โครงการจดั ทาํ คูม ือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดย่ี ว(Single Line Diagram) คํานํา ระบบไฟฟาภายในโรงงานอุตสาหกรรมเปนหัวใจสําคัญของขบวนการผลิตสินคาตางๆและอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นภายในโรงงานอุตสาหกรรมก็มีสาเหตุเกิดจากไฟฟาเปนลําดับตนๆของการเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด ดังน้ัน การกําหนดมาตรการความปลอดภัยเก่ียวกับระบบไฟฟาภายในโรงงานอุตสาหกรรม จึงมีความสําคัญอยางยิ่งตอขบวนการผลิต ความปลอดภัยของพนักงาน ความปลอดภัยของโรงงาน ตลอดจนชุมชน และสภาพแวดลอ มรอบขางของโรงงานอุตสาหกรรม ใหมคี ุณภาพดยี งิ่ ข้นึ กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีภาระหนาท่ี ความรับผิดชอบในการกํากับดูแล สงเสริม สนับสนุนผปู ระกอบการธรุ กิจอุตสาหกรรมใหสามารถแขง ขนั ได มีความปลอดภัยในการประกอบกิจการของโรงงานกรมโรงงานฯ จึงไดจดั ทําคูมือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ียว ( Single Line Diagram )ซึ่งนําเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ สัญลักษณในการเขียนแบบ การเตรียมขอมูล และการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ียว ( Single Line Diagram ) โดยเน้ือหามุงเนนใหผูประกอบการสามารถนําไปปฏิบัติใชงานไดจริง เพื่อปรับปรุงแกไขแบบแปลน โดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ียว ( Single LineDiagram ) ใหสอดคลอ งตามกฎกระทรวง สาํ นักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม มถิ ุนายน 2551สํานกั เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คูมือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดย่ี ว (Single Line Diagram) สารบัญบทท่ี 1 สัญลักษณใ นการเขยี นแบบ หนา 1.1 บทนาํ 1-1 1.2 ขอบเขต 1-1 1.3 สญั ลักษณใ นการเขียนแบบ 1-1 1-1บทที่ 2 การจัดเตรยี มขอ มลู การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเด่ียว 2-1 2.1 ขอ มูลดา นระบบไฟฟา แรงสงู 2-1 2.2 ขอมูลดา นอปุ กรณไ ฟฟา (หมอ แปลงไฟฟาและอปุ กรณแรงตํา่ ) 2-7บทท่ี 3 ขน้ั ตอนการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดย่ี ว 3-1 (Single Line Diagram) สาํ หรับโรงงานอตุ สาหกรรม 3-1 3.1 การแบงสวนการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงแผนภาพเสน เดี่ยวบทท่ี 4 การจัดทําตารางโหลด (Load Schedule) 4-1 4.1 ประโยชนท ไี่ ดรบั จากการจัดทําตารางโหลด 4-1 4.2 ขัน้ ตอนการทาํ ตารางโหลด 4-1 4.3 ตัวอยางการจดั ทาํ ตารางโหลด 4-4บทที่ 5 ตัวอยา งในการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดยี่ ว 5-1สาํ นกั เทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คูมอื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ยี ว (Single Line Diagram) สารบญั ตารางตารางท่ี 1.1 สัญลกั ษณใ นการเขยี นแบบไฟฟา หนาตารางท่ี 2.1 แสดงขอมลู ท่ีตอ งจัดเตรียมสําหรับหมอ แปลงไฟฟาตารางท่ี 4.1 แสดงตารางโหลด 1-3ตารางที่ 4.2 แสดงคา ตางๆในตารางโหลด 2-8 4-3 4-7สาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คูม อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดี่ยว (Single Line Diagram) สารบญั รูป หนารปู ท่ี 1.1 แสดงสญั ลกั ษณทางไฟฟาเพ่อื ใชแ ทนอปุ กรณไฟฟา ตาง ๆ 1-2รูปที่ 2.1 แสดงสายอะลมู เิ นยี มตีเกลยี วเปลอื ย (AAC) ระดับแรงดนั 69 kV 2-1รปู ที่ 2.2 แสดงสายหมุ ฉนวนแรงสงู 2 ชนั้ ไมเตม็ พิกดั (SAC) ระดับแรงดนั 24 kV. 2-2รปู ที่ 2.3 แสดงสาย Cross-linked Polyethylene (XLPE) 2-2รูปท่ี 2.4 แสดงสาย Cross-linked Polyethylene (XLPE) แบบสายใตดิน ระดับแรงดนั 24 kV 2-3รปู ท่ี 2.5 แสดง Drop fuse cutoutและตาํ แหนงติดต้ังใชงาน 2-4รูปที่ 2.6 แสดงลกั ษณะของ Power Fuse 2-4รปู ที่ 2.7 แสดงฟว ส และสวติ ชสาํ หรบั ตัดโหลด 2-5รปู ที่ 2.8 แสดงเซอรกติ เบรกเกอร ( Circuit Breaker) 2-5รปู ท่ี 2.9 แสดงสวติ ชแยกวงจร ( Isolating Switch , Disconnector ) 2-6รูปท่ี 2.10 แสดงกบั ดักเสิรจ ท่ีตดิ ตั้งใชง านและสัญลกั ษณ 2-7รูปที่ 2.11 แสดง Name Plate ของหมอแปลง 2-8รปู ที่ 2.12 แสดงสญั ลักษณของหมอ แปลง 2-9รปู ที่ 2.13 แสดงสายแรงต่าํ ในระบบจําหนายของการไฟฟาฯ 2-10รูปท2ี่ .14 แสดงสายแรงตาํ่ ภายในโรงงาน 2-11รปู ท่ี 2.15 แสดงการเดนิ สายรอ ยทอโลหะชนดิ EMT ภายในโรงงาน 2-12รูปท่ี 2.16 แสดงการตดิ ตัง้ รางเดินสาย 2-12รปู ท่ี 2.17 แสดงการเดนิ ในรางเคเบลิ แบบบันได 2-13รูปท2่ี .18 แสดงการเดนิ สายใน Cable Trench 2-14รูปท่ี 2.19 แสดงตูสวติ ชป ระธาน (Main Distribution Board (MDB)) 2-15รูปที่ 2.20 แสดงประเภทของเซอรก ิตเบรกเกอร 2-16รูปที่ 2.21 แสดงสญั ลกั ษณของเซอรก ิตเบรกเกอร 2-17รูปท่ี 2.22 แสดงเมนเซอรก ติ เบรกเกอรและตาํ แหนง ติด Name Plate 2-17รปู ที่ 2.23 แสดง Name Plateของเซอรก ิตเบรกเกอรเ พื่อพจิ ารณาคา ตา งๆ 2-18รูปที่ 2.24 แสดงฟว สแ รงตา่ํ 2-19รูปที่ 2.25 แสดงสญั ลกั ษณของฟว ส 2-19รูปที่ 2.26 แสดงฟวสโหลดเบรก 2-19สาํ นกั เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คูมอื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดีย่ ว (Single Line Diagram) สารบัญรปู (ตอ ) หนารปู ท่ี 2.27 แสดงสญั ลกั ษณฟ วสโ หลดเบรก 2-20รปู ที่ 2.28 แสดงเซฟต้สี วติ ช 2-20รปู ท่ี 2.29 แสดงอุปกรณเครอื่ งมอื วดั 2-21รูปที่ 2.30 แสดงสญั ลกั ษณของเครอ่ื งมอื วดั แบบตา ง ๆ 2-21รูปท่ี 2.31 แสดงสัญลักษณและตาํ แหนง การติดต้ังเคร่อื งมอื วัดทางไฟฟา ตางๆ 2-22รูปท่ี 2.32 แสดงสญั ลกั ษณและตําแหนง การตดิ ตัง้ คาปาซเิ ตอร 2-23รปู ท่ี 2.33 แสดงชุดเคร่ืองกําเนิดไฟฟา 2-24รปู ที่ 2.34 แสดงระบบไฟฟาทม่ี ีชุดเคร่ืองกาํ เนิดไฟฟา พรอม Transfer Switch 2-24รูปท่ี 2.35 แสดงแผงสวติ ช (Distribution Board (DB)) 2-25รูปท่ี 2.36 แสดงสัญลกั ษณข องแผงสวติ ช 2-25รูปที่ 2.37 แสดงแผงยอ ย (Panelboard (PB)) 2-26รูปท่ี 2.38 แสดงสัญลักษณของแผงยอ ย 2-27รปู ท่ี 2.39 แสดงโหลดประเภทมอเตอรไฟฟา 2-28รูปที่ 2.40 แสดงสญั ลักษณโหลดมอเตอรไ ฟฟา 2-28รูปที่ 3.1 แสดงสวนประกอบการจา ยไฟฟา 3-1รปู ที3่ .2 แสดงสายไฟฟา แรงสูงแบบเดินสายอากาศและหมอแปลงไฟฟา 3-2รูปท่ี 3.3 แสดงแผนภาพเสน เด่ยี วของสายไฟฟาแรงสูงแบบเดินสายอากาศ 3-2 และหมอแปลงไฟฟารปู ท่ี 3.4 แสดงสายไฟฟาแรงสงู แบบเดินสายใตดนิ และหมอ แปลงไฟฟา 3-3รูปท่ี 3.5 แสดงแผนภาพเสน เด่ยี วของสายไฟฟา แรงสูงแบบเดนิ สายใตดิน และหมอแปลง 3-3 ไฟฟารูปท่ี 3.6 แสดงการเดินสายไฟฟาแรงต่าํ จากหมอ แปลงไฟฟา ไปตสู วติ ชประธาน 3-4รปู ที่ 3.7 แสดงแผนภาพเสนเดยี่ วของสายไฟฟาแรงตา่ํ จากหมอ แปลงไฟฟาไปตสู วิตชป ระธาน 3-5รูปท่ี 3.8 แสดงการเดินสายไฟฟาแรงตํ่าจากตสู วติ ชป ระธานไปแผงสวติ ซ(DB) หรือโหลดขนาด 3-6 ใหญรูปที่ 3.9 3-7รปู ท่ี 3.10 แสดงแผนภาพเสน เดี่ยวจากตสู วติ ซป ระธาน(MDB)ไปแผงสวติ ชหรือโหลดขนาดใหญ 3-8รปู ท่ี 3.11 3-8 แสดงการเดนิ สายไฟฟาแรงต่ําจากแผงสวติ ซ( DB)ไปโหลดหรือแผงยอ ย(PB) แสดงแผนภาพเสน เดีย่ วจากแผงสวิตซไ ปโหลดหรอื แผงยอ ย(PB)สาํ นกั เทคโนโลยคี วามปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจัดทําคมู อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเด่ยี ว (Single Line Diagram) สารบัญรูป(ตอ ) หนารปู ท่ี 4.1 แสดงแผงยอ ย (Panelboard (PB)) 4-2รูปที่ 4.2 4-5รปู ที่ 5.1 แสดงวงจรไฟฟา 5-1รปู ท่ี 5.2 5-3 แสดงแผนภาพเสน เด่ียวดา นระบบไฟฟา แรงสงู และหมอ แปลงไฟฟารปู ที่ 5.3 แสดงแผนภาพเสน เดี่ยวดา นไฟฟา แรงต่ําจากหมอแปลงไฟฟา และตสู วติ ซป ระธาน 5-5 (MDB)รูปท่ี 5.4 แสดงแผนภาพเสน เดี่ยวดา นไฟฟาแรงตํา่ จากตสู วติ ซป ระธาน (MDB) 5-6รปู ท่ี 5.5 ไปแผงสวิตซ (DB) หรอื โหลดขนาดใหญ 5-7รปู ที่ 5.6 แสดงแผนภาพเสนเดี่ยวดา นไฟฟาแรงสงู ถึงแผงสวติ ซ (DB) 5-8 แสดงแผนภาพเสน เดี่ยวดา นแผงสวติ ซ DB 1 แสดงแผนภาพเสน เดย่ี วดานแผงสวิตซ DB 12สํานักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คูมือการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดีย่ ว(Single Line Diagram) บทท่ี 1 สัญลกั ษณในการเขยี นแบบ1.1 บทนํา เนื้อหาของหนังสือเลมน้ีมุงเนนใหผูที่ปฏิบัติงานดานไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม ท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบในการควบคุม ซอมบํารุง หรือติดตั้งอุปกรณไฟฟาใหม ซึ่งอาจจะเปนวิศวกรไฟฟาหรือชางไฟฟา ที่ทําหนาท่ีรับผิดชอบดานไฟฟาภายในโรงงานอุตสาหกรรม ไดศึกษารายละเอียดเก่ียวกับการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ียว (Single Line Diagram) และสามารถนําความรูไปเขียนแผนภาพฯ ระบบการจายไฟของโรงงานท่ีดูแลรับผิดชอบได ท้ังน้ี เพื่อใหเกิดความปลอดภยั ในการใชไฟฟาภายในโรงงานอุตสาหกรรม และเปนไปตามกฎกระทรวง เร่ือง กาํ หนดมาตรการความปลอดภัยเก่ียวกับระบบไฟฟาในโรงงาน พ.ศ.2550 ซึ่งกฎหมายไดกําหนดใหโรงงานอุตสาหกรรมจะตอ งมีการจดั ทําแผนภาพเสน เด่ียว ใหแ ลว เสรจ็ ภายในระยะเวลา 3 ป1.2 ขอบเขต เนอื้ หาในหนังสอื เลมนม้ี ีสว นประกอบ ดังนี้ 1. สญั ลักษณใ นการเขยี นแบบ 2. การจดั เตรยี มขอ มลู ในการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดี่ยว 3. ขั้นตอนการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดี่ยว 4. การจดั ทาํ ตารางโหลด (Load Schedule) 5. ตวั อยางในการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดย่ี ว1.3 สัญลักษณในการเขยี นแบบ การเขียนแบบทางไฟฟาตองมีการกําหนดสัญลักษณทางไฟฟา เพ่ือใชแทนอุปกรณไฟฟาตาง ๆ ทั้งน้ี สัญลักษณที่ใชตองเปนสัญลักษณตามมาตรฐานสากล เพื่อใหมีความเขาใจตรงกันโดยในหนงั สอื เลม นจ้ี ะกาํ หนดใหใ ชม าตรฐาน IEC 60617 ตวั อยา งสัญลักษณท่ใี ช เชน หลอดไฟฟา ⊗ เซอรก ิตเบรกเกอรสํานกั เทคโนโลยคี วามปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1-1
โครงการจดั ทําคูม อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดยี่ ว(Single Line Diagram)ฟว ส or 3จาํ นวนตวั นาํ สวติ ช 2 ขว้ั L1,3,5 LP 5สญั ลักษณว งจรไฟฟา เชนลูกศรแสดงวงจรยอย วงจรที่ 1 (เฟส A) , 3 (เฟส B) , 5 (เฟส C) และสายนิวทรัลรวม 4 เสนเดนิ สายไปยงั แผงจายไฟ LP5 รูปท่ี 1.1 แสดงสญั ลักษณทางไฟฟาเพื่อใชแ ทนอปุ กรณไฟฟา ตา ง ๆสาํ นกั เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 1-2
โครงการจัดทาํ คมู อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดีย่ ว(Single Line Diagram) ตารางท่ี 1 สัญลักษณในการเขียนแบบไฟฟา Standard symbols (อางอิง IEC 60617 )หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC02-01-06 Line of separation between functional unit02-02-01 Direct current02-02-04 Alternating current ∼02-02-05 Alternating current of 50 Hz ∼50Hz 3N∼50Hz 400/230V02-02-07 Alternating current: three-phase with neutral 50 Hz, 400 V (230 V between phase and neutral)02-08-01 Thermal effect02-08-02 Electromagnetic effect02-08-04 Magnetic field effect or dependence02-12-04 Line of application, optional, denoting small interval02-13-01 Manual operation, general use02-13-03 Operated by pulling02-13-04 Operated by turning02-13-05 Operated by pushing02-13-08 Emergency switch02-13-13 Operated by key02-13-23 Electromagnetic operationสํานกั เทคโนโลยคี วามปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 1-3
โครงการจัดทําคมู อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดย่ี ว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC M02-13-24 Operated by electromagnetic overcurrent protection or 3 3N∼50Hz 400V02-13-25 Operated by thermal overcurrent protection 3x120 mm2 + 1x5002-13-26 Operated by electric motor 1234 or02-15-01 Earth, general symbol02-15-03 Protective earth02-17-01 Fault (indicated of assumed fault location)02-A1-02 Operated by electromagnetic actuator03-01-01 Conductor03-01-02 Number pf conductors03-01-03 Tcmohmnred2eu-cpthoarsseofc1ir2c0uitm, 5m02,Hwzi,th40n0euVtr,atlhorefe5003-01-0503-01-09 Conductor in cable03-02-01 Connection of conductors03-02-02 Terminal03-02-03 Terminal strip / block03-02-04 Junction of conductors03-02-0503-03-01 Female contact (of socket or plug)03-03-02 Female contact (of socket or plug)สาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1-4
โครงการจดั ทาํ คูมอื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ยี ว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC 603-03-03 Male contact (of socket or plug) or03-03-04 Male contact (of socket or plug) 1-503-03-05 Connector with plug and socket03-03-06 Connector with plug and socket03-03-08 Socket and plug, multipole04-01-01 Resistor, general symbol04-01-0204-01-03 Variable resister, general symbol04-01-09 Resistor with fixed tappings04-02-01 Capacitor, general04-02-02 Capacitor, general04-02-07 Adjustable capacitor04-02-08 Adjustable capacitor04-03-01 Winding, inductance, general symbol04-03-0204-03-03 Inductor with magnetic core04-03-06 Winding with fixed tapping06-02-05 Three-phase winding, delta06-02-07 Three-phase winding, star06-02-08 Three-phase winding, star, with neutral brought outสาํ นกั เทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คมู อื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ียว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC G06-04-01 Generator M M06-04-01 Motor, general symbol ∼M06-04-01 DC motor, general symbol 3M∼06-04-01 AC motor, general symbol 3M∼ or06-08-01 Three-phase asynchronous with squirrel cage rotor or06-08-03 Three-phase asynchronous with slip-ring06-09-01 rotor or06-09-02 Transformers with two windings ∼06-09-07 Autotransformer 1-606-09-10 Current transformer06-09-1106-10-07 Three-phase transformer, connection star- delta06-13- Voltage transformer 01A06-04-05 Inverter06-15-01 Primary cell, Secondary cell, Battery of primary or secondary cell07-01-01 Contactor function07-01-02 Circuit breaker function07-01-03 Disconnector (Isolator) functionสํานกั เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจัดทําคมู อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดี่ยว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC or07-01-04 Switch-disconnector (Isolating-switch) function07-01-05 Automatic tripping function initiated by built- in measuring relay or release07-02-01 Make contact07-02-0207-02-03 Break contact07-02-05 Change-over contact with off-position in the07-02-01 center Make contact, delay when device is being activated07-05-02 Make contact, delay when device is being de-activated Breaking contact, delay when device is being07-05-03 activated07-05-04 Breaking contact, delay when device is being de-activated07-07-02 Push-button (non stay-put)07-13-02 Contact (make contact)07-13-05 Circuit breaker07-13-06 Disconnector07-13-08 Switch-disconnector (0n-load isolating07-13-09 switch) Switch-disconnector with built-in automatic trippingสํานกั เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 1-7
โครงการจดั ทาํ คูมอื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดยี่ ว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC Ursd07-14-01 Motor starter, general symbol d07-15-01 Electromechanical operating device, general d symbol, relay coil, general symbol N07-15-07 Electromechanical device with off-delay U=07-15-08 Electromechanical operating device with on- P<07-15-09 delay Electromechanical device with on-and off- delay07-15-21 Electromechanical device of a thermal relay07-16-03 Residual voltage07-16-04 Reverse current07-16-05 Differential current07-16-06 Percentage differential urrent07-16-07 Earth fault current07-16-08 Current in the neutral conductor07-17-01 No voltage relay07-17-02 Reverse current relay07-17-03 Under-pressure relay, make contact07-21-01 Fuse, general symbol07-21-07 Fuse-switchสํานกั เทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 1-8
โครงการจัดทาํ คูม ือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดย่ี ว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC V07-21-08 Fuse-disconnector (fues isolator) var cosϕ07-21-09 Fuse switch-disconnector (on-load isolating Hz switch) Wh08-02-01 Voltmeter08-02-04 Varmeter08-02-05 Power-factor meter08-02-07 Frequency meter08-04-03 Watt-hour meter08-10-01 Indicator light, general symbol08-10-05 Horn, claxon08-10-10 Buzzer08-10-11 Buzzer10-03-01 Underground line11-03-03 Overhead line11-03-04 Line within a duct, Line within a pipe11-04-01 Overground weather-proof enclosure, general symbol11-11-01 Neutral conductor11-11-02 Protective conductorสาํ นกั เทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1-9
โครงการจดั ทาํ คมู ือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ียว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC 311-11-03 Combined protective and neutral conductor11-11-04 EXAMPLE: Three-phase wiring with neutral conductor and protective conductor11-12-01 Wiring going upwards11-12-02 Wiring going downwards11-12-03 Wiring passing through vertically11-12-04 Box, general symbol11-12-05 Connection box, Junction box11-12-06 Consumers terminal, Service entrance equipment11-12-07 Distribution center (shown 5 wirings)11-13-01 Socket outlet11-13-02 Multiple socket outlet11-13-04 Socket outlet (power) with protective contact11-13-05 Socket outlet (power) with shutter11-13-08 Socket outlet (power) with isolating11-13-09 transformer Socket outlet (telecommunication), general symbol11-14-01 Switch, general symbol11-14-02 Switch with pilot lampสาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1-10
โครงการจัดทาํ คูมือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดย่ี ว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC t11-14-04 Two pole switch 311-14-06 Two-way single pole switch 1-1111-14-08 Dimmer11-14-10 Push-button11-14-11 Push-button with indicator lamp11-14-13 Timer11-14-14 Time switch11-14-15 Key-operated switch, Watchman’s system device11-15-01 Lighting outlet position (shown with wiring)11-15-02 Lighting outlet on wall11-15-03 Lamp, general symbol11-15-04 Luminaire, general symbol11-15-05 Luminaire with three fluorescent tubes11-15-06 Luminaire with three fluorescent tubes11-15-08 Spot light11-15-09 Flood light11-15-11 Emergency lighting luminaire on special circuit11-15-12 Self-contained emergency lighting luminaireสาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจัดทําคมู อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ยี ว(Single Line Diagram)หมายเลข รายการ Standard symbolตาม IEC I> I> I>103-01-01 Conductor (for later expansion)104-02-01 Variable capacitor107-05-01 ep3th-lreeopcrtometlrecootmiebvlreaeegcacntkirreiecctruicoiwtvoibetvhrreecmruacrkeureecrrrnhetannrteisrleemaleswaesisteh,stt,hhmrreeoeetorสาํ นกั เทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1-12
โครงการจัดทําคมู ือการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ยี ว(Single Line Diagram) บทที่ 2การจดั เตรยี มขอ มูลการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดีย่ ว การเขียนแผนภาพเสน เดีย่ วมอี งคป ระกอบท่สี าํ คัญ คอื การจดั เตรียมขอมูลตา ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ งกับระบบไฟฟา อปุ กรณไฟฟาท่ตี ดิ ตัง้ อยใู นโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งขอ มลู ตา ง ๆ ท่ีตองจดั เตรยี มมีดงั นี้ 2.1 ขอมลู ดานระบบไฟฟาแรงสูง 2.1.1 ตรวจสอบระบบไฟฟา แรงสูงท่จี า ยเขาในโรงงานอตุ สาหกรรม วามรี ะดบั แรงดนั เทา ไรเชน การไฟฟา นครหลวง มีระดับแรงดัน 12 , 24 , 69 , 115 , 230 kV การไฟฟาสว นภูมิภาค มีระดับแรงดัน 22 , 33 , 115 , 230 kV บรษิ ทั ผลติ ไฟฟา อิสระทีจ่ ายไฟใหน คิ มอุตสาหกรรม ตอ งตรวจสอบระดบั แรงดนั วา มีระดับแรงดนั เทา ไร 2.1.2 ตรวจสอบระบบการเดินสายไฟฟา แรงสูง วา เปน ระบบสายอากาศหรอื ระบบสายใตดนิ และตรวจสอบขนาด/ชนิดของสายไฟฟา ซง่ึ สายไฟฟา แรงสูงแบงออกเปน 1) ระบบสายอากาศ แบง ประเภทของสายไฟฟาไดด ังนี้ - สายอะลมู ิเนียมตีเกลยี วเปลอื ย (All Aluminum Conductor (AAC)) - สายหุม ฉนวนแรงสูงไมเตม็ พิกดั (Partially Insulated Conductor (PIC)) - สายหุมฉนวนแรงสงู 2 ชัน้ ไมเตม็ พกิ ดั (Space Aerial Cable (SAC)) - สายหุม ฉนวนแรงสงู เต็มพกิ ดั ตเี กลียว (Fully Insulated Cable (FIC)) โดยระบุขนาดของสายไฟฟา เชน 35 , 70 , 120, 185 ตร.มม. ฯลฯ สาย AACรูปท่ี 2.1 แสดงสายอะลูมิเนยี มตีเกลยี วเปลอื ย (AAC) ระดับแรงดัน 69 kVสํานักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-1
โครงการจดั ทําคมู ือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดยี่ ว(Single Line Diagram) สาย SAC รูปที่ 2.2 แสดงสายหุม ฉนวนแรงสูง 2 ช้ัน ไมเ ต็มพกิ ดั (SAC) ระดบั แรงดนั 24 kV 2) ระบบสายใตด ินใชส ายชนดิ Cross-linked Polyethylene (XLPE) ซ่ึงเปนสายทองแดงหมุ ฉนวน XLPE และมชี ิลดดว ย จัดอยูในประเภทสายหุมฉนวนทสี่ ามารถสมั ผัสไดโดยไมเ กิดอนั ตราย เหมาะทีจ่ ะใชง าน สายประเภทนที้ ่ปี ลายสายตอ งมหี ัวเคเบิลดว ย ลกั ษณะโครงสรางของสายเปน ไปตามรูป Extruded Conductor Shield Insulation Extruded Insulation ShieldConductor Separator Tape Sheath Copper Shield Tape รปู ที่ 2.3 สาย Cross-linked Polyethylene (XLPE)หมายเหตุ 12/20(24) kV ในมาตรฐาน IEC 502 หมายถึง Uo/U (Umax) Uo = แรงดันเทียบกบั ดนิ U = Phase voltage Umax = แรงดนั สูงสดุ ระหวา งสายสาํ นักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-2
โครงการจดั ทําคมู ือการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดย่ี ว(Single Line Diagram)โดยระบขุ นาดของสายไฟฟา เชน 35 , 70 , 120, 185 ตร.มม. ฯลฯ ระบบสายใตด นิ แรงสงู 24 kV เดนิ สายเขาโรงงาน รปู ที่ 2.4 แสดงสาย Cross-linked Polyethylene (XLPE) แบบสายใตดนิ ระดบั แรงดนั 24 kV 2.1.3 เครื่องปอ งกันกระแสเกนิ (Overcurrent Protective Device) เครอื่ งปอ งกันกระแสเกนิ (Overcurrent Protective Device) ของระบบไฟฟา ในปจจุบนั มหี ลายชนิดดว ยกนั เชน ฟวส คัตเอาต (Fuse Cutouts) เพาเวอรฟวส (Power Fuses) รีโครสเซอร(Reclosers) และเซอรก ติ เบรกเกอร (Circuit Breakers) การเลอื กชนิดของอปุ กรณปองกันกระแสเกินใหเหมาะสมกบั ระบบ ซ่ึงจะตองพิจารณาถึงสภาพของโหลด ระบบแรงดันไฟฟา กระแสลดั วงจร เปนตน จะทาํ ใหร ะบบ มคี วามม่ันคงและเปน การประหยัด ขอมูลทต่ี องจดั เตรยี ม - ขนาดพิกัดกระแสตัดวงจร พกิ ัดในการตดั กระแสลดั วงจร - ระบบแรงดนั ไฟฟา สาํ หรบั สายปอ นมกี ารตดิ ตงั้ เครื่องปองกันกระแสเกินหลายแบบเพ่ือใหเ หมาะสมกับการใชง านเครื่องปอ งกันกระแสเกนิ ทนี่ ยิ มใชมีดังนี้ 1) Drop Fuse Cutout Drop Fuse Cutout หรือเรยี กสัน้ ๆ วา fuse cutout ทนี่ ยิ มใชใ นระบบจําหนายของ กฟน. และกฟภ. น้ัน จะมีลักษณะเปนแบบ open type ดังแสดงตามรูปสาํ นักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-3
โครงการจัดทําคูม อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดีย่ ว(Single Line Diagram) Drop Fuse Cutout รูปที่ 2.5 แสดง Drop Fuse Cutoutและตําแหนงติดตงั้ ใชง าน 2) Power Fuse Power Fuse ประกอบดวย fuse unit และ fuse support fuse unit อาจประกอบดวย fuse linkชนิดท่ีเปลย่ี นไดเ รยี กวา refill unit มาตรฐานท่กี าํ หนดการผลติ คอื ANSI C37.46 มขี นาดกระแสสูงสดุ400 แอมแปร ใชกับแรงดนั ในชว ง 24 ถึง 69 กโิ ลโวลต แตอาจมบี างบรษิ ัทที่ผลติ นอกเหนือไปจากน้ีซง่ึ ถือวาเปน ขนาดทีไ่ มอ ยูในมาตรฐาน ลกั ษณะของ power fuse แสดงตามรปู รปู ท่ี 2.6 แสดงลกั ษณะของ Power Fuse 2-4สํานักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คูม อื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดยี่ ว(Single Line Diagram) 3) ฟว ส และสวติ ชสาํ หรับตัดโหลด (Load Break Switch , Switch Disconnector) รปู ท่ี 2.7 แสดงฟวส และสวติ ชสาํ หรบั ตัดโหลด 4) เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit Breaker) รูปที่ 2.8 แสดงเซอรก ติ เบรกเกอร ( Circuit Breaker) 2-5ปจ จุบนั ฉนวนที่ใชมี - SF6 Insulated Circuit Breaker - Vacuum Circuit Breaker - Oil Circuit Breakerสาํ นักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจัดทําคูม อื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ยี ว(Single Line Diagram) 5) สวิตชแ ยกวงจร (Isolating Switch , Disconnector) พรอมอุปกรณปองกนั ของเมนสวติ ชแ รงสงู Isolating Switch Circuit Breaker Earthing Switchรปู ท่ี 2.9 แสดงสวติ ชแ ยกวงจร ( Isolating Switch , Disconnector ) 2.1.4 เครื่องปอ งกนั แรงดนั เกนิ (Overvoltage Protection) แรงดันไฟฟาเกินเกิดจากหลายสาเหตุดว ยกัน เชน เกดิ จากฟา ผา (lightning) หรอื การปลด-สบั สวิตช (switching) แรงดนั เกนิ เหลา นจี้ ะเกิดขน้ึ ชัว่ ขณะเทา นน้ั แตอาจทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หายกับอปุ กรณไ ฟฟาได แรงดนั ไฟฟาเกินทเ่ี กิดจากการปลดสบั สวติ ชห รอื เรียกวา switching surge จะมคี านอยเมื่อเทียบกบั แรงดนั ไฟฟา เกนิ ทเี่ กดิ จากฟา ผา ปกติในระบบแรงดนั ไมเกนิ 230 กิโลโวลต จะไมต องคาํ นึงถงึ switching surge มากนกั ในคมู อื เลม น้ีจงึ พิจารณาเฉพาะแรงดันเกนิ เนอ่ื งจากฟาผา เทาน้ัน การออกแบบเพอื่ ปอ งกันแรงดันไฟฟา เกินเนอื่ งจากฟาผา นนั้ โดยทว่ั ไปจะพิจารณาเปนสองลกั ษณะคอื - ปอ งกนั ฟาผา ลงอปุ กรณไ ฟฟา การปองกันฟาผาในลักษณะน้จี ะใชสายลอฟา(overhead ground wire) หรอื บางครงั้ เรยี กวา shield wire ซึ่งตอลงดินและติดต้งั อยูเหนอื แนวสายสงหรือสายปอนทัง้ หมดเปนตวั ปอ งกนั โดยมีจดุ ประสงคเพ่ือรบั กระแสฟา ผา ใหล งไปท่สี ายลอ ฟา นี้เปนสวนใหญ แทนท่จี ะลงไปท่สี ายไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟา โดยตรง - ปองกนั อปุ กรณไ ฟฟา ไมใ หเสียหายเนอ่ื งจากฟา ผา ในกรณีนี้จะใชก ับดักเสริ จ(Lightning หรอื Surge arrester) เปนอปุ กรณป องกนั เนื่องจากเปนอุปกรณท่ีมรี าคาแพง จึงมีการตดิ ตั้งเฉพาะอุปกรณไ ฟฟา บางประเภทเทา น้ัน เชน หมอแปลงไฟฟา riser ของสายใตด นิ เปนตนสํานักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-6
โครงการจดั ทําคูม อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดี่ยว(Single Line Diagram) กับดกั เสิรจ เปน อุปกรณท่ีใชส ําหรับลดความเสยี หายของอุปกรณไ ฟฟา เนือ่ งจากกระแสฟา ผา มคี ุณสมบัติแตกตา งกันออกไปตามขบวนการผลติ การผลติ จะผลติ ตามมาตรฐานตา งๆ เชนIEC 60099-1, ANSI C 62-1 และ NEMA LA.1 เปนตนกบั ดกั เสริ จ รูปที่ 2.10 แสดงกบั ดักเสิรจ ท่ีตดิ ตั้งใชง านและสญั ลักษณ ขอ มูลท่ตี องจดั เตรยี ม - ระบบแรงดันไฟฟา - พกิ ัดแรงดันของกับดกั เสิรจ - พิกดั กระแส Discharge 2.2 ขอ มูลดานอปุ กรณไ ฟฟา (หมอแปลงไฟฟาและอุปกรณแรงต่ํา) ขอ มลู ดา นอปุ กรณไฟฟา ทีใ่ ชส ําหรับเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดีย่ วมดี งั นี้ 2.2.1 หมอแปลงไฟฟา หมอแปลงไฟฟา เปนอุปกรณทส่ี ําคัญมาก เนอ่ื งจากเปนอปุ กรณท ล่ี ดแรงดนั ไฟฟา ลงมาใหเหมาะสมกบั ระบบแรงดนั ของโรงงานเพ่อื จายไฟฟา เขาสโู รงงาน ขอมูลท่ีตอ ง จดั เตรียม มีดังนี้สาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-7
โครงการจัดทาํ คูม ือการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดี่ยว(Single Line Diagram) ตารางท่ี 2.1 แสดงขอมลู ที่ตองจดั เตรยี มสําหรบั หมอแปลงไฟฟา ขอมลู ผลการตรวจสอบ จํานวนหมอแปลง ขนาดของหมอแปลง ชนิดของหมอ แปลง แรงดันไฟฟา เปอรเ ซ็นตอ มิ พีแดนซ เวกเตอรไดอะแกรม ลกั ษณะการตดิ ตัง้ - ตรวจสอบขอ มลู ตางๆจาก Name Plate เชน Serial Number , Rated kVA / Rated Voltage , Basic Insulation Level ,Ventilation Class รูปท่ี 2.11 แสดง Name Plate ของหมอ แปลง 2-8สาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คูมอื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดย่ี ว(Single Line Diagram)โดยสามารถแสดงสัญลกั ษณของหมอแปลงได ตามรปู TR 1000 kVA OA 22 kV/400 – 230 V 3 ∅ 4 W Dyn 11 % uk = 6 % รูปท่ี 2.12 แสดงสญั ลักษณข องหมอแปลง จากรูปแสดงวาเปนหมอแปลงขนาด 1000 kVA จํานวน 1 ลกู เปน หมอแปลงชนิดน้ํามนัโดยระบายความรอนดว ยตวั เอง (oil – immersed Self – Cooled ; (OA)) รบั ไฟฟาดานแรงสงู 22 kVจา ยไฟฟา ดานแรงตํ่า 400 – 230 V 3 เฟส 4 สาย มีคา เปอรเ ซ็นตอิมพีแดนซของหมอ แปลง 6%เวกเตอรไดอะแกรมแบบ Dyn 11 2.2.2 สายไฟฟา แรงตํ่าและวิธกี ารเดนิ สาย สว นน้ี หมายถึง การเดนิ สายไฟฟาจากหมอแปลงไปตสู วติ ชประธาน (สาํ หรับโรงงาน ทร่ี ับเฉพาะดา นระบบไฟฟาแรงต่ํา จะหมายถึงการเดนิ สายไฟฟา ระบบแรงตํ่าจากการไฟฟา ฯ ไปตสู วิตชประธาน) จากตูสวิตชป ระธานไปแผงสวติ ช จากแผงสวติ ชไ ปแผงยอ ย และจาก แผงยอ ยไปโหลด การเดินสายสวนน้ีมีหลายแบบ เชน เดนิ สายใตดนิ เดินสายอากาศ เดนิ ในราง เดินสาย (Wire Way) รางเคเบลิ (Cable Tray) รางเคเบลิ แบบบนั ได (Cable Ladder) Cable Trench หรือวิธีอื่น ๆ ทั้งนี้ ตองระบรุ ะดับแรงดนั ไฟฟา ชนดิ ของสายไฟฟา ขนาด สายไฟฟา จํานวน และวธิ ีการเดินสาย 1) สายแรงตา่ํ ในระบบจําหนา ยของการไฟฟาฯ แบงออกเปน - สายแรงตาํ่ ชนิดทนสภาพอากาศ (Weatherproof Aluminum Conductor : AW) เปน สายอะลมู เิ นยี มชนดิ อัดแนน หมุ ดว ยฉนวน polyethylene (PE) หรอื polyvinyl chloride (PVC) ฉนวนของสายมีสดี ํา - สายชนิด Self-supporting Service Drop Cable หรือเรยี กวาสาย multiplex เปน สายอะลมู เิ นยี มชนดิ อดั แนนหุม ดว ยฉนวน cross-link polyethylene (XLPE)สาํ นักเทคโนโลยคี วามปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-9
โครงการจดั ทําคูมือการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดย่ี ว(Single Line Diagram)สายเมนเขา โรงงาน สายแรงตา่ํ ของ การไฟฟาฯ รูปท่ี 2.13 แสดงสายแรงต่าํ ในระบบจาํ หนายของการไฟฟาฯขนาดของสายไฟฟาที่ใชง าน เชน 35 , 70 , 120, 185 ตร.มม. ฯลฯขอ มูลท่ตี อ งจดั เตรยี ม - ชนดิ ของสายไฟฟา - ขนาดและจํานวนของสายไฟฟา - ระบบแรงดนั ไฟฟา - วิธกี ารเดินสาย 2) สายแรงต่ําภายในโรงงาน สายไฟฟาแรงตํา่ ท่ใี ชภ ายในโรงงานที่เปน สายทองแดง แบงชนิดของฉนวนเปน ฉนวนพีวซี ี (PVC) และเอก็ ซแ อลพีอี (XLPE) ฉนวนของสายทัง้ สองชนิดน้ีตา งกันท่ี ฉนวนพีวีซี มอี ุณหภมู ิใชงาน 70OC แต เอ็กซแ อลพีอี มีอณุ หภูมิใชง าน 90OC แบง ชนิดของสายไฟฟา เปน ดังนี้ - สายวเี อเอฟ (VAF) เปน สายทผ่ี ลติ ตามมาตรฐาน มอก.11-2531 ตารางท่ี 2 และตาราง ท่ี 11 มีลักษณะเปนสายแบนหมุ ฉนวนพีวซี ี สายตารางท่ี 2 เปน สายชนิด 2 แกน และ 3 แกน สําหรับตารางที่ 11 เปนสายชนิด 2 แกน และ 3 แกน มสี ายดินดว ย แรงดนั ใชงาน 300 โวลต - สายทเี อชดบั เบิลยู (THW) เปนสายกลมหมุ ฉนวนพีวซี ตี าม มอก.11-2531 ตารางที่ 4 แรงดนั ใชงาน 750 โวลต - สายเอ็นวายวาย (NYY) เปนสายกลมหุมฉนวนพวี ซี ี มที ้ังชนดิ แกนเดียวและหลายแกน รวมทง้ั มชี นิดท่ีมีสายดนิ อยดู ว ย แรงดันใชงาน 750 โวลต ผลติ ตาม มอก. 11-2531 - สายวีซีที (VCT) เปนสายกลมหมุ ฉนวนพวี ีซี มีท้ังชนดิ แกนเดยี วและหลายแกน รวมทั้ง มีชนดิ ทมี่ สี ายดนิ อยดู ว ย แรงดนั ใชง าน 750 โวลตสํานักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-10
โครงการจัดทําคูม ือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ียว(Single Line Diagram) - สายซีวี (CV) เปนสายกลมหมุ ฉนวนคลอสลงิ โพลีเอททีลีน (XLPE) มที ้ังชนิดแกนเดียว และหลายแกน รวมท้งั มีชนิดท่ีมีสายดนิ อยูดว ย สายชนดิ นไี้ มไ ดผลติ ตามมาตรฐาน มอก. แตอ างองิ มาตรฐาน IEC 60502ขนาดของสายไฟฟา ทีใ่ ชง าน เชน 2.5 , 4, 6 , 10 ,…, 500 ตร.มม.รูปที2่ .14 แสดงสายแรงตา่ํ ภายในโรงงานขอ มลู ทีต่ องจดั เตรยี ม - ชนิดของสายไฟฟา - ขนาดและจํานวนของสายไฟฟา - ระบบแรงดันไฟฟา - วิธีการเดินสาย 3) วธิ กี ารเดนิ สาย ก. การเดินสายรอ ยทอ โลหะชนดิ RMC ,IMC ,EMT และ ทอ ทง้ั 3 ชนดิ ไดแ ก ทอโลหะหนา (Rigid Metal Conduit) ทอ โลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit) ทอโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing)สาํ นักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-11
โครงการจัดทาํ คูม อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ยี ว(Single Line Diagram) รปู ที่ 2.15 แสดงการเดนิ สายรอยทอโลหะชนดิ EMT ภายในโรงงานขอ มลู ท่ตี อ งจดั เตรยี ม - ชนดิ ของทอรอยสายไฟฟา - ขนาด และจํานวนของทอ รอ ยสายไฟฟา ข. การเดินสายในรางเดนิ สาย (Wireways) รูปที่ 2.16แสดงการติดตง้ั รางเดินสาย 2-12สาํ นกั เทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจดั ทาํ คูมือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดี่ยว(Single Line Diagram)รางเดนิ สายมีขนาดมาตรฐานตา งๆทต่ี ิดตง้ั ใชง านดังน้ี H (ความสงู ) = 50, 75, 100, 150 และ 200 mm W (ความกวาง) = 50, 75, 100, 150, 200, 250 และ 300 mm L (ความยาว) = 1200 และ 2400 mm T (ความหนา) = 1.0 และ 1.5 mmขอ มลู ทตี่ อ งจดั เตรยี ม - ขนาดและจํานวนของรางเดนิ สาย ค. การเดินสายบนรางเคเบิล (Cable Trays) รางเคเบิล แบง เปน 3 ชนดิ คือ 1. รางเคเบลิ แบบบันได (Ladder Type) 2. รางเคเบลิ แบบมชี องระบายอากาศ (Perforated Type) 3. รางเคเบลิ แบบดา นลา งทบึ (Solid - Bottom Type) แบบบนั ได แบบมีชองระบายอากาศ แบบดา นลางทึบ รูปที่ 2.17 แสดงการเดินในรางเคเบลิ แบบบันได 2-13สํานักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจัดทาํ คมู อื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดยี่ ว(Single Line Diagram)รางเคเบิลแบบบนั ไดมีขนาดมาตรฐานตางๆที่ติดตั้งใชง านดงั น้ี H (ความสูง) = 100, 120 mm W (ความกวา ง) = 200, 300, 400, 500, 600,700,800, 900 และ 1,000 mm L (ความยาว) = 3,000 mm T (ความหนา) = 2.0 mmรางเคเบลิ แบบรางมีชอ งระบายอากาศมีขนาดมาตรฐานตา งๆทตี่ ดิ ตงั้ ใชงานดงั น้ี H (ความสงู ) = 100 mm W (ความกวา ง = 200, 300, 400, 500, 600, 700, และ 800 mm L (ความยาว) = 2,400 mm T (ความหนา) = 1.6 และ 2.0 mmขอ มลู ทีต่ องจดั เตรียม - ขนาด จํานวนและชนดิ ของรางเคเบิล ง. การเดนิ สายใน Cable Trench รปู ท่ี 2.18 แสดงการเดินสายใน Cable Trenchขอ มูลทีต่ องจดั เตรยี ม - ขนาดและจาํ นวนของCable Trench2.2.3 ตสู วติ ชป ระธาน (Main Distribution Board(MDB)) หมายถึง สว นทรี่ ับไฟฟา แรงต่ําจากหมอแปลง (สําหรับโรงงานท่รี บั เฉพาะดานระบบไฟฟาแรงตํ่าจะหมายถึงการเดนิ สายไฟฟาระบบแรงตํ่าจากการไฟฟาฯ)เพ่อื จายไฟไปแผงสวติ ช(Distribution Board(DB)) ในตสู วติ ชป ระธานจะตอ งมอี ปุ กรณปองกัน เชน เซอรก ิตเบรกเกอรฟวส อปุ กรณเคร่อื งวัดทางไฟฟา ตา ง ๆ คาปาซิเตอร ชดุ เครือ่ งกาํ เนิดไฟฟาสํารอง วงจรสํารอง(Spare) หรอื อน่ื ๆสาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-14
โครงการจัดทาํ คูมอื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดย่ี ว(Single Line Diagram) รูปท่ี 2.19 แสดงตสู วิตชป ระธาน (Main Distribution Board (MDB)) ตูสวติ ชป ระธานมีสว นประกอบหลายอยางทส่ี ําคญั ๆ ดงั นี้ 1. เซอรก ติ เบรกเกอร (Circuit Breakers) 2. ฟว สแรงตํ่า (Low Voltage Fuse) 3. อุปกรณเคร่อื งวดั (Measuring Instruments) 4. คาปาซิเตอร (Capacitors) 5. ชุดเครอ่ื งกําเนดิ ไฟฟาสาํ รอง (Standby Generator Set)2.2.4 เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit Breakers (CB)) เซอรกติ เบรกเกอรท่ีตดิ ต้ังอยใู นตูสวิตชประธาน แบงออกเปน 2 สว น ใหญ ๆ คอื 1) เซอรกติ เบรกเกอรสําหรบั วงจรเมน (Main Circuit Breaker) มีหนา ท่ีปองกันสายเมน ทีจ่ า ยไฟฟาไปที่เซอรกิตเบรกเกอรสําหรบั สายปอน (Feeder Circuit Breaker) 2) เซอรก ติ เบรกเกอรสําหรับสายปอ น (Feeder Circuit Breaker) มีหนา ท่ปี อ งกัน สายปอ นเสนตาง ๆ เชน จา ยไฟไปแผงสวติ ช( Distribution Board (DB)) แผงจา ย ไฟฟาระบบแสงสวา งและเตารับ (LP) แผงจายไฟฟา ระบบปรบั อากาศ (AP) แผงจา ย ไฟฟาใหกับโหลดมอเตอรตา งๆ แผงจายไฟฟาใหร ะบบไฟฟา ฉุกเฉิน (Emergency Main Distribution Board (EMDB)) แผงจา ยไฟฟา สาํ รอง (Sparel) ปจ จุบนั มาตรฐานการตดิ ตง้ั ทางไฟฟาสําหรบั ประเทศไทย (ว.ส.ท.) จะอางอิงมาตรฐาน IECโดยแบงเซอรกติ เบรกเกอรตามสภาพการใชงานออกเปน 2 ชนดิ คือ IEC 60898 และ IEC 60947 – 2สํานักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-15
โครงการจดั ทําคูมอื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ียว(Single Line Diagram) เซอรกติ เบรกเกอรท ่ใี ชในสถานทีอ่ ยูอาศยั หรอื สถานท่คี ลา ยคลึงกนั ขนาดไมเกนิ 125 แอมแปร ใหเ ปนไปตาม IEC 60898 เซอรก ติ เบรกเกอรท่ใี ชใ นสถานที่อื่นๆ ใหเปนไปตาม IEC 60947-2 ประเภทของเซอรกติ เบรกเกอร เซอรกิตเบรกเกอรแบงตามลักษณะภายนอก และ การใชง านไดเปน 2 ชนิด คอื - Molded Case Circuit Breaker ( MCCB ) - Air Circuit Breaker ( ACB )Molded Case Circuit Breaker ( MCCB ) Air Circuit Breaker ( ACB )รปู ท่ี 2.20 แสดงประเภทของเซอรกิตเบรกเกอร ขนาดพกิ ัดกระแสตอเนอ่ื งสาํ หรบั เซอรก ิตเบรกเกอรมคี า ขนาดพกิ ดั กระแสตอเน่ือง2 คา คือ o แอมแปรเฟลม (Ampere Frame (AF)) o แอมแปรท รปิ (Ampere Trip (AT)) มาตรฐาน IEC ไดกําหนด AF ไวด งั นีค้ อื 63, 100, 125, 160, 200, 250, 320, 400, 500, 630, 800, 1000, 1250, 1600, 2000,2500, 3200 , 4000, 5000, 6300 A คา AT ที่บรษิ ทั ตางๆ จะผลติ ออกมานั้นมีหลายคา เชน บริษทั ผลิตเซอรก ติ เบรกเกอร ท่ี AF = 250 A อาจต้ัง AT ไว ดังน้ี คอื 100 , 125, 150 , 175 , 200 , 225 A และ 250 A ท่ี AF = 1600 A มี AT คา ตางๆ คือ 800 , 1000 , 1250 ,1600 Aสํานกั เทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-16
โครงการจดั ทาํ คมู ือการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดย่ี ว(Single Line Diagram) พิกดั การตัดกระแสลดั วงจร (Interrupting Capacity = IC , Breaking Capacity) คือกระแสลัดวงจรสงู สุดที่เซอรกติ เบรกเกอรสามารถตัดไดโดยที่ตัวเซอรก ติ เบรกเกอรไ มไดร ับความเสยี หาย สัญลักษณข องเซอรก ิตเบรกเกอรแสดงตามรูปชนดิ ของเซอรกิตเบรกเกอร ACBขนาดพกิ ัดกระแส 1250 AT 2500 AFพกิ ดั การตัดกระแสลดั วงจร IC 25 kAรูปท่ี 2.21 แสดงสัญลักษณของเซอรก ติ เบรกเกอร ตามรูป ใหความหมายดงั นี้ เซอรก ิตเบรกเกอรทใี่ ชเปนชนิดแอรเ ซอรก ิตเบอรเกอร(Air Circuit Breaker) มขี นาดพิกัดกระแส 1250 แอมแปรท รปิ 2500 แอมแปรเฟรม พิกดั การตัดกระแสลดั วงจรสงู สุดที่ 25 kAเมนเซอรก ติ เบรกเกอร Name Plateรปู ที่ 2.22 แสดงเมนเซอรกติ เบรกเกอร และตําแหนง ตดิ Name Plateสาํ นกั เทคโนโลยคี วามปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-17
โครงการจดั ทําคูมอื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดย่ี ว(Single Line Diagram) การพจิ ารณาคา Ic ใหพจิ ารณาจากคา Rated Ultimate Short-circuit Breaking Capacity ( Icu ) รปู ที่ 2.23 แสดง Name Plateของเซอรกติ เบรกเกอรเ พอื่ พิจารณาคา ตา งๆ ขอมูลทีต่ อ งจดั เตรียมสําหรบั เซอรก ิตเบรกเกอร - ชนิดของเซอรก ิตเบรกเกอร - ขนาดพกิ ัดกระแสของเซอรกิตเบรกเกอร - ระบบแรงดนั ไฟฟา - พิกดั การตัดกระแสลดั วงจร2.2.5 ฟวสแรงตํ่า (Low Voltage Fuse) ฟว สเปนอปุ กรณป องกันกระแสเกิน ตัดวงจรสว นหลอมละลายโดยใชความรอ นฟวสแบง ตามมาตรฐาน IEC มี 3 แบบ คอื - D-fuse Link (Diazed) - Do-fuse Link (Neozed) - NH (HRC) Fuseสํานักเทคโนโลยคี วามปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-18
โครงการจดั ทําคูมอื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เด่ยี ว(Single Line Diagram) รปู ท่ี 2.24 แสดงฟวสแ รงตาํ่ สัญลักษณของฟว สแสดงตามรปู Fuse Fuse – Switch Fuse – disconnector (fuse isolator) รปู ท่ี 2.25 แสดงสญั ลักษณของฟวส สําหรับฟว สแรงต่าํ ทีน่ ยิ มใชใ นโรงงานอตุ สาหกรรมมี 2 ชนดิ คอื1) ฟว สโ หลดเบรก ( Fuse-Loadbreak Switch) รูปที่ 2.26 แสดงฟว สโ หลดเบรก 2-19สาํ นกั เทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจัดทาํ คมู ือการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดย่ี ว(Single Line Diagram) โหลดเบรกสวติ ช -พิกดั กระแสไมตํา่ กวาขนาดของฟวส - พกิ ดั แรงดนั 400/230 V ฟว ส - พกิ ัดกระแสตามโหลดทค่ี าํ นวนได - พกิ ดั แรงดัน 400/230 V - พิกดั ตัดกระแสลัดวงจร(Ic) ไมน อ ยกวา 10 kA นอกเขตวงจรตาขา ย และไมนอ ยกวา 50 kA ในเขตวงจรตาขาย รูปที่ 2.27 แสดงสัญลักษณฟว สโ หลดเบรก 2) เซฟตี้สวติ ช(Safety Switch) รูปท่ี 2.28 แสดงเซฟตส้ี วิตช 2-20 ขอ มูลที่ตองจดั เตรยี มสําหรบั ฟว สแรงตํา่ - ชนดิ ของฟว ส - ขนาดพิกัดกระแสของฟว ส - ระบบแรงดนั ไฟฟา - พิกัดการตดั กระแสลดั วงจรสํานักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจดั ทําคมู ือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเด่ยี ว(Single Line Diagram) 2.2.6 อุปกรณเ คร่ืองมอื วดั (Measuring Instruments) เปนสวนทีแ่ สดงการวดั คา ตา ง ๆ ทางไฟฟา เชน แรงดนั ไฟฟา (V), กระแสไฟฟา (A),กาํ ลงั ไฟฟา (W), ความถไี่ ฟฟา (Hz) เปน ตน ทัง้ น้ีอุปกรณเ คร่อื งมือวัดจะติดตัง้ ทแ่ี ผงสวติ ซ อปุ กรณเครื่องมอื วดัรูปท่ี 2.29 แสดงอุปกรณเ ครือ่ งมอื วดั VA var HzVoltmeter Ammeter Varmeter Frequency Meterรปู ท่ี 2.30 แสดงสัญลกั ษณของเคร่ืองมอื วัดแบบตา ง ๆสํานกั เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-21
โครงการจัดทาํ คูมือการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดี่ยว(Single Line Diagram) 3 4WSWB Fuse VS V เคร่ืองมือวดั 3xCT CB RS T แบบตางๆ AS A F kW PF kWhrCB CB CB CB CBLP1 LP2 LP3 Spare Spareรปู ที่ 2.31 แสดงสญั ลกั ษณแ ละตาํ แหนง การตดิ ตงั้ เครื่องมือวัดทางไฟฟาตางๆขอมูลที่ตองจดั เตรียม ชนดิ ของอปุ กรณเ คร่ืองมอื วดั - Capacity - Calibration -2.2.7 คาปาซิเตอร (Capacitors) คาปาซเิ ตอร เปนอุปกรณไ ฟฟาท่ที ําหนาที่ปรบั คาเพาเวอรแพกเตอร คาปาซเิ ตอรจะเปน ตวั จายกระแสไฟฟา รีแอกทีพ ซ่งึ กระแสไฟฟามีทิศทางนําหนา แรงดัน (Leading)เพ่ือชดเชยกบั กระแสไฟฟา ของวงจรไฟฟาโดยทั่วไป ซงึ่ โดยปกตกิ ระแสไฟฟาจะลาหลงัแรงดนั (Lagging)พิกดั ของคาปาซเิ ตอร 1) พิกดั กําลงั ไฟฟา มหี นวยเปน kVAR ขนาดท่นี ยิ มใช คือ 10 , 20 , 30 , 40 , 50 , 60 , 75 , 100 kVAR เปน ตน 2) พิกัดแรงดนั 400 V , 525 V เปนตนสํานักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-22
โครงการจดั ทาํ คมู อื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสนเดีย่ ว(Single Line Diagram) 3) พิกดั กระแส กระแสที่ใชส ามารถคํานวณจากพิกัดกาํ ลงั ไฟฟา และพิกัดแรงดนั ของ คาปาซเิ ตอรได รปู ท่ี 2.32 แสดงสญั ลักษณแ ละตําแหนงการตดิ ตง้ั คาปาซเิ ตอรขอมูลทตี่ องจดั เตรียม - ชนดิ ของคาปาซเิ ตอร - พกิ ัดกระแส - ระดบั แรงดัน 2.2.8 ชดุ เครอ่ื งกําเนิดไฟฟา สํารอง (Standby Generator Set) ชดุ เคร่ืองกําเนดิ ไฟฟา มไี วสําหรบั จายโหลดทสี่ าํ คัญ ๆ ภายในโรงงานอตุ สาหกรรม เมอ่ื เกดิ กรณีระบบไฟฟา ของการไฟฟา ฯ เกดิ ขดั ขอ งสาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-23
โครงการจดั ทาํ คมู ือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเดี่ยว(Single Line Diagram) ชดุ เครอ่ื งกําเนดิ ไฟฟามีสวนประกอบทีส่ าํ คัญ คือ 1) เครือ่ งตน กําลงั (Engine Prime Mover) 2) เคร่อื งกําเนดิ ไฟฟา (Alternator) 3) แผงควบคุม (Control Panel) 4) สวติ ชสับเปลยี่ น (Transfer Switch) รปู ที่ 2.33 แสดงชดุ เครื่องกําเนิดไฟฟารปู ท่ี 2.34 แสดงระบบไฟฟาทีม่ ชี ุดเคร่ืองกําเนดิ ไฟฟา พรอม Transfer Switchขอมูลท่ีตอ งจดั เตรยี ม 2-24 - ขนาดพกิ ดั เครอื่ งกาํ เนิดไฟฟา สํารองสํานกั เทคโนโลยคี วามปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจดั ทําคูม อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ยี ว(Single Line Diagram) 2.2.9 แผงสวติ ช (Distribution Board (DB)) แผงสวิตช หมายถงึ แผงที่รับไฟจากตูสวติ ชประธานแลวจา ยไฟไปทแ่ี ผงยอย (Panelboard) หรือ จายไปทโ่ี หลดทใ่ี ชก ําลังมาก ๆ เชน มอเตอรกําลงั เคร่ืองทาํ ความรอน ขนาดใหญ เปน ตน ทั้งนี้ ภายในแผงสวติ ช จะประกอบไปดวยเมนเซอรกิตเบรกเกอร และ เซอรกิตเบรกเกอรย อยทีค่ วบคมุ แผงยอย เมนเซอรกติ เบรกเกอร เซอรกิตเบรกเกอรย อ ย รปู ท่ี 2.35 แสดงแผงสวติ ช (Distribution Board (DB)) สัญลกั ษณข องแผงสวิตช แสดงตามรูป เมนเซอรก ติ เบรกเกอร เซอรก ติ เบรกเกอรยอย รูปที่ 2.36 แสดงสญั ลกั ษณของแผงสวติ ช 2-25สาํ นักเทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการจดั ทําคมู อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปน แผนภาพเสน เดีย่ ว(Single Line Diagram) ขอมูลที่ตองจดั เตรียมสําหรบั เซอรก ติ เบรกเกอรในแผงสวิตช - ชนดิ ของเซอรก ิตเบรกเกอร - ขนาดพกิ ัดกระแสของเซอรกิตเบรกเกอร - ระบบแรงดนั ไฟฟา - พกิ ดั การตดั กระแสลัดวงจร 2.2.10 แผงยอย (Panelboard (PB)) แผงยอย หมายถึง แผงไฟฟาท่รี บั ไฟจากแผงสวิตช แลว แยกการจา ยไฟฟา ออกเปน วงจรยอ ยหลาย ๆ วงจรยอ ย เพ่ือจายไฟฟาใหก บั โหลดตา ง ๆ โดยภายในแผงยอ ย (Panelboard) จะประกอบไปดว ยเมนเซอรก ิตเบรกเกอร และเซอรก ติ เบรกเกอรย อ ย ๆ ท่ีควบคมุ โหลดแตละตวั เมนเซอรกิตเบรกเกอร เซอรก ิตเบรกเกอรยอย รปู ท่ี 2.37 แสดงแผงยอ ย (Panelboard (PB))สํานกั เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-26
โครงการจัดทําคมู อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ียว(Single Line Diagram)สญั ลักษณข องแผงยอย แสดงตามรปูเมนเซอรก ติ เบรกเกอร A BC สายปอนยอ ยจากแผงสวติ ช 1¯ ¯¯¯ ¯2 3¯ ¯4 5¯ ● ¯6 ● เซอรก ติ เบรกเกอรยอ ย ● S/N รปู ทีแ่ สดง 2.38 สญั ลักษณของแผงยอ ยขอ มลู ท่ีตอ งจดั เตรียมสาํ หรบั เซอรก ิตเบรกเกอรใ นแผงยอ ย - ชนดิ ของเซอรก ติ เบรกเกอร - ขนาดพิกัดกระแสของเซอรกิตเบรกเกอร - ระบบแรงดนั ไฟฟา - พิกัดการตัดกระแสลดั วงจร 2.2.11 การตอ เขากับโหลด (Load) โหลด เปน อุปกรณไ ฟฟาตัวสุดทา ยท่แี สดงในแผนภาพเสน เด่ียว โหลดในทางไฟฟา มหี ลายชนิด แลวแตการใชง านในแตละโรงงาน โหลดหลัก ๆ โดยทัว่ ไป ไดแ ก หลอดไฟฟา เตารับ มอเตอรไ ฟฟา เครอ่ื งเชอื่ มไฟฟา เคร่ืองทาํ ความรอน เครอื่ งปรับอากาศ เปนตนสํานักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2-27
โครงการจัดทําคมู อื การเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ยี ว(Single Line Diagram) รปู ที่ 2.39 แสดงโหลดประเภทมอเตอรไฟฟา M 22 kW 3 ∅ 400 V รปู ท่ี2.40 แสดงสัญลกั ษณโ หลดมอเตอรไ ฟฟาขอ มลู ทีต่ อ งจดั เตรยี มสําหรบั โหลด - จํานวนและชนิดของโหลด - ขนาดพกิ ดั กระแสของของโหลดแตละตวั - ขนาดพกิ ดั กาํ ลังของของโหลดแตล ะตวั - ระบบแรงดันไฟฟาสํานักเทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม 2-28
โครงการจัดทําคูม อื การเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เด่ียว(Single Line Diagram) บทท่ี 3 ขั้นตอนการเขยี นแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสน เดี่ยว (Single Line Diagram) สาํ หรบั โรงงานอตุ สาหกรรม โดยปกตริ ะบบการจา ยไฟฟาภายในโรงงานอตุ สาหกรรม จะตอ งมีแผนภาพเสน เด่ียวอยแู ลวตอนท่ีการไฟฟา ฯจะจายไฟฟา ใหกับโรงงาน แตเมอ่ื ระยะเวลาผานไปแผนภาพเสน เดยี่ วอาจไมม กี ารปรับปรงุ แกไ ขตามสภาพการใชไ ฟฟาจริงภายในโรงงาน หรือในโรงงานบางแหง แผนภาพเสนเด่ียวนน้ัอาจจะชํารุดหรือสูญหายไปแลว ดงั น้ันผทู ่ีรับผิดชอบเกย่ี วกับระบบไฟฟา ภายในโรงงาน จงึ ตอ งทาํ การปรบั ปรุงแผนภาพเสน เดยี่ ว หรอื ตองเขยี นขึน้ ใหม โดยใชขอ มลู การใชไ ฟฟา ของโรงงานในปจจบุ นัเปนเกณฑอา งอิง ดังนนั้ ขอ แนะนาํ ตอไปน้ีจะมงุ เนนการเขียนแผนภาพเสน เดย่ี ว ตามสภาพการใชง านจรงิ ในปจ จบุ ัน 3.1 การแบง สว นการเขียนแบบแปลนโดยแสดงแผนภาพเสนเดยี่ ว1.ดานระบบไฟฟา แรงสูง ขัน้ ตอนท่ี 1 2.หมอแปลงไฟฟา3.ดานระบบไฟฟาแรงตา่ํ ขัน้ ตอนที่ 2 4.ตสู วิตชป ระธาน5.แผงสวติ ช ขัน้ ตอนท่ี 3 6.แผงยอย ขั้นตอนที่ 47.การตอ เขา กบั โหลด รปู ท่ี 3.1 แสดงสว นประกอบการจายไฟฟา 3-1สาํ นกั เทคโนโลยคี วามปลอดภยั กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
โครงการจดั ทําคูม ือการเขียนแบบแปลนโดยแสดงเปนแผนภาพเสนเด่ยี ว(Single Line Diagram) 3.1.1 ขน้ั ตอนที่ 1 ดานระบบไฟฟาแรงสูงและหมอแปลงไฟฟา หมายถงึ การเขยี นแบบแปลนสว นท่รี บั ระบบไฟฟา แรงสูงจากการไฟฟา ฯ แลวเดินสาย ไฟฟาไปยงั หมอแปลงไฟฟา ระบบไฟฟา แรงสงู จากการไฟฟา ฯ ระบบไฟฟา แรงสงู ของโรงงานพรอ มชดุ อุปกรณป อ งกันกระแสและแรงดนั เกิน หมอแปลงไฟฟา รูปที่ 3.2 แสดงสายไฟฟา แรงสงู แบบเดินสายอากาศและหมอ แปลงไฟฟา ระบชุ นดิ ขนาด วธิ กี ารตดิ ตง้ั ของสายไฟฟา แรงสงูระบชุ นิด พิกดั ของอปุ กรณกระแสเกนิ ระบุชนดิ พิกดั อุปกรณ แรงดันเกิน ระบุพกิ ัด ชนดิ และการตดิ ตง้ั หมอ แปลงรูปที่ 3.3 แสดงแผนภาพเสนเดี่ยวของสายไฟฟาแรงสูงแบบเดนิ สายอากาศ และหมอ แปลงไฟฟาสาํ นกั เทคโนโลยีความปลอดภยั กรมโรงงานอุตสาหกรรม 3-2
Search