การพยาบาลระบบทางเดนิ หายใจ ในเด็ก เบญญาภา พภิ ชั ปวนั
ความแตกตา่ งของระบบทางเดนิ หายใจในเด็กกบั ผูใ้ หญ่• ลนิ ของเด็กมขี นาดใหญ่เมอื เทยี บกบั ขากรรไกรล่าง ทาํ ใหล้ นิ ตกอดุ ทางเดนิ หายใจไดง้ ่าย โดยเฉพาะเมอื เด็ก นอนทา่ หงาย• กลอ่ งเสยี ง (Larynx) ในเด็กอยูค่ อ่ นมาทางขา้ งหนา้ และกระดกู อ่อนยงั ไม่เจรญิ ดี• ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของทางเดนิ หายใจมขี นาดเล็ก• ขนาดทรวงอก ผนังทรวงอกออ่ น นิม และเล็ก• จาํ นวนถงุ ลมมนี อ้ ยทาํ ใหพ้ นื ทสี าํ หรบั การแลกเปลยี น กา๊ ซนอ้ ยกวา่ 3
ความแตกต่างของระบบทางเดนิ หายใจในเด็กกบั ผูใ้ หญ่• ปรมิ าณตอ่ ม Mucous gland มมี าก แตก่ ารขบั สงิ แปลกปลอมของcilia และการไอ ยงั ไม่มี ประสทิ ธภิ าพ จงึ เกดิ ปัญหาการอดุ กนั ทางเดนิ หายใจจากเสมหะไดง้ ่าย• เด็กจะมเี มตาบอลซิ มึ สงู กวา่ ผใู ้ หญ่ถงึ 2 เท่า ความตอ้ งการออกซเิ จนมมี ากกวา่• การสรา้ งภมู คิ มุ ้ กนั โรคยงั ไมส่ มบรู ณ์ เพราะ Ig A , IgM และ Macrophage ยงั ทาํ งานไดไ้ ม่ สมบูรณ์ ทาํ ใหต้ ดิ เชอื ทางเดนิ หายใจไดง้ ่าย 4
โรคหวดั สาเหตุ เกดิ จากการติดเช้ือไวรัสหลาย ชนดิ สว นใหญเปน rhino virus และ corona virusอาการและอาการแสดง ในเด็กเล็กมกั มไี ขร้ ว่ มดว้ ย เด็กอายุ 3 เดอื น – 3 ปี อาจมไี ขส้ งู อาการเรมิดว้ ยคดั จมกู ระคายคอ หรอื เจ็บคอเล็กนอ้ ย มกั มจี ามนํามูกใส มไี ขต้ ํา ๆ เกดิ ขนึ ใน 2-3 ชวั โมง เด็กมกั ไม่สบาย เบอื อาหาร ปวดเมอื ย และมอี าการไอ
การพยาบาล1. ใหเ้ ด็กไดพ้ กั ผ่อนและจดั ใหเ้ ล่นเงยี บ ๆ หลกี เลยี งการคลกุคลเี ด็กอนื2. ถา้ มไี ขส้ งู ใหเ้ ชด็ ตวั ลดไขด้ ว้ ยนําธรรมดา และใหย้ าลดไข ้3. ถา้ มนี ํามกู ไหลใหเ้ ชด็ ดว้ ยสําลนี ุ่ม ๆ และทาครมี ป้ องกนัการเกดิ การระคายเคอื ง ในเด็กเล็กใชล้ กู สบู ยางแดงชว่ ยดดูนํามูก หรอื ลา้ งจมกู ดว้ ยนําเกลอื เด็กโตใหล้ า้ งจมูกหรอื สงันํ ามูกเบาๆ4. กระตนุ ้ ใหด้ มื นํามากๆเพอื ชว่ ยละลายนํามูกใหเ้ หลว ขบัออกไดง้ า่ ย
การพยาบาล5. ใหย้ าลดบวมในจมกู หรอื ยาแกค้ ดั จมูกตามแผนการรกั ษา ในกรณีมผี ปู ้ ่ วยมเี ยอื บจุ มกู บวมหายใจไมอ่ อก6.สงั เกตอาการแสดงทเี ปลยี นแปลงเชน่ หายใจเรว็ขนึ หายใจลาํ บากตอ้ งรบี รายงานแพทยเ์ พอื เปลยี นแผนการรกั ษาภาวะแทรกซอ้ น อาจเกดิ หชู นั กลางอกั เสบ หลอดคออกั เสบ หรอื ปอดบวมได ้
โรคคออกั เสบ (Pharyngitis)Pharyngitis คอื การตดิ เชอื บรเิ วณ หลอดคอ (Pharynx)สาเหตุ สว่ นใหญเ่ กดิ จากไวรสั หรอื แบคทเี รยี group A, hemolytic streptococcus
โรคหลอดคออกั เสบ
อาการและอาการแสดง ขนึ อยกู่ บั เชอื ทที ําใหเ้ กดิ ถา้ Virus ในระยะแรกมกั มไี ขอ้ อ่ นเพลยี เบอื อาหาร และตอ่ มาจะเจ็บคอ อาจมนี ํามกู ไหล ไอ และมเี สยี งแหบ หากเกดิ จากแบคทเี รยี Streptococcus เด็กจะเรมิ ดว้ ยปวดศรี ษะ ปวดทอ้ ง และอาเจยี น บางครงั จะมีไขส้ งู ตอ่ มาเด็กจะบน่ เจ็บคอมาก ถา้ รนุ แรงมากจะทําใหม้ กี ารกลนื ลําบาก และ 1 ใน 3 ของเด็กทเี ป็ นจะมีTonsil โต และ Pharynx บวมแดง
การพยาบาล1. ใหเ้ ด็กไดพ้ กั ผ่อนและจดั ใหเ้ ลน่ เงยี บ ๆ หลกี เลยี งการคลกุคลเี ด็กอนื2. ถา้ มไี ขส้ งู ใหเ้ ชด็ ตวั ลดไขด้ ว้ ยนําธรรมดา และใหย้ าลดไข ้3. ถา้ มนี ํามูกไหลใหเ้ ชด็ ดว้ ยสาํ ลนี ุ่ม ๆ และทาครมี ป้ องกนัการเกดิ การระคายเคอื ง4. ถา้ เด็กเจ็บคอควรประคบดว้ ยนํารอ้ นหรอื นําเย็นบรเิ วณรอบคอ เพอื บรรเทาอาการเจ็บคอ และควรสอนใหเ้ ด็กกลวัปากดว้ ยนําเกลอื อนุ่ ๆ และหมนั ดแู ลรกั ษาความสะอาดในชอ่ งปาก เพอื ลดจาํ นวนเชอื ในชอ่ งปากและคอลง
การพยาบาล5. สงั เกตอาการเปลยี นแปลง หากมอี าการหายใจ ลาํ บากและอาการอดุ ตนั ทางเดนิ หายใจ แสดง วา่ มฝี ี เกดิ ขนึ รอบ ๆ หรอื หลงั ทอลซลิ ตอ้ ง รายงานแพทย ์ เพอื พจิ ารณาเปลยี นแปลง แนวทางรกั ษา 6. ใหก้ ลวั คอดว้ ยนําเกลอื บอ่ ยๆ เพอื บรรเทา อาการเจ็บคอ 7. สอนใหเ้ ด็กปิ ดปากเวลาไอ สอนญาตแิ ละ สมาชกิ ปิ ดจมูกดว้ ยผา้ ปิ ดจมูก และลา้ งมอื ทกุ
ทอนซลิ อกั เสบเฉียบพลนั (Acute tonsillitis) สาเหตุ เช้ือแบคทีเรยี เช้ือทพ่ี บบอ ย Streptococcus group A พยาธิสรรี ภาพ ตอ มทอนซลิ สวนใหญม กั พบเชอ้ื Streptococcus group A ทาํ ให ตอ มทอนซิลบวมแดง บางครงั้ มหี นองท่ีเยื่อบผุ วิ ถกู ทําลาย เนอ้ื เยอ่ื ของตอมขรุขระเปนหนอง มกี ลิน่ เหม็นมกี ารอกั เสบอาจลกุ ลามไปยังลนิ้ ไก ผนงั คอ และตอ มน้าํ เหลอื งตา งๆ
อาการและอาการแสดง เจ็บคอมากเวลากลนื ไขส้ งู หนาวสนั รสู ้ กึ แน่นในคอ บางครงั ปวดรา้ วมาทหี ู เบอื อาหาร ปวดศรี ษะปวดกลา้ มเนือ ออ่ นเพลยี ตรวจในชอ่ งคอพบต่อมทอนซลิ โต บวม แดง มหี นองสเี หลอื งๆ เป็ นจดุ หรอืเป็ นแผน่ สขี าว มกั พบตอ่ มนําเหลอื ง บรเิ วณคอโต และกดเจ็บ
การรกั ษา• ดแู ลใหพ้ กั ผอ่ น ดมื นําตามมากๆ ดแู ลความ สะอาดปากและฟัน ใหย้ าปฏชิ วี นะใหย้ าแกป้ วด ลดไข ้ เชด็ ตวั ลดไข ้ และดแู ลใหอ้ าหารออ่ นหรอื เหลว หรอื ผ่าตดั ตอ่ มทอนซลิ ออก Tonsillectomyภาวะแทรกซอ น ปอดอักเสบไตอกั เสบโรคหวั ใจรมู าติก กระดูกอักเสบ หรือไขร มู าติก ฝรอบทอนซลิ
โรคหอบหดื
สาเหตุ เชอ่ื วาเกิดจากมีสิ่งกระตนุ ใหเกิดการแพ เชน ฝุน ไร การออกกาํ ลังกายหรือการเปลยี่ นแปลงของอากาศพยาธิสรีรภาพ เกดิ จากการอกั เสบเร้อื รังของเนื้อเยอ่ื บุหลอดลมทางเดนิหายใจ และทาํ ใหเกดิ การตอบสนองมากกวา ปกตขิ องหลอดลม (Bronchialhyperactivety, BHR) จงึ สง ผลใหมกี ารหดเกรง็ ของหลอดลม (bronchialconstriction) ทาํ ใหเกิดอาการหอบขึ้น
อาการและอาการแสดง อาจจะมปี ระวตั เิ คยเป็ นมากอ่ นแลว้ เมอื ไดร้ บัสงิ กระตนุ ้ หรอื มกี ารตดิ เชอื ไวรสั มากอ่ น จะทําใหเ้ ป็ นหวดั มอี าการไอ แตไ่ อไม่มาก ไม่มเี สมหะ หายใจลําบาก เหนือยหอบ ถา้ นังศรี ษะสงู จะสบายกวา่ นอน การพยาบาล 1. หมนั สงั เกตอาการเปลยี นแปลงของสญั ญาณชพี โดยเฉพาะการหายใจ เพราะถา้ เด็กเหนือยหอบมาก อาจจะทาํ ใหเ้ กดิ ภาวะเลอื ดเป็ นกรดเกดิ ขนึ จะทําให ้ อาการของเด็กเลวลง ตอ้ งรายงานเพอื ใหแ้ พทย ์ พจิ ารณาในการรกั ษา
2. ควรใหเ้ ด็กรบั ประทานอาหารทลี ะนอ้ ย แต่บอ่ ยครงั เพราะจะทาํ ใหเ้ ด็กเหนือยนอ้ ยกวา่รบั ประทานอาหารทลี ะมาก ๆ 3. ถา้ เด็กมอี าการเขยี ว ใหอ้ อกซเิ จนชนิดbox ซงึ วธิ นี ีจะทาํ ใหเ้ ด็กไดท้ งั ละอองนํา และออกซเิ จน 4. ดูแลใหไ้ ดร้ บั ยาขยายหลอดลมหรอื ยาทีลดการหดเกรง็ ตวั ของหลอดลมตามแผนการรกั ษารวมทงั สงั เกตภาวะแทรกซอ้ นขณะไดร้ บัยา
5. ดแู ลใหไ้ ดร้ บั สารนําอย่างเพยี งพอ เพราะในเด็กทหี อบมากจะเสยี นําไปในระบบทางเดนิหายใจ รว่ มกบั เด็กบางคนอาจจะรบั ประทานได ้นอ้ ยลง หรอื มไี ขร้ ว่ มดว้ ย อาจทําใหเ้ กดิdehydration ได ้6. จดั ทา่ นอนใหเ้ หมาะสม จดั ใหเ้ ด็กอย่ใู นท่าศรี ษะสงู จะชว่ ยทาํ ใหก้ ารหายใจดขี นึ
7. ใหก้ ายภาพบาํ บดั ทรวงอก ในรายทมี เี สมหะมาก เพอื ชว่ ยขบั เสมหะออก ป้ องกนัภาวะแทรกซอ้ น เชน่ ถงุ ลมโป่ งพอง 8. ลดความวติ กกงั วลของพ่อแม่ เพราะในเด็กทมี อี าการรนุ แรง จะทาํ ใหอ้ าการเปลยี นแปลงอย่างรวดเรว็ โดยทพี ่อแม่มไิ ด ้เตรยี มใจมากอ่ น จะตอ้ งอธบิ ายวา่ เกดิ อะไรขนึ กบั ลูกของเขา และจะใหก้ ารชว่ ยเหลอือย่างไร ซงึ จะชว่ ยลดความวติ กกงั วลลงได ้
9. ใหค้ าํ แนะนําในการปฏบิ ตั ติ วั เมอื กลบั ไป บา้ นวา่ ควรสงั เกตวา่ เด็กแพส้ งิ ใด ให ้ หลกี เลยี งสงิ ทกี อ่ ใหเ้ กดิ การแพ ้ เชน่ สถานทที มี ฝี ่ ุนละออง ขนสตั วต์ า่ ง ๆ รวมทงั สงิ ระคายเคอื งอนื ๆ เชน่ ควนั ไฟ ควนั บหุ รี10. ใหอ้ อกกาํ ลงั กายบา้ ง แตไ่ ม่หกั โหม เพราะ ถา้ ออกกาํ ลงั กายมากเกนิ ไป อาจจะกระตนุ ้ ใหเ้ ด็กมอี าการหอบมากขนึ
โรคหลอดลมอกั เสบ
คอื การอกั เสบของหลอดลมใหญ่สาเหตุ ส่วนใหญ่เกดิ จากตดิ เชอื ไวรสั ทพี บบ่อยไดแ้ ก่ Rhinovirus, RSV Influenzae และParainfluenzae สว่ นเชอื แบคทเี รยี ทที าํ ใหเ้ กดิ ตดิเชอื ซาํ ภายหลงั จากทเี ป็ น normal flora บรเิ วณทางเดนิ หายใจสว่ นบน ไดแ้ ก่ Streptococcuspneumoniae, Hemophilus influenzae และStaphylococcus aureus
พยาธสิ ภาพ การอกั เสบของหลอดลมใหญแ่ ละหลอดลมคอเรมิ ตน้ ดว้ ยการบวมของเยอื บุชนั mucosa และทําใหม้ ี mucous secretion ออกมากขนึ เมอืขบวนการอกั เสบเพมิ ขนึ ทาํ ใหเ้ สมหะมากขนึขณะเดยี วกนั เกดิ การทาํ ลายเซลลเ์ ยอื บชุ นิดciliated และมหี ลดุ ลอกของเซลลเ์ หล่านี ดว้ ยเหตุเหลา่ นีทาํ ใหเ้ สมหะมลี กั ษณะเป็ นหนอง (purulentsputum) ทาํ ใหเ้ ด็กไอ มเี สมหะเป็ นหนองได ้
อาการและอาการแสดง จะมอี าการคลายไขห วดั หรอื มไี ขน าํ มากอ น 3-4 วนั แลวจึงเร่มิ มอี าการไอ อาการเกดิ ขน้ึ แบบคอ ยเปน คอ ยไป ระยะแรกไอแหง ๆ ไมม เี สมหะ เดก็ บางรายอาจมอี าการเจ็บหนา อกบรเิ วณ sternum และเจบ็ มากขึน้ เม่อื เวลาไอ หากโรคดาํ เนินตอ ไป เดก็ จะไอมีเสมหะใสและเปลีย่ นเปนหนองเสมหะและการไอจะคอ ย ๆ ลดลงและหายไปภายใน 7-10 วนัไมเ กิน 2 สัปดาห หากมีอาการไอนานกวา น้ี มกั จะมีการตดิเชื้อแบคทเี รยี ซ้ํา ซงึ่ จะทาํ ใหเ สมหะมีกล่นิ และมีจาํ นวนมากข้ึนหรอื เกดิ ปอดอักเสบได
การพยาบาล1. ดแู ลใหเ้ ด็กไดร้ บั การพกั ผ่อน2. ในรายทมี เี หนือยหอบ ดแู ลใหอ้ อกซเิ จน ทมี ีความชนื ทเี หมาะสม เพอื ใหเ้ ยอื บหุ ลอดลมบวมนอ้ ยลง เสมหะใส ขบั ออกไดง้ า่ ย 3. ทํากายภาพบําบดั ทรวงอกให ้ ในรายทเี ด็กมีเสมหะมาก การเคาะและการสนั สะเทอื น และชว่ ยให ้เด็กไอ ชว่ ยลดการเกาะตวั ของเสมหะ เพอื ป้ องกนัการอดุ กนั ในทางเดนิ หายใจ
4. ดแู ลใหย้ าขบั เสมหะ และละลายเสมหะตามแผนการรกั ษา 5. ดแู ลใหไ้ ดร้ บั สารนําและสารอาหารอยา่ งเพยี งพอ เพราะในเด็กทไี อมากจะออ่ นเพลยี และรบั ประทานอาหารไดน้ อ้ ยลง
โรคนิวโมเนีย
โรคปอดบวม หรอื ปอดอกั เสบ (Pneumonia)• สาเหตุ ไวรสั เชอื ทพี บบอ่ ย คอื RSV และ Parain fluenzae S. pneumoniae (พบไดท้ ุกกลมุ่ อาย)ุ เชอื Staphtococcus พบบอ่ ยในเด็กทมี อี ายตุ าํ กวา่ 1 ปี 31
พยาธสิ ภาพ เป็ นการอกั เสบของเนือปอด ซงึประกอบดว้ ยหลอดลมฝอยส่วนปลาย(Terminal and respiratorybronchioles) ถงุ ลม (Alveoli) และเนือเยอืโดยรอบ (Interstitium) - ทําใหห้ ลอดลมฝอยส่วนปลายสดุ และถงุลมปอดเต็มไปดว้ ย Exudates ปอดจงึ ไม่สามารถรบั ออกซเิ จนไดเ้ พยี งพอ
พยาธสิ ภาพ PneumoniaStaphylococcus aureus - ทาํ ลายปอดเกดิ เป็ นเนือตายทมี ี เลอื ดออก (Hemolyticnecrosis) ซงึ เรยี กว่า bullous lesion - เกดิ ฝี ในปอด (Lung abscesses) ในรายที มกี ารอกั เสบและเกดิ เป็ นฝี รอบ ๆ หลอดลม…> เกดิ bleb หรอื preumatocele ขนึ ได ้ 33
ภาวะแทรกซอ้ น• pleural effusion• Empyema• lung abscess• เยอื หุม้ หวั ใจอกั เสบ• อาจพบ SepsisMenigitis, Atelectasis 34
การพยาบาล1. สงั เกตอาการของ Empyema โดยเด็กจะมีอาการเจ็บปวด หายใจลาํ บาก เขยี ว และหนา้ อกไม่เคลอื นไหว หรอื เคลอื นไหวนอ้ ยกวา่ อกี ขา้ งหนึง (ปอดบวมจากเชอื Staphytococcus)2. ประเมนิ โดยเฉพาะสภาพการหายใจของเด็กวา่ มอี าการหายใจลาํ บากหรอื ไม่ สงั เกตภาวะแทรกซอ้ นจากเยอื หุม้ หวั ใจอกั เสบ ไดแ้ ก่การเจ็บหนา้ อกเหนือหวั ใจและทรวงอกสว่ นลา่ ง(Precordium) ซงึ เป็ นมากเวลาไอ 35
3. วดั สญั ญาณชพี ตามความรนุ แรงทพี บ4. ดแู ลใหไ้ ดร้ บั สารนําอยา่ งเพยี งพอ ในรายทเี บอือาหาร รบั ประทานไดน้ อ้ ย ควรดแู ลให ้ IV ชดเชย5. ควรใหเ้ ด็กนอนตะแคงดา้ นทมี พี ยาธสิ ภาพ เพอืบรรเทาอาการปวด6. กระตนุ ้ ใหเ้ ปลยี นท่านอนบ่อยๆ และเคาะปอดในรายทมี เี สมหะมาก เพอื ชว่ ยลดการคงั ของเสมหะ7. เชด็ ตวั ใหด้ ว้ ยนําธรรมดา ถา้ มไี ข ้ และใหย้ าลดไข ้
8. ดูแลใหพ้ กั ผอ่ น9. หากมอี าการทอ้ งอดื อาจสวนอจุ จาระให ้ หรอื ใส่ rectal tube ตามแผนการรกั ษา10. แยกเด็กอยา่ งเขม้ งวดในรายทเี ป็ น Staphytococcal pneumonia
การให ้ ออกซเิ จนชนิดตา่ งๆวตั ถุประสงค ์1. แกไ้ ขภาวะพรอ่ งออกซเิ จน โดยเพมิ ความเขม้ ขน้ ของ ออกซเิ จนในเลอื ด2. ลดการทํางานของระบบหายใจ (Work of breathing)3. ลดการทาํ งานของกลา้ มเนือหวั ใจ (Myocardial work)4. ป้ องกนั การเกดิ Corpulmonale และหวั ใจซกี ขวาลม้ เหลว จากการพรอ่ งออกซเิ จนเป็ น
อาการแสดงภาวะ ออกซเิ จนตาํ ลกั ษณะการหายใจจะมอี าการหายใจเขา้ เรว็ ลกึ มากกว่าหายใจออก รนุ แรงมี air hungerอาการทางกาย จะพบภาวะซดี ผวิ , หนา้ , รมิ ฝี ปาก มี เล็บมอื เทา้ เขยี วคลาํ เจ็บหนา้ อก หาวบ่อย ปวดและ มนึ ศรี ษะ* ถา้ เป็ นอาการเขยี วส่วนกลาง (central cyanosis) สงั เกตไดจ้ ากรมิ ฝี ปากเขยี วคลํา ถา้ เป็ นอาการเขยี ว ส่วนปลาย (peripheral cyanosis) จะเห็นว่าปลาย มอื ปลายเทา้ เขยี ว แต่รมิ ฝี ปากแดงดี
เครอื งใชใ้ นการให้ ออกซเิ จน1. Flow meter เปนตวั ควบคมุ จาํ นวนลิตรของออกซเิ จนลักษณะเปนหลอดแกว ใส ภายในมหี ุนลอย2. ขวดทาํ ความช้นื (Humidifier) และ นาํ้ กลัน่ (Sterilewater)3. สายยางหรอื สายพลาสติก Nasal cannular, maskwith reservoir bag, T – piece ยางชนิดลกู ฟูก(Corrugated tube), Box, Hood
วิธกี ารใหอ อกซิเจนชนดิ ตาง ๆ ชนิดอุปกรณ อัตราการไหลของ O2 ความเขมขน ของO2 (ลติ ร/นาท)ีNasal canula 24 – 44 %Simple mask 2-4 40 - 60 %Mask with reservoir bag 6–8 60 - 90 % 6-10 90 – 99+ %Oxygen Hood 10-15 30-70 %Oxygen box 4-6 40 - 60 %Non re-breathing mask 6 - 10 90 – 100 %Croupette tent 6 – 10T - Piece 8 – 10 60 % 5–8 80 - 90 %
ภาวะแทรกซอ้ น1. Oxygen toxicityทาํ ใหเ้ นือปอดถกู ทําลาย ทําใหเ้ ยอื บุสรา้ งสารคดั หลงั มากกว่าปกติการบําบดั ดว้ ยออกซเิ จนอาจทําใหเ้ กดิ retinopathy of prematurity (ROP)2. ทําใหร้ ะคายเคอื งทางเดนิ หายใจ และ ciliary function ของหลอดลมลดลง
การพยาบาลผูป้ ่ วยเดก็ ทไี ดร้ บั การ รกั ษาดว้ ยการพน่ ยาวัตถปุ ระสงค 1. ใหค วามช้นื รวมกับอากาศหรือ O2 ท่หี ายใจเขา ไปในทางเดิน หายใจ ทาํ ใหเพมิ่ ประสิทธิภาพในการกาํ จัดเช้ือโรคและสง่ิ แปลกปลอม 2. ใหย าเขาไปในทางเดนิ หายใจเพอ่ื รกั ษาโรคในปอดและหลอดลม 3. ทาํ ใหเสมหะทเ่ี หนยี วออ นตัวลง งายตอ การระบายเสมหะ 4. เพม่ิ ประสิทธิภาพในการไอขบั เสมหะไดงา ยขน้ึ
วธิ ปี ฏบิ ตั ิ1. ดดู ยาใสใ่ นกระเปาะ2. ผสมกบั นําเกลอื ใหไ้ ดป้ รมิ าตรรวม 2.5-4 มล.แลว้ หมุนกระเปาะบดิ ตามเกลยี วใหแ้ น่น3. ตอ่ ท่อแกส๊ ออกซเิ จนทกี น้ กระเปาะ และตอ่ ทอ่ กบั เครอื ง air compressor ทสี ามารถ อดั อากาศได ้4. เปิ ดอตั ราไหลของแกส๊ 6-8 ลติ ร/นาที
วธิ ปี ฏบิ ตั ิ5. ตอ่ กระเปาะยากบั aerosol face mask ทมี รี กู ลมเปิ ด ทขี า้ งจมกู ทงั 2 ขา้ ง6. นําไปครอบทปี ากและจมูกของเด็กใหผ้ ูป้ ่ วยหายใจ เขา้ ออกปกติ ในท่านังเคาะกระเปาะยาเป็ นระยะๆ เพอื เคาะใหย้ าทตี ดิ คา้ งขา้ งกระเปาะ ตกลงมาทกี น้ กระเปาะ7. พ่นยาตอ่ จนกระทงั ยาหมดกระเปาะ หรอื ไมเ่ ห็น ละอองยา โดยทวั ไปจะใชเ้ วลาประมาณ 10-15 นาที
Search