Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างของพืช

โครงสร้างของพืช

Published by 945sce00462, 2021-08-31 04:02:17

Description: โครงสร้างของพืช

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งของพชื พืชประกอบด้วยอวยั วะท่สี าคัญต่อการดารงชีวติ ไดแ้ ก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมลด็ ซงึ่ อวัยวะแต่ละสว่ นของพืชน้นั มีหน้าที่ และสว่ นประกอบแตกต่างกัน แตท่ างานเกี่ยวข้องและสมั พันธ์กันหากขาด อวยั วะสว่ นใดสว่ นหนึ่งไป อาจทาให้พืชนั้นผิดปกตหิ รือตายได้ และยงั มี ปัจจัยบางประการทีจ่ าเปน็ ต่อการเจริญเติบโตของพชื รปู แสดงสว่ นประกอบตา่ งๆ ของพชื 1. ราก ราก คือ อวยั วะทเ่ี ป็นสว่ นประกอบของพชื ท่ีไม่มีคลอโรฟลิ ล์ ไม่มขี อ้ ปลอ้ ง ตาและใบ รากเจรญิ เติบโต ตามแรงดึงดูดของโลกลงสู่ดิน มขี นาดและความยาวแตกต่างกัน รากของพชื มีหลายชนิด ไดแ้ ก่ รากแกว้ เป็นรากทงี่ อกออกมาจากเมลด็ โคนของรากแกว้ จะมีขนาดใหญ่แล้วค่อยๆ เรยี วไปจนถึงปลาย ราก รากแขนง เปน็ รากท่ีแตกออกมาจากรากแก้ว จะเจรญิ เติบโตขนานไปกับพน้ื ดิน และสามารถแตกแขนงไป ได้เร่ือยๆ รากฝอย เป็นรากที่มลี กั ษณะและขนาดโตสม่าเสมอกนั จะงอกออกมาเปน็ กระจุก รากขนออ่ นหรอื ขนราก เป็นขนเส้นเล็กๆ จานวนมากมายท่อี ยูร่ อบๆ ปลายราก ทาหนา้ ที่ดูดนา้ และแรธ่ าตุ รากของพืชสามารถจาแนกได้ 2 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบรากแกว้ และระบบรากฝอย มรี ายละเอียดดงั น้ี 1. ระบบรากแกว้ หมายถงึ ระบบรากที่มรี ากแก้วเป็นรากหลกั เจริญเตบิ โตได้เร็ว ขนาดใหญ่และยาวกว่า รากอนื่ ๆ และมีรากแขนงแตกออกมาจากรากแก้ว ทปี่ ลายรากแขนงจะมีรากขนอ่อนงอกออกมา เช่น รากผกั บุ้ง รากมะม่วง เปน็ ต้น

2. ระบบรากฝอย หมายถึง ระบบรากทีม่ ีรากฝอยเปน็ จานวนมาก ไม่มีรากใดเปน็ รากหลัก มีลักษณะ เปน็ เส้นเลก็ ๆ แผก่ ระจายออกไปโดยรอบๆ โคนตน้ ทป่ี ลายรากฝอยจะมีรากขนออ่ นงอกออกมา เช่น ราก ขา้ วโพด รากหญ้า รากมะพรา้ ว เป็นต้น หน้าทขี่ องราก มีดังนี้ 1. ยดึ ลาต้นใหต้ ิดกับพ้นื ดนิ 2. ดูดนา้ และธาตุอาหารทล่ี ะลายน้าจากดิน แล้วลาเลียงขน้ึ ไปยงั ส่วนตา่ งๆ ของพชื โดยผา่ น ทาง ลาตน้ หรอื กิ่ง นอกจากนรี้ ากพืชอีกหลายชนิดยังทาหน้าท่พี เิ ศษตา่ งๆ อกี เช่น 1. รากสะสมอาหาร เป็นรากทที่ าหน้าทเ่ี ป็นแหล่งเกบ็ สะสมอาหารไวส้ าหรบั ลาต้น เช่น รากมันแกว รากแครอท รากมนั สาปะหลงั และรากหวั ผกั กาด เป็นตน้ 2. รากคา้ จุน เปน็ รากที่ ช่วยคา้ ยันและพยุงลาต้นไว้ เช่น รากโกงกาง รากขา้ วโพด เปน็ ตน้ รปู แสดงรากคา้ จนุ ของโกงกาง 3. รากยดึ เกาะ เป็นรากสาหรับยดึ เกาะลาต้นหรอื กิง่ ไมอ้ ่ืน เช่น รากพลดู า่ ง รากฟโิ ลเดนดรอนเป็นต้น

รปู แสดงรากยดึ เกาะของพลดู ่าง โดยวิธกี าร 4. รากสงั เคราะหแ์ สง พืชบางชนดิ มสี เี ขียวตรงปลายของรากไว้สาหรบั สร้างอาหาร สังเคราะหด์ ้วยแสง เช่น รากกล้วยไม้ รากไทร เป็นต้น 5. รากหายใจ เป็นรากทมี่ ลี กั ษณะแหลมๆ โผลข่ น้ึ มาเหนอื ดนิ และน้า ช่วยในการดดู อากาศ เช่น ราก แสม รากลาพู เปน็ ตน้ 2. ลาตน้ ลาต้น คือ อวยั วะของพืชทีโ่ ดยทั่วไปเจริญอยเู่ หนอื พ้ืนดนิ ต่อจากราก มขี นาด รปู ร่าง และลักษณะ แตกต่างกันไป ลาตน้ มีทง้ั ลาต้นอยูเ่ หนอื ดิน เช่น มะละกอ มะมว่ ง มะนาว ชมพู่ เป็นต้น และลาต้นอย่ใู ตด้ ิน เชน่ ขงิ ขา่ ขมิน้ กล้วย หญา้ แพรก พุทธรกั ษา เปน็ ต้น ลาต้นประกอบด้วยสว่ นสาคัญ 3 สว่ น ได้แก่ ข้อ ปลอ้ ง และตา ดังน้ี 1) ข้อ เป็นสว่ นของลาต้นบริเวณท่มี กี ่ิง ใบหรอื ตางอกออกมา ลาต้นบางชนิดอาจมดี อกงอกออกมาแทน กงิ่ หรือมีหนามงอกออกมาแทนกิง่ หรอื ใบ 2) ปล้อง เปน็ ส่วนของลาตน้ ท่ีอยูร่ ะหว่างขอ้ แต่ละข้อ 3) ตา เปน็ ส่วนประกอบท่ีสาคญั ของลาต้น ทาให้เกดิ ก่ิง ใบและดอก ตามรี ูปร่างโค้งนูน หรอื รปู กรวย ประกอบด้วยตายอดและตาขา้ ง หนา้ ทขี่ องลาตน้ มดี งั นี้ 1. เป็นแกนชว่ ยพยุงอวัยวะตา่ งๆ ได้แก่ กงิ่ ใบ ดอก ผล และเมลด็ ช่วยใหใ้ บกางออก รับแสงแดดเพ่ือ ประโยชนใ์ นการสร้างอาหาร โดยวธิ ีการสงั เคราะห์ด้วยแสง 2. เป็นทางลาเลยี งน้าและแรธ่ าตทุ ี่รากดูดข้ึนมาส่งตอ่ ไปยงั ใบและส่วนตา่ งๆ ของพืช 3. เปน็ ทางลาเลยี งอาหารท่ใี บสรา้ งขน้ึ ส่งผ่านลาต้นไปยงั รากและสว่ นอ่ืนๆ นอกจากน้ีลาตน้ ของพืชอีกหลายชนิดยงั ทาหน้าทพ่ี เิ ศษต่างๆ อีก เช่น 1. ลาตน้ สะสมอาหาร เป็นลาต้นท่ที าหนา้ ทเ่ี ป็นแหล่งเก็บสะสมอาหาร จะมีลาต้นอยใู่ ตด้ นิ เช่น ขงิ ขา่ ขมิน้ เผอื ก มนั ฝรง่ั เป็นต้น

2. ลาต้นสังเคราะหแ์ สง พืชบางชนดิ มลี าต้นเปน็ สเี ขียวไว้สาหรับสร้างอาหาร โดยวิธีการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง เช่น กระบองเพชร พญาไรใ้ บ ผักบุ้ง เปน็ ต้น 3. ลาต้นขยายพนั ธ์ุ เช่น โหระพา พลูด่าง โกสน คุณนายต่ืนสาย ลีลาวดี เปน็ ต้น 4. ลาตน้ เปลยี่ นไปเปน็ มอื พนั เพือ่ ช่วยพยุงคา้ จุนลาตน้ เช่น บวบ ตาลงึ นา้ เต้า เปน็ ตน้ 3. ใบ ใบ คือ อวัยวะของพืชทเี่ จริญออกมาจากขอ้ ของลาต้นและก่ิง ใบสว่ นใหญจ่ ะมีสารสีเขยี วเรยี กวา่ คลอโรฟิลล์ ใบมีรูปร่างและขนาดแตกตา่ งกันไปตามชนิดของพืช ใบประกอบด้วย ก้านใบ แผน่ ใบ เส้นกลาง และ เสน้ ใบ นอกจากนใ้ี บของพืชยังมีลกั ษณะอืน่ ๆ ท่ีแตกต่างกันอกี ไดแ้ ก่ 1. ขอบใบ พชื บางชนิดมขี อบใบเรียบ บางชนิดมขี อบใยหยัก 2. ผวิ ใบ พืชบางชนดิ มผี วิ ใบเรียบเปน็ มนั บางชนดิ มีผวิ ใบด้านหรอื ขรขุ ระ 3. สขี องใบ พืชสว่ นใหญ่จะมีใบสเี ขยี ว แตบ่ างชนิดมใี บสอี ื่น เช่น แดง ส้ม เหลือง เป็นต้น 4. เส้นใบ เสน้ ใบของพืชมีการเรียงตัวใน 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1) เรยี งตัวแบบรา่ งแห เช่น ใบมะม่วง ตาลงึ อัญชัน ชมพู่ เป็นตน้ 2) เรยี งตัวแบบขนาน เชน่ ใบกล้วย หญา้ ออ้ ย มะพร้าว ขา้ ว เปน็ ต้น ชนดิ ของใบ มีดังน้ี 1. ใบเดย่ี ว คือ ใบทม่ี แี ผ่นใบเพยี งแผน่ เดยี วติดอยู่บนก้านใบท่ีแตกออกจากกิ่งหรือลาต้น เช่น ใบมะม่วง ชมพู่ กล้วย ขา้ ว ฟักทอง ใบเดี่ยวบางชนดิ อาจมขี อบใบเว้าหยักลึกเข้าไปมากจนดูคล้ายใบประกอบ เช่น ใบมะละกอ สาเก มันสาปะหลงั เป็นต้น

2. ใบประกอบ คอื ใบทม่ี ีแผ่นใบแยกเปน็ ใบย่อยๆ หลายใบ ใบประกอบยงั จาแนกย่อย ได้ดังนี้ 1) ใบประกอบแบบฝ่ามอื เป็นใบประกอบทมี่ ีใบย่อยแต่ละใบแยกออกจากจดุ เดยี วกันที่ส่วนของโคนก้าน ใบ พืชบางชนดิ อาจมีใบยอ่ ยสองใบ เชน่ มะขามเทศ หรอื สามใบ เช่น ยางพารา ถวั่ เหลือง ถว่ั ฝกั ยาว บางชนดิ อาจมีสี่ใบ เชน่ ผักแว่น หรือมากกว่าสีใบ เช่น ใบนุ่น หนวดปลาหมกึ ใบยอ่ ยดังกลา่ วอาจมีก้านใบหรือไม่มกี ็ได้ 2) ใบประกอบแบบขนนก เปน็ ใบประกอบทใ่ี บยอ่ ยแตล่ ะใบแยกออกจากก้านสองข้างของแกนกลาง คล้ายขนนก ปลายสดุ ของใบประกอบอาจมีใบย่อยใบเดียว เชน่ ใบกุหลาบ หรืออาจมใี บยอ่ ยสองใบ เช่น ใบ มะขาม หน้าทขี่ องใบ มีดงั น้ี 1. สรา้ งอาหาร ใบของพืชจะดูกแก๊สคาร์บอนไดออกไซดเ์ พือ่ นาไปสร้างอาหาร เรียกกระบวนการสร้าง อาหารของพืชวา่ การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง 2. คายน้า พืชคายนา้ ทางปากใบ 3. หายใจ ใบของพืชจะดูดแก๊สออกซิเจนและคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ นอกจากนี้ใบยงั อาจเปลีย่ นแปลงไปเพือ่ ทาหนา้ ท่ีพิเศษอื่นๆ เช่น 1. สะสมอาหาร เช่น ใบว่านหางจระเข้ กลบี ของกระเทยี ม และหัวหอม เป็นต้น 2. ขยายพันธ์ุ เชน่ ใบคว่าตายหงายเป็น ใบเศรษฐพี นั ลา้ น เป็นตน้ 3. ยดึ และพยงุ ลาต้นใหไ้ ตข่ นึ้ ทส่ี งู ได้ เช่น ใบตาลึง ใบมะระ และถัว่ ลนั เตา เปน็ ต้น 4. ลอ่ แมลง เชน่ ใบดอกของหนา้ ววั ใบดอกของเฟ่อื งฟ้า เปน็ ตน้ 5. ดกั และจับแมลง ทาหน้าท่ีจับแมลงเปน็ อาหาร เช่น ใบหม้อขา้ วหมอ้ แกงลิง ใบกาบหอยแครง เป็นต้น 6. ลดการคายนา้ ของใบ เชน่ ใบกระบองเพชรจะเปล่ยี นเปน็ หนามแหลม เปน็ ตน้ 4. ดอก ดอก คือ อวยั วะสืบพันธุ์ของพชื ทาหนา้ ที่สบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศ ทีเ่ กดิ มาจากตาชนิดตาดอกท่ีอยู่ตรง บริเวณปลายยอด ปลายกิ่ง บริเวณลาต้นตามแต่ชนดิ ของพืช ดอกประกอบด้วยสว่ นต่างๆ ดงั น้ี รปู แสดงสว่ นประกอบของดอกไม้ ดอกประกอบดว้ ยส่วนตา่ งๆ 4 สว่ น แตล่ ะสว่ น จะเรยี ง เปน็ ช้ันเป็นวงตามลาดบั จากนอกสุดเขา้ สู่ด้านใน คือ กลีบ เลยี้ ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี ดังนี้ 1. กลบี เลยี้ ง เป็นส่วนของดอกท่ีอยูช่ นั้ นอกสดุ เรยี งกัน เป็นวง เรียกวา่ วงกลบี เลยี้ ง ส่วนมากมีสีเขียว เจรญิ เปลี่ยนแปลงมาจากใบ ทาหนา้ ทป่ี ้องกนั อันตรายต่างๆ จาก สิ่งแวดล้อม แมลงและศัตรูอนื่ ๆ ทจ่ี ะมาทาอันตรายใน ขณะที่ ดอกยังตูมอยู่ นอกจากนี้ยังช่วยในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง จานวน กลบี เล้ียงในดอกแตล่ ะชนดิ อาจไม่เทา่ กัน ดอกบางชนิดกลีบเล้ียงจะติดกนั หมดตั้งแตโ่ คนกลบี จนเกอื บถึงปลาย

กลบี มีลักษณะคล้ายถ้วยหรอื หลอด เช่น กลบี เลยี้ งของดอกชบา แตง บานบุรี แค บางชนิดมกี ลบี เลี้ยงแยกกนั เปน็ กลบี ๆ เช่น กลบี เล้ยี งของดอกบวั สาย พทุ ธรักษา กลีบเล้ียงของพชื บางชนดิ อาจมีสีอน่ื นอกจากสีเขยี ว ทา หน้าท่ีช่วยช่อแมลงในการผสมเกสรเชน่ เดยี วกบั กลีบดอก 2. กลบี ดอก เป็นส่วนของดอกทอ่ี ย่ถู ดั จากกลบี เลี้ยงเขา้ มาข้างใน มีสีสันต่างๆ สวยงาม เช่น สีแดง เหลือง ชมพู ขาว มกั มีขนาดใหญก่ ว่ากลบี เลี้ยง บางชนดิ มีกลน่ิ หอม บางชนิดตรงโคนกลบี ดอกจะมตี อ่ มน้าหวาน เพ่ือชว่ ยล่อแมลงมาชว่ ยผสมเกสร 3. เกสรเพศผู้ เป็นสว่ นของดอกที่อยู่ถัดจากกลบี ดอกเข้ามาข้างใน ประกอบดว้ ยกา้ นชอู ับเรณู อบั เรณู ซง่ึ ภายในบรรจลุ ะอองเรณูมลี กั ษณะเป็นผงสีเหลอื ง อับเรณทู าหนา้ ที่สร้างละอองเรณู ภายในละอองเรณูมี เซลล์สบื พนั ธ์เุ พศผู้ 4. เกสรเพศเมยี เปน็ สว่ นของดอกทอี่ ยชู่ ้นั ในสุด ประกอบด้วยยอดเกสรเพศเมยี กา้ นยอดเกสรเพศเมยี รังไข่ ออวุล และเซลล์ไข่ ชนดิ ของดอก มีดังน้ี ดอกของพชื โดยทั่วไปมสี ว่ นประกอบทส่ี าคัญครบ 4 สว่ น คือ กลีบเลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และ เกสรเพศเมยี แต่ดอกของพืชบางชนดิ มีสว่ นประกอบไมค่ รบ 4 ส่วน จงึ จาแนกดอกเป็น 2 ประเภท โดย พจิ ารณาจากสว่ นประกอบเป็นเกณฑ์ ได้แก่ 1. ดอกสมบรู ณ์ คอื ดอกทีม่ ีสว่ นประกอบครบ 4 สว่ น ได้แก่ กลีบเลยี้ ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และ เกสรเพศเมีย เชน่ ดอกชบา ดอกกหุ ลาบ ดอกอญั ชัน เป็นต้น 2. ดอกไม่สมบรู ณ์ คอื ดอกท่ีมสี ่วนประกอบไมค่ รบ 4 สว่ น เช่น ดอกหน้าวัว ดอกตาลงึ ดอกฟกั ทอง ดอกมะละกอ เปน็ ตน้ รปู แสดงลกั ษณะดอกไมส่ มบรู ณข์ องดอกฟกั ทอง ถา้ พจิ ารณาเกสรของดอกทท่ี าหนา้ ทสี่ ืบพันธุเ์ ปน็ เกณฑ์ จะจาแนกดอกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ดอกสมบรู ณเ์ พศ คือ ดอกทมี่ เี กสรเพศผู้และเกสรเพศเมียอยใู่ นดอกเดียวกนั เชน่ ดอก ชบา ดอกมะม่วง ดอกต้อยติ่ง ดอกอญั ชัญ ดอกมะเขอื เป็นตน้ 2. ดอกไม่สมบรู ณเ์ พศ คอื ดอกทมี่ เี กสรเพศผู้หรือเกสรเพศเมียอยภู่ ายในดอกเพียงเพศเดยี ว ดอกทม่ี ี เกสรเพศผู้อยา่ งเดยี ว เรยี กวา่ ดอกเพศผู้ และดอกท่ีมีเกสรเพศเมยี อย่างเดียว เรยี กวา่ ดอกเพศเมยี เชน่ ดอก ฟกั ทอง ดอกบวบ ดอกตาลึง ดอกมะละกอ เปน็ ตน้ แต่ถา้ พจิ ารณาจานวนดอกที่เกดิ จากหนึ่งกา้ นดอกเปน็ เกณฑ์ จะจาแนกดอกออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ดอกเดย่ี ว คอื ดอกทเี่ กดิ ข้ึนบนก้านดอก เปน็ ดอกเดียวโดดๆ เชน่ ดอกจาปี ดอกชบา เปน็ ตน้ 2. ดอกชอ่ คือ ดอกท่ีเกิดเปน็ กลุ่มบนก้านดอก ประกอบดว้ ยดอกย่อยหลายดอก แต่ละดอกย่อยมกี า้ น ดอกย่อยอยูบ่ นก้านดอก เชน่ ดอกหางนกยงู ดอกกล้วยไม้ ดอกทานตะวัน ดอกกระถนิ ณรงค์ เปน็ ตน้ หนา้ ทข่ี องดอก มีดงั นี้ 1. ชว่ ยลอ่ แมลงใหม้ าผสมเกสร 2. ทาหน้าทีผ่ สมพนั ธ์ุ 5. ผล

ผล (fruit) คอื รังไข่ทเี่ จรญิ เติบโตเตม็ ทีแ่ ล้ว (mature ovary) รงั ไข่ดังกล่าวอาจเจรญิ เปลีย่ นแปลงมา ภายหลงั การปฏสิ นธิ ซึ่งจะมีเมล็ดอยู่ภายในหรอื เจรญิ มาโดยไม่ไดร้ ับการปฏิสนธหิ รอื พารท์ ีโนคาร์ ปี ( parthenocarpy) ผลประเภทหลังนี้โดยทัว่ ไปจะไมม่ เี มลด็ เรยี กวา่ ผลพารท์ โี นคาร์ปกิ (parthenocarpic fruit) เมล็ด เป็นแหล่งสะสมสารพันธกุ รรมของพชื ชนิดนั้น ๆ และสามารถขยายพนั ธ์ตุ อ่ ไปได้ ผลของพชื บาง ชนิดอาจมสี ว่ นอื่น ๆ ของดอกเจริญควบค่มู ากับรังไขแ่ ละกลายเปน็ ส่วนหน่ึงของผลด้วย เช่น มงั คดั แอปเปิล ฝรัง่ ทบั ทมิ มกี ลีบเล้ยี งรวมอยู่ ชมพู่ แอปเปลิ้ และมะเด่อื มีสว่ นของฐานดอกรวมอยู่ เป็นต้น 6. เมล็ด (Seed) เมลด็ ประกอบดว้ ยสว่ นสาคัญ คือ เปลือกห้มุ เมลด็ ต้นอ่อน และ อาหารสาหรับเล้ียงต้นอ่อน สว่ นที่ คลา้ ยตน้ และใบเล็ก ๆ อยู่ภายในเมลด็ คอื ต้นออ่ นและ สว่ นที่มีสขี าว หนา แยกออกได้เป็น2ซีก คอื อาหารสาหรับเลย้ี งต้นอ่อน 1. Seed coat (เปลอื กหมุ้ เมล็ด) เกิดมาจากเยอื่ ทห่ี ุ้มไข่ ทาหนา้ ที่ ปอ้ งกันอันตรายให้กับเอมบริโอ ปอ้ งกันการสูญเสยี น้า เปลอื กห้มุ เมลด็ มี 2 ชนั้ เปลือกช้ันนอกหนา เหนยี ว และแขง็ เรยี กว่า เทสตา (testa) สว่ นเปลือกช้นั ในมักเป็นเยือ่ บาง ๆ เรยี กว่า เทกเมน (tegmen) 2. Endosperm (เอมโดสเปริ ม์ ) ทาหน้าท่ีสะสมอาหารพวกแป้ง ไขมนั โปรตีน และน้าตาล ให้แก่ เอมบริโอ(ตน้ อ่อน) 3. Embryo เจริญจากไซโกต มีส่วนประกอบทสี่ าคญั คอื - Cotyledon (ใบเลยี้ ง) มีหนา้ ทีเ่ ก็บสะสมอาหารใหแ้ ก่เอมบริโอ และป้องกันการบบุ สลายของเอมบรโิ อขณะท่ีมี การงอก - Caulicle (ลาต้นออ่ น) ประกอบ 2 สว่ นคอื ลาต้นอ่อนเหนือใบเลย้ี ง เรียกว่า เอปิคอติล(epicotyl) มสี ่วน ปลายสดุ เรยี กวา่ ยอดอ่อน ซึ่งเจรญิ เป็นลาตน้ กิ่ง ก้าน ใบ และดอก สว่ นลาต้นออ่ นใตใ้ บเลี้ยง เรียกวา่ ไฮโปคอ ตอล (hypocotyl) มสี ่วนปลายสุดเรียกวา่ รากอ่อน จะเจริญเป็นรากแกว้ ลกั ษณะการงอกของเมลด็ แบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คอื 1. การงอกที่ชูใบเล้ยี งขึน้ มาเหนือดนิ (Epigeal germination) รากอ่อนงอกโผลพ่ น้ เมล็ดออกทาง รู ไมโครโพล(์ micropyle) เจรญิ สูพ่ นื้ ดินจากนั้น ไฮโปคอติล(hypocotyl) จะงอกและเจริญยดึ ยาวตามอย่าง รวดเรว็ ดงึ สว่ นของใบเลี้ยง(cotyldon) กบั เอปิคอติล(epicotyl) ขึน้ มาเหนอื ดนิ เชน่ การงอกของพืชในเลีย้ งคู่ ต่าง ๆ 2. การงอกทีฝ่ ังใบเล้ียงไว้ใตด้ ิน (Hypogeal germination) พบใน พชื ใบเลยี้ งเดย่ี ว พืชพวกนีม้ ีไฮโป คอติล(hypocotyl) ส้ัน เจริญช้า สว่ นเอปิคอติล(epicotyl) และยอดอ่อน (plumule) เจริญยดื ยาวได้อย่าง

รวดเร็ว เช่น เมล็ดข้าว ขา้ วโพด หญ้า ฯลฯ การพกั ตัวของเมลด็ (Dormancy) หมายถงึ สภาพท่เี อมบริโอใน เมลด็ สามารถคงสภาพและมชี ีวติ อยูไ่ ดโ้ ดยไม่เกดิ การงอก สาเหตขุ องการพักตวั ของเมลด็ เนอ่ื งจาก 1. เปลือกหมุ้ เมล็ดแขง็ และหนาเกนิ ไป 2. เมลด็ บางชนดิ มีสารยบั ยง้ั การงอก 3. เอมบริโอในเมลด็ ยังเจริญไมเ่ ต็มท่ี 4. เอมบรโิ อพกั ตัว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook