การแกป้ ญั หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตา่ เรือง การควบคมุ การสตาร์ทมอเตอรโ์ ดยวธิ ตี รง วชิ าการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ของนกั เรียนสาขางานไฟฟา้ ก่าลัง วทิ ยาลยั การอาชีพนวมินทราชินีมกุ ดาหาร อิทธิพทั ธ ปัททะทมุ วิทยาลยั การอาชพี นวมินทราชนิ ีมกุ ดาหาร ส่านกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ชื่อ : นายอิทธพิ ัทธ ปทั ทะทมุ ชื่องานวิจยั : การแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า เรื่อง การควบคุมการ สาขางาน สตาร์ทมอเตอร์โดยวิธีตรง วิชาการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าของ ปกี ารศึกษา นกั เรียนระดบั ชนั้ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ปีท่ี 2 : ไฟฟ้าก่าลงั วทิ ยาลัยการอาชพี นวมนิ ทราชนิ มี ุกดาหาร : 2563 บทคัดยอ่ ในการจัดท่าการวิจยั ครัง้ น้ีมวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือแก้ปญั หาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นต่า เรื่อง การ ควบคมุ การสตาร์ทมอเตอรโ์ ดยวธิ ีตรง วชิ าการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ของนักเรยี นระดับชั้น ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ สาขางานไฟฟ้าก่าลัง วิทยาลัยการอาชพี นวมินทราชนิ มี ุกดาหาร และ เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ผู้วจิ ัยได้ทา่ การสรา้ งเครือ่ งมอื ในการวจิ ัย โดยใช้ใบความรู้ และแบบทดสอบ และนา่ ไป ทดลองใชก้ ับกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงเป็นนักเรยี นสาขางานไฟฟา้ ก่าลัง ระดับ ปวช.2 วทิ ยาลัยการอาชพี นวมิ นทราชนิ มี ุกดาหาร จ่านวน 17 คน การทดลองในคร้งั นใ้ี ชเ้ วลาในการทดลอง 2 สปั ดาห์ จ่านวน 14 ชว่ั โมง ท่าการสอนโดยใชใ้ บความรู้ เรอื่ ง โครงสรา้ งและการท่างานของหม้อแปลงไฟฟา้ วิชาการหมอ้ แปลงไฟฟา้ ได้ทดสอบวดั ผลคะแนนเฉลย่ี ทัง้ สองครั้งมาเปรียบเทียบความแตกต่างทางสถติ ิ t-test ที่ ระดบั ความมนี ัยส่าคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 จากการศึกษาผลการทดลองแก้ปญั หาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตา่ เรอ่ื ง การควบคมุ การ สตาร์ทมอเตอรโ์ ดยวธิ ตี รง วิชาการควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟา้ ของนักเรียนระดบั ชนั้ ประกาศนียบตั ร วิชาชพี สาขางานไฟฟ้าก่าลงั วทิ ยาลัยการอาชีพนวมินทราชินมี ุกดาหาร ผลปรากฏเป็นไปตาม สมมตฐิ านท่ตี ้งั ไว้ คอื การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระหวา่ งครงั้ ที่ 1 และครง้ั ที่ 2 พบวา่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผเู้ รียนครง้ั ที่ 2 สงู กวา่ ครง้ั ท่ี 1 คิดเป็นร้อยละ 34.12 อยา่ งมีนัยสา่ คัญ ทางสถติ ิท่ี .05 ข
กติ ตกิ รรมประกาศ การจัดท่าวิจัยฉบับนี้ส่าเร็จลุล่วงด้วยดี เพราะได้รับการประสิทธ์ิประสาทวิชาความรู้ จาก คณาจารยท์ กุ ท่านที่ข้าพเจา้ ไดศ้ กึ ษามา ขอขอบคุณวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหารท่ีให้ความอนุเคราะห์เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณต์ ่าง ๆ ในการดา่ เนินการจดั ทา่ วิจยั ในครัง้ นี้ ขอขอบคุณสาขางานไฟฟ้าก่าลัง วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหารท่ีข้าพเจ้าปฏิบัติ หนา้ ที่อยูท่ ่ีให้ความอนเุ คราะห์เครือ่ งมือในการวิจยั ขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในคร้ังนี้ คือ นักเรียนสาขางานไฟฟ้าก่าลัง วิทยาลัยการ อาชพี นวมินทราชนิ มี กุ ดาหารท่ีให้ความรว่ มมือในการทดลองวิจัยในครัง้ น้ี ทา้ ยนผ้ี ูว้ ิจัยขอขอบพระคณุ ครู อาจารย์ คุณพ่อ คุณแม่ ภรรยา และลูกชายท่ีคอยเป็นก่าลังใจ และให้การสนับสนุนตลอดมา ตลอดจนเพ่ือนร่วมงาน ผู้เป็นก่าลังใจทุกท่านท่ีคอยสนับสนุนส่งเสริม และรว่ มแกป้ ัญหาดว้ ยดีเสมอมา อทิ ธิพัทธ ปัททะทุม ค
สารบัญ บทคดั ย่อ หนา้ กติ ติกรรมประกาศ ข สารบญั ตาราง ค สารบญั ภาพ ฉ บทที่ 1 บทน่า ช 1 1.1 ความเป็นมาและความส่าคญั ของปญั หา 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 2 1.3 สมมติฐานการวจิ ัย 2 1.4 ขอบเขตของการวิจัย 2 1.5 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 4 2.1 หลักสูตรวิชาการควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้า 4 2.2 การสร้างและพฒั นาแบบทดสอบ 5 2.3 การวัดและประเมินผลการเรียนรขู้ องผเู้ รียน 14 2.4 ส่ือการสอน 26 2.5 งานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง 27 บทท่ี 3 วิธดี า่ เนินการวจิ ัย 30 3.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 30 3.2 การสร้างและพฒั นาเครอื่ งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย 30 3.3 การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมลู 32 3.4 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 34 บทท่ี 4 ผลการวิจยั 36 4.1 ผลการวิเคราะห์วิธีการแกป้ ญั หาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตา่ 36 4.2 ผลการวเิ คราะห์คะแนนเฉลี่ยของผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนและการเปรียบเทยี บ 37 ความแตกตา่ งของคะแนนเฉลี่ยผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 38 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 38 5.1 สรุป ง
สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 38 5.2 อภปิ รายผล 38 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 38 บรรณานุกรม 39 ภาคผนวก ก คะแนนแบบทดสอบ 41 ภาคผนวก ข แบบทดสอบพร้อมเฉลย 45 ภาคผนวก ค ใบความรู้ 51 ประวัตผิ ู้วิจัย จ
สารบญั ตาราง หนา้ 36 ตารางที่ 40 4-1 ผลการการวเิ คราะห์คะแนนเฉลย่ี แบบทดสอบครั้งที่ 1 และครง้ั ที่ 2 ก-1 แสดงผลการวิเคราะห์คะแนนสอบของนักเรยี น ฉ
สารบัญภาพ หนา้ 30 ภาพที่ 31 3-1 แสดงขน้ั ตอนในการสรา้ งเครือ่ งมอื 32 3-2 ขั้นตอนการด่าเนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมข้อมูลครง้ั ที่ 1 35 3-3 ขัน้ ตอนการด่าเนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 4-1 รปู แบบการแกป้ ญั หาผลสมฤทธิท์ างการเรียนต่า ช
บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 22 กาหนดไว้ว่า การจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ก ร ะบ ว น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต้ อ ง ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ พั ฒ น า ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะเ ต็ ม ต า ม ศั ก ย ภ า พ (พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ 2542 : 7) รายวิชาการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า รหัส 20104-2003 เป็นวิชาท่ีอยู่ในประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง ในหมวดวิชาชีพเฉพาะ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ซึ่งเป็นวิชามี ความสาคัญมากเนื้อหาวิชาเกี่ยวข้องกับรายวิชาเรียนในกลุ่มวิชาชีพเลือก ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เช่น วิชาการโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า รหัส 20104-2109 วิชาการติดต้ังไฟฟ้าในอาคาร รหัส 20104- 2106 วชิ าการประมาณการตดิ ตงั้ ไฟฟ้า รหัส 20104 – 2010 และวชิ าอ่นื ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง ซึ่งถ้านักศึกษา ระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ไม่เข้าใจเน้อื หาวิชาโดยเฉพาะ เรอ่ื ง การควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์โดยวิธีตรง จะส่งผลให้ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นอยูใ่ นเกณฑ์ท่ีต่า และก็จะส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเร่ืองต่อ ๆ ไป ต่าไปด้วย ดังนั้นในการแก้ปัญหาให้ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดีได้นั้น ก็ต้องแก้ปัญหาจากจุด เลก็ ๆ ของแตล่ ะเรอื่ งไปเรอื่ ยๆ ทกุ คร้ังเมื่อเกิดปัญหาจะเป็นการทาให้นกั ศึกษามีพืน้ ฐานความร้ทู ีด่ ียงิ่ ขนึ้ สภาพการเรยี นการสอนในช้นั เรียน เร่อื ง การควบคุมการสตารท์ มอเตอร์โดยวิธีตรง พบว่ามีนักเรียน บางคนไม่ให้ความสนใจและมองภาพการควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์โดยวิธีตรงไม่ออกซ่ึงเนื้อหาส่วนใหญ่เป็น นามธรรม แนวทางหน่งึ ในการแกป้ ญั หาโดยใช้ส่ือการสอนทหี่ ลากหลาย เช่นส่ือออนไลน์ และทาการทดสอบ ซ้า ใน Google classroom และเฉลยแบบทดสอบทุกคร้ัง จะทาให้นักเรียนสามารถท่ีจะเข้าใจการควบคุม การสตารท์ มอเตอร์โดยวธิ ตี รง ได้ดีข้ึน ผวู้ จิ ัยตระหนักถึงความสาคญั ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และสภาพการเรียน การสอนในชัน้ เรยี นท่ีขา้ พเจ้าปฏิบัตหิ น้าท่สี อนอยใู่ นปัจจุบนั จึงมีแนวคิดที่จะการแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนตา่ เร่อื ง การควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์โดยวิธตี รง วชิ าการควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้า ของนักเรียนสาขางาน ไฟฟ้ากาลัง ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีท่ี 2 วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ให้มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ทสี่ ูงข้นึ
2 1.2 วัตถุประสงค์ของกำรวจิ ัย 1.2.1 เพื่อแกป้ ัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า เรอื่ ง การควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์โดยวิธีตรง วิชาการ ควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้า ของนกั เรยี นระดบั ชนั้ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง สาขางานไฟฟ้า กาลงั ชนั้ ปีท่ี 2 วิทยาลยั การอาชพี การอาชพี นวมินทราชินีมกุ ดาหาร ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 1.2.2 เพอื่ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เรอ่ื ง การควบคมุ การสตาร์ทมอเตอร์โดยวิธีตรง วิชาการ ควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้า ครัง้ ทหี่ น่งึ และครัง้ ทสี่ อง 1.3 สมมติฐำนกำรวิจัย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคร้ังท่ีหนึ่งและคร้ังท่ีสอง ของนักเรียนท่ีเรียน เรื่อง การควบคุมการสตาร์ท มอเตอรโ์ ดยวิธตี รง มคี วามแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .05 1.4 ขอบเขตของกำรวจิ ยั การวจิ ัยในครัง้ นี้มขี อบเขตดังต่อไปน้ี 1.4.1 กลุ่มประชากรท่ีใช้ในการอ้างองิ ผลการวจิ ัยในครงั้ น้ี คือ นักเรียนระดับชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชน้ั ปีที่ 2 สาขางานไฟฟ้ากาลัง วทิ ยาลัยการอาชีพการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ที่ลงทะเบียนเรียนในภาค เรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 52 คน 1.4.2 ตัวแปรทที่ าการศึกษาในการวจิ ยั คร้ังนี้ คอื 1.4.2.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ ใบความรู้ วิชามอเตอร์ ไฟฟา้ เร่อื งการควบคมุ การสตารท์ มอเตอรโ์ ดยวิธตี รง และแบบทดสอบผลสมฤทธ์ทิ างการเรยี น 1.4.2.2 ตวั แปรตาม คือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่อื ง การควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์โดยวิธีตรง 1.4.3 ใบความรู้ในการทดลอง 1.4.3.1 ใช้เนื้อหารายวิชา การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า รหัส 20104-2009 ตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง สาขางาน ไฟฟ้ากาลัง 1.4.3.2 ระยะเวลาท่ีใช้ในการวิจัยเป็นเวลา 2 สัปดาห์ จานวน 14 ชั่วโมง โดยสัปดาห์ท่ี 1 ทา การทดลองโดยวิธีการบรรยายและสาธิต เรื่องการควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์โดยวิธีตรง หน้าชั้นเรียน 3 ช่ัวโมง สอบอีก 1 ชั่วโมง และในสัปดาห์ที่ 2 ทาการทดลองโดยการแสดงวิธีการใช้ส่ือการสอนและเอกสาร ประกอบการสอน 2 ชว่ั โมง นักเรียนลงมอื ปฎบิ ตั ติ ามใบงาน 4 ช่วั โมง สอบอีก 1 ช่ัวโมง
3 1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะไดร้ บั 1.5.1 ได้วิธีการแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า เร่ือง การควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์โดยวิธีตรง วิชาการควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้า 1.5.2 ได้ทราบความแตกตา่ งของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การควบคุมการสตารท์ มอเตอร์โดยวิธีตรง ครั้งท่ีหนง่ึ และครั้งท่ีสอง
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วข้อง การจัดทางานวิจัยในชั้นเรียนในคร้ังน้ี ผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง กบั การแก้ปญั หาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า เร่ือง โครงสรา้ งและการทางานของหมอ้ แปลงคร้งั น้ี ดงั น้ี 2.1 หลกั สตู รวิชาหม้อแปลงไฟฟา้ 2.2 การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ 2.3 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รียน 2.4 สอ่ื การสอน 2.5 งานวิจัยที่เกยี่ วขอ้ ง 2.1 หลกั สตู รวชิ าหมอ้ แปลงไฟฟ้า 20104-2009 การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้า 1-6 -3 2.1.1 จุดประสงค์รายวชิ า 2.1.1.1 เข้าใจหลักการควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ ตามมาตรฐานตา่ งๆ 2.1.1.2 เลือกวสั ดทุ ี่ใชใ้ นการควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้า 2.1.1.3 มที กั ษะเกย่ี วกับการควบคมุ มอเตอร์ไฟฟา้ 2.1.1.4 มีเจตคตแิ ละกจิ นิสยั ทดี่ ีในการปฏบิ ตั ิงาน มคี วามละเอียดรอบคอบ ปลอดภยั เปน็ ระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลา มคี วามซ่ือสัตยแ์ ละความรับผิดชอบค้นควา้ เพ่มิ เตมิ 2.1.2 สมรรถนะรายวิชา 2.1.2.1 แสดงความรูเ้ กี่ยวกับสญั ลกั ษณโ์ ครงสรา้ งและหลักการทางานของการควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้า 2.1.2.2 เลอื กขนาดสาย อุปกรณป์ อ้ งกนั คอนแทรคเตอรใ์ นการควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ 2.1.2.3 ต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง กระแสสลับ 3 เฟสและ 1 เฟส 2.1.3 คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏิบัติเกี่ยวกบั งานควคบุมมอเตอร์ไฟฟา้ สญั ลักษณต์ ามมาตรฐาน IEC DIN ANSI การออกแบบควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ ตามมาตรฐาน IEC , DIN และ ANSI การเลอื กขนาดสาย อปุ กรณ์ปอ้ งกัน คอนแทกเตอร์ หลกั การเร่มิ เดินมอเตอร์ละควบคุมความเรว็ มอเตอร์ไฟฟ้า กระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส และ 3 เฟส งานเขยี นแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ตามมารตฐาน IEC DIN ANSI งานตอ่ วงจรเร่ิมเดินลงั านตอ่ วงจรควบคมุ การเรมิ่ เดนิ การกลบั ทาง
5 หมุนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง งานตอ่ วงจรควบคุมการเริ่มเดนิ การกลับทางหมนุ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 1 เฟส การต่อวงควบคุมสตารท์ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส แบบ Direct Start งานตอ่ วงจรควบคุมการกลบั ทางหมุนมอเตอรไ์ ฟฟ้า 3 เฟส แบบ Jogging Plugging และ แบบ After Stop งานต่อวงจรควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบ Star – Delta แบบเรยี งลาดับ 2.2 การสรา้ งและพัฒนาแบบทดสอบ 2.2.1 ความหมายของแบบทดสอบ บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2542: 72) ให้ความหมาย แบบทดสอบ ว่า เป็นวิธีการเชิงระบบท่ี ใช้ในการเปรียบเทียบพฤติกรรมของบุคคลตั้งแต่ สองคนขึ้นไป ณ เวลาหนึ่ง หรือของบุคคลคนเดียว หรอื หลายคนในเวลาต่างกนั บราวน์ (อ้างใน บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ 2542 : 72) ให้ความหมายแบบทดสอบว่า เป็น วธิ กี ารเชิงระบบท่ีใชส้ าหรับวดั ตวั อย่างพฤติกรรม ตามความหมายแบบทดสอบจะมีลักษณะทส่ี าคัญ 3 ประการ 1) แบบทดสอบเป็นวิธีเชิงระบบ (Systematic Procedure) หมายความว่า แบบทดสอบนั้น จะตอ้ งมกี ฎเกณฑ์แน่นอนเกยี่ วกับโครงการการบริหารจัดการและการให้คะแนน 2) แบบทดสอบเป็นการวัดพฤติกรรม (Behaviors) ซ่ึงจะวัดเฉพาะพฤติกรรมที่วัดได้เท่านั้น โดยผูต้ อบสนองตอบตอ่ ข้อคาถามที่กาหนดให้ มิใชเ่ ป็นการวดั โดยตรง 3) แบบทดสอบเป็นเพียงส่วนหนึ่งของพฤติกรรมท่ีต้องการวัดทั้งหมด (Sample of all possible items) ตามความเปน็ จรงิ ไม่มแี บบทดสอบชดุ ใดทจ่ี ะมีข้อคาถามวัดพฤติกรรมท่ีต้องการได้ ทั้งหมด ฉะน้ันจึงต้องตกลงว่าข้อคาถามในแบบทดสอบเป็นตัวแทนของข้อคาถามทั้งหมดท่ีใช้วัด พฤติกรรมนนั้ และถ้าผู้ตอบ ตอบขอ้ คาถามใด คาถามหน่ึงถูก จะตอ้ งใหค้ ะแนนเทา่ กัน อุทมุ พร (ทองอไุ ทย) จามรมาน (2545) แบบทดสอบได้แก่ เคร่ืองมือตรวจสอบทางการศึกษาที่ กระตุ้นสมองให้แสดงพฤติกรรมออกมาในเชิงความสามารถของบุคคลน้ันๆ ประกอบด้วยข้อสอบ จานวนหน่ึง ซึ่งข้อสอบได้แก่ ข้อความหรือข้อคาถามที่เก่ียวข้องกับจุดมุ่งหมายในการทดสอบ และ เน้อื หาสาระทที่ ดสอบเฉพาะอยา่ งและเกยี่ วข้องกบั บคุ คลท่ีถกู ทดสอบ ในการวัดความรู้จะใช้แบบทดสอบ ซึ่งความรู้ในที่นี้มาจากคาว่า knowledge ซึ่งพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 (หน้า 232) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความรู้ หมายถึง ส่ิงที่สั่งสมมา จากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมท้ังความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ซ่ึง ความรู้เป็นความจริงที่มีถูกและผิด ซ่ึงถูกผิดเป็นไปตามหลักวิชาและเหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ ท่ี สามารถตรวจสอบและพิสูจน์ได้ คาว่า ความรู้ มีลักษณะเป็นเพียงแนวคิด ของพฤติกรรมหรืออาการ
6 เทา่ นั้น มิได้มีส่วนประกอบของเนื้อหา รวมด้วยเลย เพราะจะถามว่าท่านมีความรู้หรือไม่ เฉยๆ ไม่ได้ เลย ตอ้ งมีเนื้อหาท่ีต้องการถามรวมอยู่ด้วยจึงจะตอบได้เช่น ท่านมี ความรู้เรื่องเมืองไทยหรือไม่ ท่าน มีความรู้เร่ืองสุขภาพหรือไม่ คาว่า เมืองไทย สุขภาพ เป็นเน้ือหาท่ีเป็นส่ิงกระตุ้นให้ผู้ตอบแสดง พฤตกิ รรมหรอื อาการของความรู้ออกมา แล้ววดั พฤตกิ รรมหรอื อาการของความรู้นัน้ ระดับของความรู้ บลูม (Bloom) ไดแ้ บง่ ระดับความรอู้ อกเปน็ ด้านตา่ งๆ ดงั น้ี 1) ความจา ได้แก่ความสามารถในการจดจาหรือระลึกถึงเร่ืองราวท่ีเคยเรียนรู้ เคยมี ประสบการณ์มากอ่ น - ความร้จู าเพาะเรือ่ ง เป็นการระลกึ ขอ้ มลู ในส่วนยอ่ ย ทเี่ ฉพาะเรื่องและแยกเปน็ ส่วนโดดๆ - ความรู้จาวิถีทางและวิธีการดาเนินการเฉพาะเรื่องเป็นการระลึกถึงข้อมูลท่ีเกี่ยวกับ ระเบยี บแบบแผน ประเพณีแนวโน้ม และลาดับกอ่ นหลังแยกประเภทและจัดหมวดหมู่ - ความรู้จาเร่ืองสากลและนามธรรม เป็นการระลึกข้อมูลเกี่ยวกับหลักการ ข้อสรุปท่ัวไป ทฤษฎีและโครงสรา้ ง 2) ความเข้าใจ ความสามารถในการอธิบายส่ือความหมายและขยายความในเรื่องราวและ เหตุการณ์ต่างๆ ดว้ ยคาพดู หรือภาษาของตน พฤติกรรมทใ่ี ช้วัดความเขา้ ใจ ไดแ้ ก่ - การแปลความ เป็นการให้ความหมายจับใจความให้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง ของส่ิง หรอื เรอื่ งราวต่างๆ ทีต่ ้องการสื่อความหมายรวมท้งั การแปลใจความ - การตีความเป็นการอธบิ ายความหมายและสรปุ เร่อื งราวด้วยการจดั ระเบียบหรือเรียบเรียง เน้อื หาใหม่ - การขยายความ การเป็นขยายเน้ือหาความรทู้ ่เี นอื้ ไปกวา่ ความรู้ 3) การนาไปใช้ เป็นความสามารถทต่ี อ้ งทาความเข้าใจอย่างท่องแท้ในวิธีการ หลักการ แนวคิด หรือนามธรรมเรอื่ งน้นั ๆ 4) การวิเคราะห์ เป็นความสามารถในการแยกแยะ แตกเป็นชิ้นส่วนย่อยๆจัดเรียงเป็นลาดับ ของสว่ นยอ่ ยๆนัน้ ให้เหน็ ความสาคัญ 5) การสังเคราะห์เป็นความสามารถในการรวม ผสมผสานส่วนย่อยๆ เข้าด้วยกันให้เป็นเรื่อง เดียวในลกั ษณะการจัดเรยี งรวบรวมที่มีแบบแผนหรอื โครงสรา้ งใหม่ท่ไี มเ่ คยมีมาก่อน 6) การประมาณค่าเป็นความสามารถในการตัดสินคุณค่าของส่ิงต่างๆท้ังเน้ือหาและวิธีการ เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับวธิ ีการท่เี กดิ ข้ึนอาจจะกาหนดขนึ้ เองจากความรู้ประสบการณ์ 2.2.2 การสร้างแบบทดสอบเพื่อวัดความรู้ ขนั้ ตอนการสรา้ งและพฒั นาแบบวดั ความรู้ แบง่ เป็น 6 ข้ันตอน 1) กาหนดเน้ือหาและพฤตกิ รรมที่ตอ้ งการวดั 2) เลอื กชนดิ และรปู แบบคาถาม
7 3) เขยี น(รา่ ง) ข้อคาถาม 4) จัดเรยี งทาและทารปู เล่ม 5) ตรวจ ปรับปรุง แก้ไข 6) ตรวจสอบคุณภาพ 2.2.3 ประเภทของแบบทดสอบ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ, 2542) แบ่งได้แตกต่างกันตาม เกณฑ์ทใี่ ช้ 2.2.3.1 แบง่ ตามลกั ษณะทางจติ วิทยาท่ีใช้วดั แบง่ เปน็ 3 ประเภทไดแ้ ก่ 2.2.3.1.1 แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) เป็นแบบทดสอบท่ีใช้ วัดความรู้ความเข้าใจตามพุทธิพิสัย (Cognitive domain) ซึ่งเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ แบบทดสอบ ประเภทนี้แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื 1) แบบทดสอบท่ีครูสร้างเอง (Teacher –Made Test) เป็น แบบทดสอบที่สร้างกันโดยท่ัวไป เมื่อต้องการใช้ก็สร้างขึ้น ใช้แล้วก็เลิกกัน ถ้านาไปใช้อีกก็ต้องตัด แปลง ปรับปรุงแก้ไข เพราะเป็นแบบทดสอบท่ีสร้างขึ้นใช้เฉพาะครั้ง อาจยังไม่มีการวิเคราะห์หา คุณภาพ 2) แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็นแบบทดสอบที่ ได้มีการพัฒนาด้วยการวิเคราะห์ทางสถิติมาแล้วหลายครั้งหลายหน จนมีคุณภาพสมบูรณ์ท้ังด้าน ความตรง ความเที่ยง ความยากง่าย อานาจจาแนก ความเป็นปรนัยและมีเกณฑ์ปกติ(norm) ไว้ เปรียบเทียบดว้ ย รวมความแลว้ ต้องมีมาตรฐานท้ังดา้ นการดาเนนิ การสอบและแปลผลคะแนนที่ได้ 2.2.3.1.2 แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test) เป็นแบบทดสอบท่ีใช้วัด สมรรถภาพทางสมองของคนวา่ มีความรู้ ความสามารถมากน้อยเพียงใด และมีความสามารถทางด้าน ใดเปน็ พิเศษ แบบทดสอบประเภทน้ีแบ่งออกเปน็ 2 ชนิด คอื 1) แบบทดสอบความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude Test) เป็นแบบทดสอบความถนัดท่ีวัดความสามารถทางวิชาการว่ามีความถนัดในวิชาอะไร ซ่ึงจะแสดงถึง ความสามารถในการเรยี นตอ่ แขนงวชิ าน้นั และจะสามารถเรียนไปได้มากน้อยเพียงใด 2) แบบทดสอบความถนัดพิเศษ (Specific Aptitude Test) เป็น แบบทดสอบท่ีใช้วัดความสามารถพิเศษของบุคคล เช่น ความถนัดทางดนตรี ทางการแพทย์ ทาง ศิลปะ เป็นตน้ ใช้สาหรบั การแนะแนวการเลอื กอาชพี 3) แบบทดสอบบุคคล – สังคม (Personal-Social Test) เป็น แบบทดสอบท่ใี ช้วัดบุคลิกภาพและการปรับตัวเข้ากบั สังคมของบุคคล
8 2.2.3.2 ถ้าแบง่ ตามรูปแบบของการถามการตอบ จะแบง่ เปน็ 2 ประเภท 2.2.3.2.1 แบบวัดความเรียง (Essay Test) แบบน้ีจะกาหนดคาถามให้ผู้ตอบ จะต้องเรยี บเรยี งคาตอบเอง การวัดความรู้ด้วยคาถามแบบความเรียงหรือที่รู้จักว่า เป็นแบบอัตนัย รูปแบบจะมีเฉพาะตัว คาถามเท่าน้ัน ส่วนคาตอบจะเว้นท่ีว่างหรือกาหนดกระดาษคาตอบให้ไว้เป็นพิเศษ สาหรับให้ผู้ตอบ เขียนคาตอบลงไปเองผู้ตอบมีอิสระในการตอบคาถามแบบน้ีจะมีปัญหาในการตรวจให้คะแนนทั้ง ความเป็นธรรมและความสะดวกรวดเร็ว ฉะนน้ั จงึ ไมน่ ิยมไปใช้เป็นเครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล แบบทดสอบอัตนัย คือ แบบทดสอบที่มีลักษณะ ผู้ตอบต้องเขียนบรรยายตอบ ผู้ตอบมีสิทธิจะเขียน ตอบอย่างเสรี อาจจะมีคาตอบถูกหลาย ๆ ทาง คาตอบของข้อสอบข้อเดียวกัน อาจจะมีความ แตกต่างท้งั ในด้านคณุ ภาพและความถูกตอ้ ง แบบทดสอบอัตนัย แบง่ ประเภทได้ ดงั นี้ 1) แบบไม่จากดั ตอบ (extended response) ขอ้ สอบแบบอัตนัยแบบ ไม่จากัดคาตอบนี้ให้อิสระ เสรีแก่นักเรียนอย่างเต็มที่ ในการอภิปรายแสดงความคิดเห็นและรวบรวม ข้อมูลเท็จจริงต่างๆ มาใช้ในการสอน โดยทั่วไปข้อสอบแบบนี้จะให้นักเรียนแสดงความสามารถ ซึ่ง จาเป็นต้องอาศัยการสังเคราะห์และการประเมินผล ข้อสอบนี้นับว่ามีคุณค่าอย่างยิ่งในการวัด กระบวนการทางสมองที่สูงขึ้น ตัวอย่างเช่นจงอธิบายทฤษฏีกาเนิดชนชาติไทยมา 1 ทฤษฏี หรือ จง ยกตัวอย่างงานวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารมา 1 งานวิจยั พร้อมวพิ ากษ์วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เป็นต้น 2) แบบจากัดตอบ (restricted response) ข้อสอบแบบน้ีมักจะ กาหนดขอบเขตแบบฟอร์มและ เนื้อที่เฉพาะให้นักเรียนไม่มีอิสระ เสรีในการตอบมากนัก แบบทดสอบน้ใี หต้ อบสั้นกวา่ แบบแรกคาตอบอย่ภู ายในขอบเขตท่ีกาหนดไว้ในวงจากัด โดยทั่วไปแล้ว จะกาหนดขอบข่ายและความยาวในการตอบไว้ด้วยตัวอย่างเช่น จงอธิบายสาเหตุของการเกิด สงครามโลกครั้งท่ี 2 มา 3 ประการ เปน็ ตน้ 3) แบบอัตนัยประยุกต์ หรือเรียกท่ัวไปว่า แบบ MEQ (Modified Essay Question) เป็นแบบทดสอบคาถามปลายเปิด เสนอกรณีศึกษา ตามลาดับเหตุการณ์ และให้ ข้อมูลเป็นตอนๆ แลว้ มีคาถามแทรกเป็นระยะๆ ขอ้ มลู นั้นเก่ียวสัมพันธ์กับคาถามมากหรือน้อย ผู้ตอบ ต้องตัดสินใจเลือกข้อมูลมาสังเคราะห์คาตอบ คาถามแต่ละข้อเป็นอิสระกัน ข้อสอบแบบ MEQ กาหนดให้ผู้สอบทาข้อสอบโดยใช้ข้อมูลเฉาพะหน้านั้นๆ มิให้ย้อนกลับไปแก้ข้อสอบที่ทาไปแล้วหรือ เปดิ ไปดูขอ้ มลู ขา้ งหนา้
9 ข้อดแี ละข้อเสยี แบบทดสอบแบบอัตนัย ข้อเสยี ขอ้ ดี การตรวจ ให้คะแนนมกั จะเป็นจดุ อ่อนของ ข้อสอบแบบนีผ้ ตู้ รวจทไ่ี ม่ไดร้ ับการฝึก มกั ให้ ใชท้ ดสอบเก่ยี วกบั ความสามารถในการวิเคราะห์ คะแนนโดยอิงตนเองเปน็ หลัก ของผูเ้ รยี นได้ บางคร้ังผูต้ อบท่ีชา่ งอา่ นจะได้คะแนนสงู ท้ังที่ มีความรูใ้ นเร่ืองน้นั ไมม่ ากนัก สง่ ผลกระทบต่อผูเ้ รยี น ผูส้ อนและหลกั สูตรใน ภายหลัง น้นั คือชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกิดความสามารถ ผูต้ อบทเี่ ขยี นยาวๆ หรอื ท่องจามากอาจจะได้ ในระดบั ที่สูงกวา่ ความจา คะแนนสงู ผู้สอบแสดงความสามารถในการเขยี น การ จานวนขอ้ สอบไมม่ ากนักอาจจะไม่ครอบคลมุ รวบรวมความคิดและนาเสนอในรูปภาษาเขียนได้ ประเด็นย่อยๆ ทง้ั หมด ทดสอบไดห้ ลายเน้อื หาและหลายจดุ มงุ่ หมายใน เวลาเดียวกนั 2.2.3.2.2 แบบทดสอบส้ันและเลือกตอบ (Short Answer and Multiple Choice Test) หรอื ท่รี จู้ ักกนั ท่ัวไปคือ แบบปรนัย (Objective Test) แบบนี้จะกาหนดคาถามให้ และ กาหนดใหต้ อบสน้ั ๆ หรือกาหนดคาตอบมาใหเ้ ลอื ก ผตู้ อบจะตอ้ งเลอื กตอบตามน้ัน แบ่งเป็น 1) แบบถูก – ผิด (True – False Item) กาหนดข้อความมาให้และให้ ตอบวา่ ถกู หรือ ผดิ ใช่ หรือ ไมใ่ ช่ จริง หรือ ไม่จริง อย่างใดอยา่ งหน่งึ - แบบข้อความเดียวรูปแบบที่พบกันทั่วไป คือ กาหนดข้อความที่ สมบรู ณม์ าให้ ผตู้ อบจะตอ้ งตอบวา่ ถูก หรือ ผิด เช่น ……ประเทศไทยไมน่ ับรวมจังหวดั นราธิวาส หรือ ……การศกึ ษาของไทยมีการปฏริ ปู การศึกษา มาแลว้ 3ครัง้ เปน็ ต้น - แบบสองข้อความสัมพันธ์กัน รูปแบบนี้กาหนดข้อความมาให้ สองข้อความ การตอบถ้าข้อความท้ังสองสัมพันธ์กันตามหลักวิชาการให้ตอบถูก ถ้าไม่สัมพันธ์ให้ตอบ ผิด เช่น ……แม่น้าปิง นครสวรรค์, ……แม่น้าแคว เชียงใหม่, ……แม่นา้ เจา้ พระยา กาญจนบรุ ี เปน็ ต้น - แบบขอ้ ความหลักตามหลงั ด้วยข้อความย่อย รปู แบบนี้ตวั คาถาม เป็นขอ้ ความหลักและตวั คาตอบเปน็ ข้อความย่อย แตล่ ะข้อความหลักจะมีหลายขอ้ ความยอ่ ย ที่มที ่ัง ถูกละ ผิด คละกนั เช่น ตัวอย่าง จงั หวดั เชยี งราย …..อยเู่ หนือสดุ ของประเทศ,…..มพี ้ืนที่ส่วนหน่งึ ติด กบั ทะเล เป็นต้น
10 2) แบบเลือกตอบ (Multiple Choice Item) รูปแบบท่ัวไปของแบบ วัดชนิดเลือกตอบจะมีตัวคาถามซึ่งเขียนเป็นประโยคสมบูรณ์และมีตัวเลือกตอบ กาหนดไว้ให้ เลือกตอบอาจจะมี 3 4 5 หรือ 6 ตัวเลือกในส่วนท่ีเป็นตัวเลือกตอบประกอบด้วยตัวถูกและตัวลวง คาถามแบบเลือกตอบมีหลายชนดิ - แบบตัวเลือกตอบถูกตัวเดียว แบบน้ีตัวเลือกตอบต้องมีตัวถูก เพยี งตัวเดยี ว นอกน้นั เป็นตัวลวง - แบบตัวเลือกตอบถูกมากที่สุด แบบน้ีตัวเลือกจะถูกทุกข้อ แต่มี เพียงตวั เดียวท่ถี กู ท่สี ดุ - แบบใหเ้ ลือกตวั เลือกผิด รปู แบบนี้ตรงกนั ข้ามกบั แบบแรก - แบบเปรียบเทียบ รูปแบบตัวคาถามจะบอกสิ่งของสองสิ่ง เปรียบเทยี บกนั ให้เหน็ ความสัมพนั ธโ์ ดยใช้เกณฑ์อยา่ งใดอย่างหนง่ึ 3) แบบใหต้ อบสั้น (Short Answer Item) เป็นแบบที่ผตู้ อบต้องคิดหา คาตอบเอง แตจ่ ากัดคาตอบเพียงส้ันๆ เทา่ นน้ั มี 3 รูปแบบ คือ - แบบข้อคาถามสมบูรณ์ (Completion Item) รปู แบบการถามจะ ใช้ประโยคท่ีมีเนอื้ หาสมบรู ณ์ แตใ่ ห้ตอบส้ันๆ เพยี งคาตอบเดียว - แบบข้อความไม่สมบูรณ์ (Incomplete Statement) รูปแบบ การถามจะใช้ประโยคทเ่ี ปน็ ขอ้ ความไมส่ มบรู ณ์ เมือ่ เติมคาหรอื วลีลงไปจะทาให้ประโยคสมบูรณ์ - แบบเติมคาท่ีมีความสัมพันธ์ รูปแบบการถามจะตั้งคาถามด้วย ประโยคหลักแล้วตามด้วยหรือข้อความย่อยๆ เว้นว่างไว้ให้หาคาตอบเติม คาตอบที่จะเติมจะต้อง สัมพันธ์เกยี่ วขอ้ งกับคาหรือขอ้ ความย่อยน้ันๆ 4) แบบจับคู่ (Matching Test) เป็นแบบทดสอบท่ีมีลักษณะการ นาเสนอด้วยคาวลีหรือข้อความ 2 ส่วนเพ่ือจับคู่กัน ส่วนที่ 1 คือคาถามท่ีมีลักษณะเป็นคาถามหรือ ข้อความซึ่งเป็นมโนทศั น์เขยี นเรยี งเปน็ แนวตงั้ 1 แถว ส่วนท่ี 2 คอื คาตอบซงึ่ เปน็ คาถามหรือข้อความ ท่ีสัมพันธ์หรือเก่ียวข้องกับปัญหา เขียนเรียงเป็นแนวตั้งอีกแถว โดยทั่วไปจานวนข้อของคาตอบจะมี มากกว่าคาถาม การสร้างแบบทดสอบแบบจับคูใ่ หม้ คี ุณภาพ มหี ลักการดงั น้ี - ควรเลอื กขอ้ ความในหวั ข้อหรอื เนื้อหาเดียวกันมาสร้างแบบทดสอบ - ข้อความมีความยาวใกล้เคียงกัน โดยท่ัวไปจะใช้ข้อความที่ยาวกว่าเป็นชุดของคาถาม ส่วน ข้อความท่สี นั้ กวา่ จะเป็นชดุ ของคาตอบ - ตอ้ งมีจานวนขอ้ ความทีเ่ ปน็ คาตอบมากกว่าข้อความทเ่ี ปน็ คาถาม - ขอ้ ความท่เี ปน็ คาถามและคาตอบจะต้องสั้น กะทัดรัด มีความชัดเจน และเปน็ สาระสาคัญ
11 2.2.3.2.3 แบง่ ตามลกั ษณะของการตอบ จะแบง่ เปน็ 3 ประเภท 1) แบบทดสอบปฏิบัติ (Performance Test) เป็นแบบทดสอบด้วย การใหป้ ฏิบัตทิ าจรงิ ๆ เช่น การแสงดละคร การชา่ งฝีมือ การพมิ พ์ดีด การทดลอง เป็นต้น 2) การทดสอบเขียนตอบ (Paper-pencil Test) เป็นแบบทดสอบท่ีใช้ กนั ท่วั ไป ซงึ่ ใชก้ ระดาษและดินสอหรอื ปากกาเป็นอุปกรณ์ชว่ ยตอบ ผู้ตอบตอ้ งเขียนตอบท้งั หมด 3) แบบทดสอบปากเปล่า (Oral Test) เป็นการทดสอบที่ให้ผู้ตอบพูด แทนการเขียนมักจะเป็นการพูดคุยกันระหว่างผู้ถามกับผู้ตอบ เช่น การสอบสัมภาษณ์ การสอบ วิทยานิพนธ์ของบางสถาบนั 2.2.3.2.4 แบง่ ตามเวลาท่ีกาหนดใหต้ อบ จะแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) แบบทดสอบท่ีใช้ความเร็ว (Speed Test) เป็นแบบทดสอบท่ี กาหนดเวลาใหจ้ ากัด ตอ้ งตอบภายในเวลานน้ั มักจะมจี านวนขอ้ คาถามมากๆ แตใ่ ห้เวลานอ้ ยๆ 2) แบบทดสอบให้เวลามาก (Power Test) เป็นแบบทดสอบท่ีไม่ กาหนดเวลา ให้เวลาตอบอย่างเตม็ ที่ ผู้ตอบจะใชเ้ วลาตอบเท่าใดกไ็ ด้ เสร็จแล้วเปน็ เลิกกัน 2.2.3.2.5 แบ่งตามลักษณะเกณฑท์ ่ีใชว้ ัด จะแบง่ เปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) แบบทดลองอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Test) เป็น แบบทดสอบที่สอบวัดตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้ หรือ ตามเกณฑ์ภายนอก ซ่ึงเป็นเน้ือหาของ วิชาการเป็นหลัก 2) แบบทดสอบอิงกลุ่ม (Norm-Referenced Test) เป็นแบบทดสอบ ท่เี ปรียบเทยี บผลระหว่างกลมุ่ ที่สอบดว้ ยกนั แบบวัดอิงกลุ่มหรืออิงเกณฑ์ การวัดความรู้ต้องกาหนดวัตถุประสงค์ของการวัดว่า ต้องการ แปลความหมายของผลการวัดเป็นแบบอิงเกณฑ์หรืออิงกลุ่ม ถ้าต้องการแปลเป็นแบบอิงกลุ่มลักษณะ ขอ้ สอบหรอื ข้อคาถามท่ีสร้างต้องเป็นเน้ือหาองค์ความรู้ในเรือ่ งนน้ั แบบทั่วๆ ไป ข้อคาถามที่ต้ังขั้นต้อง มีความยากง่ายพอเหมาะกับกลุ่มท่ีต้องการให้ตอบ เพราะว่าต้องการนาผลการวัดของแต่ละคน เปรียบเทยี บกันข้อคาถามแบบน้ีเมื่อเลือกรวมเป็นแบบวัด เรียกว่า แบบวัดอิงกลุ่ม และถ้าต้องการนา ผลการวัดไปเทียบกับมาตรฐานหรือวัตถุประสงค์ว่ามีความรู้อยู่ในระดับท่ียอมรับได้มากน้อยเพียงใด โดยการกาหนดจุดตดั ของคะแนนท่ีตอ้ งทาไดส้ าหรับใช้เป็นเกณฑ์ในการตัดสิน ข้อคาถามในลักษณะนี้ เมือเลือกรวมเปน็ แบบวัดเรียกวา่ แบบวัดอิงเกณฑ์
12 แบบองิ กล่มุ แบบอิงเกณฑ์ มีการจาแนกผ้เู รียนออกจากกันได้ มีการจาแนกผูเ้ รยี นออกจากเกณฑห์ รือมาตรฐานได้ เหมาะทจ่ี ะใช้ในการทดสอบหลงั เรียน เหมาะทีจ่ ะใชก้ บั การทดสอบระหว่างเรยี น ให้คาตอบว่าในกลมุ่ นี้ใครเก่งกวา่ กัน ให้คาตอบว่ากลมุ่ นีม้ ีคนกี่คนที่ผ่านเกณฑ์ เหมาะกับการประเมนิ สรปุ เหมาะกบั การประเมินความรอบรู้ การสรปุ ผลขน้ึ อยู่กับกลุ่มและลักษณะของ การสรุปผลขนึ้ อยกู่ ับเกณฑ์และความชดั เจนของ กล่มุ เกณฑ์ 2.2.4 การหาคุณภาพของแบบทดสอบ สรุปพอสังเขปดงั น้ี 2.4.1.1 ความเท่ียงตรง (Validity) เป็นคุณภาพของแบบทดสอบที่หมายถึง แบบทดสอบ ที่สามารถวัดได้ตรงตามลักษณะหรือจุดประสงค์ท่ีต้องการจะวัด ซึ่งเป็นคุณสมบัติท่ีสาคัญของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ความถนัด เจตคติ จริยธรรม บุคลิกภาพ และอื่นๆ แบบทดสอบทุกฉบับ จะต้องมีคุณภาพด้วยความเที่ยงตรงจึงจะเชื่อได้ว่าเป็นแบบทดสอบท่ีดี และผลที่ได้จากการวัดจะ ถกู ตอ้ งตรงตามทีต่ อ้ งการ ความเที่ยงตรงในการวัดจาแนกตามคณุ ลกั ษณะหรอื จดุ ประสงค์ท่ีตอ้ งการวัดแบ่งไดเ้ ปน็ (Jack R. Fraenkel and Norman E.Wallen, 2006: 151) 1) ความเที่ยงตรงตามเนอื้ หา (Content Validity) หมายถึง วดั ได้ตรงตามเน้อื หาท่ตี ้องการวดั 2) ความเทย่ี งตรงเชิงเกณฑ์ (Criterion – Related Validity)หมายถึง ผลการวัดได้สัมพันธ์กับ เกณฑ์ทตี่ อ้ งการ มี 2 ลักษณะ - ความเท่ียงตรงเชิงสภาพ ใช้การประเมิน เช่น ความสามารถทางทฤษฎีและปฏิบัติ ต้อง สอดคล้องกนั มลี ักษณะวัดเวลาเดยี วกนั (x และ y เวลาเดียวกัน) หรือ การท่ีผู้วิจัยประเมินใช้ข้อสอบ ประเมิน กบั การที่คนที่รจู้ ักประเมิน ได้ผลประเมนิ ตรงกนั แสดงวา่ ตรงตามสภาพ - ความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ์ ใช้การประเมิน เช่น ความสามารถแต่ มีลักษณะวัดเวลา ต่างกนั โดยวัดปจั จบุ นั และวดั ในอนาคต (x และ y เวลาต่างกัน) 3) ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) หมายถึง วัดได้ตรงตามลักษณะหรือ ตามทฤษฏี ครอบคลมุ ตามคุณลกั ษณะของโครงสรา้ งของเครอื่ งมือมาตรฐาน 2.4.1.2 ดัชนีความยากของข้อสอบหรือดัชนีค่าความง่ายของข้อสอบ เป็นดัชนีที่แสดงถึง ระดับความยากง่ายของข้อสอบซ่งึ สามารถหาได้ ทั้งขอ้ สอบแบบปรนยั และแบบอัตนัย 2.4.1.3 ดัชนีค่าอานาจจาแนก สาหรับอานาจจาแนกของข้อสอบอิงเกณฑ์น้ันจะเป็นค่า อานาจจาแนกระหว่างกลุ่มที่ยังไม่ได้รับการเรียนรู้หรือกลุ่มที่ยังไม่รู้ (Non master) กับกลุ่มท่ีได้รับ
13 การเรียนรู้ แลว้ หรือท่ีรู้แล้ว (Master) ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบอิงเกณฑ์ท่ีเช่นเดียวกับข้อสอบอิง กลมุ่ คอื มีค่าอานาจจาแนกอยรู่ ะหว่าง -1 ถงึ +1 2.4.1.4 ความเชอ่ื มนั่ (Reliability) ของแบบทดสอบ หมายถึง ความคงท่ีของคะแนนท่ีได้ จากการสอบนักเรยี นคนเดยี วกนั หลายครัง้ ในแบบทดสอบชุดเดมิ ซึ่งก็คือคุณสมบัติของแบบทดสอบที่ สามารถให้คะแนนแก่ผู้สอบได้อย่างคงที่แน่นอนหรือพูดง่าย ๆ คือวัดก่ีครั้งก็ได้คาตอบที่คงท่ี เหมือนเดิม ค่าความเชือ่ มั่น จะมคี ่าอยูร่ ะหว่าง -1 ถงึ +1 2.4.1.5 ความเป็นปรนัย (Objectivity) ของแบบทดสอบ หมายถึง ผลของการสอบชุด ข้อสอบน้ัน ๆ สะท้อนถึงความสามารถของผู้เรียน อย่างแท้จริง ไม่ได้มีอิทธิพลของผู้สอนเข้ามา เกีย่ วข้อง ความเป็นปรนยั ได้แก่ - ความเป็นปรนัยในการถาม หรือ ความชัดเจนในการถาม คือ อ่านแล้วเข้าใจ ตรงกัน ไม่ตอ้ งการ การตีความ เพมิ่ เติม - ความเป็นปรนัยในการให้คะแนน หรือ ความชัดเจนในการให้คะแนน หมายถึง ตรวจแล้วใหค้ ะแนนตรงกัน ไมว่ ่าผู้ตรวจจะเปน็ ใคร - ความเปน็ ปรนยั ในการแปลผลหรอื ชัดเจนในการแปลผล หมายถงึ แปลผลได้ตรง ตามสภาพทเี่ ป็นจรงิ ของสภาพผู้ทาการทดสอบ 2.4.1.6 ความสะดวกใช้ (Usability) หมายถึง ความสามารถในการนาเครื่องมือไปใช้ใน สถานการณท์ ี่ตอ้ งการได้ดี 2.2.5 หลกั การสร้างข้อสอบท่ีดี สรุปได้ดงั น้ี 2.2.5.1 ข้อสอบแบบอัตนัย ควรเป็นข้อสอบที่มีคาถามที่กะทัดรัดชัดเจนแต่อย่าให้ส้ัน จนเกินไปเพราะคาถามที่ส้ันเกินไปจะทาให้ผู้อ่านตีความไปได้หลายประเด็น จนยากที่จะจับจุดที่ถาม ได้ และเพื่อใหค้ รผู สู้ อนตรวจคาตอบใหค้ ะแนนไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ข้อสอบแบบอัตนัยอาจอธิบายแนวทาง ทตี่ อ้ งการคาตอบไว้จะทาให้ นักเรียนตอบได้ตรงแนวทางยิ่งขึ้น นอกจากน้ี ครูควรทาเฉลยและเกณฑ์ การให้คะแนนไว้ล่วงหน้า เกณฑ์การให้คะแนน หมายถึง แนวทางในการให้คะแนนท่ีสามารถแยกแยะ ระดับต่างๆ ของความสาเร็จในการเรียนหรือการปฏิบัติ มีความรู้อะไร และสามารถทาอะไรได้ เช่น ตวั อย่าง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ในการตรวจโจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ 5 คะแนน สาหรับวิธกี ารทาทอี่ ธิบายได้ชดั เจนในเนอ้ื หานน้ั ๆ และคาตอบท่ถี กู ตอ้ งสมบูรณ์ 4 คะแนน สาหรบั วธิ กี ารทาในเนอื้ หานั้นๆ และคาตอบทถี่ กู ตอ้ งสมบูรณ์ 3 คะแนน สาหรับวิธีการทาในเนือ้ หานนั้ ๆ และคาตอบท่เี กือบถกู ตอ้ งสมบรู ณ์
14 2 คะแนน สาหรับวิธีการทาในเนื้อหานั้นๆ ได้ถูกต้องเพียงครึ่งเดียวหรือแสดงวิธีทาถูกแต่ คาตอบผดิ หรอื ไม่ชดั เจนว่าหาคาตอบมาได้อยา่ งไร 1 คะแนน สาหรับการท าถูกไม่ถงึ ครึง่ หน่งึ และขาดเหตุผลในการคดิ 0 คะแนน สาหรับการแสดงวิธีทาผิดทง้ั ขอ้ และคาตอบผิด 2.2.5.2 ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ 2.2.5.2.1 คาถาม ควรยึดหลัก คาถามชัดเจนเข้าใจง่าย แต่ละข้อความถามเพียง เรื่องเดียว หลีกเลี่ยงคาถามประโยคปฏิเสธ หรือปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ ถ้าเป็นปฏิเสธให้เน้นข้อความ ปฏเิ สธ หลีกเลีย่ งการใช้คาถาม วลี หรือเหมอื นหนงั สือเรียน และไมไ่ ปแนะคาตอบในข้ออ่ืน 2.2.5.2.2 ตัวเลือก ควรยึดหลัก สอดคล้องกับคาถาม ตัวเลือกที่ผิดหรือตัวลวง จะตอ้ งผดิ อยา่ งมเี หตุผล ถ้าตวั เลอื กเป็นตวั เลขควรเรียงจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อย ไม่มีลักษณะ แนะคาตอบ และควรหลีกเล่ียงใช้ตัวเลือกว่า “ถูกทั้งข้อ ก และ ข” หรือ “ถูกทุกข้อ” หรือ”ไม่มีข้อ ถกู ” 2.3 การวัดและประเมินผลการเรียนรขู้ องผู้เรยี น 2.3.1 การวดั (Measurement) 2.3.1.1 ความหมายของการวัด และการวัดผล ซ่ึงมาจากคาภาษาอังกฤษตัวเดียวกันคือ (Measurement) มีความแตกต่างกันดงั นี้ 1) การวัด เป็นกระบวนการกาหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทนปริมาณหรือ คุณภาพของคณุ ลกั ษณะหรือคณุ สมบัติของส่ิงที่ต้องการวัด 2) การวัดผล เป็นกระบวนการกาหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทนปริมาณหรือ คุณภาพของคุณลักษณะหรือคุณสมบัติของส่ิงที่ต้องการวัด โดยส่ิงที่ต้องการวัดน้ันเป็นผลมาจากการ กระทาหรือกิจกรรมอย่างใดอยา่ งหน่งึ หรอื หลายอยา่ งร่วมกัน เช่น การวัดผลการเรียนรู้ สิ่งที่วัดคือ ผล ท่เี กิดจากการเรียนรูข้ องผ้เู รยี น 2.3.1.2 องค์ประกอบของการวดั องคป์ ระกอบของการวดั ประกอบดว้ ย สิ่งท่ีต้องการวดั เคร่ืองมือวัด และผลของการวัด ท่ีสาคัญ ทส่ี ุด คอื เครือ่ งมือวดั เครอ่ื งมือทม่ี คี ุณภาพจะให้ผลการวดั ทเี่ ทีย่ งตรงและแม่นยา ประเภทของสง่ิ ท่ตี อ้ งการวดั
15 2.3.1.3 สงิ่ ทตี่ อ้ งการวัดแบง่ ได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คอื 1) สิ่งที่เป็นรูปธรรม คือ คน สัตว์ หรือสิ่งของ ที่จับต้องได้ มีรูปทรง การวัดส่ิงที่ เป็นรปู ธรรมนเี้ ปน็ การวัดทางกายภาพ (physical) คุณลักษณะท่ีจะวัดสามารถกาหนดได้ชัดเจน เช่น น้าหนัก ความสงู ความยาว เครื่องมือวัดคุณลักษณะเหล่าน้ีให้ผลการวัดท่ีเท่ียงตรงและแม่นยาสูง วัด ไดค้ รบถ้วน สมบูรณ์ และเอียดถ่ีถ้วน ตัวอย่างเครื่องมือวัด เช่น เคร่ืองชั่ง ไม้บรรทัด สายวัด เป็นต้น การวัดลักษณะนี้เป็นการวัดทางตรง ตัวเลขที่ได้จากการวัดแทนปริมาณคุณลักษณะที่ต้องการวัด ทั้งหมด เช่น หนัก 10 กิโลกรัม สูง 172 เซนติเมตร ยาว 3.5 เมตร ตัวเลข 10 172 และ 3.5 แทนน้าหนัก ความสูง และความยาวท้ังหมด เช่น 10 แทนน้าหนักท้ังหมด ถ้าไม่มีคุณลักษณะ ดงั กลา่ ว เช่นหนัก 0 หนว่ ย กค็ ือ ไมม่ ีนาหนกั เลย ตวั เลข 0 นี้เปน็ ศูนย์แท้ (absolute zero) 2) สิ่งท่ีเป็นนามธรรม คือสงิ่ ท่ไี ม่มตี ัวตน จับต้องไม่ได้ เป็นการวัดพฤติกรรมและ สังคมศาสตร์ (behavioral and social science) คุณลักษณะท่ีจะวดั กาหนดไดไ้ มช่ ัดเจน เช่น การ วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (achievement) วัดเจตคติ (attitude) วัดความถนัด (aptitude) วัด บุคลิกภาพ (personality) เป็นต้น เครื่องมือวัดด้านนี้มีคุณภาพด้อยกว่าเคร่ืองมือวัดสิ่งที่เป็น รูปธรรม คือ ให้ผลการวัดท่ีเที่ยงตรงและแม่นยาน้อยกว่า ลักษณะการวัด เป็นการวัดทางอ้อม วัด ได้ไม่สมบูรณ์ ไม่ละเอียดถี่ถ้วน และมีความผิดพลาด ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่ได้จากการวัดเป็นค่า โดยประมาณ ไม่สามารถแทนปริมาณหรือคุณภาพของคุณลักษณะที่ต้องการวัดได้ทั้งหมด เช่น การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ของนักเรียนคนหน่ึง ได้ 15 คะแนน ตัวเลข 15 ไม่ได้ แทนปริมาณความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนคนน้ีท้ังหมด แม้แต่นักเรียนที่สอบได้ คะแนนเต็ม ไม่ได้หมายความว่านักเรียนผู้นั้นมีความรู้ความสามารถในเรื่องดังกล่าวสมบูรณ์เต็มตาม กรอบของหลกั สตู ร ในทางตรงกนั ข้ามนักเรียนท่ไี ด้ 0 คะแนน ก็ไม่ได้หมายความว่านักเรียนผู้น้ันไม่มี ความรคู้ วามสามารถในคุณลักษณะดงั กลา่ ว เพียงแต่ตอบคาถามผิดหรือเครื่องมือวัดไม่ตรงกับความรู้ ความสามารถทีน่ กั เรยี นคนน้ันมี เลข 0 นี้ เปน็ ศนู ย์เทียม 2.3.1.4 ลักษณะการวดั ทางการศึกษา การวดั ทางการศึกษาเป็นการวัดคุณลกั ษณะท่เี ปน็ นามธรรม มีลกั ษณะการวดั ดงั น้ี 1) เป็นการวัดทางอ้อม คือ ไม่สามารถวัดคุณลักษณะท่ีต้องการวัดได้โดยตรง ต้องนยิ ามคณุ ลกั ษณะดังกลา่ วไห้เปน็ พฤติกรรมที่วัดได้ก่อน จากนั้นจึงวัดตามพฤติกรรมท่ีนิยาม เช่น การวัดความรับผิดชอบของนักเรียน ต้องให้นิยามคุณลักษณะความรับผิดชอบเป็นพฤติกรรมท่ีวัดได้ โดยอาจจะแยกเปน็ พฤตกิ รรมย่อย เช่น ไม่มาโรงเรียนสาย ทางานทุกงานท่ีได้รับมอบหมาย นาวัสดุ อปุ กรณก์ ารเรยี นท่ีครสู ่งั มาครบทกุ คร้งั ส่งงานหรือการบา้ นตามเวลาท่กี าหนด เปน็ ต้น
16 2) วัดได้ไม่สมบูรณ์ การวัดทางการศึกษาไม่สามารถทาการวัดคุณลักษณะท่ี ตอ้ งการวัดไดค้ รบถ้วนสมบรู ณ์ วัดได้เพียงบางส่วน หรือวัดได้เฉพาะตัวแทนของคุณลักษณะท้ังหมด เช่นการวัดความสามารถการอ่านคาของนักเรียน ผู้วัดไม่สามารถนาคาทุกคามาทาการทดสอบ นกั เรยี น ทาได้เพยี งนาคาสว่ นหนง่ึ ทค่ี ดิ วา่ เป็นตัวแทนของคาท้งั หมดมาทาการวดั เปน็ ตน้ 3) มีความผิดพลาด สืบเน่ืองจากการท่ีไม่สามารถวัดได้โดยตรง และการนิยาม สงิ่ ที่ต้องการวัดก็ไมส่ ามารถนยิ ามให้เปน็ พฤตกิ รรมท่ีวัดได้ได้ทั้งหมด จึงวัดได้ไม่สมบูรณ์ ตัวเลขหรือ สัญลักษณ์ท่ีได้จากการวัดเป็นการประมาณคุณลักษณะท่ีต้องการวัด ซึ่งในความเป็นจริงคุณลักษณะ ดังกล่าวอาจจะมีมากหรือน้อยกว่า ผลการวัดจึงมีความผิดพลาดของการวัด หรือคลาดเคลื่อนจาก ความเป็นจรงิ การวดั ทีด่ ีจะตอ้ งให้เกดิ การผิดพลาดหรือคลาดเคลอื่ นน้อยทส่ี ุด 4) อยู่ในรูปความสัมพันธ์ การท่ีจะรู้ความหมายของตัวเลขที่วัดได้ ต้องนา ตัวเลขดังกล่าวไปเทียบกับเกณฑ์หรือเทียบกับคนอ่ืน เช่น นาคะแนนที่นักเรียนสอบได้เทียบกับ คะแนนเฉลีย่ ของกลุ่ม เทียบกับคะแนนของเพ่ือนที่สอบพร้อมกัน หรือเทียบกับคะแนนของนักเรียน เองกบั การสอบครง้ั ก่อนๆ ถา้ คะแนนสูงกว่าเพื่อน แสดงว่ามีความสามารถในเรื่องท่ีวัดมากกว่าเพื่อน คนน้ัน หรอื ถ้ามคี ะแนนสูงกวา่ คะแนนทตี่ นเองเคยสอบผ่านมา แสดงวา่ มีพฒั นาการข้นึ เป็นต้น 2.3.1.5 หลักการวดั ทางการศึกษา การวดั ทางการศกึ ษา มหี ลกั การเบอื้ งตน้ ดงั นี้ 1) นิยามส่ิงทต่ี อ้ งการวัดให้ชัดเจน ดังที่กล่าวไว้ในลักษณะการวัดว่า การวัดทาง การศึกษาเป็นการวดั ทางออ้ ม การทจ่ี ะวดั ให้มีคุณภาพต้องนิยามคุณลักษณะท่ีต้องการวัดให้ตรงและ ชดั เจน การนยิ ามน้ี มคี วามสาคญั มาก ถ้านยิ ามไม่ตรงหรือไม่ถูกต้อง เคร่ืองมือวัดท่ีสร้างตามนิยาม กไ็ มม่ คี ุณภาพ ผลการวัดกผ็ ดิ พลาด คือ วัดไดไ้ ม่ตรงกบั คุณลกั ษณะทีต่ อ้ งการวดั 2) ใช้เคร่ืองมือวัดที่มีคุณภาพ หัวใจสาคัญของการวัด คือ สามารถวัด คุณลักษณะได้ตรงตามกับที่ต้องการวัดและวัดได้แม่นยา โดยใช้เครื่องมือวัดท่ีมีคุณภาพ คุณภาพ ของเครื่องมือมีหลายประการ ที่สาคัญคือ มีความตรง (validity) คือวัดได้ตรงกับคุณลักษณะที่ ตอ้ งการวดั และมคี วามเทย่ี ง (reliability) คอื วดั ได้คงท่ี คือวัดได้กีค่ รง้ั กใ็ หผ้ ลการวัดทไ่ี มเ่ ปล่ียนแปลง 3) กาหนดเง่ือนไขของการวัดให้ชัดเจน คือกาหนดให้แน่นอนว่าจะทาการวัด อะไร วดั อย่างไร กาหนดตัวเลขและสัญลักษณ์อยา่ งไร 2.3.1.6 ขัน้ ตอนการวดั ทางการศึกษา 1) ระบจุ ุดประสงคแ์ ละขอบเขตของการวัด วา่ วดั อะไร วดั ใคร 2) นยิ ามคณุ ลกั ษณะท่ีตอ้ งการวัดให้เปน็ พฤติกรรมทวี่ ัดได้
17 3) กาหนดวิธกี ารวดั และเคร่อื งมือวัด 4) จัดหาหรือสร้างเครื่องมือวัด กรณีสร้างเครื่องมือใหม่ดาเนินการตามข้ันตอน ดังนี้ - สร้างข้อคาถาม เง่ือนไข สถานการณ์ หรือส่ิงเร้า ท่ีจะกระตุ้นให้ผู้ถูกวัด แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมาเพื่อทาการวัด โดยข้อคาถามเง่ือนไข สถานการณ์ หรือสิ่งเร้า ดังกล่าวต้องตรงและครอบคลุมคณุ ลกั ษณะทนี่ ิยามไว้ - พิจารณาข้อคาถาม เง่ือนไข สถานการณ์ หรือส่ิงเร้า โดยอาจให้ ผู้เช่ียวชาญทางด้านเนื้อหาและทางด้านวัดผลชว่ ยพจิ ารณา - ทดลองใชเ้ ครอื่ งมือ กบั กล่มุ ทเ่ี ทียบเคยี งกบั กลมุ่ ท่ตี อ้ งการวัด - หาคุณภาพของเคร่อื งมอื มคี ณุ ภาพรายขอ้ และคณุ ภาพ เครื่องมอื ทง้ั ฉบบั - จดั ทาคู่มือวดั และการแปลความหมาย - จดั ทาเครือ่ งมอื ฉบับสมบรู ณ์ 5) ดาเนินการวดั ตามวิธกี ารทีก่ าหนด 6) ตรวจสอบและวิเคราะหผ์ ลการวดั 7) แปลความหมายผลการวดั และนาผลการวดั ไปใช้ 2.3.2 การประเมิน (Evaluation or Assessment or Appraisal) 2.3.2.1 ความหมาย การประเมนิ และการประเมนิ ผล มคี วามหมาย ดังน้ี การประเมนิ เปน็ กระบวนการต่อเนื่องจากการวัด คือ นาตัวเลขหรือสัญลักษณ์ที่ได้จากการวัด มาตคี ่าอย่างมเี หตผุ ล โดยเทยี บกบั เกณฑห์ รือมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ เช่น โรงเรียนกาหนดคะแนนท่ีน่า พอใจของวิชาคณิตศาสตร์ไว้ที่ร้อยละ 60 นักเรียนท่ีสอบได้คะแนนตั้งแต่ 60 % ขึ้นไป ถือว่าผ่าน เกณฑ์ที่น่าพอใจ หรืออาจจะกาหนดเกณฑ์ไว้หลายระดับ เช่น ได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 40 อยู่ใน เกณฑค์ วรปรับปรุง ร้อยละ 40-59 อยู่ในเกณฑ์พอใช้ ร้อยละ 60-79 อยู่ในเกณฑ์ดี และร้อยละ 80 ขึ้นไป อยใู่ นเกณฑ์ดีมาก เปน็ ต้น ลกั ษณะเชน่ น้ีเรียกวา่ เปน็ การประเมิน การประเมินผล มีความหมายเช่นเดียวกับการประเมิน แต่เป็นกระบวนการต่อเน่ืองจากการ วัดผล 2.3.2.2 ลักษณะการประเมนิ ทางการศกึ ษา การประเมินทางการศึกษามลี กั ษณะ ดังนี้
18 1) เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนหรือกระบวนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงควรทาการประเมินอย่างต่อเนื่อง เพื่อนาผลการประเมินไปปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้ มปี ระสทิ ธิภาพยง่ิ ข้นึ 2) เป็นการประเมนิ คุณลักษณะหรอื พฒั นาการการเรียนรู้ของผู้เรียนว่าบรรลุตาม จดุ ประสงคห์ รือไม่ 3) เป็นการประเมินในภาพรวมท้ังหมดของผู้เรียน โดยการรวบรวมข้อมูลและ ประมวลจากตัวเลขจากการวดั หลายวิธีและหลายแหลง่ 4) เป็นกระบวนการเก่ียวข้องกับบุคลหลายกลุ่ม ทั้งครู นักเรียน ผู้ปกครอง นักเรยี น ผูบ้ ริหารโรงเรยี น และอาจรวมถึงคณะกรรมการตา่ งๆ ของโรงเรียน 2.3.2.3 หลกั การประเมนิ ทางการศึกษา หลักการประเมินทางการศกึ ษาโดยทั่วไปมีดังนี้ 1) ขอบเขตการประเมินตอ้ งตรงและครอบคลุมหลกั สตู ร 2) ใช้ขอ้ มลู จากผลการวัดทีค่ รอบคลมุ จากการวดั หลายแหลง่ หลายวธิ ี 3) เกณฑ์ท่ีใช้ตัดสินผลการประเมินมีความชัดเจน เป็นไปได้ มีความยุติธรรม ตรงตามวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร 2.3.2.4 ข้นั ตอนในการประเมนิ ทางการศกึ ษา การประเมินทางการศึกษามีข้ันตอนที่สาคญั ดังน้ี 1) กาหนดจดุ ประสงคก์ ารประเมนิ โดยให้สอดคล้องและครอบคลุมจุดประสงค์ ของหลกั สตู ร 2) กาหนดเกณฑเ์ พอื่ ตีคา่ ข้อมลู ที่ไดจ้ าการวัด 3) รวบรวมขอ้ มูลจากการวดั หลายๆ แหล่ง 4) ประมวลและผสมผสานขอ้ มูลต่างๆ ของทกุ รายการทวี่ ดั ได้ 5) วนิ ิจฉัยชีบ้ ่งและตดั สินโดยเทียบกบั เกณฑท์ ี่ตงั้ ไว้ 2.3.2.5 ประเภทของการประเมินทางการศึกษา การประเมินแบง่ ไดห้ ลายประเภท ขึ้นอยกู่ ับเกณฑ์ท่ีใชใ้ นการแบ่ง ดังนี้ 1) แบง่ ตามจุดประสงคข์ องการประเมิน การแบ่งตามจดุ ประสงค์ของการประเมิน แบ่งไดด้ งั นี้
19 ก) การประเมินก่อนเรียน หรือก่อนการจัดการเรียนรู้ หรือการประเมินพ้ืนฐาน (Basic Evaluation) เป็นการประเมินก่อนเรม่ิ ต้นการเรียนการสอนของแต่ละบทเรียนหรือแต่ละหน่วย แบ่ง ได้ 2 ประเภท คือ - การประเมินเพ่ือจัดตาแหน่ง (Placement Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อ พิจารณาดูว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในสาระท่ีจะเรียนอยู่ในระดับใดของกลุ่ม ประโยชน์ของ การประเมนิ ประเภทน้ี คือ ครใู ชผ้ ลการประเมินเพ่ือกาหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ กลุ่มผู้เรียน ผู้เรียนที่มีความรู้ความสามารถในสาระที่จะเรียนน้อยคืออยู่ในตาแหน่งท้ายๆ ควรได้รับ การเพ่ิมพนู เน้อื หาสาระนน้ั มากกวา่ กลุ่มท่อี ยใู่ นลาดบั ต้นๆ คือ กลุ่มที่มีความรู้ความสามารถในสาระท่ี จะเรียนมากกว่า หรือกลุ่มท่ีมีความรู้พ้ืนฐานในสาระท่ีจะเรียนดีกว่า และแต่ละกลุ่มควรใช้รูปแบบ การเรยี นร้ทู ีแ่ ตกต่างกนั - การประเมินเพื่อวินิจฉัย (Diagnostic Evaluation) เป็นการประเมินก่อนการเรียน การสอนอกี เช่นกัน แตเ่ ป็นการประเมนิ เพอ่ื พิจารณาแยกแยะวา่ ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความสามารถในสาระ ท่ีจะเรียนรู้มากน้อยเพียงใด มีพ้ืนฐานเพียงพอที่จะเรียนในเร่ืองท่ีจะสอนหรือไม่ จุดใดสมบูรณ์แล้ว จุดใดยังบกพร่องอยู่ จาเป็นต้องได้รับการสอนเสริมให้มีพ้ืนฐานที่เพียงพอเสียก่อนจึงจะเร่ิมต้นสอน เน้อื หาในหน่วยการเรียนตอ่ ไป และจากพน้ื ฐานท่ผี ูเ้ รียนมีอยู่ควรใช้รูปแบบการเรียนการสอนอย่างไร ทั้งการประเมินเพ่ือจัดตาแหน่งและการประเมินเพ่ือวินิจฉัยมีจุดประสงค์เหมือนกันคือเพื่อ ทราบพื้นฐานความรู้ความสามารถของผู้เรียนก่อนท่ีจะจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนในสาระ การเรียนรู้นั้นๆ แต่การประเมิน 2 ประเภทดังกล่าวมีความแตกต่างกัน คือ การประเมินเพ่ือจัด ตาแหน่ง เป็นการประเมินเพื่อพิจารณาในภาพรวม ใช้เคร่ืองมือไม่ละเอียดหรือจานวนข้อคาถามไม่ มาก แต่การประเมนิ เพอ่ื วนิ ิจฉยั เป็นการประเมินเพือ่ พฒั นาอย่างละเอียด แยกแยะเน้ือหาเป็นตอนๆ เพื่อพิจารณาว่าผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานของเน้ือหาแต่ละตอนมากน้อยเพียงใด จุดใดบกพร่องบ้าง ดังน้ันจานวนข้อคาถามมีมากกวา่ ข) การประเมินเพ่ือพัฒนา หรือการประเมินย่อย (Formative Evaluation) เป็นการ ประเมินเพื่อใช้ผลการประเมินเพื่อปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ การประเมินประเภทนี้ใช้ ระหว่างการจัดการเรียนการสอน เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามจุดประสงค์ที่ กาหนดไว้ในระหว่างการจดั การเรียนการสอนหรือไม่ หากผู้เรียนไมผ่ ่านจดุ ประสงค์ที่ต้ังไว้ ผู้สอนก็จะ หาวิธีการท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ที่ต้ังไว้ ผลการประเมินยังเป็นการตรวจสอบ ครูผู้สอนเองว่าเป็นอย่างไร แผนการเรียนรู้รายครั้งที่เตรียมมาดีหรือไม่ ควรปรับปรุงอย่างไร กระบวนการจดั การเรยี นรูเ้ ปน็ อย่างไร มีจดุ ใดบกพร่องท่ตี ้องปรับปรงุ แก้ไขต่อไป
20 การประเมินประเภทน้ี นอกจากจะใช้ผลการประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอนแล้ว ผล การประเมินยังใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษาด้วย กล่าวคือ หากพบว่าเน้ือหาสาระใดที่ ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธไิ์ ม่เป็นไปตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง โดยท่ีผู้สอนได้พยายามปรับปรุงการจัดการ เรียนการสอนอย่างเต็มที่กับผู้เรียนหลายกลุ่มแล้วยังได้ผลเป็นอย่างเดิม แสดงว่าผลการเรียนรู้ท่ี คาดหวังนั้นสูงเกินไปหรือไม่เหมาะกับผู้เรียนในช้ันเรียนระดับน้ี หรือเน้ือหาอาจจะยากหรือซับซ้อน เกินไปทีจ่ ะบรรจใุ นหลกั สตู รระดับน้ี ควรบรรจใุ นชั้นเรยี นที่สงู ขึน้ จะเหน็ วา่ ผลจากการประเมินจะเป็น ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาด้วย ค) การประเมินเพื่อตัดสินหรือการประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เป็นการ ประเมินเพื่อตัดสินผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว อาจเป็นการ ประเมินหลังจบหน่วยการเรียนรู้หน่วยใดหน่วยหน่ึง หรือหลายหน่วย รวมท้ังการประเมินปลาย ภาคเรียนหรอื ปลายปี ผลจากการประเมินประเภทนี้ใช้ในการตัดสินผลการจัดการเรียนการสอน หรือ ตัดสนิ ใจวา่ ผู้เรียนคนใดควรจะไดร้ ับระดับคะแนนใด 2) แบง่ ตามการอา้ งองิ การแบ่งประเภทของการประเมนิ ตามการอา้ งองิ หรือตามระบบของการวดั แบ่งออกเป็น ก) การประเมินแบบองิ ตน (Self-referenced Evaluation) เปน็ การประเมินเพื่อนาผลจาก การเรียนรู้มาเปรียบเทียบกับความสามารถของตนเอง เป็นการประเมินเพ่ือปรับปรุงตนเอง (Self Assessment) เช่น ประเมินโดยการเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนกับทดสอบหลังเรียนของ ตนเอง การประเมินแบบน้ี ควรจะใช้แบบทดสอบคู่ขนานหรือแบบทดสอบเทียบเคียง (Equivalence Test) เพอ่ื เปรยี บเทียบกนั ได้ ข) การประเมินแบบอิงกลุ่ม (Norm-referenced Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อ พิจารณาว่าผู้ได้รับการประเมินแต่ละคนมีความสามารถมากน้อยเพียงใด เม่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ ถูกวัดด้วยแบบทดสอบฉบับเดียวกัน การประเมินประเภทนี้ขึ้นอยู่กับความรู้ ความสามารถของกลุ่ม เปน็ สาคัญ นยิ มใชใ้ นการจดั ตาแหนง่ ผูถ้ ูกประเมนิ หรือใชเ้ พือ่ คัดเลอื กผเู้ ขา้ ศึกษาตอ่ ค) การประเมินแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-referenced Evaluation) เป็นการนาผลการ สอบท่ีได้ไปเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ความสาคัญอยู่ที่เกณฑ์ โดยไม่จาเป็นต้องคานึงถึง ความสามารถของกลุ่ม ซ่ึงเกณฑ์ท่ีใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ได้แก่ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังและ มาตรฐานการเรยี นรู้ 3) แบง่ ตามผู้ประเมิน การแบ่งประเภทของการประเมนิ ตามกลุ่มผปู้ ระเมิน (Evaluator) แบ่งออกเป็น
21 ก) การประเมินตนเอง (Self Assessment) หรือการประเมินภายใน (Internal Evaluation) เป็นการประเมินลักษณะเดียวกับการประเมินแบบอิงตน คือ เพื่อนาผลการประเมินมา พฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ ตนเอง การประเมนิ ประเภทน้สี ามารถประเมินได้ทุกกลุ่ม ผู้เรียนประเมินตนเอง เพอ่ื ปรับปรุงการเรยี นรูข้ องตนเอง ครูประเมินเพอ่ื ปรบั ปรงุ การสอนของตนเอง นอกจากประเมินเพ่ือ พัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนแล้ว สามารถประเมินเพื่อพัฒนาปรับปรุงได้ทุกเรื่อง ผู้บริหาร สถานศึกษาประเมินเพ่ือปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยอาจจะประเมินด้วย ตนเอง หรือมีคณะประเมนิ ของสถานศึกษา เรยี กว่า การประเมินภายใน (Internal Evaluation) หรือ การศึกษาตนเอง (Self Study) โดยอาจจะประเมินโดยรวม หรือแบ่งประเมินเป็นส่วนๆ เป็นด้านๆ ลักษณะการประเมินอาจจะมีคณะเดียวประเมินทุกส่วน หรือจะให้แต่ละส่วนประเมินตนเองหรือ ภายในส่วนของตนเอง เช่น แต่ละระดับช้ันเรียน แต่ละหมวดวิชาหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ละ ฝ่าย อาทิ ฝ่ายปกครอง ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายอาคารสถานที่ เป็นต้น เพ่ือให้แต่ละส่วนมีการพัฒนา ปรับปรุงการดาเนินงานของตนเอง และอาจจะรวบรวมผลการประเมินแต่ละส่วนเพื่อจัดทาเป็น รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Study Report : SSR หรือ Self Assessment Report : SAR) ข) การประเมินโดยผู้อื่นหรือการประเมินภายนอก (External Evaluation) สืบเนื่องจาก การประเมินตนเองหรือการประเมินภายในซึ่งมีความสาคัญมากในการพัฒนาปรับปรุง แต่การ ประเมินภายในมีจุดอ่อนคือความน่าเช่ือถือ โดยบุคคลภายนอกมักคิดว่าการประเมินภายในน้ัน มี ความลาเอียง ผู้ประเมนิ ตนเองมักจะเขา้ ข้างตนเอง ดังนั้นจึงมีการประเมินโดยผู้อ่ืนหรือประเมินโดย ผู้ประเมินภายนอก เพ่ือยืนยันการประเมินภายใน และอาจจะมีจุดอ่อนหรือจุดท่ีควรได้รับการ พัฒนาย่ิงขึ้นในทรรศนะของผู้ประเมินในฐานะท่ีมีประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน อย่างไรก็ดี การ ประเมินภายนอกก็มีจุดบกพร่องในเรื่องการรู้รายละเอียดและถูกต้องของสิงที่จะประเมิน และ จุดบกพร่องอีกประการหนึ่งคือเจตคติของผู้ถูกประเมิน ถ้ารู้สึกว่าถูกจับผิดก็จะต่อต้าน ไม่ให้ความ ร่วมมือ ไม่ยอมรับผลการประเมิน ทาให้การประเมินดาเนินไปด้วยความยากลาบาก ดังน้ันการ ประเมนิ ภายนอกควรมาจากความต้องการของผ้ถู กู ประเมนิ เช่น ครูผู้สอนให้ผู้เรียน ผู้ปกครอง หรือ เพ่ือนครูประเมินการสอนของตนเอง สถานศึกษาให้ผู้ปกครองหรือนักประเมินมืออาชีพ (ภายนอก) ประเมนิ คณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2.3.3 ความสาคญั ของการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นองค์ประกอบสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ทาให้ได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีจาเป็นในการพิจารณาว่าผู้เรียนเกิดคุณภาพการเรียนรู้ตามผล การเรยี นรู้ทค่ี าดหวังและมาตรฐานการเรียนรู้
22 จากประเภทของการประเมินโดยเฉพาะการแบ่งประเภทโดยใช้จุดประสงค์ของการประเมิน เป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภท จะเห็นว่า การวัดและประเมินผลการเรียนนอกจากจะมีประโยชน์ โดยตรงต่อผเู้ รียนแลว้ ยังสะทอ้ นถึงประสทิ ธิภาพการการสอนของครู และเป็นข้อมูลสาคัญท่ีสะท้อน คุณภาพการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษาด้วย ดังนั้นครูและสถานศึกษาต้องมีข้อมูล ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ทั้งจากการประเมินในระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา และระดับอ่ืนท่ี สงู ข้ึน ประโยชนข์ องการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นร้จู าแนกเป็นดา้ นๆ ดงั น้ี 2.3.3.1 ด้านการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนมีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการ เรียนการสอนดังน้ี 1) เพื่อจัดตาแหน่ง (Placement) ผลจากการวัดบอกได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถอยู่ในระดับใดของกลุ่มหรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์แล้วอยู่ในระดับใด การวัดและ ประเมนิ เพอื่ จดั ตาแหน่งนี้ มกั ใช้ในวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ ก) เพ่ือคัดเลือก (Selection) เป็นการใช้ผลการวัดเพ่ือคัดเลือกเพ่ือเข้าเรียน เข้าร่วมกิจกรรม-โครงการ หรือเป็นตัวแทน(เช่นของช้ันเรียนหรือสถานศึกษา) เพื่อการทากิจกรรม หรือการให้ทนุ ผล การวดั และประเมนิ ผลลกั ษณะน้คี านึงถงึ การจัดอนั ดบั ท่เี ป็นสาคัญ ข) เพื่อแยกประเภท (Classification) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อ แบ่งกลุ่มผู้เรียน เช่น แบ่งเป็นกลุ่มอ่อน ปานกลาง และเก่ง แบ่งกลุ่มผ่าน-ไม่ผ่านเกณฑ์ หรือตัดสิน ได-้ ตก เป็นต้น เป็นการวดั และประเมินทีย่ ึดเกณฑ์ทีใ่ ช้ในการแบง่ กล่มุ เป็นสาคญั 2) เพื่อวินิจฉัย (Diagnostic) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อค้นหา จุดเดน่ -จดุ ด้อยของผ้เู รยี นว่ามีปญั หาในเรื่องใด จุดใด มากน้อยแค่ไหน เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจการ วางแผนการจดั การเรียนรู้และการปรับปรุงการเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน เคร่ืองมือท่ีใช้วัด เพ่ือการวินิจฉับ เรียกว่า แบบทดสอบวินิจฉัย (Diagnostic Test) หรือแบบทดสอบวินิจฉัยการเรียน ประโยชนข์ องการวัดและประเมินประเภทนีน้ าไปใช้ในวตั ถปุ ระสงค์ 2 ประการดังนี้ ก) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลการวัดผู้เรียนด้วยแบบทดสอบ วินิจฉัยการเรียนจะทาให้ทราบว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องจุดใด มากน้อยเพียงใด ซ่ึงครูผู้สอนสามารถ แก้ไขปรับปรุงโดยการสอนซ่อมเสริม (Remedial Teaching) ได้ตรงจุด เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการเรยี นรูท้ ่คี าดหวังไว้ ข) เพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ผลการวัดด้วยแบบทดสอบวินิจฉัยการ เรียน นอกจากจะช่วยให้เห็นว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องเร่ืองใดแล้ว ยังช่วยให้เห็นจุดบกพร่องของ
23 กระบวนการจัดการเรียนรู้อีกด้วย เช่น ผู้เรียนส่วนใหญ่มีจุดบกพร่องจุดเดียวกัน ครูผู้สอนต้อง ทบทวนว่าอาจจะเปน็ เพราะวิธกี ารจัดการเรยี นร้ไู มเ่ หมาะสมต้องปรับปรงุ แก้ไขใหเ้ หมาะสม 3) เพื่อตรวจสอบและปรับปรุง การประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้เทียบกับจุดประสงค์หรือผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง ผลจากการประเมนิ ใชพ้ ัฒนาการจัดการเรยี นรใู้ หม้ ปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยอาจจะปรับปรุง หรือปรับเปลี่ยนวิธีการสอน (Teaching Method) ปรับเปลี่ยนสื่อการสอน (Teaching Media) ใช้ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ (Teaching Innovation) เพื่อนาไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธภิ าพ 4) เพ่ือการเปรียบเทียบ (Assessment) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมิน เปรยี บเทยี บว่าผู้เรยี นมพี ฒั นาการจากเดิมเพยี งใด และอยใู่ นระดับท่พี งึ พอใจหรอื ไม่ 5) เพื่อการตัดสิน การประเมินเพื่อการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นการ ประเมินรวม (Summative Evaluation) คือใช้ข้อมูลที่ได้จากการวัดเทียบกับเกณฑ์เพื่อตัดสินผล การเรียนว่าผา่ น-ไมผ่ ่าน หรือให้ระดบั คะแนน 2.3.3.2 ดา้ นการแนะแนว ผลจากการวัดและประเมินผู้เรียน ช่วยให้ทราบว่าผู้เรียนมีปัญหาและข้อบกพร่องในเรื่องใด มากน้อยเพียงใด ซ่ึงสามารถแนะนาและช่วยเหลือผู้เรียนให้แก้ปัญหา มีการปรับตัวได้ถูกต้องตรง ประเดน็ นอกจากนี้ผลการวดั และประเมินยังบ่งบอกความรู้ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของผู้เรียน ซ่ึงสามารถนาไปใช้แนะแนวการศกึ ษาตอ่ และแนะแนวการเลือกอาชพี ให้แก่ผเู้ รยี นได้ 2.3.3.3 ด้านการบรหิ าร ข้อมูลจากการวัดและประเมินผู้เรียน ช่วยให้ผู้บริหารเห็นข้อบกพร่องต่างๆ ของการจัดการ เรียนรู้ เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู และบ่งบอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษามักใช้ข้อมูลได้จากการวัดและประเมินใช้ในการตัดสินใจหลายอย่าง เช่น การพัฒนาบุคลากร การจัดครูเข้าสอน การจัดโครงการ การเปล่ียนแปลงโปรแกรมการเรียน นอกจากน้ีการวัดและประเมินผลยังให้ข้อมูลที่สาคัญในการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SSR) เพอื่ รายงานผลการจดั การศกึ ษาส่ผู ้ปู กครอง สาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัด และนาไปสู่การรองรับ การประเมินภายนอก จะเห็นว่าการวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นหัวใจสาคัญของระบบการ ประกนั คุณภาพท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา 2.3.3.4 ด้านการวิจยั การวัดและประเมินผลมีประโยชนต์ ่อการวจิ ัยหลายประการดังนี้
24 1) ข้อมูลจาการวัดและประเมินผลนาไปสู่ปัญหาการวิจัย เช่น ผลจากการวัด และประเมินพบว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องหรือมีจุดท่ีควรพัฒนาการแก้ไขจุดบกพร่องหรือการพัฒนา ดังกล่าวโดยการปรับเปล่ียนเทคนิควิธีสอนหรือทดลองใช้นวัตกรรมโดยใช้กระบวนการวิจัย การวิจัย ดังกลา่ วเรยี กว่า การวิจยั ในชัน้ เรยี น (Classroom Research) นอกจากนผ้ี ลจากการวดั และประเมิน ยังนาไปสู่การวิจัยในด้านอ่ืน ระดับอื่น เช่น การวิจัยของสถานศึกษาเก่ียวกับการทดลองใช้รูปแบบ การพฒั นาคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียน เป็นต้น 2) การวัดและประเมินเป็นเคร่ืองมือของการวิจัย การวิจัยใช้การวัดในการ รวบรวมข้อมูลเพ่ือศึกษาผลการวิจัย ขั้นตอนนี้เร่ิมจากการหาหรือสร้างเครื่องมือวัด การทดลองใช้ เคร่ืองมือ การหาคุณภาพเครื่องมือ จนถึงการใช้เครื่องมือท่ีมีคุณภาพแล้วรวบรวมข้อมูลการวัดตัว แปรท่ีศึกษา หรืออาจต้องตีค่าข้อมูล จะเห็นว่าการวัดและประเมินผลมีบทบาทสาคัญมากในการ วิจัย เพราะการวัดไม่ดี ใชเ้ ครอื่ งมือไม่มคี ุณภาพ ผลของการวจิ ัยกข็ าดความน่าเชอื่ ถอื 2.3.4 การวดั และประเมินก่อนเรียน ระหวา่ งเรยี น และหลงั เรียน 1) กอ่ นเรียน การวัดและประเมนิ กอ่ นเรียนมีจดุ ประสงคเ์ พื่อมทราบสภาพของผู้เรียน ณ เวลาก่อนท่ีจะเรียน เชน่ ความรู้พ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรยี นร้ตู ่างๆ ก่อนเรียนอาจจะหมายถึง ก) ก่อนเข้าเรียน ซึ่งอาจจะตั้งแต่ก่อนเรียนระดับปฐมวัย หรือก่อนจะเร่ิมเรียน หลักสูตรสถานศึกษานั้น เช่น สถานศึกษาที่เปิดสอนในช่วงช้ันที่ 1 และ 2 ก่อนเรียนในท่ีนี้อาจจะ หมายถึงกอ่ นเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เปน็ ต้น ข) ก่อนเรียนช่วงชั้น หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ความสาคัญกับช่วงชั้น ให้มี การประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นเมื่อจบแตล่ ะชว่ งชั้น ก่อนเรยี นในท่นี ี้จึงหมายถึงก่อนจะเริ่มเรียน ชว่ งชน้ั ใดชว่ งชนั้ หน่ึง เชน่ ก่อนเรียนช่วงชนั้ ที่ 2 คือ กอ่ นเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 เป็นต้น ค) ก่อนเรียนแต่ละช้ัน ถึงแม้จะมีการกาหนดเป็นช่วงชั้น แต่ชั้นเรียนหรือการเรียน แต่ละปีก็ยังมีความสาคัญ โดยเฉพาะในระดับประถมศึกษา การเรียนแต่ละช้ัน/ปี อาจจะหมายถึง การเรียนกับครูคนใดคนหนึ่ง (กรณีที่ครูคนเดียวสอนนักเรียนทั้งชั้นทุกวิชาหรือเกือบทุกวิชา โดยทั่วไปจะเป็นครูประจาชั้น) หรือเรียนครูกลุ่มหนึ่ง (สอนแยกรายวิชา) การวัดและประเมินก่อน เรียนแต่ละชั้นจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน ตลอดท้ังปี ง) ก่อนเรียนแต่ละรายวิชา มีลักษณะเช่นเดียวกับก่อนเรียนแต่ละชั้น การวัดและ ประเมินก่อนเรียนแต่ละช้ันอาจจะวัดและประเมินในภาพรวมหลายๆ วิชา แต่การวัดและประเมินนี้
25 แยกวัดและประเมินแต่ละรายวิชา โดยท่ัวไปจะสอนโดยครูแต่ละคน สาหรับระดับมัธยมศึกษา รายวิชาส่วนใหญ่จดั การเรียนรูเ้ ปน็ รายภาคเรียน จ) ก่อนเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้เป็นการจัดหมวดหมู่เน้ือหาใน สาระการเรียนร้เู ดียวกัน โดยจัดเนื้อหาเร่ืองเดียวกันหรือสัมพันธ์กันไว้ในหน่วยเดียวกัน การวัดและ ประเมินก่อนเรยี นแต่ละหนว่ ย เพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อมลู ความรู้พ้ืนฐานของผู้เรียนในเรื่องหรือหน่วยนั้น ซ่ึงท้ัง ผ้เู รยี นและครูผู้สอนสามารถนาไปใช้ในการวางแผนการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหน่วยน้ัน ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ฉ) ก่อนเรียนแต่ละแผนจัดการเรียนรู้ คือ การวัดและประเมินก่อนเรียนแต่ละคร้ัง ในหน่ึงหน่วยการเรียนรู้มักจะมีสาระท่ีจะเรียนรู้แยกย่อยสาหรับการสอนมากกว่า 1 คร้ัง แต่ละคร้ัง จะมแี ผนการจดั การเรียนรู้ 2) ระหว่างเรยี น จุดประสงค์ของการวัดและประเมินระหว่างเรียน เพ่ือตรวจสอบความก้าวหน้าหรือพัฒนาการ ของผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ จากการเรียนรู้และการ ร่วมกิจกรรมของผู้เรียน โดยเทียบกับผลการวัดและประเมินก่อนเรียน การวัดและประเมินระหว่าง เรียนจะทาใหไ้ ด้ข้อมูลท่บี ง่ บอกถึงพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะเดียวกันยังสะท้อนให้เห็น ถึงคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูด้วย ข้อมูลจากการวัดและประเมินระหว่างเรียนจะเป็น ประโยชน์แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ท้ังผู้เรียน ครูผู้สอน สถานศึกษา และผู้ปกครอง สามารถนาข้อมูล ดังกลา่ วไปพฒั นาผู้เรียนให้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่แตกย่อยมาจากมาตรฐานการเรียนรู้ และ เปน็ ข้อมูลท่ีใชใ้ นการปรับปรุงกิจกรรมการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั ผ้เู รียน 3) หลังเรียน จุดประสงค์ของการวดั และประเมินหลังเรยี น เพื่อตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จากการเรียนรู้และการร่วมกิจกรรมของผู้เรียน โดยเทียบกับผลการวัดและประเมินก่อนเรียนและระหว่างเรียน การวัดและประเมินหลังเรียนจะทา ใหไ้ ดข้ ้อมลู ทบ่ี ่งบอกถงึ พัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะเดียวกันยังสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพ การจดั การเรียนการสอนของครดู ้วย ข้อมลู จากการวัดและประเมินหลังเรียนมีจุดประสงค์หลักคือใช้ ในการตัดสนิ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผู้เรียน นอกจากนี้ การวัดและประเมินผลหลังเรียนอาจจะ เป็นข้อมูลก่อนการเรียนในระดับต่อไป จึงเป็นประโยชน์ทั้งผู้เรียน และครูผู้สอน สามารถนาข้อมูล ดังกล่าวไปพัฒนาและปรับปรุงการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือกิจกรรมการ เรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียนและสถานการณ์
26 2.4 ส่อื การสอน ตวงแสง (2542:19-31) สื่อ (Media) หมายถึง ตัวกลางหรือพาหะที่จะนาข้อมูลข่าวสารหรือความรู้จากผู้ส่งสารไปยัง ผู้รับสาร ดังนั้น คาว่าส่ือการสอน (Instructional Media) จึงหมายถึง วัสดุอุปกรณ์ วิธีการต่าง ๆ ที่ ใช้เป็นสื่อกลางระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ในการถ่ายทอดความรู้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ดังน้ัน ส่ือการสอนจงึ เปน็ องคป์ ระกอบท่ีสาคัญในการเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอนได้ถูก นามาใช้ตามความก้าวหน้าแห่งวิทยาการด้านการสอนหรือเทคโนโลยีทางการสอน (Instructional Technology) ซึ่งแตเ่ ตมิ สอื่ การเรียนการสอนถกู เรยี กวา่ โสตทศั นูปกรณ์ (Audiovisual Aids) 2.4.1 ประเภทของสื่อการเรยี นการสอน ในการแบ่งประเภทของสื่อการเรียนการสอนน้ันมีการแบ่งได้หลายแบบ ซึ่งสามารถจาแนกได้ เปน็ 3 ทัศนะ ได้แก่ 2.4.1.1 การแบ่งประเภทของสื่อการเรยี นการสอนตามระดับประสบการณ์ของผ้เู รียน การเรียนรู้ของมนุษย์ย่อมเกิดจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนได้รับรู้จากประสบการณ์สัมผัสต่าง ๆ โดยผ่านสื่อกลาง ระดับของประสบการณ์ท่ีได้รับย่อมมีปริมาณมาก-น้อยแตกต่างกัน โดยข้ึนอยู่กับ ลกั ษณะของประสบการณท์ ไ่ี ด้รบั ว่ามีความเปน็ รปู ธรรมหรอื นามธรรมมากนอ้ ยเพยี งไร 2.4.1.2 การแบง่ ประเภทของสอ่ื การเรียนการสอนตามรูปรา่ งลกั ษณะของส่ือ ในการแบ่งประเภทของสื่อตามทัศนะนี้ ได้มีนักเทคโนโลยีการศึกษาหลายท่านจัดแบ่งประเภท ไวแ้ ตกตา่ งกนั ยงั (Wilbure Young) ไดแ้ บ่งประเภทของสอื่ การสอนไว้ดังน้ี 1) ทศั นวัสดุ ไดแ้ ก่ กระดานของชอล์ก แผนภมู ิ รปู ภาพ สไลด์ ฟลิ ์มสตรปิ ฯลฯ 2) โสตวสั ดุ ไดแ้ ก่ เทปบันทกึ เสยี ง วทิ ยุ หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา ฯลฯ 3) โสตทศั นวสั ดุ ไดแ้ ก่ ภาพยนตร์ โทรทศั น์ 4) เครื่องมอื ต่าง ๆ ได้แก่ เครอ่ื งฉาย เครอ่ื งเสยี ง ฯลฯ 5) กิจกรรม ไดแ้ ก่ นิทรรศการ การสาธิต นาฎการ การศกึ ษานอกสถานท่ี 2.4.1.3 การแบง่ ประเภทของส่ือการสอนตามลักษณะของการนาไปใช้ อิริคสัน และเคิร์ล (Carlton W.H. Erickson and David H. Curl) ได้แบ่งสื่อการเรียนการ สอนในแง่ของการนาไปใช้เปน็ 2 ประเภทดงั น้ี 1) สื่อทัศนะท่ีไม่ต้องฉาย ได้แก่ หนังสือพิมพ์ รูปภาพ ของจริง การศึกษานอกสถานที่ หุ่นจาลอง หุน่ ลอ้ แบบ สถานการณ์จาลอง และเกม วัสดกุ ราฟกิ ปา้ ยนเิ ทศและนิทรรศการ กระดานดา แผ่นปา้ ยสาลี กระเปา๋ หนัง แผ่นปา้ ยไฟฟา้ และอ่ืน
27 2) สื่อที่ต้องฉายและส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ เทปโทรทัศน์ ภาพน่ิงท่ีต้อง ฉาย การบนั ทกึ เสยี ง คอมพิวเตอรแ์ ละอื่นๆ 2.4.2 คณุ สมบัติของสอื่ Carlton W.H. Erickson ได้อธิบายให้เห็นคุณสมบัติของสื่อท่ีก่อให้เกิดผลดีต่อการเรียนการ สอนดังน้ี 2.4.2.1 คณุ สมบัติของส่ือในลักษณะท่ีสามารถบันทึกเร่ืองราว เหตุการณ์ต่าง ๆ ไว้ได้โดย สามารถนากลับมาใช้หรอื ปรับปรงุ ข้ึนใหม่ได้ หรอื อาจนามาใชซ้ า้ แลว้ ซา้ อีก เช่น เอกสาร สิ่งพิมพ์ การ บนั ทึกเสยี ง การบนั ทกึ ภาพน่งิ ด้วยกลอ้ งถา่ ยรปู การบนั ทึกภาพเคลอื่ นไหวด้วยฟิลม์ ภาพยนตร์ และวี ดที ศั น์ ซงึ่ สื่อเหล่าน้สี ามารถนามาใช้ในภายหลังได้หรือนามาปรบั ปรุงแกไ้ ข อดั บันทึกใหมก่ ็ได้ 2.4.2.2 คุณสมบัติของส่ือในด้านการสามารถเปล่ียนแปลงและปรับปรุงลักษณะของ รูปแบบของวัตถุ สิ่งของ บุคคลและเหตุการณ์ต่าง ๆ ให้เข้าใจง่าย ประหยัดเวลา และใช้ได้ตรงกับ วัตถุประสงค์การสอน โดยอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการจัดทา เช่น เทคนิคการถ่ายทา ภาพยนตร์ การ ทากระบวนการต่าง ๆ ซ่ึงตามปกติจะต้องใช้เวลานานอาจจะเป็นเวลา 1 วัน หรือ 1 สัปดาห์ หรือ 1 เดือน แต่สามารถทาให้เหน็ กระบวนการอย่างตอ่ เน่อื งภายในเวลา 5 วนิ าทีหรือเทคนิคการถ่ายทาสิ่งที่ กาลังเคล่ือนไหวตามปกติ ให้ช้าลงเพ่ือการศึกษาและสังเกตการณ์บางตอนให้เข้าใจง่ายข้ึน หรือการ ทาสิ่งท่ีตามมนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ ขยายให้เห็นรายละเอียดได้ชัดเจนด้วยการถ่ายจากกล้อง จลุ ทรรศน์ 2.4.2.3 คุณสมบัติการเผยแพร่ ได้แก่สื่อท่ีผลิตได้เป็นจานวนมาก ส่ืออันเดียวสามารถ ใช้ได้หลายคร้ัง ใช้ได้กับหลายแห่ง เข้าถึงบุคคลได้จานวนมาก ทาให้สามารถแก้ปัญหาการเรียนการ สอนได้หลายประการ เช่น โทรทัศน์การศึกษาใช้สอนได้ทั้งเป็นรายบุคคล เป็นกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ และใช้เรียนได้หลายๆ ช้นั ในเวลาเดยี วกันหรือใชก้ บั โปรแกรมการศกึ ษานอกโรงเรียนก็ได้ 2.5 งานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง เมธาวี (2546 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาและวิจัยเร่ืองพฤติกรรมการสอนของครูเกียรติยศวิชา ภาษาไทยสังกัดสานักงานการประถมศกึ ษาจงั หวดั สระบุรี พบวา่ 1. พฤติกรรมการสอนภาษาไทยของครูเกียรติยศ ด้านการเตรียมแผนการเรียนรู้ ครูเกียรติยศ จดั ทากาหนดการสอน แผนการเรียนร้ลู ่วงหน้า จดั เตรียมกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียนรู้และเน้ือหา จัดเตรียมส่ือการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมเรียนรู้และจัดเตรียม เครือ่ งมือวัดและประเมินผลลา่ งหนา้ 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูเกียรติยศมีการเตรียมความพร้อมด้วยกิจกรรมท่ีเร้าความ สนใจและทบทวนความรเู้ ดิม จัดลาดับข้นั ตอนการเรียนการสอนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ใช้เทคนิค
28 วิธีสอนน่าสนใจเหมาะสมกับเนื้อหา นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทักษะทางภาษาในรูปแบบกิจกรรมที่หลาย หลาย และขั้นสรุปมีการสรุปสาระสาคัญของบทเรียนร่วมกับนักเรียน ครูเกียรติยศจัดกิจกรรมที่เปิด โอกาสใหน้ ักเรียนได้สร้างสรรค์ความรูด้ ว้ นตนเอง 3. การใชส้ ่ือและผลิตส่อื การเรยี นรู้ ครูเกยี รตยิ ศใชส้ ื่อการเรียนรูไ้ ดเ้ หมาะสมเรา้ ความสนใจของ นักเรียน ช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาภายในระยะเวลาอันส้ัน และครูเกียรติยศผลิตสื่อเองจากเศษ วสั ดุ 4. บรรยากาศในช้ันเรียน ครูเกียรติยศจัดช้ันเรียนได้เหมาะสมกับการเรียนการสอน บรรยากาศในช้ันเรียนเป็นกันเอง สนุกสนาน มีการเสริมแรงจูงใจนักเรียน และเปิดโอกาสให้นักเรียน ไดเ้ รยี นรู้จากสื่อการเรยี นรู้ 5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ครูเกยี รตยิ ศ วดั และประเมนิ ผลระหวา่ งเรยี นและหลงั เรยี นโดยใช้ วธิ กี ารและเครื่องมอื วดั ที่หลายหลาย ใหน้ กั เรียนมีส่วนรว่ มในการประเมนิ ผล ทวีศักด์ิ (2546: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาและวิจัยเร่ืองพฤติกรรมการสอนพลศึกษาของครูผู้สอนช้ัน ประถมปีที่ 4 ในโรงเรียนเครือข่ายการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2544 สังกัด สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่นพบว่า พฤติกรรมการสอนที่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ท่ีสุด 3 ด้าน เรียงตามลาดับค่าร้อยละจากมากไปหาน้อยได้แก่ ด้านคุณลักษณะส่วนตัวในการสอน (รอ้ ยละ 87.56) ดา้ นการมอบงานให้ปฏิบัติ (ร้อยละ 84.89) ด้านการจูงใจและเสริมแรงทางการเรียน (ร้อยละ 83.52) พฤติกรรมการสอนที่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด 4 ด้าน เรียงตามลาดับค่าร้อยละจาก มากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการดาเนินการสอน (ร้อยละ 78.39) ด้านการวัดและประเมินผลการเรียน การสอน (76.00) ด้านปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม (ร้อยละ 73.65) ด้านการเตรียมการสอน (ร้อยละ 71.91) พฤติกรรมการสอนที่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน ได้แก่ ด้านการใช้ทักษะ กระบวนการในการสอน (ร้อยละ 60.69) สุพลักษณ์ (2550: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาและวิจัยเรื่องการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาคณะ วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีมีต่อพฤติกรรมการสอนของคณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลสุวรรณภูมิ พบว่า ความคิดเห็นของนักศึกษาคณะวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีมีต่อ พฤติกรรมการสอนของคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีต่อพฤติกรรมก่อนการสอน อยู่ในระดับมากท่สี ุด รองลงมาคือ พฤตกิ รรมระหว่างการสอนและพฤติกรรมหลงั การสอนตามลาดบั พิศเพลิน (2547: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาและวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้แนวทาง ปฏริ ูปการเรียนรู้กับพฤตกิ รรมการสอนของครูในเขตพ้นื ที่การศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา พบวา่
29 1. การรับรู้แนวทางปฏิรูปการเรียนรู้ของครูในเขตพื้นท่ีการศึกษา พระนครศรีอยุธยาอยู่ใน ระดับรับรู้มาก ทั้งภาพรวมและรายด้าน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการเรียนรู้ ด้านการประเมินผล ตามแนวทางปฏิรปู การเรยี นรู้ และด้านการวจิ ัยในเชงิ ชัน้ เรยี นเพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ 2. พฤติกรรมการสอนของครูในเขตพื้นที่การศึกษา พระนครศรีอยุธยาอยู่ในระดับปฏิบัติเป็น ส่วนมาก ทั้งภาพรวมและรายด้าน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านวิชาการและกิจกรรมการเรียนรู้การสอน ด้าน การใช้สื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียน และด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับ นักเรียน 3. ความสัมพนั ธ์ระหว่างการรับรู้แนวทางปฏิรูปการเรียนรู้ กับพฤติกรรมการสอนของครูอยู่ใน ระดับปานกลาง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r=0.560) โดยที่ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ แนวทางปฏิรูปการเรียนรู้ด้านกระบวนการเรียนรู้ และด้านการวัดประเมินผลตามแนวทางการปฏิรูป การเรยี นรกู้ บั พฤติกรรมการสอนของครูอยู่ในระดับปานกลาง (r-0.559) แต่ความสัมพันธ์ระหว่างการ รับรแู้ นวทางการปฏิรปู การเรยี นรดู้ า้ นการวิจยั ในชัน้ เรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กับพฤติกรรมการสอน ของครู อยูใ่ นระดับค่อนขา้ งตา่ (r=0.288)
บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ กำรวจิ ยั การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการศึกษาวิธีการแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า เรือง โครงสร้างและ การท่างานของหม้อแปลงไฟฟ้า วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า ของนักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขางานไฟฟ้าก่าลงั ผวู้ ิจยั ไดศ้ กึ ษาและดา่ เนนิ การวจิ ยั ดังน้ี 3.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 3.2 การสร้างและพัฒนาเครืองมือทีใช้ในการวจิ ยั 3.3 การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 สถติ ิทใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู 3.1 ประชำกรและกลมุ่ ตัวอย่ำง 3.1.1 ประชากร ประชากรทีใช้ในการอ้างอิงผลการวิจัยในคร้ังนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้าก่าลัง ชั้นปีที 2 วิทยาลัยการอาชีพการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ภาคเรียนที 2 ปีการศึกษา 2563 3.1.2 กลมุ่ ตัวอย่าง ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ี ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขางานไฟฟ้า ชั้นปีที 2/3 วิทยาลัยการอาชีพการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ทีลงทะเบียนเรียน รหัสวิชา 20104-2009 ชือ วิชา การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟา้ ภาคเรยี นที 2 ปีการศกึ ษา 2563 จา่ นวน 17 คน 3.2 กำรสร้ำงและพฒั นำเครอื่ งมอื ที่ใช้ในกำรวจิ ัย การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างเครืองมือทีใช้ในการวิจัย คือ ใบความรู้ เรือง โครงสร้างและ การท่างานของหม้อแปลงไฟฟ้า วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า และแบบทดสอบแบบ โดยมีล่าดับการสร้าง เครอื งมอื แสดงดัง ภาพที 3-1
31 เริมตน้ ศึกษารายละเอียดของหลกั สูตร ศกึ ษารายละเอยี ดของเนื้อหา สร้างแบบทดสอบปรนัยฉบับร่าง ตรวจสอบโดย ไมผ่ ่าน แก้ไข ผเู้ ชยี วชาญผา่ น ผา่ น จัดท่าแบบทดสอบปรนยั ฉบับสมบรู ณ์ สิ้นสุด ภำพท่ี 3-1 แสดงขัน้ ตอนในการสรา้ งเครืองมือ 3.2.2.1 ศึกษารายละเอียดของหลักสูตร จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา และค่าอธิบาย รายวิชา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 (ประเภทวิชาอุตสาหกรรม) สาขาวิชาช่างไฟฟา้ กา่ ลงั สาขางานไฟฟา้ กา่ ลงั โดยได้รับค่าแนะนา่ จากผู้เชยี วชาญ 3.2.2.2 ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาทีจะน่ามาก่าหนดการจัดการเรียนรู้ โดยจัดท่าเป็นใบ ความรู้ เรอื ง การควบคมุ การสตาร์ทมอเตอรโ์ ดยวิธตี รง วิชาการควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟ้า 3.2.2.3 ก่าหนดประเด็นและขอบเขตของแบบทดสอบปรนัยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ ประโยชน์ของการวดั ผลและประเมนิ ผล 3.2.2.4 ดา่ เนินการสรา้ งแบบทดสอบปรนัยฉบบั ร่าง
32 3.2.2.5 ตรวจสอบแบบทดสอบฉบับร่าง โดยผู้เชียวชาญ เพือพิจารณาตรวจสอบรายละเอียด ความถกู ตอ้ งสมบูรณ์ และครอบคลุมของเนื้อหา เมือตรวจสอบพบข้อผิดพลาด จึงได้น่าแบบทดสอบ ฉบับร่างมาปรบั ปรงุ แก้ไข 3.2.2.6 จัดทา่ แบบทดสอบฉบับสมบรู ณ์ 3.3 กำรทดลองและเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.3.1 การทดลองและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในครง้ั ที 1 การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลในคร้ังที 1 เรือง โครงสร้างและการท่างานของหม้อแปลง ไฟฟ้า มขี นั้ ตอนในการดา่ เนินการ ดงั ภาพที 3-2 ครจู ัดการเรียนรู้ในชัวโมง ครัง้ ที 1 นักเรียนทา่ แบบทดสอบหลงั เรียนครั้งที 1 ตรวจแบบทดสอบตามเกณฑ์การให้คะแนน เฉลยแบบทดสอบใหน้ ักเรียนทราบ นา่ ผลการทดสอบนักเรียนแต่ละคนไปวิเคราะห์ ภำพที่ 3-2 ขัน้ ตอนการด่าเนินการทดลองและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลครง้ั ที 1 จากภาพที 3-2 แสดงขั้นตอนการด่าเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลคร้ังที 1 มี รายละเอยี ดข้นั ตอนดังน้ี 1) ครจู ดั การเรยี นรู้ในชัวโมงครั้งที 1 จากใบความรู้ เรือง การควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์ โดยวิธีตรง โดยเวลาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ จา่ นวน 6 ชัวโมง 2) เมือนักเรียนเรียนเสร็จ ครูให้นักเรียนท่าแบบทดสอบครั้งที 1 หลังจากการเรียนใน ชวั โมง จา่ นวน 1 ชวั โมง 3) เกบ็ รวบรวมแบบทดสอบและตรวจแบบทดสอบตามเกณฑ์การให้คะแนน 4) หลังจากตรวจแบบทดสอบตามเกณฑ์การให้คะแนนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูก็เฉลย แบบทดสอบให้นักเรียนทราบ ถ้านักเรียนคนใดมีข้อสงสัยครูก็อธิบายเพิมเติมหรือแสดงวิธีการหา ค่าตอบใหด้ แู ลว้ ใหน้ กั เรียนปฏบิ ัติตาม
33 5) เมือกระบวนการทดลองเสร็จส้ินลง ผ้วู ิจัยไดน้ ่าคะแนนทีไดจ้ ากการทา่ แบบทดสอบครั้ง ที 1 ไปวเิ คราะห์ข้อมูลเพอื หาความสามารถทางการเรยี นต่อไป 3.3.2 การทดลองและเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในครง้ั ที 2 จากการทดสอบคร้ังที 1 ท่าให้ผู้วิจัยทราบว่านักเรียนแต่ละคนสอบผ่านเกณฑ์กีคน และสอบไม่ ผ่านเกณฑ์กีคน ซึงในการจัดการเรียนรู้ในคร้ังที 2 น้ี ผู้วิจัยมุ่งจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมยึดผู้เรียน เปน็ สา่ คญั และส่งเสริมใหผ้ ้เู รยี นสามารถศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองมากขึน้ ดงั ภาพที 3-3 จัดกลมุ่ นกั เรียนทีสอบผา่ นและไม่ผา่ นเกณฑ์ ครูจดั การเรียนรู้แบบใชส้ ือออนไลน์ร่วม นักเรียนท่าแบบทดสอบหลังเรียนครัง้ ที 2 ตรวจแบบทดสอบตามเกณฑ์การให้คะแนน เฉลยแบบทดสอบให้นักเรียนทราบ น่าผลการทดสอบนักเรียนแต่ละคนไปวเิ คราะห์ ภำพที่ 3-3 ขนั้ ตอนการด่าเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอ้ มลู ครัง้ ที 2 จากภาพที 3-3 แสดงขั้นตอนการด่าเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลคร้ังที 2 มี รายละเอยี ดขน้ั ตอนดังนี้ 1) ครูจัดกลุ่มนักเรียนทีสอบผ่านเกณฑ์และสอบไม่ผ่านเกณฑ์เป็น 2 กลุ่ม เพือให้ง่ายแก่ การจัดการเรียนรใู้ นชวั โมงสอน 2) ครูจัดการเรียนรู้ในชัวโมงครั้งที 2 จากใบความรู้ ใบงาน เรือง การควบคุมการสตาร์ท มอเตอรโ์ ดยวธิ ตี รง โดยใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ จ่านวน 6 ชัวโมง เน้นการจัดการเรียนรู้แบบมี ส่วนรว่ มยดึ ผ้เู รยี นเป็นส่าคญั และส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นสามารถศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเองมากข้นึ 3) เมือนักเรียนเรียนเสร็จ ครูให้นักเรียนท่าแบบทดสอบคร้ังที 2 หลังจากการเรียนใน ชวั โมง จา่ นวน 1 ชัวโมง
34 4) เกบ็ รวบรวมแบบทดสอบและตรวจแบบทดสอบตามเกณฑ์การให้คะแนน 5) หลังจากตรวจแบบทดสอบตามเกณฑ์การให้คะแนนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูก็เฉลย แบบทดสอบให้นักเรียนทราบ ถ้านักเรียนคนใดมีข้อสงสัยครูก็อธิบายเพิมเติมหรือแสดงวิธีการหา ค่าตอบใหด้ แู ลว้ ให้นักเรยี นปฏบิ ัติตาม 6) เมือกระบวนการทดลองเสรจ็ สนิ้ ลง ผูว้ จิ ยั ไดน้ า่ คะแนนทีได้จากการทา่ แบบทดสอบครั้ง ที 2 ไปวเิ คราะห์ข้อมูลเพือหาความสามารถทางการเรยี นตอ่ ไป 3.4 สถิตทิ ่ใี ช้ในกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูล การวิจยั ในครง้ั น้ี ผู้วจิ ัยใช้สถติ ิในการวเิ คราะหข์ ้อมูลดังน้ี 3.4.1 การหาคา่ ร้อยละ (Percentage) เปน็ การเปรยี บเทียบจา่ นวนขอ้ มลู ทีสนใจศึกษากับจ่านวนข้อมูลท้ังหมด โดยคิดเทียบใน 100 ส่วน เรียกวา่ “เปอร์เซ็นต์” สตู รในการคา่ นวณ P f 100 N เมอื P แทน ค่าร้อยละ หรือเปอรเ์ ซ็นต์ f แทน จา่ นวนข้อมลู ทีสนใจศกึ ษา N แทน จา่ นวนข้อมลู ทงั้ หมด 3.4.2 คา่ เฉลยี (Mean) เปน็ คา่ เฉลียเลขคณติ (Arithmetic mean) แทนด้วย “ X ” (อา่ นวา่ เอกซ์บาร์) สูตรในการค่านวณ X x n เมอื x แทน ค่าเฉลยี เลขคณิต x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด n แทน จ่านวนคะแนนท้ังหมด
35 3.4.3 ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) สญั ลกั ษณ์ SD หรือ S ส่าหรับความแปรปรวน (Variance) สัญลกั ษณ์ SD2 หรือ S 2 สตู ร การค่านวณจากกลมุ่ ตัวอย่าง SD n( X 2 ) ( X )2 n(n 1) เมอื SD แทน คา่ เบยี งเบนมาตรฐาน X2 แทน ผลบวกของก่าลังสองของคะแนนแตล่ ะตัว X แทน ผลบวกของคะแนนแต่ละตวั แทน จา่ นวนคน n 3.4.4 คา่ ความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนเฉลยี จากการทา่ แบบทดสอบครั้งที 1 และครัง้ ที 2 โดยใช้ สถิตวิ เิ คราะห์ t-test สูตร การค่านวณจากกล่มุ ตัวอย่าง เมือ t t D N D2 ( D)2 D N 1 N แทน ค่าความแตกตา่ งระหว่างคะแนนเฉลยี ของแบบทดสอบครั้งที 1,2 แทน ความแตกต่างของคะแนนแต่ละคขู่ องแบบทดสอบ แทน จา่ นวนคู่ระหวา่ งแบบทดสอบ
บทที่ 4 ผลการวิจัย การวจิ ยั ครง้ั น้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า เร่ือง โครงสร้างและการ ทา่ งานของหมอ้ แปลงไฟฟ้า วิชาหมอ้ แปลงไฟฟ้า ของนกั เรียนระดบั ชนั้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา งานไฟฟ้าก่าลัง มีกลุม่ ตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้จา่ นวน 18 คน โดยน่าเสนอผลของการวิจยั ดงั นี้ 4.1 ผลการวเิ คราะห์วิธีการแกป้ ัญหาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นต่า 4.2 ผลการวิเคราะห์คะแนนเฉล่ียของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการเปรียบเทียบความ แตกตา่ งของคะแนนเฉล่ยี ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 4.1 ผลการวิเคราะหว์ ธิ ีการแกป้ ัญหาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตา่ จากการทดสอบครั้งท่ี 1 ท่าให้ผู้วิจัยทราบว่ามีนักเรียนที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์ จ่านวน 18 คน ผู้วจิ ยั จงึ จัดการเรยี นรู้โดยมีขัน้ ตอนในการดา่ เนนิ การ ดังนี้ จดั กล่มุ นักเรียนทส่ี อบผา่ นและไมผ่ ่านเกณฑ์ ครูจดั การเรียนรู้เป็นรายกลุ่ม และบุคคลคร้ังท่ี 2 นกั เรยี นท่าแบบทดสอบอตั นัยหลังเรยี นคร้งั ที่ 2 ตรวจแบบทดสอบตามเกณฑ์การใหค้ ะแนน เฉลยแบบทดสอบใหน้ กั เรียนทราบ นา่ ผลการทดสอบนักเรยี นแต่ละคนไปวเิ คราะห์ ภาพที่ 4-1 รปู แบบการแกป้ ัญหาผลสมฤทธ์ทิ างการเรยี นตา่ จากภาพที่ 4-1 แสดงรูปแบบการแก้ปัญหาผลสมฤทธ์ิทางการเรียนต่า มีรายละเอียดขั้นตอน ดังน้ี 4.1.1 ครจู ัดกล่มุ นักเรียนที่สอบผ่านเกณฑแ์ ละสอบไม่ผา่ นเกณฑ์เปน็ 2 กลมุ่
37 4.1.2 ครูจดั การเรียนรู้ในช่วั โมง เปน็ รายกลมุ่ และรายบคุ คล เน้นการจดั การเรียนรไู้ ปทน่ี ักเรียนที่ สอบไมผ่ ่านเกณฑ์ 4.1.3 ครูให้นกั เรยี นท่าแบบทดสอบ หลงั จากการเรยี นในช่วั โมง 4.1.4 เก็บรวบรวมแบบทดสอบและตรวจแบบทดสอบตามเกณฑ์การใหค้ ะแนน 4.1.5 เฉลยแบบทดสอบใหน้ ักเรยี นทราบ 4.1.6 น่าคะแนนท่ีได้จากการท่าแบบทดสอบ ไปวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาความสามารถทางการ เรยี นตอ่ ไป 4.2 ผลการวิเคราะหค์ ะแนนเฉลี่ยของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและการเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนเฉล่ยี ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 4.2.1 การวเิ คราะห์คะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบครัง้ ที่ 1 และครงั้ ท่ี 2 ตารางที่ 4-1 ผลการการวเิ คราะหค์ ะแนนเฉล่ยี แบบทดสอบคร้งั ที่ 1 และครงั้ ท่ี 2 การทดสอบ จา่ นวนนักเรียน (n) คะแนนเต็ม t คร้ังที่ 1 17 10 5.24 0.94 14.98* 2 17 10 8.65 *นัยส่าคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05 ,df = 16 , t = 1.746 (One - tailed) จากตารางที่ 4-1 แสดงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน จ่านวน 17 คน คร้ังท่ี 1 และคร้ัง ที่ 2 ในการเรียนเร่ือง โครงสร้างและการท่างานของหม้อแปลงไฟฟ้า วิชาการหม้อแปลงไฟฟ้า จาก คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย ( ) ของคะแนนสอบคร้ังท่ี 1 เท่ากับ 5.24 คิดเป็นร้อยละ 52.35 ส่วนคะแนนเฉลี่ยของการสอบคร้ังที่ 2 เท่ากับ 8.65 คิดเป็นร้อยละ 86.47 เม่ือเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนครั้งที่ 2 สูงกว่าคร้ังท่ี 1 ร้อยละ 34.12 สรุป การสอนโดยวิธีการแบบใหม่ ท่าให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มข้ึนอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.05 (แสดงรายละเอยี ดใน ภาคผนวก ก) หมายเหตุ : ค่า t(0.05,16) = 1.746 จากตาราง
บทท่ี 5 สรปุ อภิปลายผล และข้อเสนอแนะ ในการจัดทาการวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า เร่ือง โครงสร้างและการทางานของหม้อแปลงไฟฟ้า วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า ของนักเรียนระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขางานไฟฟ้ากาลัง วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร และ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ผู้วจิ ยั ไดท้ าการสร้างเครื่องมือในการวิจัย โดยใช้ใบความรู้ และแบบทดสอบ และนาไปทดลอง ใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนสาขางานไฟฟ้ากาลัง ระดับ ปวช.2 วิทยาลัยการอาชีพนวมินท ราชินีมุกดาหาร จานวน 18 คน การทดลองในคร้ังน้ีใช้เวลาในการทดลอง 2 สัปดาห์ จานวน 8 ช่ัวโมง ทาการสอนโดยใชใ้ บความรู้ เรอ่ื ง โครงสรา้ งและการทางานของหม้อแปลงไฟฟ้า วิชาการหม้อ แปลงไฟฟ้า ได้ทดสอบวัดผลคะแนนเฉล่ียทั้งสองครั้งมาเปรียบเทียบความแตกต่างทางสถิติ t-test ท่ี ระดบั ความมีนยั สาคัญทางสถิติท่ีระดบั .05 5.1 สรปุ จากการศึกษาผลการทดลองแก้ปัญหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า เร่ือง โครงสร้างและการ ทางานของหม้อแปลงไฟฟ้า วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขางานไฟฟา้ กาลัง วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ผลปรากฏเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้ง ไว้ คือ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคร้ังที่ 1 และคร้ังที่ 2 พบว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรยี นครง้ั ท่ี 2 สงู กว่าคร้ังท่ี 1 อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่ี .05 5.2 อภปิ รายผล จากผลการวิจัยในครั้งน้ีแสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ถ้าครูทาตามรูปแบบ การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า และทาให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นสนใจใฝ่เรียนรู้ สามารถค้นคว้าด้วยตนเองมากข้ึน ก็จะทาให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดย ครูก็สามารถจัดการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลได้ ซ่ึงจะเป็นผล ทาให้นักเรยี นมคี วามกา้ วหน้าทางการเรียนมากย่ิงขึ้น 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1 ครผู สู้ อนควรแยกระดับความรู้ความสามารถของนักเรียนออกเป็น ระดับสูง ระดับกลาง และระดบั ตา่ เพอื่ ใหส้ ามารถท่จี ะจดั การเรียนรู้เป็นรายบุคคลให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขึ้น 5.3.2 สาหรับนักเรียนทมี่ ีผลสมฤทธ์ิทางการเรยี นตา่ มาก ควรจัดสอนเสริมในเวลาวา่ ง
38 บรรณานกุ รม ชูศรี วงศร์ ัตนะ. เทคนคิ การใชส้ ถิติเพื่อการวจิ ัย. กรุงเทพมหานคร : เทพเนรมติ การพิมพ์, 2544. ทวิ ตั ถ์ มณีโชต.ิ การวดั และประเมินผลการเรียนรูต้ ามหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์ศนู ยส์ ่งเสริมวิชาการ. 2549 ประยุทธ นิสภกุล .2550. การเปรียบเทียบผลสมฤทธ์ิทางการเรยี นระหว่างวิธีจดั การเรยี นแบบ เพื่อรอบรูก้ ับวธิ จี ดั การเรยี นแบบปกตฯิ . วิทยานพิ นธ์ : มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนอื . พันธ์ศกั ด์ิ พฒุ มิ านติ พงศแ์ ละคณะ . ดจิ ิตอลเบ้อื งต้น กรุงเทพมหานคร : ศูนยส์ ง่ เสริมอาชวี ะ. พชิ ญ์สินี ชมพคู าและยุทธศลิ ป์ ชมู ณี. การสร้างและพฒั นาแบบทดสอบ. รายงานการศึกษา. มหา วทิ ยาลยั เชียงใหม่. 2552 ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจัยทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น 2548. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ. พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พค์ รุ ุสภา, 2542.
สาขาวชิ า ไฟฟา้ ใบเนอ้ื หา หนา้ ท่ี ช่อื วิชา การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า รหัสวิชา 20104-2009 งาน วงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ 3 เฟส แบบสตาร์ทตรงมอเตอร์ หนว่ ยที่ 5 1 จานวน 11 แผ่น การเรม่ิ เดินมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 5.1 ข้ัวของมอเตอร์ เน่ืองจากโครงสรา้ งภายในมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส จะพันขดลวดไว้ในร่อง (Slot) ของสเตเตอร์ (Stator Winding) จานวน 3 ชดุ แต่ละชุดวางห่างกนั 120 องศาทางไฟฟ้า โดยเขยี นบอกขั้วดว้ ยตัวอกั ษร ดังนี้ • U1 – V1 – W1 หมายถงึ ด้านตน้ ของขดลวดแตล่ ะชุด • U2 - V2 - W2 หมายถงึ ด้านปลายของขดลวดแตล่ ะ ชดุ ก. ขวั้ มอเตอร์ 3 เฟส ข. โครงสรา้ งภายใน รูปท่ี 5.1 ขั้วและโครงสร้างภายในมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟส 5.2 ) การเร่ิมเดนิ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส แบบเหนย่ี วนาส่วนใหญ่จะนยิ มการเร่ิมเดนิ มอเตอร์ (การเร่มิ หมุน มอเตอร์) ด้วยวธิ ีการ 2 วธิ ี คือ 1. การเรมิ่ เดินมอเตอรไ์ ฟฟ้าโดยตรง (Direct Online Starter) 2. การเริม่ เดินมอเตอรไ์ ฟฟ้าด้วยการลดแรงดนั ไฟฟ้า (Reduced Voltage Starter) หนว่ ยการเรยี นนี้จะกล่าวถึงการเรม่ิ เดินมอเตอร์ไฟฟา้ โดยตรง สว่ นวิธกี ารเริม่ เดนิ ดว้ ย การลด แรงดนั ไฟฟ้าจะกลา่ วในลาดับถัดไป กล่มุ ชุมชนการเรียนรู้วชิ าชีพ สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากาลงั
สาขาวชิ า ไฟฟ้า ใบเนื้อหา หนา้ ที่ ช่ือวิชา การควบคมุ มอเตอร์ไฟฟา้ รหสั วิชา 20104-2009 งาน วงจรควบคมุ มอเตอร์ไฟฟา้ 3 เฟส แบบสตาร์ทตรงมอเตอร์ หน่วยท่ี 5 2 จานวน 11 แผน่ 5.3) การเรม่ิ เดนิ มอเตอรไ์ ฟฟ้าโดยตรง (Direct Online Starter) การเรม่ิ เดินวิธนี ้เี ปน็ การจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้าให้กบั ขดลวดมอเตอร์ เท่ากับแรงดนั เต็มพิกัด ของมอเตอร์ เชน่ แรงดันไฟฟ้าเตม็ พกิ ดั คือ 380 V ขณะท่ีเริ่มเดนิ กจ็ ะจา่ ยแรงดนั ไฟฟา้ ขนาด 380 V ให้กับมอเตอร์ ซึง่ มีขอ้ ดีและ ข้อเสยี ดงั นี้ ขอ้ ดี 1. แรงบิดขณะเร่ิมเดินมอเตอร์ (Starting Torque) จะมคี ่าสงู สามารถฉุดโหลดไดด้ ี 2. ไมต่ ้องใช้อุปกรณ์อย่างอน่ื เข้ามาชว่ ยขณะเรมิ่ เดิน 3. วงจรควบคุมงา่ ยไม่ซับซ้อน ขอ้ เสยี 1. ทาใหข้ ดลวดร้อน ฉนวนของขดลวดจะเสื่อมคุณภาพเร็วขึน้ เนื่องจากกระแสขณะเร่มิ เดิน มคี ่า 4-8 เท่า ของพิกัดกระแสมอเตอร์ ดังนั้น มอเตอร์ท่มี ขี นาดใหญ่ตงั้ แต่ 7.5 kW หรือ 10 hp ข้ึนไปจะไม่นยิ มใชก้ ารเริ่ม เดนิ แบบน้ี 2. ทาใหค้ ่าแรงดันไฟฟา้ ลดลงชัว่ ขณะ สง่ ผลตอ่ การทางานของหลอดไฟฟา้ และโหลด บรเิ วณใกลเ้ คียง ทา ให้หลอดไฟฟ้ามอี ายกุ ารใชง้ านสน้ั ลง 3. อุปกรณ์ป้องกันอาจสง่ั ปลดวงจรได้ สาหรบั วธิ กี ารเรมิ่ เดินมอเตอร์ไฟฟา้ โดยตรงท่นี ยิ ม ใชก้ นั ทั่วไป คือ การเรม่ิ เดนิ ดว้ ยคตั เอาต์ (สวิตช์ 3 ขัว้ สบั 1 ทาง ; TPST) สวิตช์เปดิ -ปดิ (ONOFF) และเร่มิ เดนิ โดยใช้แมกเนตกิ คอนแทกเตอร์ การเร่มิ เดินมอเตอรไ์ ฟฟ้าโดยตรง สามารถทําไดห้ ลายวิธี ดังนี้ 1. การเริ่มเดนิ ดว้ ยคัตเอาต์ 3 เฟส 2. การเรม่ิ เดินดว้ ยสวติ ชเ์ ปิด-ปิด (ON-OFF) 3. การเริ่มเดนิ ด้วยมอเตอรเ์ บรกเกอรห์ รอื สวติ ชอ์ ัตโนมตั ิ 4. การเริ่มเดนิ ด้วยแมกเนติกคอนแทกเตอร์ การเรมิ่ เดินด้วยคตั เอาต์ 3 เฟส หมายถงึ การใช้สวติ ช์ 3 ข้ัว สบั 1 ทาง (Tripple Pole Single Throw Switch, TPST) เปน็ อุปกรณใ์ น การตัด-ตอ่ วงจร แตก่ ารใช้อปุ กรณ์ชนดิ น้ี จะมีข้อจากัดในเร่ืองการอารก์ ของ หนา้ สมั ผัสของคตั เอาต์ การเร่มิ เดนิ ดว้ ยคตั เอาต์ 3 เฟส จึงเหมาะสาหรบั มอเตอรข์ นาดเล็กไม่เกิน 7.5 kW กล่มุ ชุมชนการเรียนรู้วชิ าชีพ สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากาลงั
สาขาวิชา ไฟฟ้า ใบเน้อื หา หน้าท่ี ชอ่ื วชิ า การควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้า รหสั วิชา 20104-2009 งาน วงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส แบบสตาร์ทตรงมอเตอร์ หน่วยท่ี 5 3 จานวน 11 แผ่น รูปท่ี 5.2 วงจรเร่ิมต้นมอเตอร์ด้วยคตั เอาต์ 3 เฟส การเร่มิ เดนิ ด้วยสวิตซ์ เปดิ -ปิด (ON-OFF) การเร่ิมเดินดว้ ยสวิตช์ เปิด-ปิด จะมขี ้อจากดั เรื่องการอารก์ ของหน้าสมั ผสั เชน่ เดียวกบั การเรมิ่ เดนิ ดว้ ยคตั เอาต์ 3 เฟส รปู ที่ 5.3 วงจรเรม่ิ เดนิ มอเตอรด์ ว้ ยสวิตช์ เปิด-ปิด กล่มุ ชุมชนการเรียนรู้วชิ าชีพ สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากาลงั
สาขาวิชา ไฟฟา้ ใบเนื้อหา หนา้ ท่ี ชือ่ วิชา การควบคมุ มอเตอร์ไฟฟา้ รหสั วิชา 20104-2009 งาน วงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ 3 เฟส แบบสตาร์ทตรงมอเตอร์ หนว่ ยที่ 5 4 จานวน 11 แผน่ การเริม่ เดินดว้ ยมอเตอรเ์ บรกเกอรห์ รอื สวติ ช์อัตโนมตั ิ การเรม่ิ เดินวิธนี ้ีอปุ กรณท์ ี่ใชจ้ ะเป็นทั้งสวติ ชต์ ัด-ตอ่ และเป็นท้งั อุปกรณ์ป้องกนั รวมอยู่ ในชุดเดยี วกนั รปู ท่ี 5.4 วงจรเร่มิ เดินมอเตอร์ด้วยสวิตช์อตั โนมัติ การเริ่มเดนิ ด้วยแมกเนตกิ คอนแทกเตอร์ การเรม่ิ เดินมอเตอร์วิธนี ้ีเป็นที่นิยมใช้ท่วั ไป เนอื่ งจากมีความปลอดภยั จากการอาร์กของ หน้าสัมผัส เพราะว่าแมกเนติคอนแทกเตอร์ถูกออกแบบมาเพอื่ ใชก้ บั มอเตอร์โดยเฉพาะ การควบคมุ ให้มอเตอร์ทางานจะแยก ออกเป็น 2 วงจร คอื วงจรกาลงั และวงจรควบคุม • วงจรกาํ ลัง (Power Circuit) คอื ส่วนทท่ี าหน้าทีเ่ ป็นสวิตชต์ ัด-ต่อ คา่ แรงดันจาก แหลง่ จ่ายไปยงั ขดลวดของมอเตอร์ ดงั นน้ั วงจรกาลงั จงึ มคี า่ กระแสสงู สว่ นประกอบหลกั ของ วงจรกาลัง ประกอบด้วย 1. F1 หมายถงึ ฟิวส์ปอ้ งกันหลัก นิยมเรียกทบั ศพั ทว์ ่า เมนฟิวส์ (Main Fuse) 2. F3 หมายถึง โอเวอร์โหลดรเี ลย์ (Overload Relay) ทาหน้าท่ปี ้องกนั มอเตอร์ เนอ่ื งจาก กระแสเกิน หรอื ลดั วงจร (Short Circuit) 3. K1 หมายถึง หน้าสัมผัสหลักหรอื หนา้ สัมผัสหลัก (Main Contact) ของแมกเนติก คอนแทกเตอร์ กลุ่มชุมชนการเรียนรู้วชิ าชีพ สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากาลงั
Search