Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มารตการป้องกัน covid 19 ในสถานศึกษา

มารตการป้องกัน covid 19 ในสถานศึกษา

Published by lookaom0606, 2020-07-03 00:48:02

Description: มารตการป้องกัน covid 19 ในสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

คู่มอื การปฏิบัตใิ นสถานการณ์ COVID 19 แนวทางการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา โรงเรยี นทงุ่ หวา้ วรวทิ ย์ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 16 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาปรารภ นางสาวจารี วุฒมิ านพ ผู้อานวยการโรงเรียนทงุ่ หว้าวรวทิ ย์ ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด 19 (COVID-19) มีการ ระบาดในวงกว้างอย่างตอ่ เน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงแนวโน้มทจี่ ะเกิดการแพรร่ ะบาดในสถานศกึ ษา ส่งผลให้ ตลอดระยะเวลา 3 เดอื นท่ีผา่ นมาพวกเราทกุ คนประสบปัญหาในการใช้ชวี ิตประจำวัน จากสถานการณ์ ดงั กล่าวจึงจำเป็นต้องตระหนักถึง ความปลอดภยั และสุขภาพของนักเรยี น ครูผสู้ อนและ บุคลากรทางการ ศึกษา เรารว่ มมอื ร่วมใจหยดุ เช้อื เพ่ือชาติ เวน้ ระยะห่างทางสงั คม ชะลอการจดั การเรียนการสอนเพื่อสรา้ ง มาตรการทีเ่ ขม็ แข็งในการรับมอื กับสถานการณโ์ รคระบาดดงั กลา่ ว \"วรวทิ ย์ชวี ติ ใหม่ \" โรงเรยี นปดิ แต่ไม่หยดุ ที่จะเรยี นรู้ ดว้ ยการเรยี น Online และ DLTV ทำใหพ้ วก เราทกุ คนเรยี นรู้ วิชาการ วชิ าชีพ และวชิ าชีวติ อย่ทู ี่บ้าน 1 กรกฎาคม 63 โรงเรยี นเปดิ ทำการเรียนการสอน แบบ Onsite Education คอื การประเมินสถานการณเ์ พื่อจดั การเรียนการสอนทโี่ รงเรยี น โดยคำนึงถึงความ ปลอดภัยของครแู ละนกั เรียนเปน็ หลัก มกี ารเรียนแบบสลบั ชนั้ มาเรยี นและแบง่ กล่มุ ครู นกั เรยี น ผ้ปู กครอง และผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียทเี่ กี่ยวข้องทางโรงเรยี น สดุ ท้ายนี้ขอความร่วมมือปฏิบัติตามมาตรของโรงเรยี นอยา่ งเครง่ ครัด ดว้ ย 6 มาตรการ ดังน้ี 1.สวมหนา้ กากอนามัยทกุ ครง้ั 2.หากมไี ข้ ไอ หายใจหอบ ให้แจ้งครูทนั ที 3.ไม่ใชม้ อื สัมผัสใบหน้า ตา ปาก 4.ลา้ งมอื ด้วยสบ่หู รือแอลกอฮอลอ์ ย่างสม่ำเสมอ 5.เวน้ ระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร 6.ใชอ้ ุปกรณ์ส่วนตัว เช่น แกว้ นำ้ กล่องข้าว (นางสาวจารี วุฒมิ านพ) ผู้อำนวยการโรงเรียนทุ่งหว้าวรวทิ ย์

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ห รื อ โ ร คสโถคานวกิ ดารณ1์ก9า(รCแoพrรo่รnะaบvาirดuขsอDงโisรeคaตsิดeเช2ื้อ0ไ1ว9รัส(โCคOโรVนIDา-1290)19 มีกหารรรื อะบโ ราดคใโนควงวกิ ดว้าง1อ9งค(C์กoาrรoอnนavาiมruัยsโลDกise(WasHeO2) 0ไ1ด9้ปร(CะOกาVศIDใ-ห1้ 9) โรคมโีกคาวรดิ ระ19บาเปดน็ในภวางวกะฉว้กุางเฉอนิ งทคา์กงาสราอธนาราณมัสยขุโลระกห(วWา่ งHปOร)ะเไทดศ้ปร(Pะuกbาlศicให้ HeโaรlคtโhควEดิm1e9rgเeปn็นcภyาoวfะฉInกุ tเeฉrินnทaาtiงoสnาaธlารCณonสcุขeรrะnห)วโา่ ดงปยรแะนเทะศน(ํ าPใuหb้lic ทุกHปeรaะlเtทhศEเmร่งeรัดrgกeาnรcเyฝ้าoรfะวInังtแeลrnะaปt้อioงnกaันlคCวาoมnเcสeี่ยrงnจ) าโกดโรยคแโนควะิดนํ1า9ใ ห้ สําทหุกรปับรปะรเทะศเทเรศ่งไรทัดยกาพรเบฝผ้าู้รปะ่ววยังแแลละะปผู้้อเสงียกชันีวคิตวาเพมิ่เมสขี่ยึ้นงจอายก่าโงรตค่อโคเนว่ืิดอง19 แลสะํามหีโรอับกปาสระขเยทาศยไวทงยกวพ้าบงขผ้ึนู้ปเ่วรยื่อแยลๆะผโู้เดสยียเชฉีวพิตาเะพอิ่มยข่าึ้นงอยิ่ยงแ่านงตว่อโนเน้ม่ือง ที่จแะลเกะิดมกี โอารกแาพสรข่รยะาบยาวดงใกนวส้ าถงาขนึ้นศเึกรษื่ อายดๆังนโั้นด ยกเาฉรพสรา้าะงอคยว่ าางมยติ่ งรแะนหวนโักน้ ม รู้เทท่า่ีจทะัเนกิดแกลาะรเแตพรียร่รมะคบวาาดมใพนรส้อถมานในศกึกาษรารดับังมนือ้ันกกับากราสรรร้าะงบคาวดามขตอรงโะรหคนัก อยร่าู้เงทม่าีปทรันะสแิทลธะิภเตารพียมจคึงมวีคามวพามรจ้อํามเใปน็นกอายร่ารงับยิ่งมเือพกื่อับลกดาครวราะมบเสาด่ียขงแอลงโะรค ป้อองยก่าันงไมมีป่ใหระ้สส่งิทผลธิภกราะพทจบึงตม่อีคสวุขาภมาจพําเนปัก็นเรอียยน่างคยร่ิงูผเพู้สื่ออลนดแคลวะาบมุเคสลี่ยางกแรละ ทาปง้อกงากรัศนึกไมษ่ใาห้สอ่งันผเปลก็นรทะรทัพบยตา่อกสรุทขภ่ีสําาพคัญนักในเรกียานรขคับรเูผคู้สลอ่ือนนแแลละะพบัฒุคลนาากร ปรทะาเทงกศาในรศอึนกษาคาตอันเป็นทรัพยากรที่สําคัญในการขับเคล่ือนและพัฒนา ประเทโศรใงนเอรนียานคทตุ่งหว้าวรวิทย์จึงจัดทำคู่มือ “คู่มือการปฏิบัติ ในสถานกาโรรณงเ์ รCียOนVทIDุ่งห19ว้าแวนรววทิทายง์กจึางรจปัด้อทงำกคันู่มกือาร“แคพู่มร่ืรอะกบาารดปขฏอิบงัติ โรคในโคสวถิดา1น9กใานรสณถ์ าCนOศVกึ IษDา1”9เพแ่อื นเปวน็ ทแานงวกทาารงปป้อฏงบิกัตันิสกําาหรรแับพสรถ่ราะนบศาึกดษขาอง ในโกราครโปค้อวิดงก1ัน9กในารสแถพานร่รศะึกบษาาด”ขเพอ่ืองโเปรค็นโแคนววิดท1าง9ปอฏยบิ ่าัตงสิตํา่อหเนรบั่ือสงโถดายนเศนึก้นษา ควใานมกสาอรดปค้อลงก้อันงกกับารบแรพิบรท่รขะอบงาสดถขาอนงศโรึกคษโาควแิดละ1เ9อ้ือออยํา่านงตว่อยเในหื่อ้เกงโิดดกยาเรน้น ปฏคิบวาัตมิงสาอนดไคดล้อ้อยง่ากงับมบีปรริบะทสขิทอธงิภสถาพานเศพึกื่อษใาหแ้นลักะเเรอียื้อนอแํานลวะยบใุคหล้เกาิดกกราร ในปสถฏาิบนัตศิงกึ าษนาสไดาม้อายร่าถงดมําีปรงรชะีวสติ ิทอยธไู่ิภดาอ้ พยา่ เงพป่ือลอใหด้ภนัยักเรียนและบุคลากร ในสถานศกึ ษาสามารถดํารงชีวิตอยูไ่ ด้อยา่ งปลอดภัย คณะผ้จู ัดทำ โรงเรยี นทุ่งหควณ้าวะรผว้จู ิทัดยท์ ำ โรงเรยี นทุ่งหวา้ วรวิทย์

คาปรารภ หนา้ คานา ก ข สารบญั ค มติ ทิ ่ี 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชอื้ โรค 1 มติ ทิ ี่ 2 การเรียนรู้ 19 มิติท่ี 3 การครอบคลมุ ถึงเด็กด้อยโอกาส 20 มติ ิท่ี 4 สวัสดิภาพและการคุ้มครอง 25 มติ ิที่ 5 นโยบาย 33 มติ ิที่ 6 การบริหารการเงนิ 40 ภาคผนวก

• คดั กรองวดั ไข้ ใหก้ ับนักเรียน ครู และผเู้ ข้ามาตดิ ต่อ ทุกคน กอ่ นเข้าสถานศึกษา • มาตรการสังเกตอาการเส่ียงโควิด-19 • กาหนดนโยบายให้นักเรียน ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทกุ คน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั • การจดั เตรยี มหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยสารอง • ตั้งเจลล้างมือดว้ ยสบู่ และจุดวางแอลกอฮอล์สาหรบั ใช้ทาความสะอาดมือ • จัดรปู แบบการจดั การเรียนการสอน แบง่ กลุ่มย่อย • การจดั โต๊ะเรยี น เก้าอนี้ งั่ เรียน ที่นั่งในโรงอาหาร ทีน่ ่ังพกั โดยจัดเวน้ ระยะห่างระหวา่ งกนั

คู่มอื การปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 1 มิติที่ 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพร่เช้ือโรค ข้อท่ี 1. มาตรการคัดกรองวัดไข้ ให้กับนักเรียน ครู และผู้เข้ามาติดต่อ ทุกคน ก่อนเข้าสถานศึกษา 1.1 นักเรียน ครู บุคลากร และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องสวมหน้าการผ้าหรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาเมอ่ื อยใู่ นสถานศกึ ษา 1.2 นักเรียน ครู บุคลากร และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องผ่านการคดกรอกการวัดไข้ และอาการเสี่ยง ก่อนเข้าสถานศึกษา พร้อมสังเกตอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบากเหน่ือยหอบ ไมไ่ ดก้ ล่ิน ไมร่ รู้ ส 1.3 มจี ดุ บรกิ ารล้างมือด้วยสบ่แู ละน้ำ เจลแอลกอฮอล์ บริเวณหนา้ ประตโู รงเรียน 1.4 ครูเวรประจำวนั ประกอบด้วย 1.4.1 เวรวันจนั ทร์ 1. นายอดุ มพร ไสยรินทร์ หัวหนา้ 2. นางศริ านันท์ จนั วัฒนะ ผู้ช่วย 3. นางรัตนา พลายแสง ผ้ชู ่วย 4. นางสาวพัชรา นิมิตรถวลิ ผู้ชว่ ย 5. นางสาวมาลาตี เสยี มไหม ผู้ชว่ ย 6. นางมยรุ า แซฉ่ น้ิ ผู้ช่วย 7. นางวิชญา เทพสวน ผู้ช่วย 8. นายนฤสรณ์ รกั ฤทธ์ิ (ฝึกสอน) ผชู้ ่วย 1.4.2 เวรวันอังคาร 1. นายวีระพงษ์ ลุยจันทร์ หวั หน้า 2. นางอัมพร ชาวสวน ผูช้ ่วย 3. นางสุจินต์ ชาวสวน ผ้ชู ่วย 4. นางมาลยั นติ ศิ ิษฏก์ ุล ผู้ช่วย 5. นางกิง่ กาญจน์ สวุ รรณโณ ผชู้ ว่ ย 6. นางสาวนฤมล สงั ขไพฑรู ย์ ผู้ชว่ ย 7. นางสาวจรุ พี ร ดุกหล่มิ ผชู้ ่วย 1.4.3 เวรวันพุธ 1. นายธนสนิ ชโู ชติ หวั หน้า 2. นางนัยดี เนียมสวสั ดิ์ ผู้ช่วย 3. นางฐติ ินนั ท์ แก้วสวุ รรณ์ ผชู้ ว่ ย 4. นางสาวนูรมีรา บุตรา ผู้ช่วย 5. นายจำรัส สืบเหม ผู้ชว่ ย

คมู่ ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 2 6. นางสาวรอฟอี ๊ะ สาเร๊าะ ผชู้ ่วย ผชู้ ่วย 7. นางสาวสภุ าวดี เตง้ หลี (ฝกึ สอน) หัวหน้า 1.4.4 เวรวนั พฤหัสบดี ผชู้ ่วย ผชู้ ่วย 1. นายเอกลกั ษณ์ หลอ่ สพุ รรณพร ผชู้ ่วย ผชู้ ่วย 2. นางฉลวย หมีนหา ผู้ชว่ ย ผ้ชู ่วย 3. นางสาววัชรี สวุ รรณเวลา ผู้ช่วย 4. นางสาวยคุ ลรัตน์ หนดู ้วง หวั หน้า ผชู้ ว่ ย 5. นางสาวลัดดาวัลย์ สมัยอยู่ ผูช้ ่วย ผู้ชว่ ย 6. นางสาวนูรอัยนี มานะกลา้ ผู้ช่วย ผู้ช่วย 7. นายโอชา เพชรรักษ์ ผชู้ ่วย 8. นางสาวทพิ ยเ์ กสร ขนุ รายา (ฝกึ สอน) 1.4.5 เวรวันศุกร์ 1. นายสมชาย ชาวสวน 2. นางสาวกลั ยา ท่งุ ปรือ 3. นางรานี สาโสะ๊ 4. นางวรรณี เหง้ กลุ 5. นางสาวยาวีเราะห์ สาเสน็ 6. นางสาวผกามาส แก้ววารี 7. นายเดชอนันต์ สองนา (ฝกึ สอน) ข้อท่ี 2 มาตรการสังเกตอาการเส่ียงโควดิ -19 โดยมีวิธกิ ารสังเกตดังนี้ สอบถามเกย่ี วกบั ประวตั ิการสัมผสั ในพืน้ ทเ่ี สี่ยง พ้ืนท่ที ่ีมีผูปวยติดเช้ือ หรือพ้ืนท่ที ีม่ ีคนจาํ นวนมาก และสงั เกตอาการเสยี่ งตอการติดเช้ือหรืออาการทางเดินหายใจ เชน ไอ มนี ้ำมูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนือ่ ย หอบไมไดกลนิ่ ไมรรู ส เปนตน โดยมวี ิธีปฏิบัติ ดังน้ี 1. ครเู วรประจำวันจัดตั้งจุดคดั กรองบริเวณทางเขาของสถานศึกษา พิจารณากาํ หนดจุดคัดกรองตาม ความเหมาะสมกับจาํ นวนโดยยดึ หลกั Social distancing 2. ครูเวรประจำวันตรวจวัดอุณหภูมติ ามคําแนะนําของเครอ่ื งวัดอณุ หภูมติ ามผลิตภัณฑนัน้ พรอมอาน คาผลทไี่ ด (มากกวา 37.5 องศาเซลเซียล ถือวา มีไข) 3. ใหผูรับการตรวจคัดกรองลางมือดวยเจลแอลกอฮอล์ท่เี ตรียมไว้ให้ 4. ตรวจสอบการสวมหนากาก (Check mask) ของบุคคลทุกคนทเี่ ขามาในสถานศกึ ษา 5. สอบถามและซักประวตั ิการเคยไปสัมผัสในพื้นท่เี สี่ยง พื้นที่ทีม่ ีผูปวยติดเชอื้ หรอื พื้นทท่ี ่ีมีคนจํานวน มาก และสงั เกตอาการเสีย่ งตอการติดเช้ือหรืออาการทางเดินหายใจ เชน ไอ มนี ้ำมูก เจ็บ คอ หายใจ ลําบากเหนื่อยหอบ ไมไดกล่ิน ไมรรู ส เปนตน รวมถึงบันทึกผลลงในแบบบันทกึ การตรวจคัดกรอง สุขภาพสาํ หรบั นกั เรยี น บุคลากร หรอื ผูมาติดตอในสถานศึกษา

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 3 กรณี วัดอณุ หภมู ริ างกายได ไมเกิน 37.5 องศาเซลเซยี ส และไมมีอาการทางเดินหายใจ (ไอ มนี ้ำมูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิน่ ไมรรู ส) ไมมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูปวยยนื ยนั ในชวง 14 วัน กอนมีอาการ ถอื วา ผานการคดั กรอง จะตดิ สญั ลักษณหรือสติ๊กเกอร ใหเขาเรยี นหรือปฏบิ ตั งิ านไดตามปกติ กรณี วัดอุณหภูมริ างกาย ตัง้ แต 37.5 องศาเซลเซยี ส ข้นึ ไป หรือ มีไข รวมกับอาการทางเดิน หายใจอยางใดอยางหน่งึ (ไอ มีน้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลําบาก เหน่อื ยหอบ ไมไดกลน่ิ ไมรูรส) ใหปฏบิ ัติ ดงั นี้ - แยกนกั เรยี นไปไวที่หองแยกซ่ึงจดั เตรียมไว - บนั ทึกรายชื่อและอาการปวย - ประเมินความเสย่ี ง - แจง้ ผูป้ กครอง หากไมมปี ระวตั ิเส่ยี ง ใหพานักเรยี นไปพบแพทย และใหหยุดพกั จนกวาจะหายเปนปกติ หากตรวจ พบวา มีประวตั ิเส่ียง และ/หรอื มีประวตั สิ ัมผัสใกลชิดกับผูปวยยืนยนั หรอื สงสัย มีประวัติ เดินทางไปในพ้ืนท่ีเสยี่ งหรอื พื้นทีเ่ กดิ โรค ไปในพืน้ ทีท่ ี่มีคนแออดั จาํ นวนมาก ในชวง 14 วนั กอนมีอาการ ถือว าเปนผูสัมผัสที่มีความเสยี่ ง (กลุมเสีย่ ง) โดยจําแนกเปน กลุมเสย่ี งมปี ระวัติเสีย่ งสูง และกลุมเสี่ยงมปี ระวัตเิ สีย่ ง ตำ่ ใหปฏิบัติ ดังน้ี กลมุ เสีย่ งมีประวัติเส่ียงสูง - แยกนกั เรยี นไปไวที่หองแยกซึ่งจัดเตรียมไว - บนั ทกึ รายชอื่ และอาการปวย - แจงผูปกครอง ใหมารับนักเรียน แลวพาไปพบแพทย - แจงเจาหนาท่ีสาธารณสุข ประเมนิ สถานการณการสอบสวนโรค - ทําความสะอาดจุดเสยี่ งและบริเวณโดยรอบ - เก็บตวั อยาง - กกั ตวั อยูบาน - ตดิ ตามอาการใหครบ 14 วัน - ครรู วบรวมขอมูลและรายงานผลใหผูบริหารสถานศกึ ษา ผูเกีย่ วของ กลมุ เสีย่ งมีประวตั เิ สี่ยงต่ำ - แยกนกั เรยี นไปไวท่หี องแยกซ่ึงจดั เตรียมไว - บันทกึ รายชอื่ และอาการปวย - แจงผูปกครอง ใหมารับนักเรียน แลวพาไปพบแพทย - แจงองคกรปกครองสวนทองถ่ิน - แจงทองถนิ่ ทําความสะอาด จุดเสี่ยง และบริเวณโดยรอบ - ตดิ ตามอาการใหครบ 14 วนั - ครรู วบรวมขอมูลและรายงานผลใหผูบริหารสถานศกึ ษา ผูเกีย่ วของ

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 4 ข้อท่ี 3 กำหนดนโยบายให้นักเรียน ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือ หน้ากากอนามยั ขอ้ กำหนดการสวมหนา้ กากอนามัยอย่างถูกต้อง ครูและนักเรียนควรใช้หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ แบบใช้แล้วทิ้ง หรือหน้ากากอนามัยที่มีระดับการป้องกันสูง ทั้งน้ี ไม่จำเป็นต้องสวมหน้ากาก สำหรับนักเรียน ในพ้ืนที่ที่มีความเส่ียงต่ำ การสวมหน้ากากอนามัยควรสวมตามหลักการของ “แนวทางการสวมหน้ากาก อนามยั ที่ถูกวิธีสำหรบั ประชาชน” ที่ออกโดยรฐั บาล ( ท่ีมา : World Health Organization Thailand) นโยบายความปลอดภัยสำหรบั นกั เรียน ครู และผ้เู ข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ผ้ทู ไ่ี มม่ ีอาการผดิ ปกตใิ นระบบทางเดนิ หายใจ ควรปฏิบัติตน ดังน้ี 1. หลกี เลย่ี งการอยใู่ นท่ที มี่ ีคนหมู่มากและแออัด โดยเฉพาะในสถานท่ีท่ีเปน็ ระบบปิด 2. ควรเวน้ ระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร จากผู้ที่มีอาการสงสยั ว่าติดเช้ือไวรสั โคโรน่าสายพนั ธ์ุ ใหม่ (Covid-19) เชน่ ไอ หรือ จาม 3. ล้างมอื เพ่ือสุขอนามัยทดี่ ีเสมอ โดยหากมือไมม่ ีคราบสกปรกใหใ้ ช้เจลล้างมอื ทมี่ ีส่วนผสม ของแอลกอฮอล์ แตใ่ นกรณีที่มือมีคราบสกปรกใหใ้ ชส้ บู่และนำ้ ในการล้างมือ 4. หากมีอาการไอหรอื จาม ให้ปิดปากและจมูกโดยไอใส่ข้อพบั ด้านในขอ้ ศอก หรอื ใช้ กระดาษชำระ จากน้ันใหท้ ิ้งกระดาษทันทีและล้างมือให้สะอาด 5. หลกี เลยี่ งการสัมผสั กับจมกู และปาก 6. หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ไม่ใช่สิ่งจำเป็น เน่ืองจากยังไม่มีหลักฐานที่ช้ีชัดว่ามี ประโยชน์ในการปอ้ งกนั โรคสำหรบั ผทู้ ี่ไม่ไดป้ ่วย แต่อย่างไรกต็ ามหน้ากากอนามัยน้นั อาจจะมีการสวม ใส่ในบางประเทศ เนื่องจากวัฒนธรรมของพื้นท่ีนน้ั ๆ ดังนัน้ หากมีการสวมหนา้ กาก ควรมีการปฏิบัติที่ ถูกวิธี โดยควรปฏิบัติตามข้ันตอนการสวมใส่หน้ากาก การถอด และการกำจัดทิ้ง รวมทั้งการรักษา สุขภาพอนามัยของมือหลังจากสมั ผัสหนา้ กากท่ีใชแ้ ล้ว 7. ห้ามกินอาหารและใช้ภาชนะร่วมกับผู้อื่น รวมถึงควรแยกของใช้ส่วนตัว ไม่ใช่ร่วมกับ ผู้อืน่ เช่น ผา้ เชด็ ตวั หมอน ผ้าหม่ แกว้ นำ้ เปน็ ตน้ ผทู้ ม่ี ีอาการผิดปกตขิ องระบบทางเดนิ หายใจ ควรปฏิบตั ิตน ดังนี้ 1. สวมใส่หน้ากากอนามยั ทางการแพทย์ และหากมีไข้ ไอ และหายใจลำบาก ควรเข้ารับการ รกั ษาทางการแพทย์ให้เร็วท่ีสุด หรอื ปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอนมาตรฐานในพ้ืนทน่ี น้ั ๆ 2. ปฏิบัติตามคำแนะนำข้างล่างที่เกี่ยวกบั การจัดการหน้ากากอนามัยทใ่ี ช้แลว้ อยา่ งเหมาะสม

คมู่ อื การปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 5 ผูท้ ี่สงสัยว่าติดเชื้อไวรสั โคโรน่าสายพนั ธใ์ุ หม่ (Covid-19) ท่ีไม่มีอาการรุนแรง ควรปฏิบัติ ตน ดังน้ี 1. ลา้ งมอื เปน็ ประจำ โดยหากมือไม่มคี ราบสกปรกใหใ้ ช้เจลลา้ งมอื ที่มีสว่ นผสมของ แอลกอฮอล์ แตใ่ นกรณีท่ีมือมีคราบสกปรกให้ลา้ งด้วยสบู่และนำ้ 2. รกั ษาระยะหา่ งจากผทู้ ่ีไมป่ ่วนให้มากทส่ี ดุ (อยา่ งนอ้ ย 1 เมตร) 3. การป้องกันไม่ให้สารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจแพร่กระจาย สามารถทำได้โดยการ สวมหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ และควรจะสวมใส่เป็นประจำ สำหรับผู้ท่ีไม่สามารถทนต่อการ สวมหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ได้ ควรปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยท่ีดีอย่างเข้มงวด ได้แก่ การปิด ปากและจมูกขณะไอหรือจามด้วยกระดาษชำระหรือทิชชู่ และท้ิงหลังจากใช้งานแล้ว จากน้ันให้ล้าง มือทันทหี ลงั จากสัมผัสกับสารคัดหล่ังจากระบบทางเดินหายใจ 4. ควรเปิดประตแู ละหนา้ ตา่ งในบริเวณเคหะสถานเพอ่ื ระบายอากาศใหม้ ากท่ีสุดท่จี ะทำได้ การจดั การหนา้ กากอนามัย การจัดการและการจำกัดหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ท่ีผ่านการใช้งานแล้วอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสิ่งที่จำเปน็ เพื่อหลีกเลี่ยงการเพ่ิมความเสี่ยงต่อการแพร่เช้ือที่เกิดจากการใชห้ น้ากากอนามัยท่ีไม่ถูกวิธแี ละ การกำจัดที่ไมถ่ ูกต้อง ขอ้ มูลการใช้หน้ากากอนามัยที่ถกู ต้องในที่นี้ได้จากแนวทางปฏิบัตใิ นสถานบริการสุขภาพ ตา่ ง ๆ มีดงั น้ี 1. สวมหน้ากากอย่างระมัดระวังโดยให้คลมุ ปิดปากและจมูกรัดสายหน้ากากใหก้ ระชับและแนบกับ ใบหนา้ ให้มากที่สดุ เพ่ือลดชอ่ งว่างระหวา่ งใบหนา้ กับหน้ากาก 2. เมือ่ สวมใสแ่ ล้ว หลกี เลีย่ งการสมั ผัสหน้ากากอนามัย 3. ถอดหน้ากากอนามัยด้วยวิธีการที่เหมาะสม กล่าวคือ ห้ามสัมผัสด้านหน้า แต่ให้ถอดจาก ด้านหลงั 4. เมื่อถอดหน้ากากอนามัย หรือสัมผัสหน้ากากโดยไม่ได้ตั้งใจ ให้ใช้เจลล้างมือที่มีส่วนผสมของ แอลกอฮอล์ หรือทำความสะอาดมือดว้ ยสบ่แู ละน้ำหากมคี ราบสกปรกตดิ ท่ีมอื 5. ใหเ้ ปลย่ี นหน้ากากอนามัยแผน่ ใหม่ทสี่ ะอาดและแห้งทันทีที่รู้สึกวา่ หน้ากเร่ิมข้ึน 6. ไม่ควรใขห้ น้ากากอนามยั ซ้ำ ควรใช้ครั้งเดียวแลว้ ทิ้ง 7. หลงั จากถอดหน้ากากอนามยั แล้ว ใหก้ ำจัดและทิง้ ด้วยวิธีท่ถี กู ต้องโดยทันที

ค่มู อื การปฏิบัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 6 ใส่หน้ากากอนามยั ถูกตอ้ งแลว้ ค่ะ เกง่ มากๆ เลย แบบน้ีถูกตอ้ งไหมคะ คุณหมอ?

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 7 ข้อท่ี 4. การจัดเตรยี มหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยสำรองให้กับนักเรยี น รอ้ งขอ หรอื ผู้ทีไ่ ม่มีหน้ากาก เข้ามาในสถานศึกษา จากสภาวะการณ์โรค COVID 2019 ท่ียังคงต้องเฝ้าระวังไม่ให้กลับมาระบาดอีกคร้ัง การเปิดจัดการ เรียนการสอนจึงเป็นภาวะเสี่ยงสูง ทางสถานศึกษาต้องวางมาตรการปฏิบัติตนตามกรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณะสุข อย่างเครง่ ครดั สืบเน่ืองจากเช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 เป็นโรคที่ติดต่อผ่านทางเดนิ หายใจ สามารถ ติดต่อกันได้ง่ายและรวดเร็ว การสวมหน้ากากอนามัยมีประสิทธิภาพสูงในการป้องกัน นอกเหนือจากการเว้น ระยะห่างและล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ บ่อยๆ ทางสถานศึกษาเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวได้ประกาศให้ครู นักเรียน และผู้ท่ีจะมาติดต่อกับสถานศึกษาสวมหน้ากากอนามัยทุกคร้ัง สนองนโยบายตามกระทรวง สาธาณะสุขและสอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการตามแนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการ ณ์ท่ีไม่ ปกติ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของทุกคนเป็นหลัก แต่หากเกิดปัญหาครู นักเรียน หรือผู้ท่ีมาติดต่อกับ สถานศึกษาไม่ได้สวมหน้ากากอนามยั ไม่วา่ ในกรณี ลืม ไม่มี หรือชำรุด ทางสถานศกึ ษาไดแ้ กป้ ัญหาจดั เตรียม หน้ากากอนามัยสำรองไว้บริการ และสถานศึกษาได้วางแนวทางการปฏิบัติการจัดเตรียมหน้ากากสำรอง ไว้ ดังนี้ แนวทางปฏิบัตกิ ารจัดเตรียมหนา้ กากสำรอง จัดเตรียมท่ีเก็บหน้ากากอนามัยสำรอง เพ่ือความเรียบร้อย สะอาด ถูกตามสุขลักษณะ ทางสถานศึกษามีโน ยายแจกหน้ากากอนามัย 1 ชิ้น/คน โดยทางสถานศึกษาจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในส่วนน้ี ทางโรงเรียนจัดสรร หาหน้ากากอนามัย โดยได้รับจากหน่วยงานภายนอก และซ้ือไว้บางส่วน เพ่ือเก็บเป็นคลังหน้ากากอนามัย สำรองตามที่ได้จัดเตรียมไว้ หากเกิดกรณีวิกฤตหน้ากากขาดแคลน และไม่เพียงพอต่อการใช้ ทางสถานศึกษา จะให้นักเรียนทำหน้ากากอนามัยเป็นของตนเอง มีแบบบันทึกการเบิกใช้หน้ากากอนามยั เพื่อการดูสถิติการใช้ และสามารถสรปุ ผลความรับผิดชอบรว่ มตอ่ สังคมได้ ในช่วงเปิดภาคเรียนจัดแกนนำนักเรียนให้ความรเู้ กี่ยวกับการเลอื ก การใช้หนา้ กากอนามัยอย่างถูกวิธี และรณรงค์ให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เป็นกิจลักษณะสร้างนิสัยมือติดหน้ากาก เพ่ื อลด ปัญหาการเบิกใชห้ น้ากากอนามยั อย่างส้นิ เปลือง

คมู่ อื การปฏิบัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 8 หนา้ กากอนามัย N95 หน้ากากอนามัยทาง การแพทย์ หน้ ากากอน ามัย N95 คือ ห น้ากาก ที่ด้านในเป็นสีฟ้า โดยใส่ อนามัยท่ีใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม มีความหนา ด้านท่ีมีสีเข้มไว้ด้านนอก เพราะจะมี กว่าหน้ากากอนามัยท่ัวไป โดยหน้ากากอนามัย การก้ันน้ำและการแพร่เช้ือไวรัส ซึ่ง N95 จัดเป็นหน้ากากอนามัยท่ีมีความมิดชิดมาก เหมาะที่สุดสำหรับการแพร่เช้ือ หรือ ที่สุด ไม่มีอะไรรั่วไหลเข้าหรือออกได้ จึงสามารถ รบั เชื้อตา่ ง ๆ จากหวัด จากไวรสั และ ป้องกันฝุ่นละอองหรือมลพิษทางอากาศได้ดีกว่า แบทีเรีย ท่ีมากับละอองน้ำลาย หนา้ กากอนามยั ธรรมดา น้ำมูกท่ีพุง่ กระจายออกมา หนา้ กากผา้ หนา้ กากอนามยั แบบผา้ กรณีคนไมป่ ว่ ย ใช้เพื่อป้องกันการสัมผสั เชือ้ แนะนำใหใ้ ช้หนา้ กากผ้าประหยัดและลดขยะ สามารถซกั ตากแห้ง และ นำมาใชใ้ หม่ได้ กรณีคนที่ปว่ ยให้ใช้หนา้ กากอนามัยเพ่ือการแพทย์ เพื่อ ปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชอ้ื

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 9 ขอ้ มูล : คณะแพทยศาสตร์ ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ค่มู ือการปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 10 หน้ากากอนามยั สำรอง

คู่มือการปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 11 ข้อที่ 5 โรงเรียนติดตง้ั เจลล้างมือด้วยสบู่ และจุดวางแอลกอฮอลส์ ำหรบั ใช้ทำความสะอาดมือ บริเวณ ทางเขา้ อาคารเรยี น หน้าห้องเรียน ทางเข้าโรงอาหาร โรงเรยี นตดิ ตงั้ เจลลา้ งมือด้วยสบู่ และจุดวางแอลกอฮอลส์ ำหรับใช้ทำความสะอาดมือ บริเวณทางเข้า อาคารเรยี น หนา้ หอ้ งเรยี น ทางเข้าโรงอาหาร ครผู ู้สอนจัดเตรยี มนำ้ ยาฆา่ เชอื้ เพ่ือใชท้ ำความสะอาดใน หอ้ งเรียนหลังเปลย่ี นคาบเรียนทกุ ครง้ั สำหรบั โรงอาหาร ไดม้ อบหมายใหแ้ ม่คา้ ทำความสะอาดในชว่ งเทีย่ ง- เยน็ ของทุกวนั

คมู่ อื การปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 12 6. การจัดโต๊ะเรยี น เกา้ อ้ีน่ังเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร ท่ีน่ังพกั โดยจดั เว้นระยะห่างระหว่างกนั อย่างน้อย 1-2 เมตร ( ยึดหลกั Social Distancing )และมีการทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งที่ชดั เจนในการจดั เวน้ ระยะหา่ งระหว่างกัน - การจัดโต๊ะเรียน เก้าอี้ห้องเรียน : ห้องเรียนที่ใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้ในแต่ละห้องเรียนจัด โต๊ะเรียนและเก้าอ้ีสำหรับนักเรียนห้องเรียนละ 40 ชุดโดยให้นักเรียนน่ังเรียนห้องเรียนละ 20 คนต่อ 1 ห้องเรียน ( น่ัง 1 เว้น 1 ) ซ่ึงแต่ละโต๊ะเรียนจะมีรายชื่อนักเรียนกำกับ เพื่อเว้นระยะห่างระหว่างกันตาม มาตรการของภาครัฐ ( Social Distancing ) - ท่นี ั่งในโรงอาหาร : การทานอาหารของนกั เรยี นจะใชบ้ ริเวณโรงอาหารและบริเวณใตโ้ ดม เพ่อื ลด ความแออดั ในบรเิ วณโรงอาหาร และแตล่ ะที่น่งั ในโรงอาหารและบรเิ วณใต้โดมจะมสี ัญลักษณแ์ สดงจุดตำแหน่ง ทน่ี ง่ั ทช่ี ดั เจนในการระยะห่างระหวา่ งกัน ( Social Distancing ) - ท่ีน่ังพัก : จัดท่ีนั่งพักสำหรับนักเรียนโดยการกระจายที่น่ังพักแต่ละจุดรอบๆในบริเวณโรงเรียน เพื่อลดความแออัด และจัดวางที่นั่งพักในพื้นที่หรือท่ีมีอากาศถ่ายเทเช่น บริเวณริมสนามฟุตบอล สนามฟุต ซอล ใต้โดม เป็นต้น โดยที่น่ังพักแต่ละจุดจะมีสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งท่ีน่ังที่ชัดเจนในการระยะห่าง ระหว่างกัน ( Social Distancing )

คู่มอื การปฏิบัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 13 7. รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนและการแบ่งกลุ่มย่อยนกั เรยี นในห้องเรยี นในการทำกจิ กรรม แนวทางการดำเนนิ การ 1. รปู แบบการจัดการเรียนการสอน 1.1 On site และ On line 1.2 สลับวันมาเรียน ม.ต้น 468 คน สลบั กับ ม.ปลาย 250 คน ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 22 มิ.ย.63 2. การแบ่งกล่มุ ย่อยนักเรียนในห้องเรยี นในการทำกิจกรรม 2.1 จำนวนนกั เรยี นแตล่ ะห้องทม่ี ากกวา่ 25 คน โรงเรยี นแบ่งนกั เรียนหอ้ งนัน้ เป็น 2 กลุ่ม โดย แบง่ ตามเลขทคี่ ู่ และเลขที่คี่ ได้ม.ตน้ 26 ห้องเรียน ม.ปลาย 12 หอ้ งเรยี น ชน้ั จำนวนนกั เรยี นทง้ั หมด กล่มุ A (คน) กลุ่ม B (คน) ม.1/1 34 17 17 ม.1/2 35 18 17 ม.1/3 34 17 17 ม.1/4 34 17 17 ม.1/5 36 18 18 ม.2/1 41 21 20 ม.2/2 36 18 18 ม.2/3 37 19 18 ม.2/4 36 18 18 ม.3/1 38 19 19 ม.3/2 37 19 18 ม.3/3 34 17 17 ม.3/4 35 18 17 ม.4/1 40 20 20 ม.4/2 37 23 (วิทย์-คณติ ) 14 (วิทย์-คอม) ม.4/3 26 26 - ม.5/1 25 25 - ม.5/2 23 23 - ม.5/3 25 25 - ม.6/1 35 18 17 ม.6/2 39 25 (วิทย์-คณติ ) 14 (ศลิ ปท์ ัว่ ไป) 2.2 จัดครเู ข้าสอน รายวิชาละ 2 คนสำหรับหอ้ งที่แบง่ เป็น 2 กลมุ่ โดยครูแตล่ ะคนมี ตารางสอน 2 ตาราง คือตารางสอน ม.ตน้ และตาราสอน ม.ปลาย วันไหน ม.ต้น มาเรยี น กใ็ ชต้ ารางสอน ม.ต้น วนั ไหน ม.ปลาย มาเรียนกใ็ ช้ตารางสอน ม.ปลาย 2.3 ปฏิทนิ การมาโรงเรยี น โดยแจกให้นักเรียนทุกคน และประชาสัมพนั ธ์หนา้ เว็บโรงเรยี น และเพจโรงเรียน โดยวันศุกร์นกั เรียนทำกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และวชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมือง

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 14

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 15

คู่มอื การปฏบิ ัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 16 8. การทำความสะอาดห้องเรียน บริเวณจดุ สัมผัสเสีย่ งรว่ ม รวมถึงอปุ กรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน มกี าร จดั เตรียมถังขยะแบบมีฝาปิดและปรับปรุง ซอ่ มแซม ประตู หน้าต่างและพัดลมของห้องเรียนให้มีสภาพ การใชง้ านไดด้ ีอยเู่ สมอ เพอ่ื ใหอ้ ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก ห้องเรียน (จุดสัมผัสเสี่ยงร่วม ) ท่ีใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้ : ทำความสะอาดห้องเรียน โต๊ะ-เก้าอี้ ราวบรรได ท่ีนั่งพักหน้าห้องเรียนและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนการสอนด้วยแอลกอฮอร์ โดยแต่ละห้องเรียน จะมีตารางเวรประจำวนั เพ่อื ทำความสะอาดหอ้ งเรียน อุปกรณ์ทำความสะอาดห้องเรียน : ในแต่ละห้องเรียนจะมีอุปกรณ์สำหรับทำความสะอาด เช่น ไม้ กวาด ทโ่ี กยขยะ ถงั ขยะทมี่ ฝี าปิด เปน็ ต้น เพื่อให้นกั เรียนรกั ษาความสะอาดในห้องเรียน การปรับปรุงซ่อมแซม : ดำเนินการปรับปรุง ซ่อมแซมห้องเรียนให้พร้อมสำหรับใช้ในการจัดการ เรียนรู้ และความปลอดภัยของนักเรียนโดยได้ดำเนินการตรวจเช็คสภาพการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้า โต๊ะ- เกา้ อี้ หนา้ ตา่ ง ประตใู นแตล่ ะห้องเรยี น หากมสี ภาพชำรดุ ก็ดำเนนิ การซอ่ มแซมหรือติดต้งั ใหม่

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 17

คูม่ อื การปฏบิ ัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 18 ขอ้ ท่ี 9. การปรับลดเวลา การจัดเหลื่อมเวลาทำกิจกรรมและการเว้นระยะห่างการเข้าแถวทำกิจกรรม รวมถึงการเหล่ือมเวลารับประทานอาหารกลางวัน และการกำหนดให้ใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ส่ิงของ ร่วมกับผู้อ่ืน แนวปฏบิ ตั ิ 9.1 กำหนดให้นกั เรียนใช้ของสว่ นตวั ไม่ใช้สิ่งของรว่ มกับผ้อู ื่น เช่น แก้วน้ำ ชอ้ น ส้อม แปรงสีฟนั ยาสี ฟัน ผา้ เชด็ หนา้ 9.2 จดั การเรียนการสอนสลับวันมาเรียนระหวา่ งนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และนกั เรียน ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 9.3 จัดการเรยี นการสอนได้ห้องเรยี นละ ไมเ่ กนิ 20 คน 9.4 เว้นระยะหา่ งการทำพิธีหนา้ เสาธงโดยการ ให้นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 และนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เข้าแถวหน้าเสาธง นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2,3,4 และ5 เข้าแถวหน้าอาคารเรียน 1 9.5 เหลอื่ มเวลารบั ประทานอาหารโดย นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 พกั คาบ ท่ี 4 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 และ3 พักคาบท่ี 5 นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4,5 และ6 พกั คาบท่ี 5 ข้อที่ 10 มหี ้องพยาบาลหรือพื้นที่สำหรับแยกผู้มีอาการเสี่ยงทางเดินหายใจ พรอ้ มท่ังมนี กั เรยี นแกนนำ ด้านสขุ ภาพ จติ อาสา เป็นอาสาสมัคร ในการช่วยดแู ลสุขภาพเพ่ือนนักเรียนรวมไปถึงนักเรยี นพเิ ศษเรียน รว่ ม และดแู ลนักเรยี นรนุ่ นอ้ ง บทบาทหนา้ ท่ีของนกั เรียนแกนนำดา้ นสุขภาพ นักเรียนทมี่ จี ิตอาสา เป็นอาสาสมคั รช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนด้วยกนั หรอื ดูแลรนุ่ น้อง เชน่ สภา นักเรยี น 1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรค พนื้ ที่เสยี่ ง คำแนะนำการป้องกันตนเองและลด ความเสยี่ งจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จากแหลง่ ข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ 2. ช่วยครตู รวจคดั กรองวัดอุณหภูมิรา่ งกายของนักเรียนทุกคนทมี่ าเรยี นในตอนเชา้ ทางเขา้ โดยมีครู ดแู ลให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด เนน้ การจดั เว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร 3. ตรวจดคู วามเรียบรอ้ ยของนักเรียนทกุ คนที่มาเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยหากพบ นกั เรยี นไม่ได้สวม ให้ครแุ จ้งผ้รู ับผดิ ชอบ เพอ่ื จดั หาหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยสำรองให้ 4. เฝ้าระวังสงั เกตอาการของนกั เรยี น หากมอี าการไข้ ไอ มีนำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไม่ไดก้ ลิ่น ไมร่ ู้รส ให้รีบแจ้งครทู ันที 5. จัดกจิ กรรมส่ือสารใหค้ วามรู้คำแนะนำการป้องกนั และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคโควดิ -19 แก่นกั เรยี น เชน่ สอนวธิ กี ารล้างมอื ท่ีถูกต้อง การทำหน้ากากผา้ การสวมหนา้ กาก การถอดหนา้ กาก กรณีเก็บไวใ้ ช้ต่อ การทำความสะอาดหน้ากาก การเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล จดั ทำป้ายแนะนำ ตา่ งๆ 6. ตรวจอปุ กรณ์ของใชส้ ่วนตวั ของเพื่อนนักเรยี นและรนุ่ น้อง ใหพ้ ร้อมใช้งาน เนน้ ไมใ่ ชร้ ว่ มกับผูอ้ ื่น เช่น จาน ชอ้ น ส้อม แกว้ น้ำ แปรงสฟี ัน ยาสีฟัน ผา้ เช็ดหนา้ ผ้าเช็ดมือของตนเอง 7. เป็นแบบอยา่ งที่ดใี นการการปฏบิ ตั ิตวั เพ่ือป้องกันโรคโควิด-19 ด้วยการสวมหนา้ กากผ้าหรือหน้ากาก อนามยั ลา้ งมือบ่อยๆ กนิ อาหารใช้ จาน ช้อน สอ้ ม แกว้ นำ้ ของตนเอง การเวน้ ระยะห่าง เป็นตน้ โดย ถอื ปฏิบตั เิ ป็นสุขนิสยั กิจวตั รประจำวันอยา่ งสม่ำเสมอ

คู่มอื การปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 19 • การเตรียมความพรอ้ มการจดั การเรียนการสอน โดยคานงึ ถงึ การเรยี นรู้ตามวัยและสอดคล้องกับ พัฒนาการดา้ นสังคม อารมณ์ และสตปิ ัญญา • จดั เตรียมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยสารอง • ส่งเสริมใหน้ ักเรียนได้รบั บริการสุขภาพขั้นพน้ื ฐานอยา่ งท่ัวถึง • ทาความสะอาดและจดั สภาพแวดลอ้ มให้สอดคลอ้ งกบั ข้อบญั ญัติการปฏิบตั ิด้านศาสนกจิ • มาตรการดแู ลนักเรยี นที่มีความตอ้ งการพิเศษ

คู่มือการปฏบิ ัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 20 มิติที่ 2 การเรียนรู้ ข้อที่ 2 การเตรยี มความพร้อมการจัดการเรียนการสอน โดยคำนึงถงึ การเรียนร้ตู ามวัยและสอดคล้องกับ พฒั นาการด้านสงั คม อารมณ์ และสตปิ ญั ญา แนวปฏบิ ตั ิ 2.1 มีการสง่ เสริมใหน้ ักเรียนมีการประเมินตนเองเพ่อื เตรียมความพร้อมในการเรียน โดยคำนงึ ถงึ การเรยี นรู้ ตามวัยและสอดคล้องกับพัฒนาการดา้ นสงั คม อารมณ์ และสตปิ ญั ญา 2.2 ไม่ปล่อยให้นกั เรยี นหมกหมุน่ อยู่กบั สื่อออนไลน์ท่ีไม่ใช่สอื่ การเรยี นการสอนนานจนเกินไป มิติที่ 3 การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส ข้อท่ี 1 การจัดเตรยี มหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามัย สำรองไว้ให้กับนักเรยี นพเิ ศษ ในกรณที นี่ ักเรยี นไมไ่ ด้นำหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้ามา โรงเรยี นได้จัดเตรยี มหนา้ กากอนามัย หรอื หน้ากากผา้ สำรองไวใ้ ห้กับนักเรียนพเิ ศษเรยี นร่วมอย่างเพยี งพอ ข้อที่ 2 1. รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนสำหรบั นกั เรยี นท่มี ีความตอ้ งการพิเศษ การจดั การเรยี นการสอนสำหรบั นักเรยี นทม่ี ีความต้องการพิเศษ มกี ารจัดการเรียนการสอนเหมอื นกบั นกั เรียนกลมุ่ ปกติ โดยมีรูปแบบ ดังนี้ 1.1 On site และ Online การจัดการเรียนการสอน On site สำหรับนักเรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ จะเรียนร่วมกับ นักเรียนกลุ่มปกติ แต่จะต้องดำเนินการตามมาตรการที่กระทรวงกำหนด เช่น มาตรการการสวม หน้ากากอนามัย การเวน้ ระยะห่าง เปน็ ต้น การจัดการเรียนการสอน On line สำหรับนักเรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ ให้มีการเรียน ออนไลน์ท่ีบ้านในกรณีที่เรียนออนไลน์ได้ สำหรับนักเรียนท่ีไม่มีความพร้อมในการเรียนออนไลน์ ครูที่ปรึกษา นำเอกสารใบงาน ไปสง่ และรับเอกสารคืนสปั ดาหล์ ะครั้ง โดยมคี รทู ี่ปรกึ ษา และครพู ี่เล้ียงตดิ ตามดูแล นักเรยี น อยา่ งใกล้ชิดและสม่ำเสมอ

คมู่ ือการปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 21 1.2 นักเรียนมาเรยี นสลบั วัน นกั เรียนที่มีความตอ้ งการพิเศษ จะมเี ฉพาะนกั เรียนท่ีเรียนอยู่ในระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น เท่าน้ัน ซึ่งทางโรงเรียนมีมาตรการให้นักเรียนมาเรียนสลับวันระหว่าง ม.ต้น และ ม.ปลาย ฉะนั้นนักเรียนท่ีมี ความตอ้ งการพเิ ศษ จะมาเรยี นเฉพาะวันจันทร์กบั วนั พุธ เทา่ นัน้ 1.3 เตรียมคาบพกั กลางวนั เน่ืองด้วยจำนวนนักเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น มีจำนวนมากพอสมควร ซึ่งเด็ก นักเรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ ก็จะใช้เวลาในการทำกิจกรรมร่วมกับเด็กนักเรียนกลุ่มปกติด้วย ฉะน้ันการจัด คาบพักกลางวันของนักเรียนจึงจัดให้มีการเหล่ือมคาบกัน เพื่อลดความแออัดในการใช้สถานท่ีต่างๆ และใน ระหว่างคาบพักน้ันจะมีครูพ่ีเลี้ยง และครูเวรประจำวัน ดูแลนักเรียน อย่างใกล้ชิด เพื่อความปลอดภัยของ นกั เรียน 1.4 การแบง่ นักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย เน่ืองด้วยในแต่ละห้องเรียนมีนักเรียนห้องละประมาณ 40 คน ทำให้ไม่เหมาะสมกับการ จดั การเรียนการสอนในสถานการณเ์ ช่นนี้ จึงต้องมกี ารแบง่ กลุ่มนกั เรียนออกเปน็ 2 กลุ่มย่อย โดยแต่ละกลมุ่ จะ มีนักเรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ เรียนร่วมอยู่กับนักเรียนกลุ่มปกติด้วย เพ่ือให้สามารถดูแลนักเรียนกลุ่มนี้ได้ อย่างทว่ั ถึง โดยมีครูประจำวชิ า และครูพเ่ี ลีย้ งเปน็ ผูค้ วบคุมดูแลอย่างใกล้ชดิ 1.5 จดั สอนซ่อมเสรมิ สำหรับคาบซ่อมเสริมของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ จะเป็นการเรียนเฉพาะกลุ่ม โดย ไม่ได้เรยี นร่วมกับนกั เรยี นกลุ่มปกติ ทำให้จำนวนนักเรียนในห้องมีปริมาณลดลง สามารถจัดการเรยี นการสอน ได้ตามปกติ แต่มีการดำเนินการตามมาตรการท่ีกระทรวงกำหนด อย่างเคร่งครัด โดยจัดโต๊ะเก้าอี้นั่งเว้น ระยะห่าง จัดทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่ง สวมหน้ากากอนามัยทุกคนท่ีเข้าใช้ มีเจลล้างมือ ในการใช้ หอ้ งเรยี นรว่ มมีการจัดระยะหา่ งตามมาตรฐาน จำกัดคนจำกัดเวลา เพอ่ื ความปลอดภัยของนักเรยี น ข้อท่ี 3 มาตรการสง่ เสริมให้นกั เรียนไดร้ บั บริการสขุ ภาพข้ันพนื้ ฐานอย่างท่ัวถงึ การส่งเสริมการป้องกันโรค การส่งเสรมิ สุขภาพอนามยั การรักษาพยาบาลเบ้ืองต้นโดยมีมาตรการ ดงั นี้ 1. มาตรการการตรวจวัดอณุ หภูมริ ่างกาย 2. มาตรการลา้ งมอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอล์หรือสบู่ 3. ตรวจสอบการสวมหนา้ กากอนามยั หรือหน้ากากผ้า 4. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล 5. ทำความสะอาดโต๊ะเก้าอี้และเคร่อื งใช้ภายในห้องเรียน และสถานทตี่ ่างๆภายในโรงเรียน ทกุ ครัง้ ระหว่างเปล่ยี นคาบเรยี น 6. ลดความแออดั โดยจดั ห้องเรียนเวน้ ระยะห่าง 1.5 เมตร โดยจัดห้องเรียนละ 20 คน 7. หากพบนักเรียนปว่ ยหรอื มีไข้ ให้แยกนักเรยี นมาที่ห้องกักตัวผปู้ ่วย รายงานผู้บรหิ ารทราบ และ ตดิ ต่อประสานงานกับเจ้าหน้าทีห่ นว่ ยงานสาธารณสุขประจำอำเภอ 8. แจง้ ให้ผปู้ กครองทราบ

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 22

ค่มู อื การปฏิบัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 23 ข้อท่ี 4 มาตรการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับขอ้ บญั ญัตกิ ารปฏบิ ัตดิ ้าน ศาสนกิจ พรอ้ มมตี ารางเวรทกุ วัน การใช้อาคารสถานทใ่ี นการประกอบศาสนกจิ 1. ทำความสะอาดอาคารสถานท่ีทใ่ี ชส้ ำหรบั ประกอบศาสนกิจด้วยแอลกอฮอร์ 2. จัดสภาพอาคารสถานทที่ ี่ใช้สำหรบั ประกอบศาสนกิจใหม้ ีอากาศถา่ ยเท 3. จดั ตารางเวรสำหรบั ทำความสะอาดอาคารสถานที่ที่ใช้สำหรบั ประกอบศาสนกิจทกุ วัน 4. ลา้ งมอื ดว้ ยเจลทกุ ครั้งเมอื่ ต้องประกอบศาสนกิจ 5. นักเรยี นตอ้ งเตรียมอุปกรณส์ ำหรับประกอบศาสนกจิ เป็นของตนเอง 6. การใช้อาคารสถานทใี่ นการประกอบศาสนกิจทุกครั้งตอ้ งช่วยกนั รกั ษาความสะอาด การเข้ารว่ มประกอบศาสนกิจ 1. นกั เรียนท่ีเขา้ ร่วมประกอบศาสนกิจจะตอ้ งสวมใสห่ นา้ กากอนามัยทุกครั้ง 2. ก่อนเขา้ ร่วมประกอบศาสนกิจต้องลา้ งมือด้วยล้างเจลแอลกอฮอร์ทกุ ครั้ง 3. ในการประกอบศาสนกิจจะต้องปฎิบัติตามเวน้ ระยะห่างระหว่างกนั ( Social Distancing ) ขอ้ ท่ี 5 1. มาตรการดแู ลนกั เรยี นท่ีมีความต้องการพเิ ศษ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านการเรียนรู้ และนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาของ โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ มีการจัดการเรียนการสอนและทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันกับนักเรียนกลุ่มปกติ ฉะน้ัน มาตรการต่างๆ ท่ีใช้ในการดูแลนักเรียนกลุ่มปกติ กจ็ ะใช้กบั นกั เรยี นท่ีมีความบกพร่องทางดา้ นการเรยี นรู้ และ นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาด้วย แต่สำหรับนักเรียนกลุ่มเรียนร่วมนี้ จะมีการดูแล เอาใจใส่ อย่าง ใกล้ชิด จากครูพี่เล้ียงและครูเวรประจำวัน มากกว่านักเรียนกลุ่มปกติ เน่ืองจากด้วยสภาพของนักเรียนเอง เพอื่ ให้นักเรียนปลอดภัยและห่างไกลจากโรคตดิ เชื้อโควิด-19 มากทส่ี ุด ดงั น้ี 1. การมาเรยี น 6 ข้อปฏบิ ตั ิ 1) การคัดกรอง มคี รเู วรประจำวันคัดกรองนักเรยี นหนา้ โรงเรียน และขอสนับสนุน เจ้าหน้าท่ีจาก รพ. สต. ช่วยคัดกรองและอย่ตู ลอดวนั 2) การสวมหนา้ กากอนามยั นักเรยี นและครูทกุ คนสวมหนา้ กากอนามัยหรือหนา้ กากผ้า โดยโรงเรยี นแจกให้นักเรียนคนละ 1 อัน 3) การเว้นระยะหา่ ง โรงเรียนแบง่ นกั เรียนเปน็ 2 กลมุ่ ๆ ละไม่เกิน 25 คน เพ่ือจัดโตะ๊ เก้าอี้ใหม้ รี ะยะหา่ ง 1.5 เมตรในหอ้ งเรยี น 4) การลา้ งมอื โรงเรยี นเตรียมป้ายวธิ กี ารลา้ งมือท่ีถูกวธิ ี ตดิ ประชาสมั พนั ธ์ และเตรียมอ้าง ลา้ งมอื ใหเ้ พยี งพอต่อ โดยจดั ทำน้ำยาลา้ งมือเอง เพ่ือประหยัดงบประมาณ และเตรียมที่ เหยยี บเจลแอลกอฮอล์ 5) ลดความแออดั โดยสลับวันมาเรยี น ม.ตน้ และม.ปลาย และนักเรียนมีการพักเลื่อมเวลา กัน 6) การทำความสะอาด ห้องเรียนหลังเลกิ เรยี น

คู่มือการปฏิบตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 24 2.2 การใช้พ้ืนที่ 1) ห้องเรยี น จัดโตะ๊ เกา้ อ้ีนั่งหา่ งกนั 1.5 เมตร ห้องละ 20 โตะ๊ นักเรยี นน่งั เรยี นประจำ มถี งั ขยะฝาปดิ ในห้องเรียน ทำความสะอาดทุกวันหลังเลกิ เรยี น 2) ห้องเรียนร่วม จดั สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมต่อการเรยี นรู้ โดยมีส่ือ และเกม เพื่อให้ นักเรยี นไดม้ ีความผอ่ นคลาย และพบปะพดู คุยในกล่มุ ของตนเอง ในคาบพักหรอื คาบว่าง โดยจดั โตะ๊ เก้าอ้ีนั่ง เว้นระยะหา่ ง จัดทำสญั ลักษณ์แสดงจุดตำแหน่ง มีเจลล้างมือ สวมหน้ากากอนามยั ทุกคนทเี่ ขา้ มาในหอ้ งเรียน รว่ ม 2) โรงอาหาร มอี ่างล้างมือ มสี บู่ล้างมอื มีจุดตำแหนง่ ในการยนื ซือ้ อาหาร การนง่ั กิน ผู้ใชบ้ รกิ ารทกุ คนและแม่ค้าสวมหน้ากากอนามัยทกุ คน แมค่ ้าทำความสะอาดโต๊ะเก้าอี้ตลอดการใชง้ าน นักเรียนนำกล่องขา้ วเพื่อใส่อาหารไปกนิ บรเิ วณทจี่ ดั ให(้ ในโรงอาหาร / หอ้ งเรียน) นำชอ้ น นำแกว้ น้ำมาเอง และนำกลับไปลา้ งทีบ่ ้าน มคี รูเวรประจำวันตรวจเชค็ ความสะอาดในคาบพัก 3) ห้องนำ้ มีอ่างล้างมือ มสี บู่ลา้ งมอื ทำความสะอาดวันละ 2 คร้งั มคี รเู วรประจำวันคอย ดูแล 4) ห้องสมดุ จัดโต๊ะเก้าอี้น่งั เว้นระยะห่าง จดั ทำสญั ลักษณ์แสดงจดุ ตำแหน่ง สวมหนา้ กาก อนามยั ทุกคนที่เขา้ ใช้ มีเจลล้างมอื ในการใช้ห้องสมุดมีการจัดระยะหา่ งตามมาตรฐาน จำกดั คนจำกัดเวลา 5) ห้องประชุม มีการวัดอุณหภูมิกอ่ นเข้า สวมหน้ากากอนามยั ทุกคน จัดเตรียมเจลล้างมอื สำหรับทกุ คนทีเ่ ขา้ ใช้ จัดระยะห่างตามมาตรฐาน ทำความสะอาดก่อนและหลังใช้ทุกคร้ัง 6) สนามกฬี า จดั พน้ื ที่การทำกจิ กรรมและเล่นกีฬา ลดความแออัด เว้นระยะห่าง มีเจลล้าง มอื ทำความสะอาดอุปกรณท์ ุกครัง้ หลีกเล่ียงการจดั กจิ กรรมการแข่งขันท่ีมกี ารปะทะกนั เช่น ฟุตบอล ฟุต ซอล บาสเกตบอล 7) ห้องพักครู จดั โตะ๊ เก้าอ้เี วน้ ระยะห่าง มีเจลล้างมอื ครแู ละผมู้ าติดต่อบริเวณทางเขา้ ทำ ความสะอาดอย่างน้อยวนั ละ 2 ครง้ั 8) ห้องพยาบาล มคี รหู รือเจ้าหน้าที่ อสม.ดแู ลนักเรยี นในกรณีมานอนพักรอผ้ปู กครอง จดั หอ้ งแยกสำหรับนักเรียนกลมุ่ เสี่ยง ทำความสะอาดเตียงและอุปกรณ์ทุกวัน มีเจลล้างมอื 2.3 การดูแลนักเรยี นทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา 1. จับคู่นักเรยี นแกนนำ (นักเรยี นปกติ) ช่วยช้ีแนะ แนะนำ ในการเรียน การทำกิจกรรมใน โรงเรยี น และการดแู ลสขุ ภาพ 2. ช้ีแจงใหน้ ักเรยี นได้ตระหนกั ถงึ การอยู่รว่ มกันในโรงเรยี น 3. ช้แี จงให้คุณครูทุกคนในโรงเรียนทราบถึงพฤตกิ รรมการเรยี น ประวัติการักษาของนักเรียน ท่ีมีความตอ้ งการพเิ ศษแตล่ ะคน 4. แนะนำแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผลให้คุณครูทุกคน ทราบ 5. แจ้งเจ้าที่สาธารณสุขที่ได้เข้ามาดูแลภายในโรงเรียนทราบข้อมูลของเด็กที่มีความต้องการ พิเศษเพอื่ การส่งตอ่

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 25 • จดั เตรียมแผนรองรับการจดั การเรยี นการสอนสาหรับนกั เรยี นป่วย กักตัว หรอื กรณีปดิ โรงเรยี น • จัดเตรยี มแนวปฏิบัติการส่ือสารเพ่ือลดการรังเกยี จและการตตี ราทางสังคมด้วย 7 วิธคี ิด • เตรยี มแนวปฏิบัติดา้ นการจัดการความเครียดของครูและบคุ ลากรของสถานศึกษา • ตรวจสอบประวัติเสย่ี งของนกั เรียนและบุคลากร

คู่มอื การปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 26 มติ ิท่ี 4 สวสั ดภิ าพและการคุม้ ครอง 1. มกี ารจดั เตรยี มแผนรองรบั การจัดการเรยี นการสอนสำหรบั นักเรยี นปว่ ย กกั ตวั หรือกรณปี ดิ โรงเรียน ดังนี้ 1.1 สำหรับนกั เรยี นป่วย 1.2 ให้นกั เรียนหายป่วยก่อน 1.3 กรณีที่นักเรยี นพร้อมในการเรียน Online ใหน้ กั เรยี นลงทะเบียนเรียนใน www.andamansatun.com หรือ Google Classroom ของครูแต่ละรายวชิ า 1.4 กรณีนกั เรยี นพรอ้ มสามารถรับชม DLTV ย้อนหลงั ได้ ใหค้ รูจัดตรียมใบงานใหน้ ักเรียนยอ้ นหลัง 1.5 กรณีนกั เรียนไม่พรอ้ มในการใชอ้ ินเตอรเ์ นต็ ใหค้ รจู ดั ซ่อมเสริมใหน้ ักเรยี น 1.6 สำหรบั นักเรยี นทถ่ี ูกกกั ตัว 1.7 กรณีทนี่ ักเรยี นพร้อมในการเรียน Online ใหน้ ักเรยี นลงทะเบียนเรียนใน www.andamansatun.com หรอื Google Classroom ของครูแตล่ ะรายวชิ าครโู ดยครแู จกใบงานให้ นกั เรยี น 1.8 กรณนี กั เรียนพรอ้ มสามารถรับชม DLTV ย้อนหลงั ได้ ให้ครจู ดั ตรยี มใบงานใหน้ ักเรียนยอ้ นหลัง 1.9 กรณนี กั เรียนไม่พรอ้ มในการใช้อนิ เตอร์เนต็ ให้ครจู ัดซ่อมเสริมใหน้ ักเรียนเมื่อครบกำหนดการ กกั ตัว 1.10 กรณปี ดิ โรงเรียน 1.11กรณีท่นี กั เรียนพรอ้ มในการเรียน Online ใหน้ ักเรยี นลงทะเบียนเรียนใน www.andamansatun.com หรือ Google Classroom ของครูแตล่ ะรายวิชาครูโดยครูแจกใบงานให้ นกั เรียน 1.12 กรณีนกั เรยี นพร้อมสามารถรับชม DLTV ย้อนหลงั ได้ ใหค้ รจู ัดตรยี มใบงานใหน้ ักเรียนย้อนหลัง 1.13 กรณีนกั เรยี นไม่พร้อมในการใช้อินเตอร์เน็ต ให้ครูจัดซ่อมเสรมิ ใหน้ ักเรยี นเมื่อโรงเรียนเปดิ เรยี น 1.14 วดิ โี อคอลทำการสอนทางไกล มขี นั้ ตอนดังน้ี 1) จัดเตรยี มบ้านเพือ่ การวิดีโอคอล หาจุดท่ีมีสัญญาณ Wi-Fi แรง หาฉากหลังเรยี บๆ และจดั สถานทใี่ หม้ แี สงธรรมชาตเิ พียงพอ 2) เร่ิมวิดีโอคอลกับนักเรยี นในชั้น สรา้ งวิดีโอคอลและเชิญนักเรียนทัง้ ชนั้ ให้เข้ารว่ มได้ด้วย Google Meet 3) บันทกึ บทเรียนของคุณเพ่ือใหด้ ยู ้อนหลงั ไดท้ นั ที บันทึกบทเรียนเพ่ือให้นกั เรียนและเพื่อน ร่วมงานสามารถดูย้อนหลังได้ 4) สตรีมการสอนแบบสดสตรีมมิงแบบสดชว่ ยประหยดั แบนดว์ ดิ ทใ์ นกรณีท่ีมีการเชอ่ื มต่อ อนิ เทอร์เนต็ ท่ีสัญญาณไมแ่ รง บนั ทกึ บทเรียนและโพสตไ์ วใ้ น Classroom เพอ่ื ให้นกั เรยี นเปดิ ทบทวนย้อนหลงั ได้

คมู่ ือการปฏิบัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 27 1.15 การห้องเรียนเสมือน มีขัน้ ตอนดังนี้ 1) สร้างงานชิน้ แรกของคุณใน Google Classroom ช่วยใหค้ รู อาจารย์ สามารถสร้างและ จดั การการมอบหมายงาน ให้ความคดิ เห็นเก่ยี วกบั งาน และสอื่ สารกบั นักเรยี นในช้นั ได้ 2) สร้างเวบ็ ไซต์ของช้ันเรยี นเพอื่ นักเรยี น สามารถสร้างเว็บไซตส์ ว่ นตัวของชั้นเรียนเพื่อ จัดเกบ็ รายละเอยี ดของบทเรียน ใบงาน วดิ ีโอ และอ่นื ๆ อีกมากมายไดด้ ว้ ย Google Sites 3) วางโครงสรา้ งบทเรียนด้วย Google Slides ทำใหบ้ ทเรียนของมชี ีวติ ชวี าและน่าสนใจข้นึ ไดด้ ว้ ยธีมงานนำเสนอทหี่ ลากหลาย วิดโี อแบบฝงั ภาพเคล่ือนไหว และอกี มากมาย 4) สรา้ ง แชร์ และแก้ไข Google Docs ทำงานร่วมกนั แบบเรยี ลไทมด์ ้วย Google Docs ไม่ ว่าจะสรา้ ง แก้ไข แชร์ หรือพิมพเ์ อกสาร ก็ทำทุกอย่างได้จากที่เดียว 5) ทำให้ทุกคนสามารถเข้าดบู ทเรียนได้ ดว้ ยการใชโ้ ปรแกรมอา่ นหน้าจอทม่ี าพร้อมกับ Chromebook และ G Suite สำหรับนกั เรยี นท่ีพิการทางสายตาหรอื สายตาเลือนราง และสอนนกั เรยี นใช้ เทคโนโลยีทีช่ ่วยอำนวยความสะดวกใน G Suite เช่น การพมิ พ์ดว้ ยเสียง และการแสดงผลอกั ษรเบรลล์ 6) ทำใหน้ ักเรียนมีส่วนรว่ มในช้นั เรยี นได้ - กระตุน้ การอภิปรายร่วมกนั โดยเปดิ โอกาสให้นกั เรียนต้ังคำถามหรอื แสดงความ คดิ เหน็ ไว้ใน Google Classroom - กำหนดช่วงเวลาทสี่ ะดวกสำหรบั การนดั หมายไวใ้ น Google Calendar เพ่อื ให้ นกั เรียนจองเวลานัดหมายแบบตัวต่อตัวหรือแบบเป็นกลุ่ม - จัดทำ ใหค้ ะแนนแบบทดสอบ และประเมินผลได้โดยอตั โนมตั ิด้วย Google Forms - สง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องนักเรียนโดยการแสดงความคดิ เห็นในขณะที่พวกเขากำลัง ทำงานอยู่ใน Google Docs 1.16 จดั การเรียนการสอนผา่ นบทเรยี นออนไลน์ www.andamansatun.com มขี ัน้ ตอนดังนี้ 1) ครูศึกษาหาความร้กู ารสร้างบทเรยี นออนไลน์ 2) ครูเตรียมหลกั สูตร สาระการเรยี นรู้ ใบความรู้ ใบงาน แบบทสอบ แหล่งเรยี นรู้ รูปแบบตา่ งๆ เพ่ือนำไปสรา้ งบทเรียน 3) สรา้ งบทเรียนตามคู่มือการสร้างบทเรยี นออนไลน์ www.andamansatun.com ตามลงิ ก์จากเว็บ ไซด์โรงเรยี น www.tww.ac.th 4) นกั เรียนสมคั รเป็นสมาชกิ เว็บไซด์ www.andamansatun.com หรือ admin สมคั รให้ได้ 5) นักเรยี นสามารถเข้าเรียนบทเรียนออนไลน์ตามคมู่ ือการสรา้ งบทเรยี นออนไลน์ www.andamansatun.com ตามลิงก์จากเว็บไซดโ์ รงเรยี น www.tww.ac.th 6) ครสู ามารถตรวจงาน และเก็บคะแนนจากเวบ็ ไซด์ www.andamansatun.com ไดเ้ ลย 1.4 จัดการเรยี นการสอนผ่านระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) 1.5 จดั การเรยี นการสอนผา่ นระบบการศกึ ษาทางไกลผา่ น facebook Live 1.6 ครูทกุ คนส่งเสริมให้นกั เรียนเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ดว้ ยการเรยี นร้จู าก youtube.com เวบ็ ไซด์ มหาวิทยาลัย หน่วยงานอื่นๆ ท่มี ีบทเรียนส่งเสรมิ การเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย 2. มีการจัดเตรียมแนวปฏบิ ัติการสอ่ื สารเพ่ือลดการรงั เกยี จและการตีตราทางสังคม ด้วย 7 วิธีคิด ดังนี้

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 28

คู่มือการปฏิบตั ิของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 29 3. การเตรียมแนวปฏบิ ัตดิ า้ นการจดั การความเครยี ดของครแู ละบคุ ลากรของสถานศึกษา มีอยู่หลายวธิ ี ท่จี ะต้องปฏบิ ตั ิ ดังต่อไปนี้ 3.1 การเสรมิ สร้างสขุ ภาพกายใหแ้ ข็งแรง 3.2 การเปลยี่ นแปลงสภาพการณ์ทีท่ ำให้เครียด 3.3 การเปลี่ยนแปลงท่ีจิตใจ 3.4 การฝึกผ่อนคลายความเครียดโดยใช้เทคนิควธิ ีต่าง 3.5 อบรมหลักสตู รออนไลน์ดูแลจิตใจตัวเอง เพื่อเตรยี มพร้อมปรบั ตัวเขา้ สฐู่ านวถิ ชี วี ิตใหม่ของกรม สขุ ภาพจติ “หลักสตู รออนไลน์ การดูแลจิตใจในวกิ ฤตโควิด-19” จากเว็บไซด์ shorturl.at/eyBP9 หรือ http://dmsic.moph.go.th/index/detail/8098?fbclid=IwAR18wHUXeCIfhQgrjnJFj4f95NW9qZGcgp b3jKSxjbsguZrSt0Vt9A6k5hA 4. การตรวจสอบประวตั ิเสีย่ งของนักเรยี นและบุคลากร รวมท้งั ตรวจสอบเร่ือง การกักตัวให้ครบ 14 ตวั กอ่ น มาทำการเรยี นการสอนตามปกตแิ ละทุกวันเปดิ เรยี น ด้วยแบบประเมนิ ดงั นี้

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 30

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 31

คมู่ อื การปฏิบัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 32 5. การกำหนดแนวทางปฏบิ ตั ิตามระเบยี บสำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรทส่ี งสยั ติดเชอื้ หรอื ป่วยดว้ ยโรค โควิด-19 โดยไมถ่ อื เป็นวนั ลาหรือวนั หยุดเรยี น กรณที ่ีขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษาท่ีเดนิ ทางกลับ จากสถานท่เี สีย่ งหรือสมั ผัสโรคหรือใกล้ชดิ ผู้ปว่ ย ไม่ว่าจะได้รับการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวงั เช้อื โรคจาก โรงพยาบาลหรือไม่ หากปรากฏผลการตรวจคัดกรองยนื ยันว่ามีภาวะเส่ียงหรือติดเช้ือโรค หรือถูกแยกกกั หรือ กกั กันตวั หรือปฏบิ ตั ติ ามมาตรการทกี่ รมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ กำหนด จนเป็นเหตใุ ห้ไมส่ ามารถ ปฏิบตั ริ าชการ ณ สถานท่ีต้งั ตามปกติได้ ให้ผู้บังคับบัญชาส่งั ให้ข้าราชการและบุคลากรแยกกักหรือกักกนั ตัว ภายในที่พกั โดยไม่ถอื เป็นลา

คูม่ อื การปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 33 • ประชาพนั ธค์ วามรู้การป้องกนั โรคโควดิ -19 แก่นักเรยี น ครู บคุ ลากรและผู้ปกครอง • จัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปกี ารศึกษา 2563 โดยมีโครงการปลอดภยั ในช่วง COVID 19 • ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา เพอ่ื หาแนวทางร่วมกนั ในการจัดการเรียนการสอน ในช่วงการระบาดของโรคโควิด 19

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 34 มิติท่ี 5 นโยบาย ข้อท่ี 1 ประชาพนั ธ์ความรู้การปอ้ งกนั โรคโควดิ -19 แก่นักเรียน ครู บุคลากรและผปู้ กครอง ผ่านเวบ็ ไซต์ วารสารโรงเรยี น และเพจโรงเรยี นท่งุ หวา้ วรวิทย์ ได้แก่ • ปอ้ งกันไวรสั โคโรนา 2019 ด้วย ลา้ ง เลีย่ ง ลด • วิธปี อ้ งกันตนเองเบอ้ื ตน้ จากไวรัสโคโรนา • วธิ ลี า้ งมือใหส้ ะอาด 7 ข้นั ตอน • แอพลิเคชน่ั “หมอชนะ” เพือ่ ตรวจเช็คสุขภาพ และรบั ทราบขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรสั โคโรนา่ -19 • 6 มาตรการหลกั ข้อปฏิบตั ิของนกั เรยี นโรงเรียนทุ่งหว้าวรวทิ ย์ เพื่อชีวิตปลอดภยั หา่ งไกลจากโควิท- 19 • การขอความรว่ มมือผู้ปกครองและนักเรยี น สมหนา้ กากอนามยั เพือ่ ป้องกันเช้อื ไวรสั Covid-19

ค่มู ือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 35

คมู่ ือการปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 36 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ทำพิธีประดับเขม็ ตราสัญลักษณโ์ รงเรียน หรอื นกั เรยี นชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 2,3,5 และ 6 ลงทะเบยี นเรียน ทางโรงเรียนไดช้ ี้แจ้ง มาตรการหลกั ข้อปฏบิ ัตขิ องนักเรยี น เพิ่มเติม

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 37 ข้อท่ี 2 โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563 โดยมีโครงการปลอดภัย ในช่วง COVID 19 ซ่ึงโรงเรียนทุ่งหว้าวรวทิ ย์เห็นความสำคัญในการป้องกนั ลดการแพร่ระบาดและเพิม่ ความ ปลอดภยั ของนกั เรียนและบคุ ลากร โดยยึดถอื ตามมาตรการของภาครฐั การจัดทำโครงการเพอื่ จัดซื้ออปุ กรณ์ การป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ของสถานศึกษา ได้แก่ หน้ากากผ้าอนามัย เครื่องวัด อณุ หภมู ิรา่ งกาย เจลล้างมอื น้ำยาฆ่าเชอ้ื และเคร่ืองพน่ สำหรบั ฆา่ เชื้อ

คูม่ ือการปฏบิ ัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 38 ข้อ 3 โรงเรยี นมีการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อหาแนวทางร่วมกนั ในการจดั การเรียนการสอน ในชว่ งการระบาดของโรคโควิด 19 พรอ้ มท้ังแต่งตง้ั คณะทำงานท่มี กี ารกำหนดบทบาทท่ชี ัดเจน

คู่มือการปฏิบตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 39 ข้อท่ี 4. มาตรการจัดการความสะอาดบนรถรับ-ส่งนักเรยี น เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จัดที่น่ัง บนรถหรือมีสัญลักษณ์จุดตำแหน่งชัดเจน 4.1 สวมหน้ากากอนามยั ทุกคร้ัง ทง้ั ผ้ขู บั รถ และผโู้ ดยสาร 4.2 สังเกตอาการของตนเอง และผโู้ ดยสาร หากมอี าการไข้ควรพัก และให้พบแพทยท์ นั ที (กรณีพบ นักเรียนมอี าการไข้ แจง้ ผ้ปู กครองหรือครูเวรประจำวนั ) 4.3 ทำความสะอาดบริเวณจดุ สมั ผสั เสยี่ ง เช่น ราวจับ ที่เปิดประตู เบาะนั่ง ที่วางแขน กอ่ นและหลงั ใชง้ าน ทกุ ครั้ง 4.4 นักเรยี นทีใ่ ช้บรกิ ารรถรบั – สง่ ต้องสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา ลดการพดู คยุ และงดการ เลน่ หยอกลอ้ กนั 4.5 จดุ ทน่ี ง่ั บนรถ ควรจัดใหม้ ีการเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล ตามความเหมาะสมของขนาดพื้นที่ใน รถ และจำนวนนักเรยี น 4.6 จุดจอดรถรับ – สง่ ควรเวน้ ระยะจอดห่างกันอย่างน้อย 3 เมตร เพ่ือป้องกันการแออดั ของ นกั เรียนขณะข้นึ และลงรถ

ค่มู อื การปฏบิ ัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 40 • จัดทาโครงการทส่ี ง่ เสรมิ มาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 • การจัดหาวัสดุอุปกรณเ์ พอื่ ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19

คมู่ อื การปฏิบัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 41 มิติที่ 6 การบรหิ ารการเงนิ ข้อที่ 1 มแี ผนการใช้งบประมาณในการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 ตามความจำเป็นและ เหมาะสม โดยมแี ผนปฏิบัตริ าชการประจำปกี ารศกึ ษา 2563 ซ่ึงมีการจดั ทำโครงการท่สี ง่ เสรมิ มาตรการ ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 1. โครงการปลอดภัยในชว่ งโควิด-19 2. มกี ารจัดหา ซื้อวสั ดุอปุ กรณ์เพือ่ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 และดแู ลความปลอดภยั สขุ ภาพของนักเรยี นและบคุ ลากรทางการศึกษา โดย 1) จดั หา จัดซ้อื อุปกรณ์ ไดแ้ ก่ หน้ากากผ้า เจลแอลกอฮอล์ สบู่ เฟสชลิ ล์ เคร่ืองตรวจวดั อุณหภมู ิ รา่ งกาย 2) จัดซ้ือวัสดุอุปกรณเ์ พื่อจัดทำอา่ งลา้ งมือ เครือ่ งกดเจลแอลกอฮอลโ์ ดยไมใ่ ชม้ ือ ไว้บริการตามจดุ ตา่ งๆของโรงเรียน 3) จดั หา จดั ซือ้ น้ำยาล้างทำความสะอาด บรเิ วณอาคารเรียน โรงอาหาร หอประชมุ ลาน เอนกประสงค์และห้องนำ้ เพื่อให้สถานท่ีต่างๆ บรเิ วณโรงเรยี น มีความสะอาด ปลอดภัยในช่วงโควิด-19 3. มีการประสานขอรับทุนสนบั สนุนจาก บริษทั วริ ยิ ะประกันภัย เพื่อนำทนุ สนบั สนุนมาดำเนิน กจิ กรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 ภายในโรงเรียน ขอ้ ที่ 3 การจัดการส่ิงแวดลอ้ มในสถานศึกษา สำหรับวธิ ีการป้องกนั โควดิ 19 ในโรงเรียนหรือสถานศึกษาก็เปน็ อีกหนงึ่ เรื่องที่เราทุกคนจะตอ้ ง ต่นื ตวั และให้ความชว่ ยเหลือทง้ั ตวั นักเรียนเองและครผู สู้ อน เพ่ือจะชว่ ยลดการแพร่กระจายเช้ือไวรัสโคโรนา่ 1. การตรวจคดั กรองก่อนเขา้ โรงเรียนหรอื สถานศึกษา ทางโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาจะต้องมจี ดุ ตรวจสอบกอ่ นเข้าหอ้ งเรยี นควรจัดพนื้ ทีใ่ ห้เปน็ โซนแยก อย่างชดั เจนและควรมีการจัดระเบียบในการเขา้ แถวออกห่างอย่างน้อย 1-2 เมตร หากมีนกั เรยี นหรอื นักศกึ ษาคนไหนมีไข้สงู กว่า 37.5 °C หรอื หากพบวา่ อาการจาม ไอ นำ้ มกู ไหล เจบ็ คอ เหน่อื ยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหรือนักศึกษาคนนั้นหยุดเรยี นและไปพบแพทยโ์ ดยทันที (คุณ สามารถอา่ นบทความเพิม่ เตมิ เกยี่ วกบั อาการของโรค COVID-19 ได้) หากพบวา่ มีนกั เรียนหรือนกั ศึกษามี อาการดังที่กลา่ วมาข้างต้นมากกว่า 3 คนขนึ้ ไป ใหร้ ีบแจ้งศนู ย์บรกิ ารสาธารณสุขในพื้นทที่ ันที 2. การจัดการในโรงอาหาร โรงอาหารเปน็ ทราบกนั ดีอยแู่ ลว้ ว่าเป็นสถานท่ที ่ีผู้คนแอดอดั ซึ่งจะเป็นเฉพาะเวลาพักเท่ียงที่ทุกคนพัก ตรงกนั ดังน้นั โรงอาหารจึงเป็นพื้นท่เี ส่ยี งทสี่ ดุ ทางโรงเรียนหรือสถานศึกษาจะต้องมมี าตรการในการจดั การทด่ี ี จึงจะชว่ ยลดความเสี่ยงได้

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 42 2.1 จดั พน้ื ทีส่ ำหรบั จุดตรวจคดั กรอง มจี ุดตรวจคดั กรองก่อนเข้าโรงอาหาร ซึ่งจะต้องทำเช่นเดียวกันกบั การตรวจคดั กรองก่อนเขา้ โรงเรียนหรอื สถานศึกษา น่ันก็คือจดั ระเบียบแถวใหเ้ รยี บร้อย เว้นระยะห่างอย่างน้อย 1-2 เมตร 2.2 การสวมหนา้ กากอนามัย สำหรบั ผูซ้ อื้ และผ้ขู ายควรจะสวมหน้ากากอนามัยในตอนซื้ออาหาร แตส่ ำหรบั ผู้ขายหรือผ้ปู ระกอบการ จะตอ้ งสวมมากกวา่ หนา้ กากอนามยั เพราะคณุ จะต้องสวมทั้ง ถุงมือยางอนามัย หมวก และผ้ากันเป้ือน 2.3 ทำความสะอาดพน้ื ผวิ ที่ได้รับการสัมผสั บ่อยๆ ทำความสะอาดพ้ืนผวิ ทไ่ี ดร้ ับการสมั ผัสบ่อยๆ อาทเิ ช่น โต๊ะ เก้าอ้ี บัตรคปู องแทนเงินสด หรือแม้แตช่ ดุ เครื่องปรุงอาหารสำหรบั รา้ นทข่ี ายจำพวกกว๋ ยเตี๋ยว เพราะท้ังหมดที่กลา่ วมาน้นั เปน็ พ้นื ผวิ ที่ทกุ คนจะตอ้ งใช้ รว่ มกันท้งั สน้ิ อย่าลมื ทำความสะอาดแผงจำหน่ายอาหาร โดยใช้เลือกใชเ้ ปน็ แอลกอฮอล์ทมี่ คี วามเข้มข้น 70% ข้ึนไป, น้ำยาฆา่ เชอื้ ท่ัวไป, หรอื จะเปน็ นำ้ ยาฟอกขาวสำหรบั ฆ่าเช้ือ (คุณสามารถอา่ นวธิ ีทำผ้าเช็ดทำความ สะอาดสำหรบั ฆ่าเช้ือได้จากบทความของเรา) และควรจะมีการกำจัดขยะอย่างเหมาะสม 2.4 จุดบรกิ ารลา้ งมือ ภายในโรงอาการควรมจี ุดบรกิ ารลา้ งมือ การล้างมือที่ถูกต้องนน้ั จะต้องลา้ งมอื ด้วยสบูอ่ ย่างน้อย 20 วินาที และล้างให้สะอาดทกุ ซอกทุกมุม คณุ สามารถอา่ นวิธลี ้างมอื ได้จากบทความ “ล้างมืออย่างไรใหส้ ะอาด ปราศจากเช้อื โรคต่างๆ“ และควรมีเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือทมี่ ีความเข้มข้น 70% ข้ึนไป แนะนำวธิ ีการใช้ แอลกอฮอล์เจลล้างมือใชอ้ ย่างไรใหม้ ปี ระสิทธิภาพทีส่ ุด 2.5 การจัดการที่น่งั ท่นี ัง่ สำหรับรับประทานอาหารนน้ั จะต้องเว้นระยะหา่ งอยา่ งน้อย 1 เมตร สำหรับการน่ังฝงั่ ตรงข้ามนัน้ จะ จัดใหเ้ ป็นการน่งั แบบเฉียงกัน ไม่ใหน้ ง่ั ตรงกันข้ามแบบตรง ๆ 2.6 ความสะอาดของอุปกรณบ์ นโตะ๊ ทานอาหาร สำหรบั ทางร้านคา้ นั้นกค็ วรมีมาตรการทำความสะอาดทีด่ ี อาทิเชน่ ช้อนทานอาหารหรอื แก้วน้ำ หากเป็น การทานอาหารรว่ มกนั แนะนำให้ใช้ช้อนกลาง และควรจะใชแ้ กว้ นำ้ แยกใหช้ ดั เจนไม่ควรใช้รว่ มกนั หากเป็นได้ สำหรับช้อนทานอาหารหรอื แกว้ น้ำและขวดน้ำนั้นเป็นสงิ่ ที่ต้องพึ่งระวงั เชน่ กัน เพราะเป็นอุปกรณ์ทเ่ี ราจะตอ้ ง เอาเข้าปาก ดงั น้ันจึงให้พกของใชส้ ว่ นตัวมาเองจะปลอดภัยทสี่ ุด 2.7 มาตรการความสะอาดสำหรบั ร้านประกอบการ สำหรับทางร้านประกอบการนัน้ กต็ ้องมีการจัดที่ดี อาทิเช่น ภาชนะใส่ช้อนสอ้ มควรจะเป็นภาชนะแบบมี ฝาปดิ ทีม่ ิดชดิ รวมถึงอาหารท่ีทำจะต้องปรุงสกุ ใหม่ สำหรับขา้ วราดแกงจะต้องมีทป่ี ดิ อาหารใหเ้ รียบรอ้ ย และ ใช้ตอ้ งใชอ้ ุปกรณส์ ำหรบั หยบิ จับอาหารให้ชดั เจน ไม่ควรใชม้ อื ในการหยิบจบั อาหาร และแผงทจ่ี ำหนา่ ยอาหาร จะต้องมีฉากกน้ั ระหวา่ งผ้ซู ้ือกับผ้ขู าย

คู่มอื การปฏิบัติของสถานศกึ ษาในสถานการณ์ COVID 19 | 43 3. การจัดระเบยี บในห้องเรยี น นกั เรียนหรอื นกั ศึกษาทุกคนจะตอ้ งสวมหน้ากากอนามยั การจัดการระยะหา่ งของโต๊ะเรียน หากโตะ๊ เรียนสามารถแยกกนั ได้ ใหแ้ ยกโต๊ะออกจากกันและเว้น ระยะหา่ งอย่างน้อย 1 เมตร สำหรับโตะ๊ ท่แี ยกไม่ได้ จะต้องนั่งเว้นเกา้ อี้ไว้หรอื มีท่ีก้ันให้เรียบร้อย คนภายในห้องเรยี นไมค่ วรเกิน 10-20 คน/ห้อง หากสถานท่ีศกึ ษาหรอื ห้องเรยี นไม่เพยี งพอให้ พจิ ารณาทำการเรยี นการสอนเฉพาะกลมุ่ 4. การเปิดเรียนและการใช้อาคารสถานทีข่ องสถานศึกษา สำหรบั การใช้สถานท่ที ำกจิ กรรม หรอื เฉพาะประเภทกีฬาผ่อนคลาย นัน้ สามารถทำกจิ กรรมได้ แตต่ ้อง พิจารณาถงึ จำนวนนักเรียนต่อพื้นท่นี นั้ ๆ เพื่อให้สอดคล้องกบั มาตรการป้องกันโรค

ค่มู อื การปฏบิ ัติของสถานศึกษาในสถานการณ์ COVID 19 | 44 ภาคผนวก • ประกาศโรงเรยี นทุง่ หว้าวรวิทย์ เร่อื ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น เพอื่ เฝ้าระวังและปอ้ งกันการ แพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 • คำส่งั โรงเรียนท่งุ หว้าวรวทิ ย์ ที่ 107 / 2563 เร่ือง แตง่ ต้ังขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน เพือ่ เฝา้ ระวังและป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook