระเจา้ อโศกฯ (พ.ศ. ๒๑๘-๒๔๕) ดังความในศิลา- เหลา่ นเ้ี หลอื มาใหท้ ราบกนั นอ้ ยยง่ิ รู้มาบา้ งจากวรรณคดี จารึกของพระเจา้ อโศกฯ โองการท่ี ๒ และท่ี ๑๓ วา่ เปน็ เกา่ ๆ และจารึกภาษาทมิฬพราหมี จารกึ เหล่าน้ี (ระหวา่ ง ดนิ แดนขา้ งเคยี งเลยออกไปทางใต้ (พระเจ้าอโศกฯ รบ ศตวรรษท่ี 2 กอ่ นค.ศ. ถึงครสิ ต์ศตวรรษท่ี 4 คือราว ชนะแควน้ กลิงคะแลว้ หยดุ แคน่ ัน้ อาณาจักรเหลา่ นี้จงึ ยงั พ.ศ. ๒๕๐-๙๕๐) สว่ นมากจดบอกทานบรจิ าค ทรี่ าชา เป็นอสิ ระอยู่; เจระ กลา่ วถึงเฉพาะในโองการที่ ๒ เรยี ก เจา้ นาย พอ่ ค้า และช่างฝมี ือท้งั หลายไดถ้ วายแก่พระสงฆ์ ว่าเกรลปุตระ) ในพระพทุ ธศาสนา และแกน่ กั บวชเชน อนั แสดงว่า พระพทุ ธศาสนา และศาสนาเชนไดม้ าเจริญแถบน้ี ซึ่งคง เนือ่ งด้วยการตดิ ตอ่ กบั จักรวรรดิอโศกดว้ ย พระวิษณุ แบบปาณฑยะ บ้านเมืองสงบ กย็ ังต้องพบปญั หา อภัยครี ีวหิ าร ก่อนและหลงั บรู ณะ คร้ังนั้น พระเจ้าวัฏฏคามณีอภยั ทรงระลกึ ถงึ อปุ การะของพระมหาติสสะคร้ังทรงตกยาก จงึ ทรงสร้าง อภยั คีรีวหิ ารถวาย แต่พระมหาติสสะถูกพระสงฆ์แหง่ มหาวิหารลงปพั พาชนียกรรม ฐานคลุกคลีกบั ตระกูล ตอ่ มาทางอภัยคีรีวหิ ารกแ็ ยกคณะออกไป ท�ำให้พระสงฆ์ ในลงั กาทวปี แตกเป็น ๒ นิกาย คอื ฝ่ายมหาวหิ ารวาสี กบั ฝา่ ยอภยั คิรวิ าสี และฝ่ายอภยั คีรมี กี ำ� ลงั มากเพราะ พระราชามหาอำ� มาตย์คนมชี อ่ื เสียงพากันอุปถมั ภ์บ�ำรงุ ตอ่ มา ไดม้ ีคมั ภรี ์ใหม่ที่ยกขนึ้ สภู่ าษาสนั สกฤตอนั เป็นของนิกายธรรมรจุ ทิ ่อี ยใู่ นพวกวัชชบี ุตร เข้ามาสู่ ลังกาทวปี ฝ่ายอภยั คิรวิ าสียอมรบั ตาม ก็เลยกลายเป็น พวกนกิ ายธรรมรุจไิ ป 46 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

ทมฬิ กบั กรีก-โรมัน-สงิ หฬ ปากีสถาน เนปาล ชาวโจละ/โจฬะ เป็นตน้ เหล่านี้ เปน็ นกั เดนิ เรอื อทาหะเรลบั อินเดยี เบองก่าวอล แต่โบราณ มกี ารค้าขายกับพวกกรกี (เรียกว่า ยวน ยวนก มัทราส หรือโยนก คือ Ionian) โรมัน และชาวอาหรบั ตลอดถงึ จีน สบื มานานต้ังแต่ก่อน ค.ศ. (กอ่ นมศี าสนาคริสต์และ ลงั กา อสิ ลาม) ในเอกสารของพวกกรกี ทมี่ าคา้ ขายแถบมทั ราส (Madras ปจั จุบันเปล่ยี นเป็น Chennai) ช่ือ The Peri- จากความเป็นนักเดนิ เรอื นี้ ชาวทมิฬจำ� นวนมาก เหรียญอตุ ตมะโจละ plus of the Erythraean Sea (ค.ศ. 90) เรยี กชาว จึงไดไ้ ปตั้งถิ่นฐานในเกาะสงิ หฬ ตลอดจนเขา้ ยึดครอง โจฬะวา่ “men of the sea” เมอื งทา่ ใหญ่เช่น “กาวิร- แผ่นดนิ จากเจา้ ถ่นิ ชาวสิงหฬในลงั กาทวีป ปัฏฏนะ” ท่ีปากแม่น้�ำกาเวรีกเ็ ปน็ ท่ีรูจ้ ักกนั ดีแกพ่ วก โรมัน อนรุ าธปรุ ะ สังคายนาครงั้ ที่ ๕ หรอื ๔ พระเถระเหลา่ นั้นได้ประชุมกนั ท�ำงานน้ี ท่ีวดั ถ้�ำ มาตาเล แกนดี ชื่ออาโลกเลณะ ท่ีมาตลุ นคร ในมลยั ชนบท (อยใู่ นถ่ิน โคลมั โบ พระเถระมหาวหิ ารวาสที ้ังหลายปรารภสภาพ ภเู ขา ท่ีปจั จบุ นั เรยี กว่า Matale กลางเกาะลังกา หา่ งจาก บ้านเมืองและเหตกุ ารณเ์ หล่าน้ีแล้ว มองเห็นภาวะที่ว่า อนุราธปุระประมาณ ๑๐๘ กม. ใกล้ไปทางเมอื งแกนดี/ เมือ่ บา้ นเมอื งเดือดรอ้ นราษฎรยากเขญ็ จะด�ำรงพระ Kandy) ทงั้ นี้ ส�ำเร็จด้วยเรยี่ วแรงก�ำลงั ของพระเถระ ธรรมวนิ ัยไดย้ าก และค�ำนึงวา่ สืบไปภายหนา้ กุลบตุ รจะ เหลา่ นนั้ เอง (ต�ำนานว่าพระมหาเถระประชมุ กนั ๕๐๐ เสือ่ มถอยดอ้ ยสตสิ มาธิปัญญา (น่าจะหมายถงึ เสอ่ื มสติ รปู ) โดยมิได้รับการเกอื้ หนุนจากพระราชามหาอ�ำมาตย์ ดา้ นที่ส�ำคัญอย่างหน่ึงดว้ ย คือความระลึกสำ� นกึ ถงึ คณุ ค่า เพียงแตผ่ ูป้ กครองทเ่ี ปน็ ชนปทาธบิ ดใี นถ่ินน้ันช่วยดูแล ความส�ำคญั ของพระธรรมวินัยและประโยชน์สขุ สว่ นรวม อารักขาใหเ้ ทา่ น้นั การครง้ั นต้ี อ่ มาเรียกและจดั กันวา่ ท่ีตอ้ งใส่ใจศกึ ษาปฏิบัติอย่างจรงิ จัง) จะไม่สามารถทรง เปน็ สังคายนาครง้ั ท่ี ๕ แตโ่ ดยท่วั ไป เน่ืองจากไมน่ บั พระปรยิ ตั ิไว้ดว้ ยมุขปาฐะ กับท้ังควรจะมหี ลกั ฐานไว้เปน็ การสังคายนาทีถ่ ปู ารามใน พ.ศ. ๒๓๖ จึงนบั ครง้ั น้ีเป็น เกณฑ์ตดั สินไมใ่ ห้หลกั พระศาสนาสบั สนปนเปกับลทั ธิอน่ื สังคายนาคร้ังท่ี ๔ ภายนอก เพ่ือรกั ษาพระธรรมวนิ ัยไว้ให้บริสุทธิ์ จงึ ตกลง กันให้จารึกพระไตรปิฎกลงในใบลาน พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 47



ยุ ค กุ ษ า ณ - สิ้ น ยุ ค คุ ป ต ะ

อินเดยี ใต้: แดนทักษณิ าบถ แม่น�้ำนรรมทา/นัมมทา พรอ้ มดว้ ยเทอื กเขา วินธยะ (Vindhya Range) ทีแ่ ม่นำ�้ นัน้ ไหลเคยี งค่ไู ปจาก ในตอนท่ีผ่านมา โดยมากได้พูดถึงพระพทุ ธ- ตะวนั ออกสตู่ ะวนั ตก กบั ทง้ั ปา่ ใหญท่ เ่ี รยี กวา่ มหากนั ตาระ ศาสนาในสว่ นเหนอื ของชมพูทวปี ตั้งแต่ภาคตะวนั ออก (มหากนั ดาร) เป็นเสน้ แบ่งโดยธรรมชาติระหวา่ งภาคทัง้ แถวเบงกอล ข้ึนไปถึงตะวนั ตกเฉียงเหนอื ตอนบน จด สองนน้ั แคว้นโยนก ตอ่ กบั อาเซียกลาง คราวนีห้ นั มาดพู ระ พุทธศาสนาในชมพูทวีปตอนลา่ งแทรกเขา้ มาเล็กน้อย (ทวี่ า่ นี้ เปน็ ความหมายอยา่ งกวา้ ง แตใ่ นความหมาย ที่จ�ำกัดเฉพาะ หรอื อย่างแคบ Deccan หมายเอาเพียง อนิ เดยี นั้นแบ่งไดเ้ ป็น ๒ ภาคใหญ่ คอื ภาคเหนอื สว่ นบนของภาคใต้น้ัน ดงั นนั้ จึงไมร่ วมแดนทมิฬซง่ึ อยใู่ ต้ ซ่ึงนิยมเรียกรวมๆ ว่า ฮินดสู ถาน/Hindustan อัน สดุ ท่เี คยพดู ถงึ บ้างแลว้ ) ประกอบดว้ ยท่รี าบลุ่มแม่นำ�้ สนิ ธุ และทีร่ าบลุ่มแมน่ ำ้� คงคา กบั ภาคใต้ ซง่ึ เรยี กรวมๆ วา่ Deccan อนั เปน็ อยา่ งไรก็ดี ในคัมภีรพ์ ระพทุ ธศาสนา มกั ใช้แม่น�้ำ ดนิ แดนทรี่ าบสูงในสว่ นลา่ งของชมพทู วีป ต้งั แต่ใต้ คงคาเป็นเคร่อื งก�ำหนดเขต คือถอื ดนิ แดนแถบแม่นำ้� แม่นำ้� นรรมทา/นมั มทา (Narmada) ลงไป ที่เรยี กกนั คงคานนั้ ว่าเปน็ ถ่นิ กลาง(แห่งความเจรญิ )/มัชฌิมเทส/ มาแต่โบราณว่า “ทักษณิ าบถ” (=“หนใต้” เขียนอย่าง มัธยมประเทศ นับถิ่นแดนข้างใตจ้ ากฝัง่ แมน่ ้�ำคงคาลงไป บาล=ี ทกั ขิณาบถ; คำ� วา่ Deccan ก็เพีย้ นมาจากค�ำว่า เป็นทักขณิ าบถ (หนใต้) และถิ่นแดนขา้ งเหนือเลยฝงั่ “Daksฺinฺ a/ทักษิณ” นนั่ เอง) แมค่ งคาข้ึนไป เปน็ อตุ ราบถ (หนเหนือ) ในคร้งั พุทธกาล ทถ่ี ือวา่ ชมพูทวปี มมี หาชนบท คือรัฐใหญ่ ๑๖ นน้ั นับแควน้ อสั สกะ (ตอนบนของแมน่ ำ้� โคธาวรี ซ่งึ ปัจจุบนั เรยี กว่าโคทวร/ี Godavari) และ อวนั ตี (ท่มี ีอุชเชนเี ปน็ เมอื งหลวง) เขา้ ในฝ่ายทักขณิ าบถ นับแคว้นคันธาระ (=ปากสี ถานและอฟั กานสิ ถานตอน เหนอื ) และกัมโพชะ (คงจะ=ตอนบนของอฟั กานิสถาน ถึงอาเซยี กลางส่วนล่าง) เขา้ ในฝา่ ยอตุ ราบถ ตอ่ มา สมัย หลงั บางทจี ัดมหาชนบททั้ง ๑๖ เปน็ มัธยมประเทศ เปน็ ทร่ี กู้ นั ตลอดมาว่า อุตราบถเป็นแหลง่ ของ อสั ดรคือมา้ และทกั ขิณาบถเปน็ แหล่งของโค 50 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

พุทธศาสนาในทกั ษณิ าบถ เข้าในมหาอาณาจกั รของพระเจา้ อโศกฯ (สว่ นปลายล่าง ขยายดินแดนขึ้นไปถงึ อินเดียภาคกลางและภาคตะวนั ตก ทเ่ี หลือของชมพทู วีปซึ่งเปน็ แดนทมิฬ ยังปล่อยไว้เป็น เท่าทสี่ บื คน้ ได้ ถอื กันวา่ การเจาะแกะสลกั ภเู ขา 150 BC (ประมาณ; ตามฝรงั่ =พ.ศ. ๓๓๓ นับ เอกราช) และเปน็ แคว้นหนง่ึ ท่พี ระเจา้ อโศกทรงส่งพระ อย่างเรา=พ.ศ. ๓๙๓) ในดนิ แดนสว่ นล่างของชมพูทวีป สมณทูตมาประกาศพระศาสนา (คมั ภรี ส์ าสนวงสว์ ่า อนั วาดภาพในหมถู่ �ำ้ อชนั ตา เรมิ่ ขนึ้ ในยคุ สาตวาหนะนี้ คือ ท่เี รียกวา่ Deccan หรอื ทักษณิ าบถ/ทกั ขิณาบถ นนั้ ธกรฐั เปน็ แคว้นเมืองยกั ษ/์ ยกั ขปรุ รัฐ) ราว พ.ศ. ๔๐๐ (หรอื อยา่ งเรว็ สุดไม่ก่อน พ.ศ. ๓๕๐) แต่ มถี าวรวัตถทุ ่เี ป็นหลกั ฐานชดั เจนอย่างย่งิ ว่าพระพุทธ- ในช่วงแรกได้มีการท�ำงานน้ถี งึ ประมาณ พ.ศ. ๕๐๐ หรอื ศาสนาเคยเจรญิ รงุ่ เรืองมาก โดยเฉพาะท่คี วรกลา่ วถึง คอื เชอื่ กนั ว่า ราชวงศ์แรกท่ีต้ังอาณาจักรใหญข่ ้นึ ใน ๕๕๐ เทา่ นน้ั แลว้ กห็ ยดุ ไปนานจนผา่ นพน้ ยคุ สาตวาหนะไป หมถู่ �ำ้ อชนั ตา (Ajanta; เรยี กตามช่อื หมบู่ ้านในถน่ิ ท่ีพบ ทกั ษิณาบถ คือ สาตวาหนะ (ศาลิวาหนะ กเ็ รียก) ซึง่ หมู่ถำ้� นั้น) ซง่ึ ตามด้วยหมถู่ ำ้� เอลโลรา (Ellora; เรียกตาม เรมิ่ ตน้ หลงั ยุคอโศก ในช่วงศตวรรษที่ ๓ ถึง ๑ ก่อน ถ้ำ� ทเ่ี จาะแกะสลักในชว่ งแรกนี้มี ๖ ถ้ำ� เป็นของ ช่ือหมบู่ ้านในถิน่ ท่พี บเช่นกนั ) ในยคุ หลังตอ่ มา คริสต์ (พทุ ธศตวรรษที่ ๓-๕) และมบี ทบาทในการกำ� จดั พระพุทธศาสนาหนี ยานท้ังสน้ิ (ได้แกถ่ ้�ำที่ ๘, ๙, ๑๐, ราชวงศ์ศุงคะลงดว้ ย การค้าระหวา่ งอินเดียกบั กรงุ โรมก็ ๑๒, ๑๓, และ ๓๐; งานเจาะแกะสลักถ�้ำหยุดไป ๔๐๐ ดนิ แดนในทกั ษณิ าบถน้ี เทา่ ที่ทราบกนั มาวา่ เปน็ ร่งุ เรืองในยคุ นี้ บางชว่ งท่ีเรืองอำ� นาจ ราชวงศส์ าตวาหนะ กวา่ ปี จงึ มกี ารท�ำตอ่ หรือเพิม่ อกี เม่ือใกล้ พ.ศ. ๑๐๐๐ ซ่งึ ถน่ิ ของชาวอันธระ (เรยี กตามบาลีวา่ อนั ธกะ) และใน จะกล่าวถึงในยคุ ตอ่ ไป) พุทธศตวรรษท่ี ๓ (=ศตวรรษท่ี ๓ กอ่ นครสิ ต)์ ได้รวม พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 51

ตะวันตกตอนบน มอี ชันตา อาคเนย์ มอี มราวตี ในยุคเดยี วกนั นี้ ห่างออกไปทางตะวนั ออกเฉียงใต้ ประมาณ ๖๗๐ กม. เมอื งอมราวตกี ็ไดเ้ ริ่มเปน็ ศูนยก์ ลาง สำ� คญั แหง่ หน่งึ ของพระพทุ ธศาสนา มีมหาวิหารทีเ่ ป็น มหาวทิ ยาลยั พระพทุ ธศาสนาชอ่ื วา่ “ศรธี นั ยกฏกั ” เตม็ ไป ดว้ ยวดั วาอาราม มสี ถาปัตยกรรมเปน็ แบบอยา่ ง รุง่ เรอื ง อยู่นานราว ๕๐๐ ปี จนส้ินครสิ ต์ศตวรรษที่ 3 ใกล้ๆ กนั นัน้ ลึกเข้ามาในแผ่นดนิ ใหญ่ ถัดจาก อมราวตี มาทางตะวนั ตกอีกราว ๑๒๐ กม. (หา่ งอชนั ตา ออกไปทางตะวันออกเฉยี งใตป้ ระมาณ ๕๘๐ กม.) เปน็ ทต่ี ง้ั ของนาคารชนุ โกณฑะ (=Nagarjuna’s Hill/ดอย นาคารชนุ ) ทสี่ ร้างถวายพระนาคารชุน (ชว่ งชวี ิต พ.ศ. ๖๙๓-๗๙๓) ผตู้ ง้ั นกิ ายมาธยมกิ (บางทถี อื วา่ เปน็ ตน้ กำ� เนดิ มหายานด้วย แตย่ ังไม่ยอมรับท่วั กนั ) มีมหาวทิ ยาลัย พระพทุ ธศาสนาทพ่ี ระนาคารชุนสอน พรอ้ มทงั้ สถปู เจดยี ์ วัดวาอาราม เปน็ มหาสถานอันรุ่งเรอื ง ซึ่งพบแล้วขดุ แต่ง กนั มาแต่ปี ๒๔๖๘ จนกระทง่ั เม่อื รัฐบาลสรา้ งเขอ่ื น “นาคารชนุ สาคร” เสรจ็ ในปี ๒๕๐๓ มหาสถานนกี้ ็จงึ จม อยู่ใตผ้ ืนน�้ำ แต่รฐั ได้พยายามรักษาบางส่วนทส่ี ำ� คัญด้วย การจำ� ลองไวบ้ นบกเปน็ ตน้ ราชวงศส์ าตวาหนะ ได้อปุ ถมั ภ์บำ� รุงพทุ ธสถาน ทง้ั หลายอยา่ งดี ตัง้ แตส่ าญจีลงมาถึงนาคารชุนโกณฑะ และอมราวตี แต่สายวงศเ์ องคงเปน็ พราหมณ์ จึงมกี ารทำ� พิธบี ูชายญั อศั วเมธ 52 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

อุตราบถ และมัธยมประเทศ บากเตรยี 128 BC (ตามฝรงั่ =พ.ศ. ๓๕๕ นบั อยา่ งเรา=พ.ศ. คันธาระ ๔๑๕) หนั กลับไปดทู างฝา่ ยเหนือ อาณาจกั รบากเตรยี ปรุ ุษปรุ ะ ตกั สลิ า คือโยนก ถกู ชนเผา่ ตา่ งๆ จากอาเซยี กลางรุกรานเข้ามา เปน็ ระลอก เริ่มแต่พวกศกะ จนในทส่ี ดุ ได้ตกเปน็ ของ กษุ าณ อาณาจกั รกุษาณ ทีร่ งุ่ เรืองตอ่ มา แม่น้ำ� สนิ ธุ แมน่ ำ�้ ยมุนา แมน่ �ำ้ คงคา ระหวา่ งน้ี ราชวงศ์ศุงคะ นอกจากอาณาจักรหด เล็กลงมากเพราะดนิ แดนใต้แมน่ �้ำนัมมทาลงไปไดต้ กเปน็ มถุรา ปาฏลบี ุตร ของอาณาจกั รฝ่ายใตข้ องราชวงศ์สาตวาหนะ (ที่เกิดขึ้น ใหม่ในระยะทมี่ คธของราชวงศ์โมรยิ ะก�ำลังแตกสลาย) ศงุ คะ กลิงคะ แล้วกอ็ ่อนกำ� ลงั ลงอกี เพราะต้องตัง้ รับทัพกรกี โยนกอยู่ อา่ ว เร่อื ยๆ ต่อมาภายในก็เกิดปัญหาจนถูกกำ� จดั สิน้ วงศใ์ น แม่นำ้� นมั มทา พ.ศ. ๔๑๐ (73 BC) เบงกอล ทะเล อชนั ตา เม่อื บากเตรยี /โยนกหมดอำ� นาจ และศุงคะส้ิน อาหรับ วงศ์แลว้ ชมพทู วปี กม็ อี าณาจกั รย่ิงใหญ่อยู่ ๒ คือ กษุ าณ สาตวาหอมนระาวตี ทางฝา่ ยเหนอื และสาตวาหนะในฝา่ ยใต้ ปาณฑยะ กุษาณไดแ้ ผอ่ �ำนาจเขา้ แทนที่กษตั ริยก์ รกี โยนก โดยขยายอาณาจักรลงมาจนถงึ เมือง มถรุ า (ใต้กรงุ เดลี กษุ าณทางฝ่ายเหนือ กบั สาตวาหนะในฝ่ายใต้ หนา้ ตรงขา้ ม: ลงมา ๑๓๗ กม. เยื้องไปทางตะวนั ออกเลก็ น้อย; ในยคุ เปน็ อาณาจกั รร่วมสมัย ที่นับคร่าวๆ วา่ เริ่มต้นและส้ินสุด ภาพแกะสลกั สถปู แบบอมราวตี ใกล้พุทธกาล มถรุ าเปน็ เมอื งหลวงของแคว้นสุรเสนะ) ในช่วงสมัยเดยี วกนั (เรมิ่ ในชว่ ง พ.ศ. ๓๐๐-๔๐๐ แลว้ จากซ้าย: สาตวาหนะส้นิ พ.ศ. ๗๔๓ กษุ าณส้นิ พ.ศ. ๗๖๓) พทุ ธศลิ ปแ์ บบมถุรา มถุรานอกจากเป็นศนู ย์อ�ำนาจของกุษาณในแถบ เหรียญกษตั รยิ ์กษุ าณ ล่างแลว้ ก็เปน็ ถน่ิ ที่รงุ่ เรืองของศลิ ปะแม่แบบท่เี รียกว่า ตระกูลศิลปแ์ ห่งมถุราดว้ ย โดยเจรญิ คูก่ ันมากับศลิ ปะ แบบคันธาระ และราชวงศก์ ษุ าณก็ได้อุปถมั ภบ์ �ำรงุ ศิลปะ ทง้ั สองสายนน้ั พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 53

ทางสายไหม (สว่ นตน้ ของทางสายไหม ซง่ึ ใชข้ นหยกจากโขตาน เพราะในหลุมฝงั ศพอียปิ ตโ์ บราณกพ็ บผา้ ไหม นอกจาก /Khotan ไปยงั กรุงจนี มมี านานตง้ั แต่ราว 300 BC/ราว น้นั มีตำ� นานของยวิ ว่า พอ่ คา้ อสิ ราเอลไดค้ ้าขายกับจนี มา 141-87 BC ทเ่ี มืองจีน ในรชั กาลพระเจา้ ฮ่ัน-ว่ตู ่ี พ.ศ. ๒๕๐ แล้ว และเริ่มเช่ือมกบั ตะวนั ตกตง้ั แต่ 200 แตส่ มยั กษตั รยิ เ์ ดวดิ /King David ครง้ั ต้นศตวรรษที่ 10 จีนแผอ่ �ำนาจมาถึงอาเซยี กลาง ไดเ้ ปิดเส้นทางสายไหม BC แตค่ ้าขายกนั จรงิ จงั ในยุค 100 BC อยา่ งไรก็ดี นัก BC) เชอ่ื มเมอื งเชยี งอาน (ฉางอาน) กบั โรม ยาว ๔,๐๐๐ ประวตั ศิ าสตร์บา้ งกว็ า่ ทางสายไหมมตี ้ังแตร่ าว 1,000 BC ไมล์ (๖,๕๐๐ กม.) โดยเริม่ มีกองเกวยี นขนสง่ ไหมไปยัง เปอรเ์ ซยี ในปี 106 BC (=พ.ศ. ๔๓๘) 54 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

โรมนั เรอื งอ�ำนาจ เดือน “สงิ หาคม” ทเ่ี ดิมเรียก Sextilis กถ็ ูก เปล่ียนช่อื เพือ่ เฉลมิ พระเกียรตเิ ปน็ August ในปี 8 BC 90 BC (ฝรง่ั นับ=พ.ศ. ๓๙๓ เรานับ=พ.ศ. ๔๕๓) (ทำ� นองเดียวกับท่เี ดือน “กรกฎาคม” ซง่ึ เดิมเรียกว่า สาธารณรฐั โรมนั เกิดสงครามกลางเมอื ง ในที่สดุ ปี 48 Quintilis ไดถ้ ูกเปล่ยี นชื่อเปน็ July เมื่อปี 44 BC เพ่อื BC จูลิอุส ซีซาร์ (Julius Caesar) มชี ัยได้อำ� นาจ แต่ ๔ เฉลิมเกียรติของ Julius Caesar) ปตี ่อมาเขากถ็ กู ลอบสังหาร นบั แต่รชั กาลของพระเจา้ ออกัสตสั น้เี ปน็ ตน้ ตอ่ มา ออกตาเวยี น (Octavian) นดั ดา ซ่งึ จลู ิอสุ ไป สาธารณรฐั โรมัน (Roman Republic) เปลยี่ นเป็น ซซี ารไ์ ดต้ งั้ ไวเ้ ปน็ ทายาท รบชนะแอนโทนแี ละคลโี อพตั รา จกั รวรรดโิ รมนั (Roman Empire) เรียกส้ันๆ ตามช่อื (ราชินแี ห่งอียิปต์ ราชธดิ าของพระเจ้า Ptolemy XI) ใน เมืองหลวงว่า “โรม” ปี 31 BC (โอรสของนางคือกษัตริย์ Ptolemy XV กถ็ กู สังหาร จึงสนิ้ ราชวงศ์ Ptolemy) พระเจ้าออกัสตัส จดั การบา้ นเมืองและบำ� รงุ ศลิ ปวิทยา เรม่ิ ยุคแหง่ ความสงบเรยี บรอ้ ยและร่งุ เรอื งสืบ ออกตาเวยี นไดร้ บั สถาปนาเป็นจักรพรรดโิ รมนั มา ๒๐๐ ปี มีค�ำเฉพาะเรียกวา่ Pax Romana องคแ์ รก ในปี 29 BC เฉลมิ พระนามว่า ออกสั ตสั หรอื ออกัสตัส ซซี าร์ (Augustus Caesar) ในปี 27 BC จากซ้าย: จูลิอสุ ซซี าร์ คลโี อพตั รา มาร์ค แอนโทนี ออกสั ตัส ซซี าร์ พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 55

จากซา้ ยบน: ถนนโรมนั +ทางสายไหม โรมันมาครองยิว Pompeii Street Roman Road พระเจ้าออกัสตัสไดใ้ สพ่ ระทัยสร้างถนนโรมนั 63 BC (ตามฝรั่ง=พ.ศ. ๔๒๐; ไทยนับ=พ.ศ. นายพลปอมปีย์ (Roman Roads ของเดิมสร้างมาแตร่ าว 312 BC) ซง่ึ ๔๘๐) นายพลโรมนั ชือ่ ปอมปีย์ (Pompey, คแู่ ขง่ และ 56 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก เชอื่ มกรงุ โรมกบั เมอื งนอ้ ยใหญ่ (ตอนเจรญิ สงู สดุ จกั รวรรดิ แพ้ Julius Caesar) ยึดเยรซู าเล็มได้ และเข้าปกครอง โรมันมถี นนยาวทัง้ สน้ิ ๘๕,๐๐๐ กม. จากอังกฤษถึง แผ่นดนิ ปาเลสไตน์ ชาวยวิ ตกอยใู่ ต้การปกครองของ อาฟรกิ าเหนือ จากคาบสมทุ รไอบเี รียฝงั่ แอตแลนตคิ จักรวรรดิโรมัน ในทศิ ตะวันตก จดอา่ วเปอรเ์ ซยี ในทศิ ตะวนั ออก ผ่าน ดินแดนตา่ งๆ ถา้ นับตามสภาพปัจจบุ นั กเ็ กนิ ๓๐ ชาติ) ทางสายไหม ซงึ่ เรมิ่ จากเมอื งเชียงอาน หรือ จากฝ่ังทะเลจนี ผ่านอาเซยี กลาง มายังคนั ธาระและ บากเตรยี /โยนก ต่อไปทางแบกแดด จนถงึ ฝั่งตะวันออก ของทะเลเมดเิ ตอเรเนียน ได้เชอ่ื มจักรวรรดิโรมนั กับจนี และอินเดยี โดยต่อเขา้ กบั ถนนโรมนั น้นั และถนนแถบ ชมพูทวปี ท่สี รา้ งขนึ้ มากมายในยุคอโศก พร้อมทง้ั ถนน ของจักรวรรดิเปอร์เซยี โบราณ เป็นเส้นทางเดินแหง่ อารยธรรมตะวันออก-ตะวันตกอยู่ยาวนาน (หลกั ฐานฝา่ ยกรีกกลา่ วถึงถนนของโมรยิ กษัตริย์ เช่อื มเมอื งตกั สิลา ปาฏลีบุตร และสิน้ สดุ ทีเ่ มืองท่า ตามรลิปติ (บาลี=ตามลิตต;ิ ตัมพลิงค์ กว็ ่า) ท่ีปากแม่น�้ำ คงคา ใต้เมอื งกลั กตั ตาปัจจบุ ัน ถา้ วดั ตรงเปน็ เสน้ บรรทดั โดยไมผ่ า่ นเมอื งอืน่ ในระหวา่ ง กเ็ ปน็ เส้นทางยาว ๒,๐๐๐ กม.)

ก�ำเนดิ ศาสนาคริสต์ ค.ศ. 25 หรอื 29 (=เรานบั พ.ศ. ๕๖๘ หรอื ๕๗๒) โรมนั ก�ำจัดครสิ ต์ พระเยซูถกู โรมนั ซง่ึ เป็นผู้ปกครองทน่ี น่ั สง่ั ลงโทษตาม 8-4 BC (ตามฝร่ัง=พ.ศ. ๔๗๕-๔๗๙) นบั แบบ ความประสงคข์ องพวกยวิ ใหป้ ระหารชวี ติ ด้วยการตรงึ พ.ศ. ๖๐๗ (ค.ศ. 64; ฝร่ังนบั =พ.ศ. ๕๔๗) เนโร เรา=พ.ศ. ๕๓๕-๕๓๙) ชว่ งเวลาที่สันนษิ ฐานวา่ พระเยซู ไม้กางเขน ฐานอวดอา้ งเท็จวา่ เปน็ พระผู้มาโปรด (mes- (Nero) จกั รพรรดโิ รมนั เร่ิมก�ำจัดกวาดลา้ งผู้ถอื คริสต์ ประสตู ิทเ่ี มืองเบธเลเฮม (Bethlehem) ทางใต้ของ sianic pretender) อยา่ งโหดเหย้ี ม เยรซู าเล็มในอิสราเอล ชาวคริสตถ์ อื ว่าการสิ้นชีพของพระเยซูเพราะถูก หลังจากนนั้ มีการกวาดลา้ งชาวครสิ ต์คร้ังใหญ่ พระเยซเู ปน็ ชาวยวิ เปน็ บตุ รของแมน่ างพรหมจารี ตรึงไม้กางเขนนี้ เปน็ การไถบ่ าปใหแ้ กม่ วลมนุษย์ กบั ท้งั ในจักรวรรดิโรมันอีกหลายครัง้ โดยเฉพาะใน พ.ศ. ๗๒๐ แมรี ภรรยาของโจเซฟ ช่างไมแ้ หง่ เมอื งนาซาเรธ ถือว่าพระเยซไู ดฟ้ นื้ คนื ชีพ (Resurrection) และหลังจาก (ค.ศ. 177) จกั รพรรดมิ ารค์ ัส ออรีเลยี ส จดั การให้งาน น้นั ๔๐ วัน ไดเ้ สดจ็ ขึ้นสู่สวรรค์ กำ� จัดกวาดล้างผู้ถือครสิ ตจ์ ริงจงั เป็นระบบ พ.ศ. ๗๙๓ นาม “เยซ”ู คอื Jesus เปน็ ค�ำกรีก ตรงกับค�ำยวิ (ค.ศ. 250) จกั รพรรดดิ ีเชยี ส ดำ� เนินการก�ำจัดกวาดล้าง เป็นภาษาฮบิ รวู า่ Joshua ส่วน “ครสิ ต”์ คอื Christ หลงั จากน้ัน ปอล หรือ เปาโล (บางทเี รยี กเปน็ แบบตอ้ นฆา่ ไมเ่ ลอื ก ท�ำใหเ้ กดิ มีผ้พู ลชี พี ท่ีเรียกว่า mar- (ไครสต์) ก็เป็นคำ� กรีก ตรงกับคำ� ฮิบรวู ่า Messiah แปล ภาษาฮิบรวู า่ Saul; ไดเ้ ปน็ Saint Paul) เปน็ บคุ คล tyr ซึ่งต่อมายกเปน็ นักบุญ (saints) และใน พ.ศ. ๘๔๖ ว่า “(ผูไ้ ด้รบั การ)เจมิ แลว้ ” สำ� คญั ทที่ ำ� ใหศ้ าสนาคริสต์เผยแพร่ไปอย่างกวา้ งขวางใน (ค.ศ. 303) จักรพรรดไิ ดโอคลีเชยี นกด็ �ำเนนิ การกำ� จัด ดนิ แดนกรีก-โรมัน กวาดลา้ งคราวใหญอ่ กี เม่อื อายปุ ระมาณ ๓๐ ปี หลงั ไดร้ บั ศลี จ่มุ (Bap- tism) จาก John the Baptist แลว้ พระเยซูได้เร่มิ เผย แพรค่ ำ� สอนทเี่ ป็นฐานให้เกดิ ศาสนาคริสต์ (ส่วนมากสอน ทกี่ าลิล/ี Galilee ซ่งึ อยู่ส่วนเหนอื สดุ ของปาเลสไตน์ เมอื ง นาซาเรธ/Nazareth ท่พี ระเยซูเตบิ โตก็อย่ใู นเขตกาลลิ ี นี้) โดยมสี าวกท่ที ่านเลอื กไว้ ๑๒ คน (12 Apostles มี Saint Peter เป็นหัวหน้า) แตเ่ มอ่ื พระเยซสู อนในปที ่ี ๓ พวกนกั บวชยิว เปน็ ตน้ ซง่ึ ไมพ่ อใจการสอนของทา่ น รว่ มดว้ ยสาวกคนหนงึ่ ของทา่ นที่ทรยศ ได้สมคบกันจบั ตัวทา่ นใหเ้ จา้ หนา้ ทยี่ ิว สอบสวนฐานปลกุ ปน่ั ประชาชน แลว้ สง่ แกโ่ รมนั ผปู้ กครอง จากซา้ ย: พระเยซู จกั รพรรดิเนโร พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 57

พุทธศาสนารงุ่ เรือง ยคุ ท่ี ๒ พระเจา้ กนิษกะ ผตู้ ัง้ ศกราช ศาสนา พุทธศิลป์รุง่ เรืองมาก และไดท้ รงสร้างมหาสถปู พระเจ้ากนิษกะ ใหญ่ท่สี ดุ สูง ๖๓๘ ฟตุ ไว้ทีเ่ มอื งปุรษุ ปุระ พ.ศ. ๖๒๑ (ฝรั่งว่า ค.ศ. 78=พ.ศ. ๕๖๑) พระเจา้ นยิ มใชศ้ กั ราชช่อื ว่า วิกรมสังวตั ของพระเจา้ วกิ รมาทติ ย์ กนษิ กะ กษตั รยิ ์ย่งิ ใหญท่ ี่สุดของอาณาจกั รกษุ าณ ขึ้น พระเจ้ากนิษกะสวรรคตราว พ.ศ. ๖๔๕ (แต่บาง ในตำ� นาน ซง่ึ ก็วา่ ต้งั เม่อื ชนะชาวศกะ ในปี 56 BC, แต่ ครองราชยท์ ี่เมอื งปุรุษปุระ (ปจั จุบัน=Peshwar) ถือเปน็ ต�ำราวา่ ครองราชย์ถงึ ๔๒ ปี) อาณาจักรกุษาณอยตู่ อ่ มา ในประวตั ศิ าสตร์ พระเจา้ วกิ รมาทติ ย์ คือจันทรคปุ ตท์ ี่ ๒ เร่มิ ตน้ ศกกาล (=กาลเวลาของชนชาวศกะ หรอื =ศกราช- อีกศตวรรษเศษกส็ ิน้ แห่งราชวงศ์คปุ ตะ ซึ่งไดข้ ับไลช่ นชาวศกะออกไปจาก กาล=กาลเวลาแหง่ ราชาของชนชาวศกะ) อนั เปน็ ทมี่ าของ อชุ เชนี ในปี ๙๔๓/400) คำ� วา่ “ศักราช” (อินเดยี ได้ใช้ศกกาลน้ี เปน็ ศกั ราชของ (ศกกาลหรือศกาพท์น้ัน กอ่ นรฐั บาลอนิ เดียใช้ ราชการ; ปจั จบุ นั พ.ศ. ๒๕๔๕=2002-78=ศกกาล 1924) เปน็ ทางการของประเทศ ทางอนิ เดียใต้ได้ใชก้ นั มาโดย มีตำ� นานตา่ งจากขา้ งต้นวา่ พระเจ้าศาลิวาหนะแห่ง พระเจา้ กนิษกะทรงเปน็ พทุ ธมามกะย่ิงใหญ่ และ ราชวงศ์สาตวาหนะเป็นผู้ตัง้ ขึ้น เมอื่ ทรงชนะและได้ ไดท้ รงทำ� นุบำ� รงุ พระพุทธศาสนามากมาย ทำ� ใหพ้ ระ สังหารพระเจา้ วิกรมาทิตย์ ราชาชาวศกะ แห่งกรงุ พุทธศาสนาแผ่ไปทางอาเซียกลาง แล้วขยายตอ่ ไปยังจนี อชุ เชนี ใน ค.ศ. 78, เรื่องนี้ตรงขา้ มกบั อนิ เดยี เหนือท่ี เปน็ ต้น ทรงสืบต่อประเพณพี ุทธในการใหเ้ สรีภาพทาง พุทธศาสนาเข้าสจู่ ีน นักประวัติศาสตรก์ ลา่ ววา่ ตามหลักฐาน ไดม้ ชี าว พทุ ธอยใู่ นจีนนานกอ่ นนน้ั ตง้ั แต่ศตวรรษที่ 3 BC เพียง พ.ศ. ๖๐๘ (ค.ศ. 65) เป็นปที ีถ่ อื กันมาวา่ จีนรบั แตย่ ังไม่มกี ารเผยแพรจ่ ริงจงั และพระพทุ ธศาสนาก็เขา้ พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศโดยทางราชการ กลา่ วคือ มาตามกระแสการนับถือของประชาชนเพ่ิมขึ้นเองทลี ะ พระจักรพรรดิ มิ่งตี่ แห่งราชวงศ์ฮนั่ ทรงสง่ คณะทูต ๑๘ น้อย ตอนแรกก็มาทางอาเซยี กลาง แล้วต่อมากม็ าตาม คน ไปสืบพระศาสนาท่ปี ระเทศอินเดยี ณ เมืองโขตาน เส้นทางการคา้ ดา้ นอาเซยี อาคเนย์ (Khotan ปจั จบุ ันเป็นของจนี =Hotan แต่สมัยนนั้ อยใู่ น อนิ เดีย) หลงั จากนั้น ๒ ปี คณะทตู กลบั มาพรอ้ มดว้ ยพระ พ.ศ. ๖๔๘ (ค.ศ. 105) ที่เมืองจนี มีผทู้ �ำกระดาษ ภกิ ษุ ๒ รปู คอื พระกาศยปะมาตงั คะและพระธรรมรกั ษะ ขนึ้ ใชเ้ ปน็ ครง้ั แรกในโลก (ผทู้ �ำเปน็ ขันทีในราชสำ� นัก) กับท้ังพระธรรมคัมภีรจ์ �ำนวนหนึง่ พระภิกษุ ๒ รูปนน้ั ได้ พ�ำนกั ท่ีวัดม้าขาวในเมอื งลกเอยี๋ ง (=โลห่ ยาง Loyang) และได้แปลพระคัมภีร์สภู่ าษาจีนหลายคัมภรี ์ 58 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

กษุ าณ โขตาน สังคายนา ทีม่ หายานปรากฏตวั ปรุ ุษปุระ พ.ศ. ๖๔๓ (=ค.ศ. 100) พระเจ้ากนิษกะ ทรง อปุ ถมั ภ์การสังคายนาทีพ่ ระสงฆน์ ิกายสรวาสตวิ าทจัด ชลนั ธร ขนึ้ ทีเ่ มืองชลนั ธร (ปัจจุบนั = Jullundur ไม่ไกลจาก Lahore) แต่หลกั ฐานบางแห่งว่าจดั ทก่ี ัศมีระ (แคชเมยี ร)์ หลักฐานฝา่ ยจนี ว่าได้จารึกพทุ ธพจนล์ งบนแผน่ ทองแดง ฮ่นั สังคายนาน้นี บั โดยรวมเปน็ ครั้งท่ี ๔ แตท่ าง เถรวาทไมน่ ับ และนกิ ายสรวาสติวาทกน็ บั เปน็ ครงั้ ท่ี ๓ เพราะไม่นบั การสงั คายนาสมยั พระเจา้ อโศกฯ ในสงั คายนาครงั้ นี้ พระอศั วโฆษ ปราชญใ์ หญ่ยคุ แรกของมหายาน (เปน็ กวีเอกของชมพทู วปี กอ่ นกาลิทาส และถอื กนั ว่าเป็นผ้รู จนา มหายานศรัทโธทปาทศาสตร์ ของมหายาน และเปน็ การทม่ี หายานยอมรับสงั คายนา คอื คัมภรี ์ว่าดว้ ยการเกดิ ขน้ึ แห่งศรทั ธาในมหายาน และ ครั้งน้ดี ว้ ย กบั ทั้งถอื เป็นจุดเร่มิ ทม่ี หายานจะเจริญรุดหนา้ พุทธจรติ ) ไดร้ ่วมจัด และไดก้ ลา่ วแสดงหลกั ธรรมของ ตอ่ มา แม้นิกายสรวาสติวาทจะสูญไป ก็ถือสังคายนาน้ี มหายานเปน็ อนั มาก นับว่าเปน็ การปรากฏตัวคร้งั สำ� คัญ เสมอื นเป็นสงั คตี ขิ องมหายาน หนา้ ตรงข้าม: ชนชาตไิ ทยเรม่ิ รบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา วดั ม้าขาว (แปะเบย๊ ี)่ ซ้าย: พ.ศ. ๖๒๑ (ค.ศ. 78) ประมาณช่วงเวลานี้ ในยคุ Dragon Gate Cave ที่ไทยถกู จีนรุกรานตลอดมานัน้ คราวหนึง่ พระเจา้ ม่งิ ตี่ เมืองโล่หยาง แหง่ ราชวงศฮ์ ั่น (ฮน่ั เมง่ ตี่ กเ็ รียก) ทรงส่งทตู สนั ถวไมตรี มายังขุนหลวงเมา้ กษัตรยิ ไ์ ทยแหง่ อาณาจักรอ้ายลาว คณะทูตไดน้ �ำพระพทุ ธศาสนาเขา้ มาดว้ ย ท�ำใหห้ วั เมือง ไทยทั้ง ๗๗ มีราษฎร ๕๑,๘๙๐ ครอบครวั (จ�ำนวนคน ประมาณ ๕๕๓,๗๐๐ คน) หนั มารบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา เป็นคร้ังแรก พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 59

พามยิ าน ศนู ย์การคา้ ศาสนา ฯลฯ เปอร์เซยี รุ่ง ชมพทู วีปรวน ในยุคน้ีและตอ่ เน่อื งมาประมาณ ๗๐๐ ปี เมือง พ.ศ. ๗๖๓ สิ้นราชวงศ์กุษาณ (สาตวาหนะ แห่ง พามิยาน (Bamian หรือ Bamiyan; อยู่หา่ งจากกาบลุ / ทักษณิ าบถ ก็ได้สน้ิ ไปใกล้ๆ กันเมอ่ื พ.ศ.๗๔๓) Kabul เมืองหลวงของอัฟกานสิ ถานปัจจุบนั ไปทางตะวัน- ตกราว ๑๕๐ กม.) เปน็ ศูนย์กลางทางศาสนา วัฒนธรรม เวลาศตวรรษหนึ่งตอ่ แตน่ ้ีเปน็ ช่วงมืดมัวแหง่ และการค้า บนเส้นทางพาณชิ ยร์ ะหว่างอินเดยี กับอาเซีย ประวัตศิ าสตร์ของชมพทู วปี ทราบกันเพียงว่า อาณาจกั ร กลาง โดยเช่อื มตะวนั ออกถึงจนี กับตะวันตกถงึ โรม มีการ เปอรเ์ ซีย หรอื อิหรา่ นโบราณของราชวงศ์สาสสนทิ สร้างพุทธสถาน วดั วาอารามรวมทั้งวดั ถำ้� มากมาย ทนี่ า่ (Sassanid) แผ่ขยายอำ� นาจ จนในที่สุด อาณาจกั รกุษาณ สงั เกตคอื พระพุทธรปู ใหญ่มหาปฏมิ ากรรม ทแ่ี กะสลกั รวมถงึ บากเตรยี หรือโยนก ได้ตกเป็นของอาณาจักร หินผาหนา้ ภเู ขาเขา้ ไป ๒ องค์ ซึ่งสนั นษิ ฐานกนั วา่ สร้าง เปอรเ์ ซีย และชมพทู วีปก็ระสำ�่ ระสายจนข้นึ สยู่ คุ คุปตะใน ในช่วง พ.ศ. ๗๕๐-๑๐๐๐ องคห์ น่งึ สงู ๕๓ เมตร อกี องค์ ศตวรรษตอ่ มา หน่ึงสูง ๓๗ เมตร (พระถงั ซำ� จั๋งไดผ้ ่านมาเหน็ และบันทึก ว่าองคพ์ ระประดับดว้ ยทองค�ำและเพชรนลิ จินดา) จีนยุคสามกก๊ สามกก๊ จนในทีส่ ดุ ทางฝา่ ยเหนอื สุมาเอยี๋ นถอดพระเจ้า โจฮวนออกจากราชสมบัตใิ น พ.ศ. ๘๐๘ (ค.ศ. 265) ตงั้ พ.ศ. ๗๖๓-๘๒๓ (ค.ศ. 220-280) ท่เี มอื งจนี ราชวงศใ์ หมค่ ือราชวงศ์จิ้นขึน้ อนั เปน็ ชว่ งแรกเรียกว่า เป็นยคุ สามก๊ก เน่ืองจากเมือ่ จะสิน้ ราชวงศฮ์ ัน่ บ้านเมอื ง จิ้นตะวนั ตก ครั้นถงึ ปี ๘๐๗ (ค.ศ. 264) กก๊ ตะวนั ตกท่ี ระส�่ำระสาย พระจักรพรรดิ คือ พระเจ้าเหยี้ นเต้ ทเี่ มือง เสฉวนส้นิ อำ� นาจ และต่อมาปี ๘๒๓ (ค.ศ. 280) กก๊ เหนอื ลกเอีย๋ ง เป็นเพียงห่นุ เชิด เกดิ เปน็ ๓ กก๊ สู้รบกัน มโี จโฉ มีชยั ปราบแคว้นหวู (หรือ ง่อ) ฝ่ายใต้ลงได้ รวมประเทศ ทีเ่ มืองหลวงในฝ่ายเหนอื (วยุ ก๊ก) เลา่ ปที่ ่ีเสฉวนในฝ่าย ให้กลับคนื เปน็ อันเดยี ว ตะวันตก (จกกก๊ ) และซนุ่ กวนท่นี านกิงในฝา่ ยใต้แถบ ตะวันออก (ง่อก๊ก) ในยคุ นีพ้ ุทธศาสนาเจริญขึน้ มาเหนือลัทธขิ งจ๊ือ แต่ลัทธิเตา๋ ก็รุ่งเรอื งขึ้นด้วย นอกจากนภี้ ยั ใหม่จากทาง เมอื่ โจโฉสิ้นชพี ในปี ๗๖๓ (ค.ศ. 220) พระเจา้ เหนือกจ็ ะเรม่ิ ปรากฏ คือ พวกหณู ะรกุ รานเขา้ มา เห้ยี นเตพ้ ้นจากราชสมบัติ บตุ รของโจโฉขึ้นครองแผน่ ดนิ เป็นพระเจ้าโจผีต้ังราชวงศ์วุย (หรอื เวย่ หรือ เว) สนิ้ ราชวงศฮ์ ัน่ แตล่ ะแควน้ ต้งั ตัวเป็นใหญ่ จงึ ถือว่าเขา้ ยคุ 60 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

งานอชนั ตา ฟ้ืนขึน้ มาและเดินหนา้ ตอ่ ไป ในยุคของวากาฏกะนี้ งานศลิ ป์ทีห่ มู่ถำ้� อชนั ตาได้ กลับฟนื้ ข้ึนและเฟื่องฟสู ืบตอ่ มาในสมัยราชวงศจ์ าลกุ ยะ พ.ศ. ๘๐๐ (โดยประมาณ; กลางหรอื ปลาย ค.ศต. (พ.ศ. ๑๐๘๖-๑๓๐๐) ด้วย ที่ 3) ทางด้านทักษณิ าบถ เม่ือสาตวาหนะเส่อื มอ�ำนาจ ไปแล้ว ท่ี Deccan ตอนบน ราชวงศว์ ากาฏกะ (นกั พทุ ธศตวรรษที่ ๘-๑๒ อาเซียกลาง โดยเฉพาะ โบราณคดีบางท่านสันนิษฐานวา่ เปน็ เชื้อสายกรกี ) ไดข้ นึ้ เมืองกจู า (Kucha ถ้าวดั ตรงเปน็ เส้นบรรทัด กอ็ ยู่เลย ครองอำ� นาจ โดยมีเมืองหลวงอยู่ทปี่ รุ กิ า (ตอ่ มาย้ายไปที่ ตกั สลิ าไปทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ราว ๑,๒๕๐ กม. แลว้ นาสิก/Nasik แลว้ ย้ายอกี ไปที่ประวรปุระ) ต่อลงไปทางตะวนั ออกเฉยี งใต้อกี ราว ๒,๔๐๐ กม. จึงจะ ถึงเมืองเชยี งอาน) ไดเ้ ป็นศนู ย์กลางสำ� คญั ของพระพทุ ธ- ในชว่ งเวลาใกลก้ นั นี้ ในอนิ เดยี ภาคเหนอื กม็ ี ศาสนา ทแ่ี ผ่พระพทุ ธศาสนาตอ่ จากชมพทู วปี ไปยงั ราชวงศ์คุปตะรุ่งเรอื งขึ้นมา และมสี มั พนั ธไมตรอี นั ดกี บั ประเทศจีน โดยเสน้ ทางสายไหม มีพระภิกษุหลายทา่ น ท่ีน่ี กับทัง้ ทะนุบำ� รงุ ศิลปกรรมเช่นกัน เดนิ ทางไปจนี จากเมอื งน้ี (เมืองอืน่ ทสี่ ำ� คญั กเ็ ช่น โขตาน/ Khotan ทบี่ ดั นเ้ี ปน็ Hotan ซงึ่ หา่ งตกั สลิ าเพยี ง ๗๕๐ กม.) ทงั้ สองอาณาจกั รนเี้ จริญคู่เคยี งกนั มา และสน้ิ วงศ์ ในเวลาใกล้กัน (คุปตะสน้ิ พ.ศ. ๑๐๘๓=ค.ศ. 540 ส่วน วากาฏกะก็สิ้นในชว่ งใกล้กนั น้ัน) โรมนั รวน เพราะบาร์เบเรียน พ.ศ. ๘๒๙ (ค.ศ. 286) ไดโอคลเี ชยี น จกั รพรรดิ โรมนั ไดเ้ ผชิญปัญหาพวกอนารยชนเผา่ ต่างๆ โดยเฉพาะ พวกเผ่าเยอรมนั ทท่ี ยอยมาบุกตดี นิ แดนแถบเหนอื และ ตะวนั ตกเรื่อยมาตงั้ แต่ต้นศตวรรษ จงึ หาทางจดั การ ปกครองใหง้ ่ายขน้ึ โดยแยกจักรวรรดิโรมันออกเปน็ ๒ ภาค คอื จกั รวรรดิโรมันตะวนั ตก และจักรวรรดโิ รมนั ตะวันออก พ.ศ. ๘๕๔ (ค.ศ. 311) เกลเี รียส จกั รพรรดิโรมัน ซงึ่ ไดห้ �ำ้ ห่นั ผถู้ อื ครสิ ตอ์ ยา่ งมาก คร้ันใกลส้ วรรคต ได้ ประกาศโองการยอมให้มกี ารถือศาสนาตามสมคั รใจ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 61

อนิ เดียรุ่งใหม่ ในยคุ คปุ ตะ ในยคุ นี้ ศิลปะแบบคุปตะได้เจรญิ ขึ้นมาแทนท่ี มหาวทิ ยาลัยนาลันทา ศลิ ปะแบบคันธาระ-กรีก ทคี่ ่อยๆ หายไป พ.ศ. ๘๖๓ (ค.ศ. 320) หลังกุษาณสิ้นวงศแ์ ล้ว และชมพูทวปี ปนั่ ป่วนอยู่ พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ ๑ (ต้ังชอ่ื กษัตรยิ ใ์ นราชวงศ์คปุ ตะ แมว้ ่าส่วนใหญจ่ ะเป็น เลียนแบบจันทรคุปต์แหง่ โมริยวงศ์) รวบรวมดินแดนชมพู ฮนิ ดู แต่ได้อปุ ถมั ภ์มหาวทิ ยาลยั นาลนั ทาอยา่ งมากใน ทวปี แถบเหนอื ฟน้ื มคธขึน้ มา ตัง้ ราชวงศ์ใหมช่ อ่ื คุปตะ ฐานะสถานศกึ ษา ครองราชยท์ ี่เมอื งปาฏลบี ุตร นำ� อนิ เดยี ข้นึ สคู่ วามรุง่ เรอื ง อกี คร้ังนานราว ๒๒๐ ปี (เฉพาะในรัชกาลพระเจา้ จันทรคุปตท์ ี่ ๒ วกิ รมา- ทติ ย์ พ.ศ. ๙๒๓-๙๕๘ ไดต้ ง้ั เมอื งหลวงท่อี โยธยา ซงึ่ ใน คร้ังโบราณเคยเป็นเมืองหลวงของแควน้ โกศลตั้งแต่สมัย พระรามในเรือ่ งรามเกยี รติ์ คือรามายณะ ก่อนจะยา้ ยมา ตงั้ ท่สี าวตั ถี สว่ นในคร้งั พุทธกาล อโยธยามชี อ่ื ว่าสาเกต อยหู่ ่างกสุ ินาราไปทางตะวนั ตก ๑๗๐ กม.) โรมนั หนั มาถือคริสต์ บูรณะเมืองบีแซนเทยี ม แลว้ ย้ายจากโรมไปที่นน่ั ตง้ั เปน็ นครหลวงใหมข่ องจกั รวรรดโิ รมนั ใหช้ อื่ วา่ เมอื งคอนสแตน- พ.ศ. ๘๕๖ (ค.ศ. 313) คอนสแตนตินที่ ๑ ตโิ นเปลิ (Constantinople; ปจั จบุ ันคอื เมืองอสิ ตันบลุ / (Constantine I) หรือคอนสแตนตินมหาราช จักรพรรดิ Istanbul ในประเทศเตอรก์ )ี โรมนั ผ้คู รองโรมนั ตะวนั ตก ได้ประกาศโองการแห่งมิลาน คอนสแตนตนิ ที่ ๑ (Edict of Milan) ยกศาสนาครสิ ต์เปน็ ศาสนาประจ�ำรัฐ 62 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก ของจกั รวรรดโิ รมนั ตอ่ มา คอนสแตนติน รบและสงั หารไลซิเนียส จกั รพรรดิโรมันตะวันออกในท่รี บ แล้วครองอ�ำนาจผู้เดยี ว ครนั้ ถงึ พ.ศ. ๘๗๓ จกั รพรรดคิ อนสแตนติน เหน็ ชดั แลว้ วา่ คงสกดั พวกอนารยชนเผา่ เยอรมนั ทั้งหลาย คอื พวก แฟรงค/์ Franks พวกกอธ/Goths พวกแวนดาล/Vandals เป็นต้น ไวไ้ ม่อยู่ จะตอ้ งรน่ ถอยจากอติ าลี และกอล จึงได้

หลวงจนี ฟาเหียนมาบก กลับทะเล และเขียนบนั ทึกการเดินทางไว้ ซ่งึ ฝรง่ั แปลเปน็ หนงั สือ คันธาระ ปรุ ษุ ปุระ โขตาน นานกิง ตงั้ ชือ่ วา่ “Record of Buddhist Kingdoms” ให้ ตกั สิลาแม่นำ�้ แยมม่นุน้ำ�าคงคา พ.ศ. ๙๔๕ (ค.ศ. 402) หลวงจีนฟาเหยี น ความรู้เร่ืองสภาพพระพุทธศาสนาในอินเดียยคุ ท่รี ุง่ เรือง คปุ ตะแมน่ ำ้� สนิ ธุ เชียงอาน (Fa-hsien) จารกิ ทางไกลแสนกันดารจากเมอื งจีน ขา้ ม เชน่ วัดวาอารามมากมายที่ตกั สิลา กอ่ นถกู พวกฮั่น มถรุ าพารเาวณสาสลี คี ยปาาฏลบี ุตร ทะเลทรายโกบีและปา่ เขามากมาย ฝ่าท้ังลมร้อนและหมิ ะ ทำ� ลาย กอ่ นจะถกู ศาสนาฮินดูเร่มิ กลนื และก่อนจะพินาศ ทะเล จนี ยะเยือก ผ่านทางอาเซยี กลางมาถึงชมพทู วีป เข้าทาง ในยุคทีท่ ัพมสุ ลมิ บุกเขา้ มา อาหรับ คนั ธาระ เยือนปุรุษปุระ ตักสิลา ไปจนถงึ กบลิ พสั ดุ์ ทกั ษณิ าบถ อา่ ว นมสั การสงั เวชนียสถานท้ัง ๔ ศึกษาทีป่ าฏลบี ุตร อยู่ ในอนิ เดยี ยคุ ราชวงศ์คปุ ตะ ๑๐ ปี แล้วนำ� คัมภีร์พระ เบงกอล ไตรปิฎก เป็นต้น เดนิ ทางกลับเมอื งจนี โดยทางเรอื แวะ พำ� นกั ทลี่ ังกาทวปี ๒ ปี ผจญภัยในทะเล คร้ังหนึง่ ถกู คลื่น ลังกา ใหญซ่ ัดไปขึน้ เกาะ (คงจะเปน็ ชวา แตเ่ วลานน้ั ยงั ไม่มี มหาสมุทรอนิ เดยี อาณาจกั รศรวี ชิ ัย) ฝา่ คลนื่ ลมร้ายเกือบ ๗ เดอื น จงึ ถงึ เมอื งจนี แล้วแปลพระคมั ภรี ์ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีน ชวา โรมันก�ำจดั คนนอกคริสต์ พ.ศ. ๙๑๐-๙๒๖ (ค.ศ. 367-383) เมอื่ โรม เป็น ตอ่ มาถูกอตั ตลิ าทำ� ลายใน พ.ศ. ๙๙๕=ค.ศ. 452 แม้จะ ครสิ ตแ์ ลว้ เกรเชย่ี น (Gratian) จกั รพรรดโิ รมนั กก็ วาดลา้ ง ฟ้นื ขนึ้ มาก็ถกู ท�ำลายอีก เชน่ พวกกอธทำ� ลายใน พ.ศ. (persecution) คนนอกรตี และคนนอกศาสนาครสิ ต์ ๑๐๘๒=ค.ศ. 539 แลว้ ก็ฟนื้ ข้นึ อีก โดยเฉพาะหลงั ค.ศ. พ.ศ. ๙๓๘ (ค.ศ. 395) เม่ือจักรพรรดธิ โี อโดสอิ สุ 1000 ไดเ้ ปน็ เมอื งรงุ่ เรอื งยง่ิ ใหญจ่ ากการทศี่ าสนจกั รครสิ ต์ สวรรคตแลว้ จกั รวรรดโิ รมนั แยกออกเปน็ ๒ เดด็ ขาดถาวร โดยอารช์ บชิ อปท้ังหลาย ได้ครองอ�ำนาจฝา่ ยอาณาจักร คือ จักรวรรดิโรมนั ตะวันออก ซ่ึงเรยี กต่อมาวา่ จกั รวรรดิ ด้วย) บแี ซนทนี (Byzantine Empire) ทกี่ รงุ คอนสแตนตโิ นเปลิ และจักรวรรดิโรมันตะวันตก (Western Roman Empire) ที่กรงุ มลิ าน (Milan) จากซ้าย: (มิลานได้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิโรมัน เกรเชีย่ น ตะวันตกในช่วง พ.ศ. ๘๔๘-๙๔๕=ค.ศ. 305-402 อัตตลิ า พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 63

ก) ฮน่ั - ฮินดู ท�ำลายพทุ ธ พ.ศ. ๙๕๐-๑๐๕๐ (โดยประมาณ) พวกพราหมณ์ ว่านารายณจ์ ะอวตารปางที่ ๑๐ เรียกวา่ กัลกยาวตารลง ด�ำเนินแผนทำ� ลายพระพทุ ธศาสนาด้วยวธิ ีกลืน โดยแต่ง มากำ� จัดพวกอสูรคอื ชาวพุทธทีพ่ ระพุทธเจ้าหลอกออกมา คัมภีร์วษิ ณปุ รุ าณะขน้ึ บอกว่าเทวดารบแพอ้ สูร จึงมาขอ ไว้แลว้ นี้ อีกทหี น่ึง พึ่งองค์วิษณุคือพระนารายณ์ พระองค์จงึ อวตารมาเป็น พระพทุ ธเจ้า เพ่อื หลอกพวกอสูร ให้ละท้งิ พระเวทและ ในช่วงนี้ ลทั ธิ “ภกั ติ” คอื ความมีศรัทธาดว้ ยใจ เลิกบูชายัญ พวกอสูรจะได้เสือ่ มฤทธ์ิ แล้วฝา่ ยเทวดาจะ รักภกั ดีตอ่ เทพเจ้าอยา่ งแรงเข้มในเชงิ อารมณ์ ได้มกี ระแส ได้มาปราบอสูรได้งา่ ย (หมายความว่า ชาวพุทธ กค็ อื พวก แรงข้นึ ด้วย สง่ ผลกระทบตอ่ พระพุทธศาสนามาก อสูรที่ถกู พระพทุ ธเจา้ หลอกใหล้ ะท้งิ พระเวทอันศกั ดิ์สทิ ธ์ิ และยญั พธิ อี ันประเสริฐ มาส่ทู างแห่งความเส่อื ม) เรยี ก พทุ ธาวตารวา่ เป็นนารายณป์ าง “มายาโมหะ” และบอก พุทธศาสนาเขา้ สเู่ กาหลี จีน พ.ศ. ๙๑๕ (ค.ศ. 372) กษัตริย์เกาหลีแคว้นฝ่าย Goguryeo ญ่ีปนุ่ เหนือส่งทูตมาขอพระพุทธรปู และคัมภีร์ จากจกั รพรรดิ เฮาบูต่ีแห่งราชวงศจ์ ิ้นของจีน (เวลานั้นเกาหลียงั แยก Baekjae Silla เป็น ๓ อาณาจักร) จากจุดเริม่ นี้ พทุ ธศาสนากแ็ พรไ่ ปท่ัว Kaya เกาหลที ั้งหมด 64 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

พระพทุ ธโฆสาจารย์ จากชมพทู วปี ทั้งสองนั้นขึ้นเสร็จเปน็ คัมภีร์วสิ ทุ ธิมัคคใ์ นปี ๙๗๓ จาก ไปสบื อรรถกถาท่ีลงั กา นนั้ จงึ ได้รบั อนญุ าตใหแ้ ปลอรรถกถาไดต้ ามประสงค์ เมื่อ ท�ำงานเสร็จสน้ิ แลว้ กเ็ ดินทางกลับสชู่ มพูทวปี พระพุทธ- พ.ศ. ๙๖๕ (ค.ศ. 422) เนือ่ งจากพระพุทธศาสนา โฆสาจารยเ์ ปน็ พระอรรถกถาจารย์ที่มีผลงานมากที่สุด ในชมพูทวปี เส่อื มลงมาก แมจ้ ะยงั รักษาพระไตรปฎิ กบาลี (ต�ำราต่างเลม่ บอก พ.ศ. ต่างกันบ้าง) ไว้ได้ แต่คมั ภีรอ์ ธิบายทีจ่ ะใช้เป็นเคร่อื งชว่ ยในการศึกษา มอี รรถกถา เปน็ ต้น ได้สูญส้ินไป พระพทุ ธโฆสได้รบั ค�ำ แนะน�ำจากพระอปุ ชั ฌาย์ คอื พระเรวตเถระ ใหเ้ ดนิ ทาง ไปลังกาทวปี เพื่อแปลอรรถกถาจากภาษาสิงหลกลับเปน็ ภาษาบาลี แล้วนำ� มายงั ชมพูทวปี เมื่อทา่ นไปถงึ ลงั กา ทวีปในปี ๙๖๕ แลว้ ตอ่ มาไดข้ ออนญุ าตแปลคัมภีร์ พระ เถระแหง่ มหาวหิ ารใหค้ าถามา ๒ บท เพ่ือแต่งค�ำอธิบาย เป็นการทดสอบความรู้ ท่านเรยี บเรยี งค�ำอธิบายคาถา กูจา โลห่ ยาง จนี กับอาเซียกลาง โขตาน เชียงอาน พ.ศ. ๙๔๔ (ค.ศ. 401) พระกุมารชวี ะถกู คนจนี มถุรา จีน ร้ายจบั ตัวจากเมืองกจู า (Kucha) ในอาเซียกลาง มาถงึ อ่าวเบงกอล เมอื งเชยี งอาน แต่เน่ืองจากความสามารถของทา่ น ทำ� ให้ ราชส�ำนักจนี นบั ถือ ทา่ นแปลพระคมั ภรี ส์ ันสกฤตเป็นจนี จำ� นวนมาก และแสดงธรรมอยเู่ สมอ เปน็ ก�ำลงั ส�ำคญั ให้ พระพทุ ธศาสนาเจรญิ ม่ันคงในจนี พ.ศ. ๙๖๔ (ค.ศ. 421) ธีโอโดสอิ ุสที่ ๒ จกั รพรรดิ โรมันตะวันออก ส่งกองทพั ไปส้กู ับกษตั รยิ เ์ ปอร์เซยี ท่ี กำ� จดั ชาวครสิ ต์ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 65

แม่นำ�้ สินธคุ ชุ ราต แม่น้ำ� ยแมมนุ่นา�ำ้ คงคา มหาวทิ ยาลัยวลภี ท่ีเคยย่ิงใหญค่ ูก่ บั นาลนั ทา วลภี แมน่ ำ้� นมั มทา กรรณสุวรรณ พ.ศ. ๑๐๑๘ (โดยประมาณ; ค.ศ. 475) ท่ีวลภี วากาฏกะ พ.ศ. ๑๐๑๓ (ค.ศ. 470) ในชว่ งที่ราชวงศ์คุปตะ ราชธานี เจ้าหญงิ ทฑุ ฑาแหง่ ราชวงศไ์ มตรกะ ได้ทรงกอ่ ตามลิตติ อ่อนแอลงจะแตกสลาย ได้มีอาณาจกั รใหม่ๆ ทยอยเกดิ ต้ังมหาวิหารของพระพุทธศาสนาฝ่ายหีนยาน ทภี่ ายหลงั ขน้ึ หลายแหง่ มที ง้ั ทอ่ี ปุ ถมั ภ์ และทที่ ำ� ลายพระพทุ ธศาสนา เรยี กวา่ มหาวทิ ยาลยั วลภี ซึ่งเจรญิ รุง่ เรอื งตอ่ มากว่า อา่ วเบงกอล เริ่มแต่อาณาจกั รวลภขี องราชวงศไ์ มตรกะ ทตี่ ้งั ขนึ้ ทาง ๒๐๐ ปี ตะวนั ตก (ปจั จุบนั คือ Valabhipur ในรัฐ Gujarat) จนถึง อาณาจักรกรรณสุวรรณ (เคาทะ) ของราชาศศางกะ (ก่อน พ.ศ. ๑๑๔๘-๑๑๖๒=กอ่ น ค.ศ. 605-619) ทาง ตะวนั ออก (แถบเบงกอล เทยี บครา่ วๆ เวลานค้ี อื แถวเมอื ง กัลกัตตาและบังคลาเทศ) ท่วั ยโุ รปสะทา้ น เพราะฮนั่ มา อีก ๓ ปีต่อมา อตั ตลิ าหันไปสนใจดา้ นจกั รวรรดิ สเปน กอล อาณาจกั รอตั ตลิ า โรมนั ตะวนั ตก และยกทพั ไปตกี อล (ปจั จบุ นั คร่าวๆ คือ พ.ศ. ๙๗๗ (ค.ศ. 434) ชนเรร่ อ่ นเผา่ หณู ะ หรอื ฝรั่งเศสและเบลเยีย่ ม) ทพั โรมนั ไดผ้ นึกก�ำลังกับพวกวิซ-ิ โรม ทะเลด�ำ อาเซีย ฮน่ั จากอาเซยี กลางตอนเหนอื ทฝ่ี รงั่ เรยี กวา่ เปน็ อนารยชน กอธ (Goths คือชนเผ่าอนารยะต้นเดิมของเยอรมนี พวก โรมนั ตะวนั ออก ซงึ่ เคยรบกวนจนี จนตอ้ งสร้างกำ� แพงเมอื งจีน ได้มาถึง ทอ่ี ยู่ทางตะวันตกเรียกว่า Visigoths) และชนชาติอื่นๆ ยโุ รป เทีย่ วบุกตีท�ำลายไปท่วั ที่ถูกพวกฮัน่ ขม่ เหง หยุดยั้งอัตตลิ าไวไ้ ด้ และมีชยั ปลอ่ ย ทะเลเมดิเตอเรเนียน ใหอ้ ัตติลาลา่ ถอยไป กระนั้นก็ตาม ในปีตอ่ มา คอื พ.ศ. พอถึง พ.ศ. ๙๗๗ อัตติลา (Attila) ราชาฮ่นั ไดท้ ำ� ๙๙๕ (ค.ศ. 452) อัตตลิ าก็มาตอี ิตาลเี สียหายมากมาย สนธิสญั ญากับธีโอโดสอิ สุ ท่ี ๒ ท�ำใหจ้ กั รพรรดิโรมนั แต่กรงุ โรมรอดมาได้ เพราะพอดีพวกฮัน่ ขาดเสบยี งและ ตะวนั ออก (บแิ ซนทนี ) ตอ้ งสง่ ทองคำ� ไปเปน็ ราชบรรณาการ เกิดโรคระบาดในกองทัพ จงึ ล่าถอยไป แกอ่ ตั ตลิ า ปลี ะ ๓๐๐ กก. แตล่ ว่ งมา ๖ ปี อตั ตลิ ากย็ กทพั เทีย่ วท�ำลายเมอื งใหญ่น้อย จนต้องทำ� สนธสิ ญั ญากันใหม่ ธโี อโดสิอุสท่ี ๒ ใหโ้ รมส่งเครอื่ งบรรณาการเพิม่ ขนึ้ ครัน้ ถงึ ปี ๙๙๐ กย็ ก ทัพมาตีอีก จนธีโอโดสิอสุ ตอ้ งยกดินแดนให้ไปมากมาย 66 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

อชันตาเลกิ ไป เอลโลราเรม่ิ ไม่นาน พ.ศ. ๑๐๓๓ (ค.ศ. 490) วากาฏกะ ซง่ึ รุ่งเรอื งข้นึ แมส้ ้ินยุควากาฏกะแลว้ งานสลักวัดถ้ำ� ท่อี ชนั ตา มาตงั้ แตร่ าว พ.ศ. ๘๐๐ ต่อจากสาตวาหนะ แมจ้ ะเปน็ ก็ด�ำเนินตอ่ มาในยคุ ของราชวงศ์จาลุกยะ จนยตุ ปิ ระมาณ ราชวงศ์ฮนิ ดู ดงั ที่กษัตรยิ ์องค์ที่ ๒ ไดป้ ระกอบพธิ อี ัศวเมธ พ.ศ. ๑๒๐๐ ถำ้� ยคุ หลงั นม้ี เี พมิ่ อกี ๒๔ เปน็ ของพทุ ธศาสนา (ฆา่ มา้ บูชายัญ) ถงึ ๔ คร้ัง แต่กษตั ริย์รุ่นหลังหลายองค์ มหายานล้วน เปน็ ชาวพุทธ และได้ทะนบุ �ำรงุ พระพุทธศาสนาเปน็ อัน ขณะท่งี านสลกั วัดถ�ำ้ ทอี่ ชันตายตุ ลิ ง กไ็ ด้มกี าร มาก งานบุญสำ� คญั ช้นิ หนง่ึ คือการขุดเจาะแกะสลกั วดั ถ�้ำ แกะสลกั วัดถ�้ำขน้ึ ที่เอลโลรา (เรยี กตามช่ือหมบู่ า้ นทีน่ ่นั (ทางโบราณคดีจดั นบั เป็นถำ้� ท่ี ๑๖) ท่ีอชันตา ซึ่งไดถ้ วาย ในปจั จุบัน; อยหู่ า่ งอชันตาลงมาทางตะวนั ออกเฉียงใต้ แก่สงฆใ์ นราว พ.ศ. ๑๐๓๓ ๘๐ กม.) ซึง่ เร่มิ ต้นในช่วง พ.ศ. ๑๑๐๐-๑๒๐๐ และหยุด เวลาตั้งแตใ่ กล้ พ.ศ. ๑๐๐๐ ในยคุ วากาฏกะนี้ เลิกประมาณ พ.ศ. ๑๔๐๐ รวมมี ๓๔ ถำ้� แต่เป็นของ เป็นช่วงระยะแหง่ การฟืน้ ใหม่ของการเจาะแกะสลักภเู ขา ๓ ศาสนา คือ พทุ ธ ฮินดู และเชน ต่างจากอชันตา ท่ี วาดภาพในหม่ถู �้ำอชนั ตา หลังจากหยุดเงยี บไป ๔๐๐ นอกจากเกา่ แก่แล้ว กเ็ ปน็ ของพุทธศาสนาอย่างเดยี ว กวา่ ปี ตงั้ แต่ยุคสาตวาหนะ เอลโลรา จักรพรรดจิ นี พโิ รธ พ.ศ. ๙๘๙ จกั รพรรดิจนี แหง่ ราชวงศ์เวเ่ หนอื ซ่งึ เคยส่งเสริมพระพทุ ธศาสนา มาคดิ เห็นว่าบ้านเมือง ตอ้ งสูญเสยี กำ� ลงั คนและค่าภาษอี ากรไปเนื่องจากการท่ี คนบวชและบ�ำรุงวัดวาอาราม จึงให้ฆ่าภกิ ษุและภิกษุณี ท�ำลายวดั และพระพทุ ธรปู หา้ มชายอายตุ ำ่� กว่า ๕๐ ออกบวช โดยได้ด�ำเนนิ การนีอ้ ยู่ ๕ ปี เปน็ เหตใุ หล้ ัทธิ ขงจื๊อข้ึนมามอี ำ� นาจเหนือพุทธศาสนา ปฏิมากรรมจากเวเ่ หนือ พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 67

พวกฮ่นั ทำ� ลายตักสิลา วัดวาหมดสิ้น พ.ศ. ๑๐๔๐ (โดยประมาณ; ราว ค.ศ. 500) พวก หูณะ หรอื ฮัน่ ขาว ซึ่งเปน็ ชนเผ่าเร่รอ่ นจากอาเซียกลาง ตอนเหนอื ได้บกุ เขา้ มาครอบครองชมพทู วปี ภาคตะวนั ตก เฉยี งเหนอื ท้ังหมด รวมทั้งโยนก (Bactria) และคนั ธาระ เฉพาะอย่างย่ิง ไดท้ ำ� ลายเมืองตักสิลา (พวกกรีกเรยี กว่า Taxila บาลี=ตกฺกสิลา; สนั สกฤต=ตกษฺ ศิลา) ศนู ยก์ ลาง การศึกษาพระพทุ ธศาสนาแถบพายพั ลงสนิ้ เชงิ นับแตน่ ี้ ศลิ ปะแบบคนั ธาระที่เสอื่ มลงตง้ั แตเ่ ข้า ยคุ คุปตะ ไมม่ ีผลงานใหม่เกดิ ข้นึ อกี แตศ่ ลิ ปะแบบคุปตะ ยงั คงเจริญตอ่ มา พระพทุ ธรปู ศลิ ปะคปุ ตะ โรมลม่ ยโุ รปเข้ายคุ มืด (Middle Ages) ของยโุ รป ซ่งึ โลกตะวนั ตกอยูใ่ ต้ก�ำกบั Romulus Augustulus ของลัทธคิ วามเชือ่ และสถาบันของศาสนาครสิ ต์ พ.ศ. ๑๐๑๙ (ค.ศ. 476) จกั รวรรดิโรมันตะวัน- ตก ซึ่งบอบชำ้� จากการรังควาญของชนเผา่ อนารยะ โดย อน่งึ สมยั กลางน้ี เคยนิยมเรยี กอีกอย่างหน่ึงวา่ เฉพาะพวกฮั่นของอัตติลา ครัน้ ถงึ ปี ๑๐๑๙ นี้ หัวหน้า “ยุคมดื ” (Dark Ages) คอื เป็นกาลเวลา ๑ สหสั วรรษ เผ่าอนารยชนเยอรมัน ชอ่ื โอโดเอเซ่อร์ (Odoacer) ก็ หรือ ๑,๐๐๐ ปี แห่งความอับเฉาและตกตำ่� โดยเฉพาะใน เขา้ บุกจบั จกั รพรรดิโรมิวลัส ออกัสตวิ ลสั (Romulus ทางปญั ญา ของยโุ รปและอารยธรรมตะวันตก Augustulus) แหง่ โรม ปลดจากตำ� แหนง่ เปน็ กาล อวสานแห่งจกั รวรรดิโรมนั ตะวนั ตก (ปราชญบ์ างพวกสงวนค�ำวา่ “ยคุ มดื ” ใหใ้ ช้กบั ชว่ งระยะต้นๆ ของสมัยกลางน้ัน) ช่วงเวลา ๑,๐๐๐ ปี แตน่ ไ้ี ป (พ.ศ. ๑๐๑๙- ๑๙๙๖=ค.ศ. 476-1453) คอื หลงั จาก “โรมล่มสลาย” แล้ว จนจกั รวรรดบิ ีแซนทนี ลม่ (=ต้ังแต่โรมันตะวนั ตก ล่ม ถึงโรมนั ตะวันออกสลาย) เรียกวา่ เป็น “สมยั กลาง” 68 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

ตกั สิลา บแี ซนทีน มองลว่ งหน้า หลังถกู พวกฮั่นรงั ควาญแล้ว อีก ๒-๓ ศตวรรษต่อ กอธ มากเ็ ริม่ เสยี ดินแดนแก่พวกอาหรบั แลว้ ถกู เซลจกู เตอร์ ส่วนจักรวรรดโิ รมันตะวันออก หรือบแี ซนทนี กรุกราน และถกู อาณาจกั รทางตะวนั ตกข่มเหง ในที่สุดก็ กอล มิลาน ทะเลด�ำ (Byzantine Empire) ท่คี อนสแตนติโนเปิล ซึง่ ต้ังเม่อื ถงึ อวสานเม่ือเสยี เมอื งคอนสแตนติโนเปลิ แกจ่ กั รวรรดิ สเปน คอนสแตนตโิ นเปิล ปี ๘๗๓ (ค.ศ. 330) ยงั รอดอยู่ และเจริญต่อมา ชว่ ย ออตโตมานเตอร์กใน พ.ศ. ๑๙๙๖ (ค.ศ. 1453) ถือวา่ สิ้น ดำ� รงอารยธรรมกรีก-โรมนั ไว้ในยามทีท่ างดา้ นตะวันตก สดุ สมยั กลางในยโุ รป โรม ระส�ำ่ ระสาย จักรวรรดโิ รมันตะวนั ตก ทะเล อาเซีย (แตท่ ีจ่ รงิ ยคุ บีแซนทีนนี้ ก็คอื ส่วนส�ำคญั หรือกาล เวลาส่วนใหญ่ของยคุ มดื นน่ั เอง) เมดิเตอเรเนียน จกั รวรรดิบแี ซนทนี ที่อย่นู านถึงพนั ปนี ี้ แทบไมม่ ี จักรวรรดโิ รมันตะวนั ออก เวลาที่รงุ่ เรืองแท้จรงิ เลย นอกจากรชั สมยั ของจักรพรรดิ ทเี่ ข้มแข็งบางพระองค์ ทีเ่ ปน็ เหมอื นช่วงแทรกเทา่ นัน้ แต่ อาฟรกิ า โดยท่วั ไปมภี ัยรกุ รานมาก อียิปต์ พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 69

ม.สินธุ คชุ ราต ม.ยมนุ า ม.คงคา อวสานราชวงศ์คปุ ตะ หรรษวรรธนะ กันยากพุ ชะ เวสปาาลฏีลีบตุ ร พ.ศ. ๑๐๕๐ เศษ กษัตริย์หูณะ หรอื ฮั่นขาว นาม ว่า มหิ ิรกุละ (หรอื มหิรคุละ; ได้สมญาว่า “อัตติลา/Attila วลภี อชุ เชนี ม.นัมมทา ประยาค กรรณสุวรรณ แห่งอินเดยี ) ผโู้ หดรา้ ย เป็นฮินดนู กิ ายไศวะ ครองเมอื ง สาคละ รุกเข้ามา ได้ตอ่ สู้กับกษตั ริย์คุปตะ และให้กำ� จดั จาลกุ ยะ พระพุทธศาสนา โดยท�ำลายวดั สถปู และสังหารชาวพุทธ ม.โคทาวรี เบองก่าวอล จำ� นวนสุดคณนา (ตัวเลขบางแหง่ วา่ วดั ถูกท�ำลาย ๑,๖๐๐ กลิงคะ วดั ) แต่ในท่ีสุดไดท้ �ำอตั วนิ ิบาตกรรม ใน พ.ศ. ๑๐๘๓ เวงคี วาตาปีปรุ ะ ม.กฤษณะ การรกุ รานของพวกฮน่ั บนั่ ทอนอำ� นาจของราชวงศ์ คุปตะอย่างยิง่ จนในทีส่ ดุ ประมาณ พ.ศ. ๑๐๘๓ (ค.ศ. ปลั ลวะ 540) จักรวรรดิคปุ ตะก็แตกสลาย เจระ ปาณฑยะ ภมู ิหลงั บบี คั้นทข่ี ับดันอารยธรรม ก�ำจัดกวาดลา้ ง (persecution) คนนอกรีตและคนนอก ศาสนาคริสต์ (การก�ำจดั กวาดลา้ งทางศาสนาในตะวันตก การขบั เค่ียวราวีลา้ งและลภ้ี ัยทางศาสนา เปน็ ถือไดว้ ่าจบสนิ้ เม่ือเลิกลม้ ศาลไต่สวนศรัทธาของสเปน ภมู หิ ลงั สำ� คัญในประวตั ิศาสตรข์ องตะวนั ตก และเปน็ แรง [Spanish Inquisition] ในปี 1834/๒๓๗๗) ขบั ดันอารยธรรมมาสสู่ ภาพปัจจุบัน โดยมีภาพรวมดงั นี้ เมื่อศาสนาอิสลามเกิดขึน้ แล้ว ไมช่ ้ากเ็ ป็นยคุ ในจักรวรรดิโรมนั ตะวนั ตก เม่อื ศาสนาคริสตเ์ กดิ สงครามกบั อาณาจกั รมสุ ลมิ จนกระทัง่ มีสงครามศาสนา ขึน้ แลว้ นบั แต่เรมิ่ ต้น ค.ศ. ก็เปน็ ยคุ แห่งการกวาดลา้ ง (religious war) ทีเ่ รยี กวา่ “ครเู สด” (Crusade) รวมท้ัง (persecution) คนถือคริสต์ ส้นิ ๘ ครเู สดส์ ยาวนาน ๒๐๐ ปี (1095-1291/๑๖๓๘– ๑๘๓๔) โดยมจี ดุ เรมิ่ สำ� คัญจากการทจ่ี ักรวรรดบิ ีแซนทีน ส่วนในจกั รวรรดิโรมันตะวนั ออก คอื บแี ซนทีน ขอความช่วยเหลือจากประเทศครสิ ต์แถบตะวนั ตกเพือ่ มา เม่ือจักรพรรดอิ งคแ์ รก คือ Constantine I นบั ถอื ครสิ ต์ ตา้ นการรุกรานของมุสลมิ เซลจูกเตอร์ก และให้ชาวครสิ ต์มีเสรีภาพในการนับถอื บชู าโดยประกาศ Edict of Milan ใน ค.ศ. 313/พ.ศ. ๘๕๖ (กอ่ นรวมตั้ง จกั รวรรดิ ๑๗ ปี) แล้ว ตอ่ มาไมน่ าน ก็เขา้ สูย่ คุ แหง่ การ 70 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

ชว่ งต่อส่ยู คุ ใหม่ ก่อนอนิ เดียลุกดังไฟ อาณาเขตอยแู่ คแ่ มน่ ำ�้ นมั มทา แม่น�้ำสำ� คญั ของดินแดนแถบนั้นน่ันเอง) แม้ว่าต่อมาจาลุกยะจะส้นิ วงศไ์ ปใน พ.ศ. ๑๓๐๐ ราชวงศ์จาลกุ ยะสามารถกอู้ ำ� นาจคนื มาไดใ้ น พ.ศ. ๑๐๘๖-๑๓๐๐ (ค.ศ. 543-757) ราชวงศ์ จาลุกยะ ครองราชย์ท่วี าตาปีปรุ ะ ในตอนกลางและ แตร่ าชวงศร์ าษฏรกูฏทข่ี ้นึ มาแทน กอ็ ุปถัมภ์งานศิลป์ พ.ศ. ๑๕๑๘ (ค.ศ. 975) และครองอาณาจักรอย่จู นถงึ ตะวันตกของทักษณิ าบถ สลกั ภูเขาสบื มา พ.ศ. ๑๗๓๒ (ค.ศ. 1189) ส่วนทางอินเดียฝ่ายเหนอื เมื่อคปุ ตะออ่ นแอลงจน นา่ สังเกตดว้ ยว่า ราชวงศจ์ าลกุ ยะ ต่อด้วยราชวงศ์ ราชวงศ์จาลุกยะทีก่ ลา่ วมานเ้ี รียกว่าจาลุกยะ จบสนิ้ วงศ์ เพราะการเข้ามาของพวกหูณะดงั กล่าวแลว้ ราษฏรกูฏท่ีเขม้ แข็งขนึ้ มาแทนที่ แลว้ แผอ่ �ำนาจ เทยี่ วรบ ตะวันตก เพราะในเวลาใกล้กนั นม้ี ีจาลกุ ยะอีกพวกหน่ึง น้ัน หลังจากวุ่นวายอยรู่ ะยะหนึง่ ก็มกี ษตั รยิ ์ย่งิ ใหญเ่ กดิ กบั อาณาจกั รอ่ืนๆ ทงั้ ในภาคกลางและภาคเหนอื ใน ครองอาณาจกั รเวงคี (ดินแดนแคว้นอนั ธระระหว่างแม่น้ำ� ขึ้น คอื พระเจ้าหรรษะ (พ.ศ. ๑๑๔๙-๑๑๙๐=ค.ศ. 606- ระยะนี้ ได้เป็นเคร่อื งกีดกน้ั ชนมุสลมิ อาหรับทีเ่ ข้ามาต้ัง โคทาวรี กับแมน่ ำ�้ กฤษณะ) ในระยะ พ.ศ. ๑๑๖๗-๑๖๑๓ 647) ซงึ่ มรี ัชกาลตรงกนั พอดกี ับราชาทเ่ี รืองอำ� นาจทสี่ ดุ อาณาจกั รในแถบแควน้ สินทใ์ ห้ไม่สามารถขยายดินแดน (ค.ศ. 624-1070) เรียกว่าราชวงศ์จาลกุ ยะตะวันออก ของจาลกุ ยะ คือ พระเจ้าปุลเกศนิ ท่ี ๒ (พ.ศ. ๑๑๕๓- ออกไป ๑๑๘๕=ค.ศ. 610-642) (แควน้ สินท/์ Sind ในปจั จุบัน ซ่งึ บางต�ำราบางคร้งั เมอื่ พระเจ้าหรรษะแผ่อำ� นาจลงทางใต้ราว พ.ศ. ก็เขียน Sindh/สนิ ธ์ นน้ั ก็มาจากค�ำวา่ “สนิ ธุ” ที่เปน็ ชอื่ ๑๒๕๓ กไ็ ด้พ่ายแก่พระเจา้ ปลุ เกศนิ ท่ี ๒ และถูกจ�ำกดั ก�ำเนดิ นกิ ายเซน ญป่ี ุ่นรบั พระพุทธศาสนา พ.ศ. ๑๐๖๓ (ค.ศ. 520) ทเี่ มอื งจนี พระโพธธิ รรม พ.ศ. ๑๐๙๕ (ค.ศ. 552) พระจักรพรรดกิ ิมเมอิ ซ่งึ เดินทางไปจากอนิ เดียใต้ ไดส้ อนพระพุทธศาสนาที่ (Emperor Kimmei) โปรดใหส้ รา้ งวดั แรกของญีป่ ุน่ เพ่อื เป็นการตง้ั นิกายฉาน (Chan; ต่อมาไปถงึ ญปี่ นุ่ เรยี กตาม ประดิษฐานพระพุทธรปู ทีก่ ษตั ริย์เกาหลีทรงสง่ มาถวาย ส�ำเนยี งทน่ี ่ันวา่ นิกายเซน=Zen) เปน็ เครอื่ งหมายแหง่ การประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาใน ประเทศญ่ีปุ่น จากซา้ ย: พระโพธิธรรม (ปีทส่ี ่งมา ซ่งึ ถือวา่ เปน็ วาระแห่งการทีพ่ ระพุทธ- เจา้ ชายโชโตกุ ศาสนาเข้าสู่ญป่ี ุน่ จากเกาหลี คอื ประมาณ พ.ศ. ๑๐๘๑/ ค.ศ. 538) ต่อแต่นั้น เจา้ ชายโชโตกไุ ดท้ รงเป็นผนู้ �ำในการ ประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาอยา่ งจริงจัง พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 71

หมูถ่ �้ำอชันตา-เอลโลรา วา่ โดยสรุป เรอื่ งหมู่ถ�ำ้ อชนั ตา-เอลโลรา น้นั สรา้ งกันมา ๒. เอลโลรา เป็นหมถู่ ้�ำหลงั เกิดมีในช่วง พ.ศ. โดยหลายอาณาจกั ร หลายราชวงศ์ ผา่ นกาลเวลาหลาย ๑๑๐๐ หรือ ๑๒๐๐ ถงึ ๑๔๐๐ เปน็ ของ ๓ ศาสนา คือ ศตวรรษ ควรจะสรุปไว้เพื่อเข้าใจชดั (เทา่ ทสี่ นั นษิ ฐานกนั พระพทุ ธศาสนามหายาน ตามดว้ ยฮินดู และเชน รวมมี มา) ดงั น้ี ๓๔ ถ้ำ� แบง่ เปน็ ท่ตี ้งั : รฐั มหาราษฎร์ อนิ เดียตอนกลางภาค ก) ถ้�ำพทุ ธศาสนามหายาน ตะวนั ตก ใกลเ้ มอื งออรังคาบาด (Aurangabad) - พ.ศ. ๑๑๐๐-๑๓๕๐ - อชันตา ห่างจากออรังคาบาด ขน้ึ ไปทางเหนือ - มี ๑๒ ถ�้ำ (ที่ ๑-๑๒) เย้อื งตะวันออก ๘๔ กม. (๑๐๕ กม. โดย ข) ถำ�้ ฮนิ ดู รถยนต)์ - พ.ศ. ๑๒๐๐-๑๔๕๐ - เอลโลรา หา่ งจากออรงั คาบาด ขนึ้ ไปทาง - มี ๑๗ ถ�้ำ (ที่ ๑๓-๒๙) ตะวันตกเฉยี งเหนอื ๑๕ กม. (๒๙ กม. โดย ค) ถ้ำ� เชน รถยนต)์ - พ.ศ. ๑๓๕๐-๑๔๕๐ ๑. อชันตา เป็นหมถู่ �้ำแรก เกดิ มีในช่วง พ.ศ. - มี ๕ ถ�ำ้ (ท่ี ๓๐-๓๔) ๔๐๐-๑๒๐๐ และเปน็ ของพุทธศาสนาล้วนๆ รวมมี ๓๐ ถ้�ำ แบ่งเปน็ ก) ถำ�้ พุทธศาสนาหนี ยาน - พ.ศ. ๔๐๐-๖๐๐ - มี ๖ ถำ�้ (ท่ี ๘, ๙, ๑๐, ๑๑, ๑๒, ๑๓, ๓๐) ข) ถำ�้ พุทธศาสนามหายาน - พ.ศ. ๑๐๐๐-๑๒๐๐ - มี ๒๔ ถ�ำ้ (ท่เี หลอื จาก ๖ ถ้ำ� ของหนี ยาน) (พึงทราบวา่ ถำ�้ ที่ ๓๐ บดั น้ไี มม่ ที างขึ้นไป อาจถกู หนิ ถลม่ ทับ? บางตำ� ราไมน่ ับ จึงบอกจำ� นวนว่ามี เพียง ๒๙ ถ้�ำ) 72 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

ถ้ำ� เดิม เม่ือเร่ิมคือวัด ธรรมชาติ และเปน็ ท่ฉี ายออกแหง่ เมตตากรุณา เปล่ียนมา แต่ไปมาตวดั เปน็ วิมาน เป็นเทวสถานโอ่อา่ ทผ่ี ยู้ งิ่ ใหญ่เพลนิ เมาสำ� ราญสำ� เรงิ กาม และแสดงอ�ำนาจกดกำ� ราบอยา่ งโหดเหี้ยมใหน้ า่ เกรงขาม เน่อื งจากถ�ำ้ เหล่านีม้ ีตน้ ก�ำเนดิ มาจากคตขิ องพระ ภิกษุในพระพุทธศาสนา ซ่งึ มถี �ำ้ เป็นเสนาสนะคอื ท่อี ยู่ เรมิ่ ตน้ เปน็ ปชู นยี ์ ฟน้ื อกี ทเี ปน็ แคท่ เ่ี ทยี่ วดู อาศยั อย่างหนง่ึ ตามพระพทุ ธบัญญตั ิ พร้อมนั้น วัดกเ็ ป็น ทบ่ี �ำเพญ็ กศุ ลเจริญธรรมของประชาชน การเจาะสลกั ต่อมา หมถู่ �้ำเหล่านีไ้ ดถ้ ูกทงิ้ รา้ งไป และหายจาก ท�ำถ้ำ� เหลา่ นีจ้ งึ เป็นการสรา้ งวัดถำ้� ดงั น้นั ถ้ำ� ร่นุ เก่า โดย ความทรงจ�ำหลายศตวรรษ แม้กระทัง่ คนถนิ่ ก็ไม่รู้ จน เฉพาะถ�ำ้ พทุ ธที่ อชนั ตา จงึ แยกเป็น ๒ แบบ คอื วหิ าร กระทั่งในยคุ ที่อังกฤษปกครอง ไดม้ ีทหารอังกฤษ ของ ไดแ้ กท่ ีอ่ ยูข่ องพระ กับ ไจตยะ (=เจตยิ ะ=เจดยี ์) อันเปน็ บริษทั อสี ต์อินเดีย (East India Company) มาล่าสัตว์ ที่เคารพบชู า หรอื ท่ศี กั ดสิ์ ทิ ธ์ิ และพบโดยบงั เอิญ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๖๒ (ค.ศ. 1819) ชาว โลกจงึ ไดร้ ู้จัก ศิลปกรรมทนี่ ่ี ท้ังประติมากรรม และจิตรกรรม ดเี ดน่ เป็นแบบแกท่ อี่ ื่น โดยเฉพาะภาพวาดที่อชันตา เป็น อยา่ งไรกต็ าม หลงั จากเปิดแกก่ ารทอ่ งเท่ียวแล้ว ที่นิยมแพร่ไปทางอัฟกานสิ ถาน (คนั ธาระ และโยนก) ในระยะตน้ ไดเ้ กิดความสญู เสียมากมาย ทัง้ แกร่ ูปภาพ อาเซยี กลาง จนถึงจนี และรปู ปนั้ จากการจับ-ลบู -ลอกของผู้มาชม การดูแล รักษาไม่ถกู วิธี ตลอดจนคนทุจรติ เชน่ เคยมีเจ้าหน้าท่นี ำ� หลวงจนี เหี้ยนจงั หรอื พระถังซ�ำจ๋งั กไ็ ด้เขียน เท่ยี วตดั เศียรองคป์ ฏิมาต่างๆ ไปขาย กวา่ จะจดั ใหม้ ีการ บนั ทึกไว้ กลา่ วถงึ ถำ�้ อชันตา เม่ือ พ.ศ. ๑๑๘๓ อนุรกั ษ์ให้เรียบรอ้ ยลงตัวตามวธิ ีปฏบิ ัตทิ ถ่ี ูกต้องได้ ถ้�ำก็ เสื่อมโทรมไปมาก อย่างไรก็ตาม น่าจะเปน็ ไดว้ ่า ในยคุ หลังๆ ความ หมายและวตั ถุประสงค์เดิมของงานสรา้ งถ้ำ� ได้หดหาย หลักฐานอันถาวรชัดเจนของอดตี ทห่ี มถู่ ำ้� เหลา่ นี้ และกลายเปน็ อยา่ งอ่ืน น่าจะเป็นแหล่งทีด่ ีสำ� หรบั การศึกษาศาสนาเปรยี เทยี บ และลกั ษณะแห่งววิ ฒั น-หายนาการ ท่ีไดเ้ ป็นไปใน ดังจะเหน็ ชัดจากผลงานยคุ ท้ายๆ โดยเฉพาะ ประวตั ศิ าสตรข์ องพระพทุ ธศาสนา พรอ้ มทงั้ ใหเ้ หน็ อนจิ จ- ถ้�ำไกลาสของฮินดู ที่สันนิษฐานกันว่ากษตั ริย์ กฤษณะ ภาวะท่จี ะปลกุ เร้าเตือนใจให้ต้ังอยใู่ นความไม่ประมาท ท่ี ๑ (ราว พ.ศ. ๑๒๙๙-๑๓๑๖) แหง่ ราชวงศ์ราษฏรกฏู ให้สรา้ งข้นึ น้ัน นอกจากไมเ่ ป็นท่อี ยขู่ องพระ และไมเ่ ปน็ ศลิ ป์เพือ่ สอนธรรมแลว้ กไ็ ม่เปน็ ถำ�้ อย่างใดเลย แตเ่ ป็น เทวสถานอนั มีจุดเน้นทพี่ ธิ กี รรมและความยิ่งใหญ่โดยแท้ จากถ้�ำพทุ ธยุคแรกที่มแี ต่ความเรยี บง่าย สุขสงบกบั พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 73



ภั ย น อ ก - ภั ย ใ น จ น ม ล า ย สู ญ ส้ิ น

พทุ ธฯ ถูกทำ� ลายอกี กอ่ นฟ้นื ใหม่ พ.ศ. ๑๑๔๘-๑๑๖๒ (ค.ศ. 605-619) ราชา ศศางกะ เป็นฮนิ ดนู กิ ายไศวะ ได้ดำ� เนินการทำ� ลาย พระพุทธศาสนาอยา่ งรุนแรง เชน่ สังหารพระสงฆท์ ่ี กสุ นิ าราหมดสนิ้ โคน่ พระศรีมหาโพธทิ์ ีพ่ ทุ ธคยา น�ำ พระพุทธรูปออกจากพระวิหารแลว้ เอาศิวลงึ คเ์ ขา้ ไปตงั้ แทน แม้แตเ่ งนิ ตราของรชั กาลกจ็ ารกึ ข้อความก�ำกบั พระนามราชาว่า “ผูป้ ราบพุทธศาสนา” จากซา้ ย: พระศรมี หาโพธิ์ ศิวลึงค์ อาณาจกั รศรีวชิ ยั เกิดทส่ี มุ าตรา ทวาราวดี จัมปา เขมร พ.ศ. ๑๑๐๐ (กะครา่ วๆ; ค.ศ. 600) ในชว่ งเวลา น้ี มีอาณาจักรใหมท่ ี่สำ� คญั เรยี กว่า ศรวี ชิ ัยเกดิ ขึน้ ใน พัทลงุ กลนั ตนั ทะเลจนี ใต้ ดินแดนท่ปี จั จุบนั เปน็ อนิ โดนีเซียและมาเลเซีย ตรงั กานู เคดาห์ เท่าท่ีทราบ อาณาจักรนเ้ี ริ่มขนึ้ โดยชาวฮินดูจาก อนิ เดยี ใตม้ าตงั้ ถน่ิ ฐานทปี่ าเลมบงั ในเกาะสมุ าตรา ตง้ั แตก่ อ่ น สุมาตรา ปะหัง ค.ศ. 600 แต่มีชื่อปรากฏครัง้ แรกในบันทกึ ของหลวงจนี อี้จงิ ผมู้ าแวะบนเสน้ ทางสชู่ มพูทวีปเม่ือ พ.ศ. ๑๒๑๔ อาณาจกั รศรีวิชัย ทะเลชวา ชมั พี เทคโนโลยี: พลงั งานจากลม ปาเลมบัง ชวา พ.ศ. ๑๑๕๐ (โดยประมาณ; ค.ศ. 600) ท่ี กังหันลมเปอรเ์ ซีย เปอร์เซยี คนทำ� กังหันลม ขึ้นใช้ครง้ั แรก 76 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

ทัง้ ฮนั่ และศศางกะ ถึงอวสาน ม.สินธุ คุชราต ม.ยมนุ าม.คงคา ทเิ บต เนปาล พ.ศ. ๑๑๔๘ (ค.ศ. 605) หลังชว่ งเวลาว่นุ วายใน สินท์ กนั ยากุพชะ ชมพทู วปี กษัตริย์ราชวงศ์วรรธนะได้ปราบพวกหูณะลง เวสาลี ไดใ้ น พ.ศ. ๑๑๔๘ แตแ่ ลว้ ราชาใหมร่ าชยวรรธนะก็ถกู หรรษวรรธนะ ประยาค ปาฏลบี ตุ ร ราชาศศางกะใชก้ ลลวงปลงพระชนมเ์ สีย จาอุชลเชกุ นมีย.นะมั มทา เบองก่าวอล เหตกุ ารณน์ ที้ ำ� ใหเ้ จา้ ชายหรรษวรรธนะผเู้ ปน็ อนชุ า ม.โคทาวรี ตอ้ งเขา้ มารกั ษาแผน่ ดนิ ขน้ึ ครองราชยท์ เี่ มอื งกนั ยากพุ ชะ (ปัจจุบัน=Kanauj) มพี ระนามวา่ หรรษะ แห่งราชวงศ์ เวงคี วรรธนะ และไดก้ ลายเป็นราชาย่งิ ใหญ่พระองค์ใหม่ วาตาปีปรุ ะ ม.กฤษณะ ราชาศศางกะทเ่ี ปน็ ฮนิ ดไู ศวะ กส็ น้ิ อำ� นาจใน พ.ศ. ๑๑๖๒ แลว้ ดินแดนทั้งหมดก็เข้ารวมในจกั รวรรดขิ อง พระเจ้าหรรษวรรธนะ พระเจ้าหรรษวรรธนะ ทวาราวดี ในทีแ่ หง่ สวุ รรณภมู ิ พุทธศาสนาเข้าสู่ทเิ บต พ.ศ. ๑๑๕๐ (โดยประมาณ; ค.ศ. 600) พ.ศ. ๑๑๖๐ (ค.ศ. 617) เปน็ ปปี ระสตู ขิ องกษตั รยิ ์ อารยธรรมทวาราวดี ของชนชาตมิ อญ ไดร้ ุ่งเรืองเด่นขน้ึ ทิเบตพระนามสรองสันคมั โป ซึง่ ต่อมาไดอ้ ภเิ ษกสมรสกบั มาในดินแดนท่เี ป็นประเทศไทยปัจจุบัน แถบล่มุ แมน่ ้�ำ เจ้าหญงิ จนี และเจา้ หญงิ เนปาล ทน่ี บั ถือพระพทุ ธศาสนา เจ้าพระยาตอนล่าง ตั้งเมอื งหลวงท่ีนครปฐม เป็นแหลง่ เปน็ จดุ เรมิ่ ใหพ้ ระพทุ ธศาสนา รบั วฒั นธรรมชมพทู วีป รวมท้ังพระพุทธศาสนา แลว้ เผย เข้าสูท่ เิ บต พระเจา้ สรอง- แพร่ออกไปในเขมร พมา่ ไทยอยูน่ าน จนเลอื นหายไปใน สนั คมั โป ทรงส่งราชทตู ช่อื อาณาจักรสยามยุคสุโขทัยแห่ง พ.ศต. ที่ ๑๘-๑๙ ทอนมิสมั โภตะไปศึกษาพระ พุทธศาสนาและภาษาต่างๆ อาณาจักรทวาราวดีนเ้ี จรญิ ขนึ้ มาในดนิ แดนท่ี ในอนิ เดยี และดดั แปลงอกั ษร ถอื วา่ เคยเป็นถ่ินซ่ึงเรียกว่าสุวรรณภูมใิ นสมัยโบราณ อินเดยี มาใช้เขยี นภาษาทเิ บต ตง้ั แตก่ ่อนยุคอโศก ใน พ.ศต. ท่ี ๓ จากซา้ ย: ธรรมจักร ศลิ ปะทวาราวดี พระเจ้าสรองสนั คมั โป พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 77

พทุ ธศาสนารงุ่ เรอื ง อนิ เดยี ต้งั ตวั ได้ พุทธรุง่ สดุ ท้าย ทเ่ี กดิ มขี น้ึ ในชว่ ง ๔ ปกี อ่ นๆ แกม่ หาสมาคม รวมทง้ั สง่ เสรมิ ยุคที่ ๓ เสรีภาพทางศาสนา พ.ศ. ๑๑๔๙-๑๑๙๐ (ค.ศ. 606-647) พระเจา้ หรรษะ (หรรษวรรธนะ หรือหรรษะศลี าทติ ย์ ก็เรยี ก) (ที่ประยาค มีหลกั ศิลาจารกึ ของพระเจ้าอโศกด้วย เป็นกษัตรยิ ์ชาวพุทธ ไดท้ รงทะนุบำ� รงุ พระพทุ ธศาสนา ปจั จบุ ัน=Allahabad เปน็ แดนศกั ดสิ์ ิทธ์ขิ องพราหมณ์ รวมทง้ั อปุ ถัมภม์ หาวทิ ยาลัยนาลนั ทา ระดับเดยี วกบั พาราณสี ชาวฮินดูมงี านพธิ ที ่นี ีท่ กุ ปี โดย เฉพาะทกุ รอบ ๑๒ ปี จะมีนกั บวชฮินดจู าริกมาชมุ นมุ ครง้ั พระเจ้าหรรษะ ทรงด�ำเนนิ นโยบายคลา้ ยอยา่ ง ใหญ่ยงิ่ เรยี กว่า “กุมภเมลา” ทค่ี นมาอาบนำ้� ลา้ งบาป พระเจา้ อโศกฯ มุ่งบำ� รุงสุขของประชาชน เชน่ สร้างศาลา บางทถี ึง ๑๘ ลา้ นคน พระเจ้าหรรษะคงจะทรงใช้โอกาส สงเคราะห์คนเดินทาง คนยากจน คนเจบ็ ไข้ ท่วั ทั้งมหา นี้ในการบ�ำเพ็ญมหาทาน) อาณาจกั ร และทเ่ี มืองประยาค ณ จุดบรรจบของแมน่ ำ้� คงคากับยมนุ า ทุก ๕ ปี ไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ย์ จีนเขา้ ยคุ ราชวงศถ์ งั ที่แดนอาหรับ ก�ำเนดิ อสิ ลาม พ.ศ. ๑๑๗๓ (ค.ศ. 630) ทา่ นนบีมฮุ มั มดั จดั การ ท้ังปวงทม่ี ะดนี ะฮ์ เวลาผ่านไป ๘ หรอื ๑๐ ปี เมอ่ื พร้อม พ.ศ. ๑๑๖๑ (ค.ศ. 618) ทปี่ ระเทศจนี ซงึ่ เวลานนั้ พ.ศ. ๑๑๖๕ (ค.ศ. 622) ในดนิ แดนทเ่ี ปน็ ประเทศ แล้ว ท่านจึงน�ำกำ� ลังคน ๑๐,๐๐๐ ยกไปมักกะฮ์ในเดอื น มปี ระชากร ๙ ลา้ นครัวเรือน ประมาณ ๕๐-๗๐ ล้านคน ซาอดุ อี าระเบยี ปจั จบุ นั หรอื เรยี กงา่ ยๆ วา่ อาหรบั ทา่ นนบี มกราคม พวกมักกะฮ์ออกมายอมสยบโดยดี ท่านนบี ณ เมืองเชียงอาน (ฉางอาน) ราชวงศส์ ุย ซงึ่ ครองอ�ำนาจ มฮุ มั มดั ไดเ้ รม่ิ ประกาศศาสนาอสิ ลามทเี่ มอื งมกั กะฮ์ ตงั้ แต่ มฮุ มั มัดก็สญั ญาจะนิรโทษให้ ในการเข้าเมืองมกั กะฮ์คร้ัง มาได้ไม่นาน เรมิ่ แต่ พ.ศ. ๑๑๒๔ (ค.ศ. 581) ไดจ้ บสน้ิ ลง อายุ ๔๐ ปี แต่มคี วามขัดแยง้ กับคนทมี่ ีความเชื่ออย่างเกา่ นพ้ี วกศตั รูตายเพียง ๒๘ คน และมสุ ลมิ ตายเพียง ๒ คน โดยเฉพาะพวกพอ่ คา้ โลภ จนในทสี่ ุดราวปีที่ ๑๓ ตรงกบั จนี เขา้ สู่ยุคราชวงศ์ถงั ซงึ่ จะครองเมืองอยจู่ นสิ้น พ.ศ. ๑๑๖๕ ไดน้ ำ� สาวกหนอี อกจากมกั กะฮ์ ถอื เป็นเร่มิ ท่านนบีมฮุ มั มัดจดั การปกครองในมักกะฮใ์ ห้ วงศใ์ น พ.ศ. ๑๔๕๐ (ค.ศ. 907) โดยเรอื งอำ� นาจในช่วง ฮจิ เราะหศ์ กั ราชของศาสนาอสิ ลาม แล้วไปตง้ั ถิ่นประกาศ เรียบร้อย และท�ำลายรูปเคารพทม่ี หาวหิ ารกาบะฮ์จน พ.ศ. ๑๑๖๙-๑๒๙๘ (ค.ศ. 626-755) ศาสนาทีเ่ มอื งมะดนี ะฮ์ (Medina เดมิ ชอ่ื เมอื งยาธรบิ ) เสรจ็ สรรพ แล้วเผยแพรอ่ ิสลามต่อมา และจัดการกับชน เผ่าทย่ี งั เป็นปฏิปกั ษ์ จนรวมอาระเบียได้ในเวลา ๒ ปี จนี ทา่ นนบมี ภี าระมากในการตอ่ สกู้ บั พวกเมอื งมกั กะฮ์ เริม่ จะขยายเข้าส่ซู เี รยี และอิรกั และรบกบั กองคาราวานเพอื่ ตดั กำ� ลงั พวกมกั กะฮ์ พรอ้ มทงั้ ปราบศตั รใู นมะดนี ะฮ์ ตลอดจนจดั การกบั พวกยวิ ทเ่ี ขา้ กบั ศตั รู พ.ศ. ๑๑๗๕ ทา่ นนบมี ุฮมั มดั อายไุ ด้ ๖๓ หรอื ๖๕ ปี จงึ เสด็จสู่สวรรค์ โดยชาวมสุ ลิมถอื ว่าท่านขนึ้ สู่ พวกยวิ สำ� คัญโคตรทา้ ยนั้น เมือ่ ทา่ นรบชนะแลว้ สวรรคท์ เี่ มืองเยรซู าเล็ม ไดใ้ หป้ ระหารชวี ติ ผู้ชายทง้ั สน้ิ สว่ นสตรแี ละเดก็ ก็ให้ขาย เปน็ ทาสหมดไปจากมะดนี ะฮ์ 78 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

เหย้ี นจงั แหง่ นาลันทา หลวงจนี เหย้ี นจงั ไดม้ าศกึ ษาทมี่ หาวทิ ยาลัย นาลนั ทาจนจบแลว้ สอนทนี่ ่นั ระยะหนึ่ง จงึ นำ� คัมภีร์ พ.ศ. ๑๑๗๒-๑๑๘๘ (ค.ศ. 629-645) หลวงจีน พระไตรปิฎกเป็นต้นจ�ำนวนมาก เดินทางกลบั ถึงเมอื ง เหย้ี นจงั (Hsuan-tsang; เกิด พ.ศ. ๑๑๔๕) หรือยวน เชยี งอาน/ฉางอาน ในพ.ศ. ๑๑๘๘ หลงั จากจากไป ๑๖ ฉาง หรอื พระถังซ�ำจัง๋ (ใชช้ ่ือสันสกฤตว่า พระโมกษ- ปี ท่านไดร้ บั การต้อนรบั ยกย่องอปุ ถมั ภบ์ �ำรุงอย่างยิ่งจาก เทวะ) จะไปสบื พระไตรปิฎกทไี่ ซที (แดนตะวนั ตก) ได้ พระจักรพรรดิจนี แลว้ ทำ� งานแปลพระไตรปฎิ กส่งั สอน จาริกจากกรงุ จีน ผา่ นทางโยนก คันธาระ กัศมีระ (คอื ธรรมต่อมา จนถึงมรณภาพใน พ.ศ. ๑๒๐๗ กับทงั้ ได้ อฟั กานสิ ถาน ปากสี ถาน และอินเดยี พายัพปัจจุบัน) เขียนบันทกึ การเดินทางไว้ ที่เมอื งจีน เวลานั้น เปน็ รัชกาลพระเจา้ ถงั ไทจง ซ่งึ ครองราชยใ์ น พ.ศ. ๑๑๖๙-๑๒๐๒ (ค.ศ. 626-649) จากซา้ ย: พระถงั ซ�ำจงั๋ พระเจ้าถังไทจง ทะเลดำ� ในด้านทายาท หลงั จากภรรยาคนแรกสิน้ ชีวิตเมอื่ เมดเิ ตทอะเเลรเนียน ดามัสกัส แคทสะเเปลยี น ท่านอายุ ๕๐ ปีแล้ว ทา่ นนบีมภี รรยาอีก ๘ คน แต่บตุ ร เยรซู าเล็ม ของทา่ นซง่ึ มอี ย่างน้อย ๒ คน เสียชวี ติ ตง้ั แตอ่ ายยุ งั น้อย อเลกซานเดรีย เปออรา่ ์เวซีย ส่วนธิดาซงึ่ มหี ลายคน ยังมชี วี ิตอยจู่ นถึงเมอ่ื ทา่ นส่สู วรรค์ เพยี งคนเดยี ว คือฟาตมิ ะฮ์ ซ่ึงไดส้ มรสกับอาลี ผู้เปน็ ญาติ อยี ปิ ต์ โอมาน ใกลช้ ิดของทา่ นนบี อาหรบั วาระนน้ั ไดเ้ กดิ ความขดั แย้งกันว่าผใู้ ดจะสืบทอด สถานะผนู้ ำ� ประดาสาวกผใู้ กลช้ ดิ ไดเ้ ลอื กอาบบู ะกะร์ อายุ มะดีนะฮ์ ๕๙ ปี ซ่ึงมีธิดาเปน็ ภรรยาคนหนง่ึ ของท่านนบี ขึ้นเปน็ ผู้ ปกครองของอสิ ลามสืบตอ่ มา โดยมตี ำ� แหนง่ เป็นกาหลฟิ เมกกะ (แปลวา่ “ผสู้ บื ตอ่ ”) และมมี ะดนี ะฮเ์ ปน็ ทวี่ า่ การ สว่ นอกี ฝา่ ย หนง่ึ จะใหอ้ าลบี ตุ รเขยของทา่ นนบเี ปน็ ผสู้ บื ตอ่ แตไ่ มส่ ำ� เรจ็ ทะเลแดง เนอ่ื งจากกาหลิฟ ท่ี ๑-๒-๓ ล้วนเกง่ กลา้ ดนิ แดน เยเมน ของกาหลฟิ และอิสลามจึงแผ่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ว พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 79

พระถงั ซ�ำจั๋ง แหง่ “ไซอ๋วิ ” พายพั แถบโยนก คนั ธาระ กศั มีระ ที่เดินทางผ่าน เชน่ วา่ ไดพ้ บพระพุทธรปู ใหญท่ ่ี พามยิ าน (Bamian) ซ่งึ แกะ อกี เกือบ ๑,๐๐๐ ปีต่อมา ไดม้ ีกวีแตง่ เรือ่ งของ สลักเขา้ ไปในหนา้ ผา ๒ องค์ (สูง ๕๒ และ ๓๗ เมตร) ทา่ นเปน็ นิยายชอื่ Hsi-yu-chi (Record of a Journey ประดับประดางดงามด้วยเพชรนิลจนิ ดา (ทพี่ วกทาลบิ นั to the West หรอื Buddhist Records of the West- ทำ� ลายเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๔) และสภาพพระพุทธศาสนาใน ern World) ที่คนไทยเรยี กว่า “ไซอ๋ิว” และไดม้ ีผ้แู ปล ตกั สลิ าที่พินาศสูญสิ้นไปแลว้ หลงั จากทถ่ี ูกพวกฮั่นท�ำลาย เป็นภาษาองั กฤษพิมพอ์ อกมาแลว้ บางสว่ นเมอ่ื ปี 1942 ตง้ั ช่ือวา่ Monkey สภาพชมพูทวปี ท่พี ระถงั ซ�ำจัง๋ เลา่ ตรงขา้ มกบั คำ� พรรณนาของหลวงจนี ฟาเหียน ทเ่ี ข้ามาเม่ือ ๒๒๘ ปกี ่อน ตักสิลา ครั้งเห้ยี นจัง กับฟาเหียน ครง้ั ทต่ี กั สลิ ารงุ่ เรอื ง ซง่ึ เตม็ ไปดว้ ยวดั วาอารามงดงามทว่ั ไป ทางดา้ นวตั ถกุ เ็ หลอื แตค่ วามรกรา้ ง สว่ นในดา้ นจติ ใจ ชาว หลวงจีนเห้ียนจัง ไดบ้ รรยายภาพความเจรญิ และ พทุ ธทเี่ หลอื อยู่ กห็ นั ไปหาความเชอ่ื และลทั ธพิ ธิ แี บบตนั ตระ ความเส่อื มของพระพุทธศาสนาในชมพูทวปี ไว้ ทงั้ ด้าน การแผ่ขยายอิสลาม มสุ ลมิ อาหรับยึดเยรซู าเล็ม ช่วงที่ 1. อาหรบั -กาหลิฟ พ.ศ. ๑๑๘๑ (ค.ศ. 638) หลงั จากพระนบมี ฮุ มั มัด เสด็จส่สู วรรค์แลว้ ๖ ปี ทพั มุสลมิ อาหรับกย็ กไปตียดึ ทะเลเมดเิ ตอเรเนยี น ทะเลดำ� เยรูซาเลม็ นครศักดส์ิ ทิ ธ์ิได้ ชาวยิวทอี่ ย่ใู ต้ปกครองของ จักรวรรดโิ รมันมา ๗๐๑ ปี (ตง้ั แต่ พ.ศ. ๔๘๐=63 BC) ตุรกี ก็เปลยี่ นมาอยู่ใตป้ กครองของกาหลฟิ อาหรับ เยรซู าเล็ม ซีเรีย อริ ัก อยี ปิ ต์ ฯลฯ ทยอยสอู่ ิสลาม จอร์แดน พ.ศ. ๑๑๘๒ (ค.ศ. 639) ทพั มสุ ลิมอาหรบั ยกเขา้ อียิปต์ ตยี ึดอียิปตไ์ ด้ ทำ� ใหจ้ ักรวรรดบิ ีแซนทีนหรือโรมตั ะวนั ออก สูญเสยี แควน้ ใหญ่ท่สี ุด หลดุ มอื ไป และอยี ิปต์ก็กลายเปน็ ทะเลแดง จุดนำ� อิสลามเขา้ ส่อู าฟรกิ าเหนือและยุโรปตอ่ ไป 80 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

กาหลฟิ ขยาย โรมใกล้หมดลม เร่ืองการสืบทอดต�ำแหน่ง ส่วนใหญร่ าว ๖๓% แตฝ่ ่ายสหุ นท่ี ีม่ ีราว ๓๗% เป็นฝา่ ย ฝ่ายส่วนมากไดย้ กผปู้ กครองซเี รยี ข้นึ เป็นกาหลิฟ ครองอำ� นาจ) จากนั้น ๒ ปี โรมันกถ็ ูกขับออกจากซีเรยี และ เม่อื ถึง พ.ศ. ๑๑๙๘ (ค.ศ. 655) ดินแดนของกาหลฟิ ต้นวงศอ์ าหรบั ท่ีดามัสกสั (Damascus) สว่ นฝา่ ยขา้ งท่ี และอสิ ลามกแ็ ผ่คลุมคาบสมุทรอาหรับท้ังหมด ตลอด จะใหบ้ ุตรของทา่ นอาลีได้ต�ำแหนง่ ไมย่ อมรบั ตามนนั้ (ไม่ ปาเลสไตน์ ซีเรยี อียิปต์ ลเิ บีย เมโสโปเตเมีย และล้ำ� เข้า ยอมรับสามกาหลฟิ แรกดว้ ย โดยถอื อาลีเป็นผ้สู บื ตอ่ ท่แี ท้ ไปในอารเ์ มเนีย กับเปอรเ์ ซีย (อิหร่าน) ลดิ รอนอ�ำนาจ คนเดียวของท่านนบ)ี ของจักรวรรดิโรมันลงไปเรื่อยๆ บตุ รของอาลกี เ็ สยี ชวี ติ หมด โดยเฉพาะเมอื่ ฮซุ เซน อสิ ลามแตกเป็นสุหนี่-ชอี ะฮ์ ถกู สงั หารใน ค.ศ. 680 อสิ ลามก็แตกเปน็ ๒ นกิ าย ฝา่ ย มากเปน็ สหุ นี่ ฝ่ายหลงั เปน็ ชอี ะฮ์ ซง่ึ ถือท่านอาลีเป็น พ.ศ. ๑๑๙๘ (ค.ศ. 655) กาหลิฟที่ ๓ ถูกสังหาร อหิ มา่ มคนแรก อาลบี ตุ รเขยของทา่ นนบไี ด้เป็นกาหลิฟท่ี ๔ แตอ่ ีก ๖ ปี ตอ่ มาอาลีก็ถูกปลงชีพ และไดเ้ กดิ การขัดแย้งรนุ แรงใน (นกิ ายชีอะฮ์มผี ู้นับถอื มากทสี่ ดุ ใน อหิ รา่ น คอื ราว ๙๕% ของประชากรทงั้ หมด ส่วนในอริ ักแม้ชีอะฮจ์ ะเปน็ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 81

สมั พนั ธไมตรี จนี -อนิ เดีย หรรษะถกู ลอบปลงพระชนม์ ปุโรหิตเก่าของพระเจา้ หรรษะข้นึ เปน็ กษัตริยพ์ ระนามวา่ อรุณาศวะ พ.ศ. ๑๑๘๔ (ค.ศ. 641) คงสืบเนือ่ งจากการ พ.ศ. ๑๑๙๐ (ค.ศ. 647) พวกพราหมณ์ทรี่ บั ที่ทรงสนทิ สนมโปรดหลวงจนี เหย้ี นจงั พระเจ้าหรรษะ ราชการในราชสำ� นัก ขดั เคืองว่าพระเจา้ หรรษะอปุ ถมั ภ์ ราชทตู จีน จับกษัตริยอ์ ินเดยี ไดท้ รงสง่ ราชทตู ไปประจ�ำราชสำ� นักจนี สถาปนา พระพทุ ธศาสนา จงึ คบคิดกันปลงพระชนม์ ครง้ั แรกไม่ สัมพันธไมตรีระหวา่ งอินเดียกับจนี เป็นครง้ั แรก สำ� เร็จ และทรงอภยั หรือไมล่ งโทษรุนแรง คนพวกน้ีจึง ครั้งนั้น พระเจา้ ถงั ไทจงได้ส่งราชทูตนำ� เครื่อง ท�ำการร้ายใหม่อกี โดยปลงพระชนม์สำ� เรจ็ เมื่อครองราชย์ ราชบรรณาการมาถวายพระเจ้าหรรษะ แต่คณะทตู มาถงึ พ.ศ. ๑๑๘๔ (ค.ศ. 641) กษัตริย์ธรุวภฏั แหง่ ได้ ๔๑ ปี ปราชญถ์ อื ว่าเป็นอวสานแห่งมหาอาณาจักร เม่อื ส้ินรชั กาลแลว้ กษัตริย์องคใ์ หม่ไดใ้ หท้ ำ� รา้ ยคณะทูต ราชวงศไ์ มตรกะ ที่เมอื งวลภี ซ่งึ รบพา่ ยแพต้ อ่ พระเจา้ พทุ ธสุดทา้ ยของชมพูทวีป ตวั ราชทูตหนีไปไดแ้ ลว้ รวมกำ� ลังหนุนจากทิเบต เนปาล หรรษะ ได้มาเป็นพระกนิษฐภาดาเขย และอัสสมั มาบกุ เมอื งกนั ยากุพชะ จบั กษัตริย์อรุณาศวะ (นกั ประวตั ศิ าสตรต์ ง้ั ขอ้ พจิ ารณาวา่ อนิ เดยี ยคุ กอ่ น กบั ท้ังบุตรภรรยาไปเป็นขา้ ในราชสำ� นักท่เี ชยี งอาน มสุ ลิมเขา้ มา มีราชายิ่งใหญท่ ส่ี ุด ๓ พระองค์ คอื อโศก กนิษกะ และหรรษะ ซึ่งล้วนเปน็ กษัตริย์ชาวพทุ ธท้ังสิ้น) อน่ึง พวกพราหมณ์กอ่ การไดส้ ถาปนาพราหมณ์ เมืองหลวงใหมข่ องกาหลิฟ พ.ศ. ๑๒๐๔ (ค.ศ. 661) เมอื งหลวงของกาหลิฟ เปลยี่ นจากมะดนี ะฮ์ ไปเปน็ ดามสั กสั ในซเี รยี และกาหลฟิ องค์ใหม่ไดเ้ ร่ิมตน้ วงศ์กาหลฟิ อมุ ยั ยัด (Umayyad) ขน้ึ เป็นราชวงศม์ สุ ลมิ แรกของอาหรบั มหามสั ยิดอุมัยยดั กรงุ ดามสั กัส 82 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

ทิเบต เชยี งอาน นานกงิ หลวงจีนอจ้ี ิง ตามหลังเหยี้ นจงั บนั ทกึ ทงั้ ของหลวงจนี เห้ยี นจังและหลวงจนี อีจ้ ิง คชุ ราต ไดก้ ลา่ วถงึ มหาวิทยาลัยวลภดี ว้ ย ทา่ นแรกมาเยอื นวลภีใน จนี พ.ศ. ๑๒๒๓-๑๒๓๘ (ค.ศ. 680-695) หลวงจนี พ.ศ. ๑๑๘๒ เล่าวา่ วลภมี ีสังฆาราม (วดั ) เกินร้อย มพี ระ อจี้ งิ (I-ching หรือ I-tsing) จารกิ ทางเรอื มาถึงชมพทู วีป สงฆห์ ีนยาน ๖,๐๐๐ รปู สว่ นใหญ่ศึกษาทางหนี ยาน ตา่ ง มคธ ไดเ้ ลา่ เรยี นท่นี าลนั ทา พำ� นักอยู่ ๑๕ ปี จงึ เดนิ ทางกลบั จากนาลนั ทาที่ชำ� นาญทางมหายาน ส่วนหลวงจนี อ้ีจิง เมอื งจนี กลา่ วไดค้ วามวา่ วลภกี บั นาลนั ทายงิ่ ใหญพ่ อกนั นาลนั ทา ทกั ษิณาบถ อา่ ว ในแดนมชั ฌมิ ฉนั ใด วลภใี นแดนประจิมกฉ็ ันนั้น เบงกอล ขามา ท่านออกจากกวางตงุ้ เดนิ ทาง ๒๐ วนั ถงึ อาณาจักรศรวี ชิ ยั เม่ือ พ.ศ. ๑๒๑๔ (ค.ศ. 671; น้ีคือครัง้ จมั ปา แรกท่ศี รวี ิชัยไดร้ ับการกลา่ วถึงในเอกสารประวตั ิศาสตร)์ แวะทีน่ ัน่ ระยะหนง่ึ แล้ว จงึ เดินทางต่อไปยงั ชมพูทวปี โดย ลงั กา กษัตริย์แหง่ ศรวี ชิ ัยได้ทรงอุปถมั ภด์ ้วย มหาสมทุ รอินเดีย ศรีวชิ ัย กาหลิฟตีอหิ รา่ น-อาฟริกา ยันสเปน King Ardashir I (ซ้าย) แหง่ ราชวงศส์ าสสนิท กอ่ นศาสนาอสิ ลามเกดิ ขึน้ ถา้ นบั ตอ่ จากชมพทู วีป ไปจดมหาสมทุ รแอตแลนติก มี ๒ มหาอำ� นาจเทา่ นัน้ พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 83 แข่งกันอยู่ คือ จักรวรรดิโรมัน กับจกั รวรรดิเปอร์เซยี แต่ เพยี งหลงั ท่านนบมี ฮุ มั มดั สู่สวรรค์ได้ ๑๙ ปี จกั รวรรดิ เปอร์เซยี ของราชวงศส์ าสสนิท (Sassanid) ทม่ี อี ายุยาว ๔๒๗ ปี กถ็ ึงอวสานเม่ือทพั อาหรบั จากมะดีนะฮ์ เขา้ ตีและจักรพรรดิอิหรา่ นองค์สุดทา้ ยถกู สังหารใน พ.ศ. ๑๑๙๔ (ค.ศ. 651) ดนิ แดนของกาหลฟิ และอสิ ลามขยายตอ่ ไป ไม่ชา้ ก็เข้าครองอาฟรกิ าเหนอื บกุ ยโุ รป ได้สเปน แตถ่ กู ยง้ั ท่ี ฝรัง่ เศส ใน พ.ศ. ๑๒๗๕ (ค.ศ. 732)

ทมฬิ แหง่ อินเดยี ใต้ กบั ศรวี ิชัย ตลอดถึงปลายแหลมสุดประเทศอนิ เดีย เปน็ “ทมิฬกะ” ระยะแรกกม็ คี วามเป็นมาท่รี ้กู นั กระท่อนกระแท่น เช่น (ดนิ แดนของชนชาวทมิฬ) ๓ อาณาจักร คือ ปาณฑยะ ในจารึกและวรรณคดีเก่าๆ ของทอ้ งถ่นิ บา้ ง ในบนั ทึกการ ในฐานะทอ่ี าณาจกั รศรีวิชยั อยู่ใกล้ชิด ได้ติดต่อ (Pandya ใตส้ ดุ ) โจฬะ (Cola หรือ Chola เหนือขน้ึ มา เดินเรือคา้ ขายของพวกกรกี และโรมนั บา้ ง และโดยเฉพาะ และสอ่ื รบั ความเจริญจากชมพูทวปี จงึ ควรทราบเร่อื งของ ต่อกับอนั ธระ) และเจระ หรอื เกราละ (Cera, Chera ในพงศาวดารลงั กา ท่ีชาวทมฬิ ท้ังโจฬะ และปาณฑยะ ดินแดนในชมพูทวปี สว่ นท่ใี กลช้ ิดหรอื ติดตอ่ เกย่ี วขอ้ งคู่ไป หรือ Kerala ทอดจากเหนอื ลงสุดใตต้ ามชายทะเลฝง่ั (บาลเี รยี กวา่ ปณั ฑุ หรือ ปาณฑิยะ) เขา้ ไปยงุ่ เก่ยี วกบั ดว้ ย เฉพาะอย่างย่ิงอินเดียใต้หรอื แดนทมิฬ (ส่วนอนิ เดยี ตะวันตกเคียงไปกับ ๒ อาณาจักรแรก) การเมืองการสงครามและการยดึ ครองดินแดน ตะวันออกแถบเบงกอล ซงึ่ มเี มืองท่าออกสูม่ หาสมุทร อินเดีย โดยเฉพาะยุคทา้ ยๆ คอื อาณาจกั รปาละและเสนะ อาณาจักรเหล่านมี้ อี ยูแ่ ล้วในสมัยพระเจ้าอโศกฯ ไดพ้ ดู ไวต้ า่ งหาก) ท้งั นจี้ ะต้องเลา่ เร่อื งย้อนหลังบา้ ง เพื่อ จึงเก่าแกก่ ว่าสาตวาหนะ ที่เป็นดินแดนของชาวอันธระ เชอื่ มความเขา้ ใจให้เหน็ ชดั ซึ่งครัง้ นนั้ ยังรวมอยใู่ นจักรวรรดอิ โศก ไดก้ ล่าวแล้ววา่ ในชมพทู วีปตอนล่าง ต่อจาก เจระนนั้ มเี รื่องราวเหลือมานอ้ ยย่ิง จนใน ดนิ แดนของชนชาวอนั ธระลงไป (เทียบยุคเร่มิ แกะสลักถำ้� ประวัตศิ าสตรท์ ั่วไปไมก่ ล่าวถงึ สว่ นปาณฑยะ และโจฬะ อชันตา คือถดั จากอาณาจกั รสาตวาหนะลงไปทางใต)้ จน พระอนุรทุ ธาจารย์ ศรีวชิ ยั ท่ีควรรู้ พระโพธสิ ตั ว์ แต่งคมั ภรี ์หลักในการเรยี นอภิธรรม อวโลกเิ ตศวร ตามทห่ี ลวงจนี อจี้ งิ เลา่ ไวว้ า่ ทา่ นไดแ้ วะทอี่ าณาจกั ร ศิลปะมลาย-ู ศรวี ชิ ยั พ.ศ. ๑๒๕๐–๑๖๕๐ (ค.ศ. 707-1107) พระ ศรวี ิชัย เน่ืองจากอาณาจักรดังกลา่ วเป็นชุมทางและเป็น อนรุ ทุ ธาจารยแ์ ห่งมูลโสมวหิ ารในลังกาทวีป รจนาคัมภีร์ จดุ ผ่านสำ� คญั ของการคา้ ศาสนาและวฒั นธรรม ระหว่าง ประมวลความในพระอภิธรรมปิฎก ชอ่ื วา่ อภธิ ัมมตั ถ- ตะวนั ตก-ตะวนั ออก และอนิ เดยี กบั อาเซยี อาคเนย์ จงึ สังคหะ ซง่ึ ได้เริม่ ใช้เป็นคัมภีร์สำ� คัญในการศกึ ษาพระ ควรรเู้ ร่อื งเพมิ่ อีกเลก็ น้อย อภิธรรมตง้ั แตป่ ระมาณ พ.ศ. ๑๖๐๐ เป็นต้นมา (เวลาท่ี แตง่ ไมแ่ นช่ ดั นักปราชญส์ นั นิษฐานกนั ต่างๆ บางท่านว่า ก่อนเกดิ มอี าณาจักรศรีวชิ ัยขึน้ ทจี่ ุดเร่ิม คือ ในยคุ เดยี วกนั หรือใกลเ้ คยี งกับพระพุทธโฆสาจารย์ โดย สมุ าตราในชว่ ง พ.ศ. ๑๑๐๐ (ก่อน ค.ศ. 600) น้นั ที่ ทวั่ ไปถือกันว่าไม่กอ่ น พ.ศ. ๑๒๕๐ แต่นา่ จะอยู่ในชว่ ง ชวา พทุ ธศาสนาไดม้ าต้งั มน่ั นานแล้วก่อนครสิ ตศ์ ตวรรษ พ.ศ. ๑๕๐๐-๑๖๕๐) ที่ 5 โดยมภี กิ ษุ เช่นพระคุณวรมันมาเผยแผ่ธรรม แม้ที่ สมุ าตรา พระพุทธศาสนาก็คงไดม้ าถึงในยุคเดียวกนั 84 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

จีน อ่าว ทมฬิ กบั ลงั กา มีเวรกนั มายืดยาว เบงกอล โดยเฉพาะหลัง พ.ศ. ๙๕๐ มาแล้ว ในลังกามีการ อันธระ จัมปา พิพาทแยง่ ชิงราชสมบตั ิกันเอง แตล่ ะฝา่ ยกข็ อกำ� ลงั จาก ทมฬิ ทเ่ี ป็นพวกมาชว่ ยบ้าง กษัตรยิ ท์ มฬิ ยกทัพมารกุ ราน เจระ โจฬะ ทะเลจนี ใต้ และครอบครองบ้าง กษตั ริยท์ มิฬฝ่ายโจฬะกับฝ่าย ปาณฑยะ ปาณฑยะรบกัน ฝ่ายหนึง่ ขอกำ� ลังจากสิงหฬข้ามทะเลไป ศรวี ชิ ัย ช่วยรบในแดนทมิฬบา้ ง ลังกา ความเป็นไปในระยะแรกของปาณฑยะ และโจฬะ มหาสมุทรอินเดีย กอ็ ย่างท่ีกล่าวแลว้ วา่ นอกจากการรุกรานเกาะลงั กา การ รบราแข่งอ�ำนาจกันเองระหว่าง ๒ อาณาจกั ร และการค้า กับกรกี โรมัน และจีน ที่พอจะพบหลกั ฐานบ้างแลว้ ก็ แทบไมม่ ีเรอ่ื งราวอ่นื ปรากฏ หนี ยานมาก่อน ๕๐๐ ปีทรี่ งุ่ เรอื ง หลวงจนี อีจ้ ิงบนั ทกึ วา่ ที่ศรีวิชยั พทุ ธศาสนา ในระยะทศี่ รีวิชยั ครอบครองสุมาตรา ชวา หนี ยานยงั เปน็ หลกั ผู้นับถอื มหายานมนี อ้ ย บอร์เนียวตะวันตก และแหลมมลายู มีอำ� นาจคมุ ช่องแคบ มะละกา เป็นใหญ่ในเส้นทางการค้าระหว่างอาเซีย ต่อมาไมน่ าน เมอ่ื อาณาจักรในชมพทู วปี ทนี่ ับถือ อาคเนยก์ ับอินเดีย และเป็นศนู ย์รวมเก็บพักส่งตอ่ สินค้า มหายาน มกี ำ� ลังขึ้น โดยเฉพาะในยคุ ปาละ และขยาย ระหว่างอินเดยี กับจีน รงุ่ เรืองอยู่ ๕ ศตวรรษ ศรวี ิชัย มาทางแถบที่เปน็ แคว้นเบงกอลในปจั จุบนั พุทธศาสนา กไ็ ดเ้ ป็นศนู ย์กลางแหง่ หน่ึงของพทุ ธศาสนามหายานดว้ ย มหายานกม็ ายงั ศรีวชิ ยั ตามเสน้ ทางค้าขาย เป็นเวลายาวนานถึงประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐ (ค.ศต.ท่ี 13) พระโพธสิ ตั ว์ อวโลกิเตศวร ศลิ ปะศรีวิชยั พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 85

ทมฬิ ยังเฉา กว้างขวางมาก รวมทัง้ อาณาจักรทมิฬดว้ ย คราวมอี าณาจกั รใหญท่ างเหนือ สว่ นจาลกุ ยะกค็ อื ผกู้ ำ� จดั วากาฏกะลง มเี มอื งหลวง คร้นั ต่อมา ในดินแดนเหนอื ขน้ึ ไปในทักษณิ าบถ อยู่ทว่ี าตาปีปุระ เรม่ิ แต่ พ.ศ. ๑๐๘๖ (ค.ศ. 543) ตอ่ มา เมื่อสาตวาหนะสลายลงใน พ.ศ. ๗๔๓ (บางตำ� ราวา่ เสียเมอื งแกพ่ วกราษฏรกูฏใน พ.ศ. ๑๓๐๐ (ค.ศ. 757) พ.ศ. ๗๖๘/ค.ศ. 225) แลว้ มีอาณาจกั รใหม่ๆ เกิดขึน้ แลว้ ตง้ั วงศ์ขึน้ ใหม่อกี เม่อื ราษฏรกฏู ส้ินอำ� นาจใน พ.ศ. นอกจากวากาฏกะที่อยคู่ ่อนไปขา้ งบนแล้ว ที่ใตล้ งมาชิด ๑๓๐๐ (ค.ศ. 975) เรียกว่าจาลกุ ยะตะวนั ตก แดนทมิฬและเดน่ มาก คอื ปลั ลวะ และจาลกุ ยะ เมือ่ แรกสองอาณาจกั รใหม่นี้รุ่งเรือง แดนทมิฬก็ยงั เงยี บเฉา ในราว พ.ศ. ๑๓๐๐ (ปลายครสิ ต์ศตวรรษที่ 8) นนั้ ปัลลวะเสื่อมอำ� นาจลง ปาณฑยะและโจฬะก็เปน็ ปลั ลวะ น้นั เมือ่ สาตวาหนะเสือ่ ม กต็ ้งั อาณาจักร อสิ ระและรุ่งเรืองต่อมา ขน้ึ มาท่กี ัญจี หรอื กญั จปี รุ ัม (Kanchipuram) เม่อื ราว พ.ศ. ๗๖๘ (ค.ศ. 225) แลว้ เรืองอ�ำนาจขน้ึ มาจนกระทั่ง ราว พ.ศ. ๑๑๕๐ (ค.ศ. 600 เศษ) ก็ปกครองดินแดน เปล้ีย-ฟนื้ -ดบั พ.ศ. ๑๒๔๗-๑๒๙๔ (ค.ศ. 704-751) ทเ่ี กาหลี ชาวพุทธไดใ้ ชต้ วั อักษรท่แี กะเป็นแมพ่ มิ พ์ดำ� เนนิ การ ระหวา่ งนน้ั ศรวี ชิ ยั เปลย้ี ไประยะหนง่ึ เมอ่ื ถกู พระเจา้ พมิ พ์พระสูตร ซึ่งยังคงอยูจ่ นบัดน้ี อันยอมรบั กันวา่ เป็น ราเชนทรที่ ๑ แหง่ อาณาจักรโจฬะยกทพั มาตใี น พ.ศ. หนงั สอื ตีพมิ พ์ที่เก่าแก่ทส่ี ุดในโลก (การประดิษฐแ์ ม่พิมพ์ ๑๕๖๘/ค.ศ. 1025 และโจฬะยึดครองชวาไดส้ ว่ นใหญ่ เกดิ ข้นึ ในจีนกอ่ นหน้านี้ไม่นานนกั และตอ่ ไปต้ังแตร่ าว พ.ศ. ๑๔๕๐ การพมิ พห์ นังสอื จะแพร่หลายท่วั ไปในจนี ) ราเชนทรที่ ๑ นอกจากปราบศรวี ชิ ยั แลว้ ยงั ครองลงั กาทวปี ได้หมด และขยายไปยึดดนิ แดนบางส่วน จากซา้ ย: ของพมา่ และมลายดู ้วย Surya Majapahit แม่พิมพ์ไม้ ทีเ่ กาหลใี ช้ (ราเชนทรที่ ๑ มาตีสิงคโปรใ์ น พ.ศ. ๑๕๖๘ และ ตัง้ ชอ่ื เกาะวา่ สงิ หปุระ ซงึ่ เพีย้ นมาเป็นสงิ คโปร์ (บาง พิมพพ์ ระสตู ร ตำ� นานว่ามีภกิ ษุให้ช่ือน้ัน บางต�ำนานวา่ อย่างอ่ืนอกี ) อยา่ งไรก็ตาม ตอ่ มา ศรีวชิ ัยกร็ ุ่งเรอื งข้นึ ได้อกี และคงอยู่อกี นานจนเลอื นลบั ไปเม่อื อาณาจักรใหมช่ อ่ื “มชปหติ ” เดน่ ขน้ึ มาแทนทีใ่ นระยะ พ.ศ. ๑๘๐๐ 86 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

ม.สนิ ธุ คชุ ราต ม.ยมมุน.คางคา ทเิ บต ประยาค เวสปาาลฏีลบี ุตร ปาณฑยะ และโจฬะ จะลบั หรอื โรจน์ การค้ากร็ ่งุ จาอลชุ ุกเชนยี มะ.นมั มทา กลิงคะ เบองก่าวอล โดยเฉพาะ รชั กาลของพระเจ้าราเชนทรที่ ๑ ม.โคทาวรี ตลอดเวลาทั้งหมดน้ี การค้าทางทะเลระหว่าง (พ.ศ. ๑๕๕๕-๑๕๘๗/ค.ศ. 1012-44) เป็นช่วงเวลาท่ี ประเทศกด็ ำ� เนินสบื ตอ่ เร่อื ยมา แต่มีความเปล่ยี นแปลง โจฬะเรอื งอำ� นาจสงู สดุ ราเชนทรที่ ๑ สบื งานพชิ ติ ตอ่ จาก วาตาปปี รุ ะ ม.กฤษณะ เวงคี คอื การคา้ กับด้านโรมันสะดุดหยดุ ไป (จกั รวรรดโิ รมัน พระราชบดิ า นอกจากครองปาณฑยะและเจระ ตดี นิ แดน ตะวนั ตกลม่ สลายเม่อื พ.ศ. รายรอบและข้นึ เหนือไปถงึ แมน่ �้ำคงคา ชนะกษัตริย์ปาละ ม.กาเโวรจี ฬกะัญจีปรุ มั แทบจะรวมอนิ เดยี ท้งั หมดแลว้ ยังเป็นเจ้าทะเลแถบนี้ ทัง้ มทรุ า ๑๐๑๙/ค.ศ. 476) จากนนั้ อนิ เดยี ไดห้ นั มาค้าขาย แผข่ ยายดนิ แดนไปถงึ อาเซยี อาคเนย์ และควบคมุ เสน้ ทาง กับอาเซียอาคเนย์ สว่ นการคา้ ขายกับอาหรับและจีนก็ยัง การค้า ทำ� ให้การพาณิชย์ย่านน้ีกระท่งั กบั จีนดำ� เนนิ ไป ด�ำเนินต่อมา อยา่ งเขม้ แข็งจนตลอดครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๑ คงสืบเนอื่ งจากกิจกรรมการค้าขายที่เฟ่ืองฟูขน้ึ ใน แถบน้ี อาณาจกั รใหม่ซ่ึงมชี ่อื ว่าศรีวชิ ัยจงึ ไดเ้ กดิ ขึ้น Rajendra Coin พ.ศ. ๑๒๕๓ (ค.ศ. 710) ท่ญี ีป่ ุ่น พระจักรพรรดิ โชมทุ รงย้ายเมืองหลวงไปตัง้ ทเ่ี มืองนารา (Nara) เชิดชู พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำ� ชาติ และใหส้ ร้างวัด ขึ้นประจ�ำทกุ จังหวดั พ.ศ. ๑๒๕๔ (ค.ศ. 711) ทพั มสุ ลิมอาหรับจาก อาฟรกิ าเหนือ ในนามแห่งกาหลฟิ ท่ีดามัสกัส ยกมาตียดึ สเปนได้ พ.ศ. ๑๒๕๕ (ค.ศ. 712) ทางดา้ นอาเซยี กาหลฟิ ภาษาราชการ และเขา้ ครองดนิ แดนแถบแควน้ สินทแ์ หง่ จากซา้ ย: แผอ่ ำ� นาจไปทางตะวันตกเฉียงเหนอื ของชมพทู วปี พิชิต ลุ่มน�้ำสนิ ธุ ทพั อาหรบั จะรุกคบื เข้าปัญจาบและแคชเมยี ร์ Todaiji Daibutsu บากเตรยี /โยนก เข้าไปอาเซยี กลาง (ตำ� นานว่า ถงึ ชาย /กศั มรี ์ แตถ่ กู หยดุ ย้ังไว้ จักรพรรดโิ ชมุ แดนจนี ) เปล่ียนชนท้องถ่ินเปน็ มสุ ลมิ ใหใ้ ช้อาระบกิ เป็น พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 87