Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การประสานงานและการจูงใจในการทำงาน

การประสานงานและการจูงใจในการทำงาน

Published by ptittipatt, 2023-07-09 05:19:50

Description: การประสานงานและการจูงใจในการทำงาน

Search

Read the Text Version

 “การประสานงาน” หมายถงึ การตดิ ต่อสอ่ื สารใหเ้ กดิ ความคดิ ความเขา้ ใจตรงกนั ใน การรว่ มมอื ปฏบิ ตั งิ านใหส้ อดคลอ้ งทงั้ เวลา และกจิ กรรมทจ่ี ะตอ้ งกระทาํ ใหบ้ รรลุ วตั ถุประสงคอ์ ยา่ งสมานฉนั ทแ์ ละมี ประสทิ ธภิ าพเพอ่ื ใหง้ านดาํ เนินไปอยา่ งราบรน่ื ไม่ เกดิ การทาํ งานซ้าํ ซอ้ น ขดั แยง้ กนั หรอื เหลอ่ื มลา้ํ กนั การ ประสานงานจงึ เป็น กระบวนการหน่ึงของการบรหิ ารและการปฏบิ ตั งิ านในหน่วยงานหรอื องคก์ ร ความสาํ เรจ็ ของการประสานงานขน้ึ อยกู่ บั บทบาทและความสามารถของบคุ ลากร (รตั นาภรณ์,๒๕๕๓)

 1. ความรว่ มมอื จะตอ้ งสรา้ งสมั พนั ธภาพในการทาํ งานรว่ มกนั ของทกุ ฝ่าย โดยอาศยั ความเขา้ ใจ หรอื การตกลงรว่ มกนั มกี ารรวบรวมกาํ ลงั ความคดิ วธิ กี าร เทคนคิ และ ระดมทรพั ยากรมาสนบั สนุนงานรว่ มกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเป็นอนั หน่งึ อนั เดยี วกนั เตม็ ใจ ทจ่ี ะทาํ งานรว่ มกนั  2. จงั หวะเวลา จะตอ้ งปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าท่ี และ ความรบั ผดิ ชอบของแต่ละ คน ตาม กาํ หนดเวลาทต่ี กลงกนั ใหต้ รงเวลา  3. ความสอดคลอ้ ง จะตอ้ งพจิ ารณาความพอเหมาะพอดไี มท่ าํ งานซอ้ นกนั  4. ระบบการสอ่ื สาร จะตอ้ งมกี ารสอ่ื สารทเ่ี ขา้ ใจตรงกนั อยา่ งรวดเรว็ และราบรน่ื  5. ผปู้ ระสานงาน จะตอ้ งสามารถดงึ ทุกฝ่ายเขา้ รว่ มทาํ งานเพอ่ื ตรงไปสจู่ ดุ หมาย เดยี วกนั ตามทก่ี าํ หนด เป็นวตั ถุประสงคข์ องงาน

 1. คน หมายถงึ ผซู้ ง่ึ จะทาํ ใหง้ านเป็นผลขน้ึ มา การประสานงานทแ่ี ทจ้ รงิ คอื การประสานคน ใหร้ ว่ ม ใจรว่ มกาํ ลงั งานดว้ ยการนําเอาความสามารถของคนมาทาํ ใหเ้ กดิ ผลงานในจดุ มงุ่ หมาย เดยี วกนั ความสามารถ ของคนพจิ ารณาไดส้ องดา้ นคอื ทางดา้ นความรแู้ ละดา้ นความสมั พนั ธ์ กบั ผอู้ ่นื ผปู้ ระสานงานตอ้ งมคี วามรู้ ความสามารถและการมองการณ์ไกล มมี นุษย-์ สมั พนั ธด์ มี ี ทศั นคตทิ ด่ี ตี ่อกนั ผรู้ ว่ มงานทกุ ฝ่ายเขา้ กนั ไดด้ มี กี าร พบปะหารอื กนั อยเู่ สมอ  2. เงนิ หมายถงึ ตวั เงนิ และสงิ่ อ่นื ซง่ึ สามารถใชเ้ ป็นสอ่ื กลางในการแลกเปลย่ี นไดใ้ นการ ประสานงาน จะตอ้ งมกี าํ ลงั เงนิ สนบั สนุนการปฏบิ ตั งิ าน  3.วสั ดุ หมายถงึ สง่ิ ของเครอ่ื งมอื และเครอ่ื งใชต้ า่ งๆ ในการประสานจะตอ้ งมวี สั ดอุ ุปกรณ์ชว่ ย ในการ ประสานงานอยา่ งพอเพยี ง  4. วธิ กี ารทาํ งาน หมายถงึ การบรหิ ารงานใหส้ ามารถบรรลุผลสาํ เรจ็ ตามจดุ ประสงคท์ ก่ี าํ หนด เป็น เป้าหมายไวม้ กี ารกาํ หนดอาํ นาจหน้าท่ี และความรบั ผดิ ชอบใหช้ ดั เจน มกี ารมอบหมาย งาน และ การควบคุม งาน การตดิ ต่อสอ่ื สารทด่ี ี

 1. การประสานงานอยา่ งเป็นทางการ หมายถงึ การประสานงานแบบมพี ธิ รี ตี รองทต่ี อ้ ง ปฏบิ ตั เิ ชน่ มี หนงั สอื ตดิ ต่อหรอื แจง้ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร หรอื เสนอรายงานเป็นลาํ ดบั ชนั้ เป็นตน้  2. การประสานงานอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ หมายถงึ การประสานงานแบบไมม่ พี ธิ รี ตี รอง เพยี งแตท่ าํ ความตกลงใหท้ ราบถงึ การทจ่ี ะปฏบิ ตั ใิ หเ้ ป็นไปตามจงั หวะเวลาเดยี วกนั และดว้ ยจดุ ประสงคเ์ ดยี วกนั การดาํ เนินการตอ้ งอาศยั ความใกลช้ ดิ สนิทสนมเป็น สว่ นตวั ไมม่ แี บบแผน เป็นการตดิ ต่อแบบเผชญิ หน้าซง่ึ กนั และ กนั ผลดกี ค็ อื สามารถ มคี วามเขา้ ใจทต่ี รงกนั และชดั เจนทส่ี ดุ เชน่ การประสานงานดว้ ยวาจาทางโทรศพั ท์ หรอื การเขา้ พบผทู้ ต่ี ดิ ต่อโดยตรง

 ผลลพั ธท์ ด่ี เี กดิ จากการประสานงานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั น้ี  1. การใชเ้ ครอ่ื งมอื สอ่ื สาร  2. การประสานดว้ ยหนงั สอื  3. การพบปะดว้ ยตนเอง

การใชเ้ ครอ่ื งมอื สอ่ื สาร เชน่ โทรศพั ทโ์ ทรสาร จดหมาย อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ป็นเครอ่ื งมอื สอ่ื สารทร่ี วดเรว็ ประหยดั เวลา มแี นวทางปฏบิ ตั ดิ งั น้ี  - กอ่ นเรมิ่ ประสาน คดิ กอ่ นวา่ เราตอ้ งการอะไร เมอ่ื ไรทไ่ี หน อยา่ งไร ควรตดิ ตอ่ ใคร หน่วยงานใด  - ควรมบี ญั ชโี ทรศพั ทข์ องบุคคลและหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งไวเ้ ป็นสว่ นตวั และสว่ นกลาง  - เมอ่ื ตดิ ต่อกบั ผใู้ ด ควรจดชอ่ื และเบอรโ์ ทรศพั ทข์ องผนู้ นั้ ไวใ้ ชต้ ดิ ตอ่ ในโอกาสต่อไป บางครงั้ ทาํ เป็น บญั ชไี วใ้ น ปกแฟ้มเรอ่ื งนนั้ ๆ  - ควรประสานกบั ระดบั เดยี วกนั หรอื ต่าํ กวา่ กอ่ น  - ใชค้ าํ พดู สภุ าพ ใหเ้ กยี รตคิ สู่ นทนาแมร้ วู้ า่ เขามตี าํ แหน่งต่าํ กวา่ ไมพ่ ดู ยกตนขม่ ทา่ น  - อาจหาขอ้ มลู กอ่ นวา่ ผทู้ เ่ี ราจะโทรตดิ ตอ่ เป็นผใู้ ดตาํ แหน่งหน้าทใ่ี ด อายเุ ทา่ ใด เมอ่ื สนทนากนั อาจ เรยี ก พ่ี น้อง ทา่ น จะทาํ ใหเ้ ขารสู้ กึ ดี  - การอ่อนน้อมถอ่ มตนดว้ ยความจรงิ ใจ มกั เป็นทพ่ี อใจของผอู้ น่ื  - ในการประสานงานครงั้ ท่ี ๒ หลงั จากรจู้ กั กนั แลว้ อาจทกั ทายหรอื ซกั ถามดว้ ยความหว่ งใย จรงิ ใจ เกย่ี วกบั เรอ่ื ง สขุ ภาพ การงาน ฯลฯ กอ่ นประสานเรอ่ื งงาน  - กลา่ วคาํ ขอบคณุ ทุกครงั้ กอ่ นจบการสนทนา  - เมอ่ื รบั ปากเรอ่ื งใดไวต้ อ้ งรบี ทาํ เชน่ จะรบี สง่ โทรสารไปใหจ้ ะรบี ทาํ หนงั สอื ไป

 การประสานงานดว้ ยหนงั สอื ใชใ้ นกรณีทเ่ี ป็นงานประจาํ ทท่ี งั้ สองหน่วยงาน ทราบ ระเบยี บปฏบิ ตั อิ ยู่ แลว้ มแี นวทางปฏบิ ตั ดิ งั น้ี  - หากเป็นเรอ่ื งใหมค่ วรประสานทางโทรศพั ทก์ ่อนเสมอ - ตวั อยา่ งเรอ่ื งทอ่ี าจตอ้ งมหี นงั สอื ไป หลงั จากโทรตดิ ตอ่ ดว้ ยวาจาแลว้ เชน่ ขอทราบขอ้ มลู ขอหารอื ขอทราบความตอ้ งการ ขอรบั การสนบั สนุน ขอความอนุเคราะหฯ์ ลฯ  - การรา่ งหนงั สอื ควรใหถ้ กู หลกั การ ถูกตอ้ ง ถกู ใจ(ผรู้ บั )  - การรา่ งหนงั สอื ขอรบั การสนบั สนุน หรอื ขอความอนุเคราะหค์ วรประกอบดว้ ย  (1) เหตุทม่ี หี นงั สอื มา  (2) ยกยอ่ งหน่วยงานทจ่ี ะขอรบั การสนบั สนุน/ขอความอนุเคราะห์  (3) เรอ่ื งราวทต่ี อ้ งการขอรบั การสนบั สนุน/ขอความอนุเคราะห์  (4) ตงั้ ความหวงั ทจ่ี ะไดร้ บั การสนบั สนุน/ขอความอนุเคราะห์  (5) ขอบคณุ

 - การรา่ งหนงั สอื ขอความรว่ มมอื ควรประกอบดว้ ย  (1) เหตทุ ม่ี หี นงั สอื มา  (2) ความจาํ เป็นและเรอ่ื งทจ่ี ะขอความรว่ มมอื  (3) เรอ่ื งราวทต่ี อ้ งการขอความรว่ มมอื  (4) ตงั้ ความหวงั ทจ่ี ะไดร้ บั ความรว่ มมอื  (5)ขอบคณุ - เมอ่ื ไดร้ บั การสนบั สนุน การอนุเคราะหแ์ ลว้ ควรมหี นงั สอื ไปขอบคณุ หน่วยงานนนั้ ๆ เสมอ เพอ่ื สาน ความสมั พนั ธไ์ วส้ าํ หรบั โอกาสตอ่ ไป

 การพบปะดว้ ยตนเอง เป็นการประสานงานทด่ี ที ส่ี ดุ เพราะไดพ้ บหน้า ไดเ้ หน็ บคุ ลกิ ลกั ษณะ สหี น้า ทา่ ทาง ของผตู้ ดิ ตอ่ ทงั้ สองฝ่ายมเี วลาในการซกั ถามทาํ ความ เขา้ ใจกนั ไดอ้ ยา่ งพอเพยี ง เพราะทงั้ สองฝ่ายตอ้ ง วางมอื จากงานอน่ื ๆ ทงั้ หมด มี ขอ้ เสยี คอื ใชเ้ วลามาก มกั ใชก้ ารพบปะในกรณที เ่ี ป็นเรอ่ื งนโยบาย เป็นเรอ่ื ง สาํ คญั หรอื มรี ายละเอยี ดมาก หรอื ตอ้ งการใหเ้ กยี รตใิ หค้ วามสาํ คญั แกอ่ กี ฝ่ายหน่ึง หรอื ตอ้ งการสรา้ งความรสู้ กึ ทด่ี แี กอ่ กี ฝ่ายหน่ึง ใหเ้ ขารสู้ กึ วา่ เราใหค้ วามสาํ คญั แกเ่ ขาดว้ ย การมาพบดว้ ยตนเองมแี นวทางปฏบิ ตั ดิ งั น้ี  - ควรเตรยี มหวั ขอ้ หารอื ไปใหพ้ รอ้ ม และจดบนั ทกึ ไวห้ ากอกี ฝ่ายไมไ่ ดบ้ นั ทกึ เราอาจ บนั ทกึ สนั้ ๆ ใส่ กระดาษโน้ตไวใ้ หเ้ ขา หรอื เตรยี มพมิ พร์ ายการไปลว่ งหน้า เพอ่ื ใหเ้ ขามี บนั ทกึ ชว่ ยจาํ และใชส้ งั ่ การขนั้ ตน้ แก่ บุคลากรในหน่วยงานของเขาได้  - เมอ่ื รบั ปากเรอ่ื งใดไวต้ อ้ งรบี ทาํ เชน่ จะรบี สง่ เอกสารไปใหห้ รอื จะรบี ทาํ หนงั สอื ไป

 การประสานงาน ชว่ ยใหก้ ารทาํ งานบรรลเุ ป้าหมายโดยราบรน่ื และรวดเรว็ ทุกคน ทกุ ฝ่าย มคี วามเขา้ ใจซาบซง้ึ ถงึ นโยบายและวตั ถุประสงคข์ องหน่วยงานไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ ชว่ ย ประหยดั เวลา เงนิ วสั ดแุ ละสงิ่ ของตา่ งๆ ในการทาํ งาน ทาํ ใหก้ ารดาํ เนินงานเป็นไป อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพม่ิ ผลสาํ เรจ็ ของงานใหม้ ากขน้ึ สรา้ งความกลม เกลยี ว ความ เขา้ ใจอนั ดแี ละสามคั คชี ว่ ยลดขอ้ ขดั แยง้ ในการทาํ งานป้องกนั การกา้ วกา่ ยหน้าท่ี ขจดั ปัญหาการ ทาํ งานซํา้ ซอ้ นหรอื เหลอ่ื มลาํ้ กนั กอ่ ใหเ้ กดิ การทาํ งานเป็นทมี สรา้ งความ สาํ นึกในการรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั รวมถงึ เขา้ ใจถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ และปัญหาของหน่วยงานอน่ื นําไปสกู่ ารกระตุน้ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละลทู่ างการปรบั ปรงุ งาน

 1. เตม็ ใจทจ่ี ะตดิ ต่อกบั ผอู้ น่ื กอ่ น  2. แสดงความมนี ํ้าใจตอ่ ผอู้ ่นื กอ่ น สรา้ งสมั พนั ธท์ ด่ี มี คี วามไวว้ างใจกนั  3. ฟังผอู้ น่ื พดู ใหม้ าก  4. หลกี เลย่ี งการโตแ้ ยง้  5. ซกั ซอ้ มการทาํ งานใหเ้ ขา้ ใจวตั ถุประสงคต์ รงกนั  6. ทาํ ความเขา้ ใจขนั้ ตอนการปฏบิ ตั แิ ละจงั หวะเวลาใหร้ บั กนั  7. เสรมิ สรา้ งมติ ร ไมตรแี ละความเป็นกนั เอง  8. ตดิ ต่อตามสายงาน และชอ่ งทางการสอ่ื สารทถ่ี กู ตอ้ ง  9. จะตอ้ งประสานวตั ถุประสงคแ์ ละนโยบายตามแผนงาน โดยพจิ ารณาถงึ ระเบยี บวธิ ี ปฏบิ ตั งิ าน การ ใชเ้ วลา วสั ดอุ ุปกรณ์กาํ ลงั คน กาํ ลงั เงนิ และวธิ กี ารสอ่ื สาร

 - ใหข้ อ้ มลู ลา่ ชา้ เกนิ ไป การทต่ี ดิ ตอ่ ประสานงานกบั อกี หน่วยงานหน่ึงลา่ ชา้ นนั ่ อาจจะเป็น เพราะวา่ มวั แตร่ อขอ้ มลู จากอกี หลายหน่วยงาน จงึ ทาํ ใหส้ ง่ ขอ้ มลู ใหห้ น่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ล่าชา้ ตามไปดว้ ย ปัญหาน้ีเกดิ ขน้ึ บอ่ ยครงั้  - รบั - สง่ ขอ้ มลู ผดิ พลาด การรบั และสง่ มอบขอ้ มลู รายงาน เอกสารทผ่ี ดิ พลาด ยอ่ มนําไปสู่ การตดิ ต่อประสานงานทไ่ี มร่ จู้ บ คน บางคนยงั ไมท่ นั ฟัง กลบั ดว่ นสรปุ ตามอาํ เภอใจ หรอื คน บางคนเอาเรว็ ไวก้ ่อน สง่ ขอ้ มลู ใหด้ ว้ ยความรวดเรว็ แต่ ขอ้ มลู ทน่ี ําสง่ ใหก้ ลบั พบแต่ ขอ้ ผดิ พลาด  - เพกิ เฉย และหลงลมื การเพกิ เฉย ไมส่ นใจวา่ เป็นหน้าทข่ี องตนเองทจ่ี ะตอ้ งตดิ ตาม ตดิ ต่อ ประสานงานกบั หน่วยงานอ่นื ๆ คดิ วา่ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื ง ไมใ่ ช่หน้าท่ี ไมเ่ หน็ ความจาํ เป็น หรอื ไมเ่ หน็ ความสาํ คญั ของการตดิ ต่อประสานงาน คดิ เสยี แต่วา่ รอใหอ้ กี ฝ่ายตดิ ตอ่ มาเองไมด่ กี วา่ หรอื และบางคนยง่ิ ซํา้ รา้ ยใหญ่ นดั แลว้ แตก่ ลบั ลมื นดั ทร่ี บั ปากไว้  - ไมไ่ ดร้ บั ความรว่ มมอื มสี าเหตุมาจาก มคี วามคดิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั มอี คตติ ่อกนั ไมช่ อบกนั หรอื ปิดบงั ขอ้ มลู ทาํ ใหไ้ มเ่ กดิ ความ รว่ มมอื อยา่ งจรงิ จงั

 การจงู ใจ หมายถงึ การนําเอาปัจจยั ต่าง ๆ มาเป็นแรงผลกั ดนั ใหบ้ ุคคลแสดง พฤตกิ รรมออกมาอยา่ งมที ศิ ทาง เพอ่ื บรรลจุ ุดมงุ่ หมาย หรอื เป้าหมายทต่ี อ้ งการ ดงั นนั้ ผทู้ ท่ี าํ หน้าทจ่ี งู ใจ จะตอ้ งคน้ หาวา่ บคุ คลทเ่ี ขาตอ้ งการจงู ใจ มคี วามตอ้ งการหรอื มี ความคาดหวงั อยา่ งไร มปี ระสบการณ์ ความรู้ และทศั นคตใิ นเรอ่ื งนนั้ ๆ อยา่ งไร แลว้ พยายามดงึ เอาสงิ่ เหลา่ นนั้ มาเป็น แรงจงู ใจ (Motive) ในการแสดงพฤตกิ รรม หรอื เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ

 พฤตกิ รรมสว่ นใหญ่มกั จะมแี นวทางมงุ่ ไปยงั เป้าหมายทส่ี มั พนั ธอ์ ยา่ ง ใกลช้ ดิ กบั การ สนองความตอ้ งการพน้ื ฐานทางกาย ใหส้ มดงั ความตอ้ งการนนั้ ๆ เชน่ มนุษยม์ คี วาม ตอ้ งการทางรา่ งกาย ทาํ ใหต้ อ้ ง กนิ นอน ขบั ถ่าย ฯลฯ อยตู่ ลอดเวลา และคนเราจะมี วธิ กี ารในการทห่ี าวธิ สี นองความตอ้ งการเหลา่ นนั้ การศกึ ษาเรอ่ื งของการจงู ใจ จงึ เป็น สงิ่ จาํ เป็นทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ ราไดเ้ ขา้ ใจถงึ พฤตกิ รรม และวธิ กี ารในการสรา้ งหนทางเพอ่ื เปลย่ี นพฤตกิ รรม ไปในทศิ ทางทต่ี อ้ งการ

 กระบวนการจงู ใจมอี งคป์ ระกอบ 3 ประการ คอื  ความต้องการ (Needs) คอื ภาวการณ์ขาดบางสง่ิ บางอยา่ งของอนิ ทรยี ์ อาจจะเป็น การขาดทางดา้ นรา่ งกายหรอื การขาดทางดา้ นจติ ใจกไ็ ด้  แรงขบั (Drive) เมอ่ื มนุษยม์ คี วามขาดบางสง่ิ บางอยา่ งตามขอ้ 1 ทก่ี ลา่ วมาแลว้ กจ็ ะ เกดิ ภาวะตงึ เครยี ดขน้ึ ภายในรา่ งกาย ภาวะตงึ เครยี ดน้ีจะกลายเป็นแรงขบั หรอื ตวั กาํ หนด ทศิ ทาง (Action Oriented) เพอ่ื ไปสเู่ ป้าหมายอนั จะเป็นการลดภาวะความตงึ เครยี ดนนั้  สิ่งล่อใจ (Incentive) หรือ เป้าหมาย (Goal) จะเป็นตวั กระตุน้ หรอื เป็นตวั ล่อ ใหม้ นุษยแ์ สดงพฤตกิ รรมตามทค่ี าดหวงั หรอื ทต่ี อ้ งการ ซง่ึ อาจจะมไี ดห้ ลายระดบั ตงั้ แตส่ งิ่ ลอ่ ใจในเรอ่ื งพน้ื ฐานคอื ปัจจยั 4 ไปจนถงึ ความตอ้ งการทางใจในดา้ นต่างๆ

 นกั จติ วทิ ยาไดแ้ บง่ การจงู ใจออกเป็น 2 ประเภท คอื  การจงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation)  การจงู ใจภายนอก (Extrinsic Motivation)

 หมายถงึ สภาวะของบคุ คลทม่ี คี วามตอ้ งการในการทาํ การเรยี นรู้ หรอื แสวงหา บางอยา่ งดว้ ยตนเอง โดยมติ อ้ งใหม้ บี คุ คลอน่ื มาเกย่ี วขอ้ ง เชน่ นกั เรยี นสนใจเลา่ เรยี น ดว้ ยความรสู้ กึ ใฝ่ดใี นตวั ของเขาเอง ไมใ่ ชเ่ พราะถูกบดิ ามารดาบงั คบั หรอื เพราะมสี ง่ิ ลอ่ ใจใดๆ การจงู ใจประเภทน้ีไดแ้ ก่ 1.1 ความตอ้ งการ (Need) เน่ืองจากคนทกุ คนมคี วามตอ้ งการทอ่ี ยภู่ ายใน อนั จะทาํ ใหเ้ กดิ แรงขบั แรงขบั น้ีจะกอ่ ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ขน้ึ เพอ่ื ใหบ้ รรลุเป้าหมาย และ ความพอใจ 1.2 เจตคติ (Attitude) หมายถงึ ความรสู้ กึ นึกคดิ ทด่ี ที บ่ี คุ คลมตี อ่ สงิ่ หน่ึงสง่ิ ใด ซง่ึ จะชว่ ยเป็นตวั กระตุน้ ใหบ้ คุ คลทาํ ในพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสม เชน่ เดก็ นกั เรยี นรกั ครผู สู้ อน และพอใจวธิ กี ารสอน ทาํ ใหเ้ ดก็ มคี วามสนใจ ตงั้ ใจเรยี น เป็นพเิ ศษ 1.3 ความสนใจพเิ ศษ (Special Interest) การทเ่ี รามคี วามสนใจในเรอ่ื งใดเป็น พเิ ศษ กจ็ ดั วา่ เป็นแรงจงู ใจใหเ้ กดิ ความเอาใจใสใ่ นสงิ่ นนั้ ๆ มากกวา่ ปกติ

 หมายถงึ สภาวะของบคุ คล ทไ่ี ดร้ บั แรงกระตุน้ มาจากภายนอกใหม้ องเหน็ จดุ หมายปลายทาง และนําไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลงหรอื การแสดงพฤตกิ รรมของบคุ คล แรงจงู ใจเหลา่ น้ีไดแ้ ก่ 2.1 เป้าหมายหรอื ความคาดหวงั ของบุคคล คนทม่ี เี ป้าหมายในการกระทาํ ใด ๆ ยอ่ มกระตุน้ ให้ เกดิ แรงจงู ใจใหม้ พี ฤตกิ รรมทด่ี แี ละเหมาะสม เช่น พนกั งานทดลองงาน มเี ป้าหมายทจ่ี ะไดร้ บั การบรรจเุ ขา้ ทาํ งาน จงึ พยายามตงั้ ใจทาํ งานอยา่ งเตม็ ความสามารถ 2.2 ความรเู้ กย่ี วกบั ความกา้ วหน้า คนทม่ี โี อกาสทราบวา่ ตนจะไดร้ บั ความกา้ วหน้าอยา่ งไรจาก การกระทาํ นนั้ ยอ่ มจะเป็นแรงจงู ใจใหต้ งั้ ใจและเกดิ พฤตกิ รรมขน้ึ ได้ 2.3 บุคลกิ ภาพ ความประทบั ใจอนั เกดิ จากบุคลกิ ภาพ จะกอ่ ใหเ้ กดิ แรงจงู ใจใหเ้ กดิ พฤตกิ รรม ขน้ึ ได้ เชน่ ครู อาจารย์ กต็ อ้ งมบี ุคลกิ ภาพทางวชิ าการทน่ี ่าเชอ่ื ถอื นกั ปกครอง ผจู้ ดั การ จะตอ้ งมบี คุ ลกิ ภาพของผนู้ ําทด่ี ี เป็นตน้ 2.4 เครอ่ื งล่อใจอ่นื ๆ มสี ง่ิ ลอ่ ใจหลายอยา่ งทก่ี ่อใหเ้ กดิ แรงกระตุน้ ใหพ้ ฤตกิ รรมขน้ึ เช่น การให้ รางวลั (Rewards) อนั เป็นเครอ่ื งกระตุน้ ใหอ้ ยากกระทาํ หรอื การลงโทษ (Punishment) ซง่ึ จะกระตุน้ มใิ หก้ ระทาํ ในสง่ิ ทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง นอกจากน้กี ารชมเชย การติ เตยี น การประกวด การแขง่ ขนั หรอื การทดสอบกจ็ ดั วา่ เป็นเครอ่ื งมอื ทก่ี ่อใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมได้ ทงั้ สน้ิ

 1. ทฤษฎขี องมาสโลว์ (Maslow’s Hierachy of Needs)  2. ทฤษฎกี ารต่นื ตวั (An Arousal Theory)  3. ทฤษฎกี ารจงู ใจของแมคเคลิ ลแ์ ลนด์ (McClelland’s Motivation Thory)

 ขนั้ ท่ี 1 ความต้องการทางรา่ งกาย (Physiological Needs) เป็นระดบั ความตอ้ งการ ปัจจยั พน้ื ฐานของมนุษย์ ไดแ้ ก่ ปัจจยั 4 อาหาร เครอ่ื งนุ่งห่มเสอ้ื ผา้ ยารกั ษาโรค และทอ่ี ยอู่ าศยั  ขนั้ ท่ี 2 ความตอ้ งการความมนั่ คงและความปลอดภยั (Security and Safety Needs) เชน่ ปราศจากการประสบอุบตั เิ หตุ การบาดเจบ็ การเจบ็ ป่วย เศรษฐกจิ ตกต่าํ การถกู ขม่ ขจู่ ากบุคคลอน่ื และการถกู โจรกรรมทรพั ยส์ นิ เป็นตน้  ขนั้ ท่ี 3 ความตอ้ งการทางสงั คม (Social Needs) ไดแ้ ก่ ความตอ้ งการการยอมรบั การเขา้ เป็น สมาชกิ การใหค้ วามรกั การใหอ้ ภยั และความเป็นมติ ร เป็นตน้  ขนั้ ท่ี 4 ความตอ้ งการการยอมรบั นบั ถอื และเหน็ วา่ ตนเองมคี ุณคา่ ตอ่ สงั คม (Esteem or Ego Needs) มาสโลว์ ไดใ้ หค้ วามหมายไว้ 2 ประการ คอื  ประการท่ี 1 ความตอ้ งการการยกยอ่ งนบั ถอื  ประการท่ี 2 ความตอ้ งการทเ่ี กย่ี วกบั การมชี อ่ื เสยี ง  ขนั้ ท่ี 5 ความตอ้ งการความสาํ เรจ็ (Actualization Needs) เป็นความตอ้ งการระดบั สงู สดุ ของมนุษย์ เป็นความพยายามของมนุษยท์ จ่ี ะใหบ้ ุคคลอน่ื ยอมรบั นบั ถอื ตนเองรวมกบั ความตอ้ งการ และความสาํ เรจ็ ของตนเอง ซง่ึ มาสโลวเ์ รยี กวา่ ความตอ้ งการความเจรญิ กา้ วหน้า (Growth Needs)

 ทฤษฎกี ารตน่ื ตวั เป็นเรอ่ื งทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั การทาํ งานของสมอง โดยเฉพาะสมองของ คนเรามสี ว่ นทเ่ี รยี กวา่ RAS. (Reticular Activating System) ซง่ึ เป็น ตวั ทค่ี วบคมุ การตน่ื ตวั ได้ โดยอาศยั อทิ ธพิ ลของสง่ิ เรา้ ทงั้ ภายในและภายนอก และ ทฤษฎนี ้ีไดอ้ ธบิ ายอกี วา่ คนเรานนั้ จะมกี ารตน่ื ตวั อยเู่ สมอจากระดบั ทเ่ี ฉ่อื ยทส่ี ดุ จนถงึ ระดบั ทต่ี น่ื ตวั ทส่ี ดุ ตวั อยา่ งทเ่ี หน็ ได้ ของการใชท้ ฤษฎกี ารตน่ื ตวั เชน่ ในกรณที ค่ี รเู รยี ก ใหน้ กั เรยี นในชนั้ ลกุ ขน้ึ ตอบคาํ ถาม หรอื ลุกขน้ึ ทาํ กจิ กรรมรว่ มกนั เป็นการเปลย่ี นแปลง อริ ยิ าบถ และกระตุน้ ใหน้ กั เรยี นตน่ื ตวั อยเู่ สมอ  ความคดิ ในการนําเอาหลกั ทฤษฎกี ารต่นื ตวั มาใช้ กค็ อื การหาวธิ กี ารในการจงู ใจให้ บุคคลเกดิ ความตน่ื ตวั อยเู่ สมอโดยการใชส้ ง่ิ เรา้ ตา่ ง ๆ เชน่ สนิ คา้ ตวั ใหม่ หรอื ประโยชน์ใชส้ อยใหม่ ๆ จะทาํ ใหผ้ บู้ รโิ ภคตน่ื ตวั และสนใจต่อขอ้ มลู อยเู่ สมอ

 เดวดิ ซ.ี แมคเคลิ ลแ์ ลนด์ (David C. McClelland) ไดม้ บี ทบาทชว่ ยในการพฒั นาการ จงู ใจ โดยแบง่ การจงู ใจตามความตอ้ งการขนั้ พน้ื ฐานของบุคคลเป็น 3 แบบ ดงั น้ี  แบบท่ี 1 ความตอ้ งการอํานาจ (The Need For Power) แมคเคลิ ลแ์ ลนดไ์ ดค้ น้ พบวา่ บุคคลมคี วามตอ้ งการการมอี าํ นาจเป็นอยา่ งมาก เพราะจะไดอ้ าศยั การใชอ้ าํ นาจเพอ่ื สรา้ งอทิ ธพิ ลและควบคุมในการทาํ งาน  แบบท่ี 2 ความตอ้ งการความผกู พนั (The Need For Affiliation) บุคคลมคี วามตอ้ งการความผกู พนั เป็นอยา่ งมาก แตล่ ะบคุ คลชอบทจ่ี ะรกั ษาสมั พนั ธภาพทด่ี ที างสงั คม เพอ่ื ทาํ ให้ เกดิ ความรสู้ กึ ยนิ ดี มคี วามคนุ้ เคยกนั เขา้ ใจกนั พรอ้ มทจ่ี ะเป็นทพ่ี ง่ึ ในการปลอบใจ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื เมอ่ื เกดิ ความทุกข์ มกี ารตดิ ต่อสมั พนั ธก์ นั กบั บุคคลอน่ื อยา่ งเชน่ เพอ่ื นสนิท  แบบท่ี 3 ความตอ้ งการความสาํ เรจ็ (The Need For Achievement) บุคคลมคี วามปรารถนาอยา่ งแรงกลา้ ทจ่ี ะไดร้ บั ความสาํ เรจ็ มคี วามหวาดกลวั อยา่ งรนุ แรงตอ่ การประสบความ ลม้ เหลว และมอี ารมณ์หงดุ หงดิ เมอ่ื ไดร้ บั ความลม้ เหลวหรอื ผดิ หวงั และชอบการทาํ งานดว้ ยตนเองเสมอ แมคเคลิ ลแ์ ลนดไ์ ดพ้ บวา่ รปู แบบการจงู ใจทท่ี าํ ใหเ้ กดิ ความสาํ เรจ็ ทส่ี ดุ คอื บุคคลทท่ี าํ งานอยใู่ นบรษิ ทั ขนาดเลก็ มี ประธานบรษิ ทั ทม่ี กี ารจงู ใจทาํ ใหเ้ กดิ ความสาํ เรจ็ ไดส้ งู มาก แตใ่ นบรษิ ทั ทม่ี กี จิ การขนาดใหญ่พบวา่ หวั หน้า ผบู้ รหิ ารมกี ารจงู ใจทาํ ใหเ้ กดิ ผลสาํ เรจ็ ในระดบั ปานกลางเทา่ นนั้

 การจงู ใจ เป็นหลกั การทางจติ วทิ ยาทใ่ี ชใ้ นการบรหิ ารบุคคล หรอื การบรหิ ารงาน โดยทวั่ ไป ทงั้ ในภาครฐั บาล รฐั วสิ าหกจิ และเอกชน วตั ถุประสงคข์ องการจงู ใจให้ คนทาํ งาน คอื ความตอ้ งการเพมิ่ พนู ประสทิ ธภิ าพของการปฏบิ ตั งิ านหรอื การทาํ งาน ของพนกั งานใหด้ ขี น้ึ และสง่ิ หน่ึงทย่ี อมรบั ทวั่ ไปวา่ สามารถเพม่ิ พนู ประสทิ ธภิ าพการ ทาํ งานของพนกั งานไดก้ ค็ อื การจงู ใจ ดงั นนั้ ผบู้ รหิ ารทุกคนจงึ พยายามใชเ้ ทคนิคการ จงู ในเพอ่ื กระตุน้ ใหพ้ นกั งานในบรษิ ทั ของตนทาํ งานอยา่ งเตม็ ความสามารถ

 การวางระบบการจงู ใจทด่ี เี ป็นสงิ่ ทท่ี าํ ไดย้ าก วธิ กี ารทจ่ี ะจงู ใจใหบ้ คุ คลปฏบิ ตั งิ าน ผบู้ รหิ ารหรอื หวั หน้างานจะตอ้ งเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ เราอาจแบง่ วธิ กี าร จงู ใจออกไดเ้ ป็น 2 ระบบคอื  1. Positive Motivation เป็นวธิ กี ารจงู ใจโดยการใชร้ างวลั หรอื การสง่ เสรมิ กาํ ลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ การเลอ่ื นขนั้ ตาํ แหน่ง การจดั สภาพการทาํ งานใหด้ ี การ ยกยอ่ งชมเชย เป็นตน้  2. Negative Motivation เป็นการจงู ใจโดยการใชว้ ธิ กี ารขบู่ งั คบั หรอื การ ลงโทษ เพอ่ื ใหบ้ คุ คลเหลา่ นนั้ ปฏบิ ตั ติ ามโดยอาศยั ความเกรงกลวั เป็นพน้ื ฐาน เชน่ การ โยกยา้ ย การลดอตั ราคา่ จา้ งเงนิ เดอื น การลงโทษทางวนิ ยั

 จากการศกึ ษาเรอ่ื งราวของการจงู ใจ สามารถสรุปผลใหเ้ หน็ ไดช้ ดั เจนวา่ การจงู ใจเป็น กระบวนการทม่ี อี ทิ ธพิ ล ในการกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเปลย่ี นแปลงปัจจยั หลายสง่ิ ไดแ้ ก่  การเปลย่ี นแปลงในทศั นคติ และความเชอ่ื (Attitude Changes)  การเปลย่ี นแปลงในดา้ นความคดิ เหน็ ทแ่ี สดงออก (Opinion Changes)  การเปลย่ี นแปลงการรบั รู้ (Perception Changes)  การเปลย่ี นแปลงความตงั้ ใจ (Willingness Changes)  การเปลย่ี นแปลงการกระทาํ (Action Changes)  การเปลย่ี นแปลงอารมณ์และความรสู้ กึ (Feeling and Emotion Changes)

1. ใหน้ กั ศกึ ษาอธบิ ายความหมายของการประสานงาน 2. การประสานงานมคี วามสาํ คญั กบั การทาํ งานของนกั ศกึ ษาอยา่ งไรบา้ ง จงอธบิ าย 3. เทคนคิ ในการประสานงานมอี ะไรบา้ ง 4.ถา้ นกั ศกึ ษาตอ้ งการทจ่ี ะขอความอนุเคราะหใ์ ชห้ อ้ งประชมุ วทิ ยาลยั การอาชพี นวมนิ ทราชนิ ี มกุ ดาหาร เพอ่ื จดั กจิ กรรมของหน่วยงานนกั ศกึ ษา จะมเี ทคนคิ การประสานงานอยา่ งไร 5. ใหน้ กั ศกึ ษาอธบิ ายของการจงู ใจ 6. กระบวนการจงู ใจมอี งคป์ ระกอบอะไรบา้ ง 7. จงอธบิ ายความแตกตา่ งของการจงู ใจภายใน กบั การจงู ใจภายนอก 8. ทฤษฎขี องมาสโลว์ มคี วามสาํ คญั กบั การจงู ใจในการทาํ งานอยา่ งไร 9. ประเภทของการจงู ใจในการทาํ งานมอี ะไรบา้ งจงอธบิ าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook