Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสหกรณ์โรงเรียน

คู่มือสหกรณ์โรงเรียน

Published by pannapa taya, 2020-10-06 00:43:05

Description: คู่มือสหกรณ์โรงเรียน

Search

Read the Text Version

ก คำนำ คูม่ ือ สหกรณ์โรงเรียนบา้ นปวงคา(ประชาอุทิศ )เป็นการจดั ขอ้ มูลการทางานของสหกรณ์โรงเรียน ซ่ึงแบบออกเป็ น 5 บท ประกอบดว้ ย บทที่ 1บทนา เป็นประวตั ิและความเป็นมาของสหกรณ์โรงเรียน บทท่ี2 ความรู้เก่ียวกบั สหกรณ์โรงเรียน บทท่ี3กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียนบา้ นปวงคา(ประชาอุทิศ) บทท่ี4ระเบียบสหกรณ์ร้านคา้ โรงเรียนบา้ นปวงคา(ประชาอุทิศ ) บทท่ี 5 โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์โรงเรียนบา้ นปวงคา(ประชาอุทิศ ) เล่มน้ีจดั ทาเพ่ือใหส้ มาชิกและคณะกรรมการการบริหารงานไดร้ ับทราบและสามารถปฏิบตั ิงานตาม คู่มือสหกรณ์เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุดในการทางานและเป็ นแนวทางในการ บริหารงานสหกรณ์โรงเรียนเพม่ิ มากยง่ิ ข้ึน ผจู้ ดั ทา นางอรุณี ตะ๊ นอ้ ย พฤษภาคม 2562

สำรบญั ข หน้ำ บทที่ 1 บทนา เป็นประวตั ิและความเป็นมาของสหกรณ์โรงเรียน 1 บทที่2 ความรู้เก่ียวกบั สหกรณ์โรงเรียน 6 บทท่ี3 กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียนบา้ นปวงคา(ประชาอุทิศ) 15 บทที่4 ระเบียบสหกรณ์ร้านคา้ โรงเรียนบา้ นปวงคา(ประชาอุทิศ ) 34 บทท่ี 5 โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์โรงเรียนบา้ นปวงคา(ประชาอุทิศ ) 41

1 บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำ “คำวำ่ สหกรณ์ แปลวำ่ กำรทำงำนร่วมกัน กำรทำงำนร่วมกนั น้ลี ึกซ้ึงมำก เพรำะวำ่ จะต้องร่วมมือกนั ในทุกด้ำน ทง้ั ในด้ำนงำนกำรท่ที ำดว้ ยร่ำงกำย ทง้ั ในดำ้ นงำนกำรทที่ ำดว้ ยสมอง และงำนกำรท่ที ำด้วยใจทกุ อย่ำงนีข้ ำดไม่ไดต้ ้องพร้อม.. กำรสหกรณ์นี้ถ้ำเขำ้ ใจ มีแลว้ กเ็ ห็นไดว้ ่ำเป็นวธิ ที ำงเดียวท่ีจะทำใหม้ ีควำม เจริญก้ำวหน้ำของประเทศได้...” พระรำช ด ำรั สพระบำทสมเด็ จพระเจ้ ำอยู่ หั ว เ ม่ื อ วั น ที่ 11 พฤษภ ำคม พ.ศ . 2526 จำกพระรำชดำรัสของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว พระองค์ทรงให้เห็นควำมสำคัญต่อกำรสหกรณ์ ว่ำเกิดจำก กำรทำงำนร่วมกัน เกิดจำกควำมร่วมมือกันของทุกฝ่ำย ซ่ึงจะช่วยให้มีควำมเจริญก้ำวหน้ำใน ประเทศต่อไปได้ และจำกแนวพระรำชดำรัส และกำรทรงงำนของพระองค์ ในเรื่องกำรสหกรณ์ ทำให้เกิดกำรพัฒนำงำนสหกรณ์ ไปยัง ท่ีต่ำงๆ ทั่วประเทศ จนเมื่อสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรีทรงงำนแทน พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว พระองค์ทรงให้ควำมสำคัญกำรสหกรณ์มำอย่ำงต่อเน่ืองสมเด็จพระเทพ รัตนรำชสุดำฯ ทรงสง่ เสริมสหกรณ์ในโรงเรยี นเป็นกำรสร้ำงประสบกำรณท์ ี่ดใี ห้แก่นักเรียนในกำรรว่ มกันซอื้ รว่ มกนั ขำย หลักกำร ทำบัญชีออมทรัพย์ “...เรอ่ื งสหกรณโ์ รงเรยี น (เร่ิม พ.ศ. ๒๕๓๔) กเ็ ปน็ งำนหนงึ่ ทขี่ ำ้ พเจำ้ พยำยำมจัดให้มขี น้ึ ทุกแหง่ เมื่อเริ่มโครงกำรข้ำพเจ้ำกำชับไว้ว่ำผลผลิตที่เกิดจำกงำนเกษตรห้ำมขำยเด็ด ขำด ต้องให้นักเรียนรับประทำน เพ่ือบำรงุ รำ่ งกำย ซ่งึ เปน็ จุดประสงค์หลักของโครงกำร ถึงแม้ว่ำจะมีปรมิ ำณเกนิ กวำ่ ทีจ่ ะบรโิ ภคไดห้ มด ก็ให้ทำกำรถนอมอำหำรเก็บไว้ หรือแจกให้นักเรียนไปรับประทำนท่ีบ้ำน ต่อมำเมื่อโครงกำรประสบควำมสำเร็จ พอสมควรแล้ว ก็ยอมให้ขำยได้ส่วนหน่ึงเพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนให้โครงกำรบำงส่วนเล้ียงตัวเองได้ ทั้งนี้ ็ ต้องไมใ่ หม้ ผี ลกระทบต่อภำวะโภชนำกำร เมอ่ื มกี ำรซ้อื ขำย กต็ ้องเก่ียวขอ้ งกับระบบเศรษฐกิจ ข้ำพเจำ้ มีควำมเห็นว่ำระบบท่ีเก่ียวกับเศรษฐกิจที่เหมำะสมกับพ้ืนที่ท่ีเป็นที่ต้ังโรงเรียน ตชด. มำกที่สุดก็คือ ระบบ สหกรณ์ เพรำะแต่ละคนมีเงินน้อย เม่ือร่วมกันจึงพอลงทุนธุรกิจใดๆ ได้ ในหนังสือเรียนชั้นประถมศึกษำ กม็ บี ททว่ี ่ำดว้ ยกำรสหกรณอ์ ยู่แล้ว จงึ สนับสนุนให้มกี ำรปฏบิ ัติจรงิ ในโรงเรยี น กรมสง่ เสริมสหกรณ์ (สหกรณ์จงั หวดั สหกรณอ์ ำเภอ) ได้มำชว่ ยจดั กิจกรรมสหกรณ์ โดยให้สหกรณ์ (จรงิ ๆ) ทอ่ี ยใู่ กล้เคยี ง ช่วยเปน็ พ่เี ล้ียงดูแลแนะนำให้กรรมกำรสหกรณเ์ ด็กนักเรียนไปดงู ำนถำ้ เป็นไปได้...” “...ส่วนใหญ่จัดเป็นสหกรณ์ร้ำนค้ำและสหกรณ์ออมทรัพย์ มีร้ำนค้ำขำยของใช้จำเป็น ข้ำพเจ้ำคิดว่ำถ้ำ จะซ้อื ของมำใช้ในโรงเรียน ก็ให้ซื้อผ่ำนสหกรณ์ ก็จะได้เป็นรำคำขำยส่ง ในกำรท่ีจะขำยสินค้ำต่ำงๆ แม้แต่ ขำย ของจำกแปลงเกษตรเข้ำโรงครัวก็ให้ผ่ำน สหกรณ์ กำรที่จะร่วมมือกันหำตลำดผลิตภัณฑ์ก็ต้องให้กรรมกำร สหกรณร์ ับทรำบกำรฝกึ หดั เดก็ นกั เรียนในเรอ่ื งสหกรณ์ ทำใหเ้ ด็กไดฝ้ กึ หดั ทักษะหลำยอยำ่ ง คือ หัดมำประชุมกัน ใช้เหตุผลโต้เถียงกัน อันเป็นกำรฝึกหัดกำรอยู่ในสังคมประชำธิปไตยเมื่อประชุมก็ให้มี กำรจดบันทึก กำรประชุม เป็นกำรฝึกหัดเขียนหนังสือ ฝึกหัดขำย เม่ือขำยก็ต้องรู้จักกำรทำบัญชี ซ่ึงก็เป็น

2 อีกวิชำหน่ึง...บำงคร้ังกิจกำรร้ำนค้ำสหกรณ์เจริญรุ่งเรืองมำก เด็กนักเรียนและครูพำกันไปขำยของ ทำให้ละเลย เรอื่ งกำรเรยี นกำรสอน กต็ ้องเตือนกัน...” (จำกหนงั สอื พระรำชนพิ นธส์ มเดจ็ พระเทพรตั นรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี เกี่ยวกบั โรงเรียนตำรวจตระเวนชำยแดน) กำรสหกรณ์ หรือกำรทำงำนร่วมกัน มีอยเู่ ป็นอยู่จริงในกำรดำเนินชีวิตของทุกคนท่ีดำรงตน อยู่ในสังคม เพียงแต่กำรใช้ถ้อยคำท่ีกล่ำวถึงกำรอยู่ร่วมกัน เป็นพยำงค์หรือประโยคหรือคำที่แตกต่ำงกัน ไป ในกำรดำเนินกำรนำกำรสหกรณ์สู่สถำนศึกษำมีควำมเด่นชัดเมื่อสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯสยำมบรม รำชกุมำรี ทรงรับส่ังในวันท่ี 7 มิถุนำยน พ.ศ. 2534 ให้อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์จัดให้สอนสหกรณ์ ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชำยแดน ในขณะที่บำงสถำนศึกษำมีกำรจัดกิจกรรมสหกรณ์เพื่อกำรเรียนรู้ ของผู้เรียน โดยกำรเห็นประโยชน์ต่อกำรเรียนรู้กำรอยู่ร่วมกัน บำงโรงเรียนมีกำรจัดกิจกรรมสหกรณ์ ตำมสถำนกำรณข์ องสภำพจรงิ กำรเรยี นร้กู ำรสหกรณจ์ งึ มีควำมหลำกหลำย โรงเรียนบ้านปวงคา(ประชาอุทิศ)็สังกัด็สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน็สานักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาพูนเขต็2็เปิดทาการสอน็ตั้งแต่็พ.ศ.็2470็โดยแยกมาจากโรงเรียนประจา ตา บ ล ลี้ ็ ( โ ร งเ รี ย น บ้ า น ล้ี )็ ม าท าก าร ส อน ท่ีศ าล า วัด พว งค า ็ ต่ อม าเ ม่ื อวั น ที่ ็ ็ 22็ ็ มี น า คม ็ ็ พ . ศ . ็ ็ 2470 ขุนประสานอักษรศาสตร์็นายอาเภอลี้ได้มาตรวจและเหนสมควรจัดตั้งโรงเรียนข้ึนโดยมองเหนว่าบ้านปวงคา เป็ น ศูน ย์ กล า ง ขอ ง หมู่ บ้ า น็ เ ช่น ็ บ้ าน แ ว น ็ บ้า น โ ฮ่ง ็ บ้า น ก ล า ง ็ ม า เ รีย น ได้ ส ะด ว ก จึง ข อค ว า มร่ ว มมื อ กั บ ็็็็็็็็็็็็็็็็็็็ เจ้าอธกิ ารอนิ ต๊ะอนิ โท็เจา้ อาวาสวัดพวงคา็พร้อมขุนดารงล้ี็ให้ขุนวรรณแพทย์็จัดการปลูกสร้างอาคารช่ัวคราว ข้ึน็ในที่ดินของวัด็ต่อมาทางวัดพวงคาได้ยกที่ดิน็จานวน็็3็็ไร่็็3 ็งาน็เป็นสถานที่ต้ังโรงเรียนและได้ช่ือว่า็ “โรงเรียนตาบลล็้ี 2 วดั พวงคา”็ พ.ศ.็2491 ไดร้ ับงบประมาณจากกระทรวงธรรมการสรา้ งอาคารเรี ยนแบบ็ป1็(พิเศษ)็เปน็ อาคารเรอื นไม้ช้นั เดยี ว็3 ห้องเรียน็และเปิดป้ายเม่ือวนั ที่็็8็เมษายน็2494 โดยเปลยี่ นช่อื เปน็ ็“โรงเรียนบา้ นปวงคา(ปวงคาประชาอทุ ศิ ) พ.ศ.็็2505 อาคารเรียนถูกลมพัดเสียหาย็ได้เสนอของบประมาณซ่อมแซมและราษฎรสมทบปลูก สร้างเป็นอาคารเรียนแบบ็ป1 ก็ขนาด็6 ห้องเรียน็แล้วเสรจเม่ือวันที่็็6 เมษายน็2504 สิ้นงบประมาณ็ 60,000 บาท็ พ.ศ.็2513 ได้สอนช้ันประถมศึกษาตอนปลาย็คือ็ช้ันประถมศึกษาปีที่็5-6-7 ได้รับงบประมาณ สร้างอาคารแบบ็ป็1 ข็็ขนาด็3 ห้องเรียน็เป็นเงิน็100,000 บาท็ และราษฎรได้บริจาคเงินขยายท่ีจานวน็็ 3 ไร็่ 3 งาน็10 ตารางวา็ พ.ศ.็2517 ได้รบั งบประมาณกอ่ สรา้ งบ้านพกั ครแู ละอาคารเอนกประสงค์ พ.ศ.็2518 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม็ขนาด็4 ทนี่ ่ัง พ.ศ.็2519 ไดร้ บั งบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ็ป็1 ก็ขนาด็4 ห้องเรยี น็1 หลัง พ.ศ.็2522็ไดร้ บั งบประมาณสรา้ งส้วมขนาด็5 ทนี่ ง่ั ็จานวน็1 หลัง พ.ศ.็2535็ได้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา็มีนักเรียน สมัครเรียนเข้าเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที็่ 1 จานวน็13 คน็็เปน็ ชาย็3 คน็เปน็ หญงิ ็10 คน พ.ศ.็2536 ไดร้ ับงบประมาณสร้างถังน้าฝนน็ตามแบบ็ฝน็30็จานวน็1 ชุด พ.ศ.็2538 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน็แบบ็สปช็105/29็ขนาด็4 ห้องเรียน็ งบประมาณท้งั สนิ้ ็1,638,341 บาท็และสนามบาสเกตบอล็งบประมาณ็127,116 บาท็ พ.ศ.็2541 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน็แบบปฏิรูป็ขนาด็5 ห้องเรียน็็็็็็็็็็็็็็็็็็็ งบประมาณ็707,500 บาท

3 พ.ศ.็2542 ได้รับงบประมาณตามโครงการภายใต้มาตรการเพ่ิมค่าใช้จ่ายภาครัฐเพื่อกระตุ้น เศรษฐกจิ ปงี บประมาณ็2542 ทาการต่อเติมอาคารเรียนดา้ นลา่ งของอาคารเรียน็สปช็105/29 จานวน 2 ห้องเรยี น็และถงั เกบนา้ ฝนน็แบบ็ฝน็30 จานวน็1 ชุด พ.ศ.็2547 วันท่ี็1 มีนาคม็2547 เวลา็16.40 น.โดยประมาณ็ในขณะที่ครูเวรได้ปล่อยนักเรียน กลบั บา้ นแล้ว็และคณะครูไดอ้ ยใู่ นบริเวณโรงเรียน็และส่วนหน่ึงกาลังทาเวบไซต์ในห้องศูนย์บริหารกได้ยินเสียง ดงั เปย๊ี ะๆ็จึงไดว้ ิ่งออกมาดพู บวา่ ็มีควนั และเปลวไฟข้นึ บริเวณอาคารเรียน็แบบ็ป็1 ก็พิเศษ็จึงได้เรียกนักการ ภารโรงซง่ึ กาลงั เดนิ ปดิ อาคารเรียนให้มาช่วยกันดับไฟ็และได้โทรศัพท์ขอรถดับเพลิงจากสถานีตารวจภูธรลี้และ เทศบาลตาบลวงั ดิน็ในระหว่างรอรถดับเพลิง็ลมได้พัดแรงทาให้ไฟลุกลามไหม้จากอาคารแบบ็ป1็ก็พิเศษ็ไป หาอาคารเรียนแบบ็ป1 ข็จานวน็3 ห้องเรียนซึ่งสร้างด้วยไม้ท้ังหลังทาให้ไฟไหม้อย่างรวดเรว็จนกระทั่ง รถดบั เพลงิ มา็ไฟกลกุ ลามไปไหม้ส้วมแบบองคก์ าร็5 ท่ีนัง่ และอาคารแบบ็ป1็ก็เสียหาย็ไปส่วนหนึ่ง็ตั้งแต่เร่ิม เกิดเหตุการณ์กได้รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบมาเป็นลาดับ็ทางเจ้าหน้าท่ีวิทยาการตารวจจากจังหวัดลาพูน รว่ มกบั วทิ ยาการจงั หวัดลาปาง็ไดม้ าร่วมกันพิสจู น์หาสาเหตุของการเกิดอัคคภี ัย็ โดยใช้เวลา็2 วันและได้สรุปเป็นรายงานวา่ ็สาเหตุเกิดจากกระแสไฟฟ้าลัดวงจร พ.ศ.็2547็สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาลาพูนเขต็2็ได้แจ้งว่า็สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน็ไดอ้ นมุ ตั งิ บซอ่ มแซมอาคารเรียนแบบ็ป1็ก็และสว้ มแบบองคก์ าร็5 ทนี่ งั่ ็ เปน็ เงิน็450,000็บาท็ พ.ศ.็2548 ไดร้ บั งบประมาณกอ่ สรา้ งอาคารเรียนแบบ็สปช.็105/29 ซึ่งทางโรงเรยี น ได้ดาเนนิ การตามระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ็พ.ศ.็2535 และฉบับแก้ไขปรบั ปรุง็โดยวธิ กี าร ประกวดราคา็2 ครง้ั ็แต่ไม่มีห้างร้าน็บรษิ ทั ็ใดสนใจจะดาเนนิ การรับจา้ ง็จึงดาเนินการด้วยวธิ กี ารพเิ ศษ็ ไดม้ หี า้ งหุน้ สว่ นจากัดเกศชยั วุฒิจากจงั หวัดกาแพงเพชรมายน่ื และตอ่ รองราคา็ซง่ึ ทางโรงเรยี นโดยกรรมการ ได้พิจารณาแล้วเหนว่าเกินอานาจของทางโรงเรียน็จึงได้ส่งเรื่องให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาลาพูนเขต็2 ส่งต่อให้ผู้ว่าราชการจังหวัดลาพูนพิจารณาอนุมัติ็โดยลดรูปแบบรายการบางรายการ็เช่นลดฝน้าเพดาน็ลดงาน ระบบไฟฟ้า็ลดครุภัณฑ์ประกอบห้องเรียน็โต๊ะ็เก้าอ้ี็ตู้เกบอุปกรณ์็รางรองรับน้าฝนนฯลฯ็ห้างหุ้นส่วนจากัด ็็ เกศชยั วุฒไิ ดท้ าสญั ญาก่อสรา้ งวันที่็13 พฤษภาคม็2548 พ.ศ.็2553็–็2556 ได้รับการ็สนับสนุนจาก็็ส.ส.สถาพร็็มณีรัตน์,็็เรือโทมาโนช็อาจารย์ กาญจนาปาลิไลยก์,็คุณอานาจ็็อุปปินใจ,็นาวาอากาศโทกิตติยุทธ็็คุณวชิราภรณ์็็หาญสงครามและคณะ็ ตลอดจนผู้มจี ิตศรัทธาในชุมชนนาเงินมาพัฒนา็ปรับปรุงสถานที่ของโรงเรียนใช้งบประมาณท้ังหมด็2,000,000็็ บาท็ซง่ึ ไดพ้ ฒั นาดงั นี้ 1. ปรับปรุง็ซอ่ มแซม็ต่อเติม็ปูกระเบื้อง็ทาส็ี อาคาร็สปช.105/29(อาคารพุทธปัญญา)็ท้ังหลงั 2. ปรบั ปรุง็ซ่อมแซม็็ปกู ระเบื้อง็อาคาร็สปช.็105/25็(อาคารพทุ ธรักษา)็และต่อเติม็ ปรบั ปรุงห้องประชุมปาลิไลยก์็็ห้องผอู้ านวยการโรงเรยี นและหอ้ งบริหารงานวิชาการ 3. ปรับปรงุ ็ซ่อมแซม็็็ปกู ระเบื้อง็ทาส็ี (อาคารพุทธประทีป็อาคารพุทธชาด็็อาคารพุทธจรยิ า็ อาคารพุทธบรู ณาการทุกอาคาร) 4. ปรบั ปรุง็ซ่อมแซม็็หอ้ งน้าหอ้ งส้วมทุกหลงั ของโรงเรียน 5. ได้รบั งบประมาณปี็2554็สร้างสว้ มแบบ็สพฐ.็4็จานวน็็4็็ท่ีนั่ง 6. ปรับปรุง็ระบบระบายนา้ ของโรงเรียนป้องกนั นา้ ท่วมขัง 7. ปรบั ปรุง็จัดทาถนนคอนกรตี เสริมไมไ้ ผ่ทง้ั หมดในโรงเรียน 8. จัดทาสวนหอ้ งสมดุ มชี ีวติ ็และสนามเดกเล่น 9. ปรับปรุง็สภาพภูมิทัศนข์ องโรงเรยี นทุกพืน้ ท่จี นเป็นท่เี รียบรอ้ ย

4 ในปีงบประมาณ็2557็–็2561 (ปัจจบุ นั )็็ได้ดาเนนิ การพัฒนาโรงเรยี น็ดังน้ี 1. ปรบั ปรงุ ็ซ่อมแซม็อาคาร็สปช.105/29็(อาคารพทุ ธปัญญา)็ งบประมาณ 92,800 บาท 2. ปรบั ปรุง็ซ่อมแซมบา้ นพกั ครูแบบองค์การ งบประมาณ 70,000 บาท 3. ตดิ ตงั้ ็ปรับปรุง็ซอ่ มแซมระบบไฟฟ้าภายในโรงเรียน งบประมาณ 26,000 บาท 4. สอบราคาจ้างปรับปรุง็ซอ่ มแซม็อาคาร็สปช.105/29็ งบประมาณ 126,500 บาท 5. ปรับปรุง็ซอ่ มแซม็อาคารเรยี นแบบ็ป็1็ก็(2519) งานหลงั คากระเบ้ืองลอนค็ู่ งบประมาณ 150,000 บาท 6. ปรบั ปรุง็ซ่อมแซม็อาคาร็สปช.105/29็(2538 - 2548)็งานทาสอี าคาร็งบประมาณ 182,300 บาท 7. กอ่ สรา้ งลานกฬี าอเนกประสงค์็กรมพลศกึ ษา็งบประมาณ็163,100 บาท 8. ปรับปรุงซ่อมแซมบา้ นพักคร็ู งบประมาณ็็86,500 บาท ในกำรท่ีจะดำเนนิ กิจกรรมร่วมกัน จึงเร่ิมจัดต้ังสหกรณ์ข้ึน เมื่อ พ.ศ. 25๕๘ โดยดำเนินงำน เฉพำะสหกรณร์ ำ้ นค้ำภำยใตบ้ รษิ ทั สร้ำงกำรดี สหกรณ์ร้ำนค้ำโรงเรียน ซึ่งเกิดจำกควำมร่วมมือของสมำชิกท่ีเป็น ครูและนักเรียน กำรดำเนินงำนในช่วงแรกมีกำรจัดต้ังเพียงสหกรณ์ร้ำนค้ำ เพ่ือเปิดจำหน่ำยสินค้ำ ทั้งอุปโภค บริโภค อุปกรณ์เครื่องเขียน โดยได้รับควำมร่วมมือจำกสมำชิกเป็นอย่ำงดี ในทุกต้นปีกำรศึกษำ จะมีกำรเปิดรับสมำชิกใหม่ และมีกำรจัดต้ังคณะกรรมกำรดำเนินงำนสหกรณ์ที่เป็นทั้งนักเรียน และคณะครู เพื่อร่วมกันดูแลกำรดำเนินงำนกิจกรรมสหกรณ์ของโรงเรียน จนกระท้ังปี พ.ศ. 255๙ ท่ำนผู้อำนวยกำรโรงเรียน นำยประทีป ประทีปยุวพัฒน์ ได้เห็นควำมสำคัญของกำรดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ โดยเชื่อว่ำอุดมกำรณ์ วิธีกำร หลักกำรของสหกรณ์ สำมำรถนำมำช่วยในกำรบริหำรจัดกำรงำนให้เป็นระบบมำ ย่ิงขึ้น จึงมีนโยบำย ในกำรบริหำรจัดกำรงำนสหกรณ์ขึ้นใหม่ ใช้ชื่อว่ำ บริษัทสร้ำงกำรดีสหกรณ์ร้ำนค้ำ โรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ ) กับโรงเรียนสุจริต และในปีกำรศึกษำ ๒๕๖๐ นำยกิตติ ปำนมี ผู้อำนวยกำร โรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ)ได้แยกโครงกำรสหกรณ์โรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ) ออกจำกโครงกำร โรงเรียนสุจริต ให้เปล่ียนกำรช่ือ บริษัทสร้ำงกำรดีสหกรณ์ร้ำนค้ำโรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ ) มำเป็นโครงกำรสหกรณ์ในโรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ ) ซ่ึงมีกำรดำเนินงำนสหกรณ์ ๔ กิจกรรม ประกอบด้วย 1. กจิ กรรมสหกรณ์รำ้ นคำ้ - กจิ กรรมกำดนัดพอเพยี ง 2. กจิ กรรมออมทรัพย์ (ธนำคำรโรงเรยี น) ๓.กจิ กรรมกำรผลิต -กิจกรรมสง่ เสรมิ อำชพี อิสระ -กิจกรรมเกษตรเพือ่ อำหำรกลำงวนั -กจิ กรรมเยำวชนปวงคำล้ำเทคโนโลยีสบื สำนวิถีคนทอผ้ำ ๔.กิจกรรมสง่ เสริมสวัสดกิ ำร

5 โครงสร้ำงสหกรณ์โรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ) กิจกรรมสหกรณ์ กจิ กรรม กจิ กรรม กิจกรรมส่งเสริม ร้ำนค้ำ ออมทรัพย์ สง่ เสรมิ กำร สวัสดกิ ำร ผลติ โรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ ) ส่งเสริมให้นักเรียน คณะครู และผู้ปกครอง ร่วมกันเป็นสมำชิกและ ร่วมกันบริหำรจัดกำรงำนสหกรณ์ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงในกำรดำเนินงำน ให้สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียน จัดให้มกี ำรประชุมชี้แจงแนวทำงกำรดำเนินงำนสหกรณ์ แต่งตั้งคณะกรรมกำรสหกรณ์ท้ังนักเรียนและ คณะครู เป็นผู้รับผิดชอบ มีกำรดำเนินงำนที่เป็นระบบมำกย่ิงขึ้น และมีกำรปรับปรุงห้องสหกรณ์ร้ำนค้ำ และได้ จัดตั้งธนำคำรโรงเรียนข้ึนโดยได้รับกำรสนับสนุนจำกธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร สำขำลี้ ให้บริกำร ฝำก-ถอนเงินให้กับสมำชิก ได้มีกำรส่งเสริมให้สมำชิก รู้จักกำรวำงแผนกำรใช้เงิน กำรออมเงินไว้ใช้ ยำมจำเป็น และให้มีกำรดำเนินกิจกรรมส่งเสริมกำรผลิต ซึ่งได้มีกำรจัดเป็นชุมนุมสหกรณ์ขึ้น เพ่ือให้นักเรียนได้ เรียนรู้เร่ืองวิชำสหกรณ์ ได้ฝึกลงมือปฏิบัติจริงในห้องสหกรณ์ และได้รวมกลุ่มกันผลิตและจำหน่ำยสินค้ำ ส่งผลให้ผู้เรียนมีควำมรู้เร่ือง วิชำสหกรณ์ เกิดทักษะในกำรทำงำน ได้มีกำรฝึกลงมือปฏิบัติจริง เกิดเป็นควำมรู้ ควำมเข้ำใจ สำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีกำรจัดห้องสหกรณ์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับ นักเรียน คณะครู ผู้ปกครองและชุมชน มีกำรส่งครูเข้ำอบรมเพ่ิมเติมควำมรู้เก่ียวกับกำรจัดกิจกรรมสหกรณ์ใน สถำนศึกษำอย่ำงต่อเนื่อง และยังเห็นควำมสำคัญของกำรนำวิธีกำรสหกรณ์สู่กำรเรียนรู้ในช้ันเรียน ต้ังแต่ระดับชั้นอนุบำล ๒ ถึง ช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 3 และ บูรณำกำรวิชำสหกรณ์ในทุกกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในวิชำ กำรสหกรณ์ และสำมำรถนำส่ิงที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ สำมำรถเติบโตเป็นเยำวชนท่ีดี เป็นพลเมืองท่ีดีในอนำคตได้และมีกำรปรับปรุงห้องสหกรณ์ บริเวรต่ำงๆให้เป็นห้องเรียนรู้ฝึกปฏิบัติจริง ใช้ช่ือว่ำ “บริษัทสร้ำงกำรดีสหกรณ์ร้ำนค้ำ” และจัดตั้งห้องธนำคำร โรงเรียน ให้บริหำรฝำก-ถอนเงินให้กับสมำชิก ได้มีกำรส่งเสริมให้สมำชิก รู้จักกำรวำงแผนกำรใช้เงิน กำรออม เงินไว้ใช้ยำมจำเป็น และให้มีกำรดำเนินกิจกรรมส่งเสริมกำรผลิต เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เร่ืองวิชำสหกรณ์ ไดฝ้ ึกลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ และไดจ้ ดั โครงกำรส่งเสริมอำชีพอิสระเพื่อผลิตและจำหน่ำยสินค้ำ ส่งผลให้ผู้เรียนมีควำมรู้ เรอื่ ง วชิ ำสหกรณ์ เกิดทักษะในกำรทำงำน ได้มีกำรฝึกลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ เกิดเปน็ ควำมรู้ควำมเข้ำใจ สำมำรถนำไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ มีกำรจัดห้องสหกรณ์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับนักเรียน คณะครู ผู้ปกครองและ ชุมชน มีกำรส่งครูเข้ำอบรมเพ่ิมเติมควำมรู้เกี่ยวกับกำรจัดกิจกรรมสหกรณ์ในสถำนศึกษำอย่ำงต่อเน่ือง และยังเห็นควำมสำคัญของกำรนำวิธีกำรสหกรณ์สู่นักเรียน ต้ังแต่อนุบำล๒ ถึงชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 3 และ บรู ณำกำรวิชำสหกรณ์ในทุกกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในวิชำ กำรสหกรณ์ และ สำมำรถนำส่ิงท่ีได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ สำมำรถเติบโตเป็นเยำวชนที่ดี เป็นพลเมืองที่ดี ในอนำคตได้

6 บทท่ี 2 ควำมรู้เก่ียวกบั สหกรณ์ กำรรวมกลุ่ม กลุ่ม หมำยถึง บุคคลตั้งแต่สองคนข้ึนไปมำรวมกันหรือมำปรึกษำหำรือกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อที่ จะแก้ไขหรือขจัดข้อขัดข้องในเรื่องนั้นๆ หรือปัญหำนั้นๆ ให้หมดไป หรือให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ของตนเอง ที่มีจุดหมำยเอำไว้ กำรรวมกลุ่ม หมำยถึง บุคคลตั้งแต่สองคนข้ึนไปมำรวมกัน มีควำมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ทำกิจกรรมอย่ำงใดอยำ่ งหน่งึ รว่ มกัน เพอ่ื ใหก้ ิจกรรมน้ันบรรลุจุดหมำยปลำยทำงที่กลุ่มกำหนดไว้โดยท่ีทุกคนอยู่ ร่วมกันไดอ้ ยำ่ งมีควำมสุขด้วย สำเหตุที่ทำใหเ้ กดิ กำรรวมกลุ่ม 1. เกิดจำกควำมชอบพอกันเปน็ สว่ นตวั ระหว่ำงสมำชิกด้วยกันเอง เช่น เปน็ เพอ่ื นร่นุ เดยี วกนั 2. เกดิ จำกกำรถูกชกั ชวนหรือชักจงู ไป เช่น ชำวบ้ำนในชนบทถกู กำนัน ผใู้ หญ่บ้ำน ชวนไปรวมเปน็ กลมุ่ เกษตร ตั้งกลมุ่ เลี้ยงไหม 3. เกิดจำกควำมพอใจในเป้ำหมำยกิจกรรมของกลุ่ม หรือกลุ่มมีจุดหมำยตรงกับอุดมกำรณ์ของ บุคคลทจี่ ะเข้ำไปเป็นสมำชิก เชน่ กิจกรรมนนั ทนำกำร กจิ กรรมทำงวิชำกำร พรรคกำรเมือง 4. เกิดจำกกำรได้รับคัดเลือกหรือแต่งต้ังจำกผู้มีอำนำจ เพ่ือให้ปฏิบัติงำนร่วมกันโดยเฉพำะ เชน่ กล่มุ แพทย์ศัลยกรรม ชุดปฏิบัติกำรพิเศษกูภ้ ยั 5. เกดิ จำกควำมต้องกำรที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น เป็นกำรสนองตอบควำมต้องกำรทำงจิตใจหรือ ทำงจิตวิทยำ เช่น เกิดจำกำกรเหงำ เบื่อหน่ำย หรือต้องกำรมีเพื่อน ต้องกำรใกล้ชิดเจ้ำนำย ก็ไปเล่นกีฬำ ตกี อล์ฟ แล่นเทนนสิ 6. เกิดจำกกำรต้องกำรพิทักษ์ผลประโยชน์ของตนเอง เป็นกำรรวมกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมงำนบำงอย่ำง ด้วยกัน ปกป้องผลประโยชน์ของตนเองเป็นกำรรวมกลุ่มเพ่ือทำกิจกรรมงำนบำงอย่ำงด้วยกันปกป้อง ผลประโยชนข์ องตนเองและของกลมุ่ เชน่ สหภำพแรงงำน สภำหอกำรคำ้ กลุม่ ตลำดร่วมยโุ รป ควำมหมำยสหกรณ์ “สหกรณ์” (Cooperatives) สหกรณ์ คือ “ องค์กำรของบรรดำบุคคล ซึ่งรวมกลุ่มกันโดยสมัครใจในกำรดำเนินวิสำหกิจท่ีพวกเขำ เป็นเจ้ำของร่วมกัน และควบคุมตำมหลักประชำธิปไตย เพ่ือสนองควำมต้องกำร ( อันจำเป็น ) และควำมหวัง ร่วมกนั ทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม” “สหกรณ”์ ตำมพระรำชบญั ญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 หมำยควำมวำ่ คณะบุคคลซึ่งร่วมกันดำเนินกิจกำร เพื่อประโยชน์ทำงเศรษฐกิจและสังคม โดยช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และได้จดทะเบียน ตำมพระรำชบัญญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2542 ดังนั้น สหกรณ์จึงตั้งข้ึนมำเพ่ือทำหน้ำท่ีแก้ปัญหำในด้ำนกำรทำมำหำกินท่ีเหมือน หรือคล้ำยๆ กัน หรือควำมต้องกำรบริกำรที่เหมือนกันและเป็นปัญหำที่สมำชิกแต่ละคนไม่สำมำรถแก้เองได้ตำมลำพัง หรอื ตง้ั ขึ้นมำเพอ่ื ดำเนนิ กำร ให้สมำชิกไดร้ ับประโยชน์ในกำรประกอบอำชีพของตนมำกกว่ำท่ีแต่ละคน เคยไดจ้ ำก กำรดำเนินกจิ กำรเองตำมลำพัง สถำนภำพสหกรณ์ 1 สหกรณ์เกดิ ขึ้นได้ เม่อื มีกำรจดทะเบียนตำมพระรำชบัญญัตสิ หกรณ์ พ.ศ.2542 ตอ่ นำยทะเบยี น สหกรณ์ หรอื รองนำยทะเบียนสหกรณ์ทไ่ี ดร้ ับมอบหมำยเท่ำนั้น 2 เม่อื จดทะเบียนแล้ว สหกรณม์ ีสถำนภำพเปน็ “นติ บิ ุคคล” 3 สหกรณเ์ ป็นนติ บิ ุคคลในภำคเอกชน ไมส่ ังกัดส่วนรำชกำรใดๆ ทำไมตอ้ งมีกำรจดั ต้งั สหกรณ์

7 1 สหกรณ์เป็นท่ีรวมของผู้มีปัญหำคล้ำยๆ กัน คนที่รู้ปัญหำดี คือ ตัวผู้มีปัญหำน่ันเอง ฉะน้ัน กำร แก้ปัญหำไดด้ ีที่สดุ กค็ ือกำรรวมคนทมี่ ปี ัญหำนั้นมำชว่ ยกันแก้ไข 2 สหกรณ์เป็นองค์กำรท่ีมีกฎหมำยรองรับ เป็นนิติบุคคลที่ถำวร เป็นอิสระ มีส่วนรำชกำร เข้ำไป ชว่ ยเหลือสนับสนุนตำมควำมจำเป็น 3 สหกรณ์มีวิธีกำรแบ่งผลประโยชน์ที่เกิดข้ึนโดยธรรม เป็นแบบของสหกรณ์โดยเฉพำะ มีลักษณะ ทส่ี มำชิกเป็นเจำ้ ของ และผูใ้ ชบ้ ริกำรในขณะเดยี วกนั ประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ ับจำกสหกรณ์ มดี งั ตอ่ ไปน้ี 1 กำรรวมกันเป็นสหกรณ์ ทำให้มีผลในกำรต่อรองทั้งในด้ำนกำรซื้อและกำรขำยสินค้ำ ท่ีสมำชิก ผลิตได้ และฝกึ คนใหร้ ู้จกั กำรพึง่ ตนเอง 2 ทำให้ชุมชนมีควำมสำมัคคี ปรองดอง อันจะนำควำมเจริญมำสู่ประเทศชำติได้ สหกรณ์ส่งเสริม ให้สมำชิกรู้จักกำรอยู่ร่วมกันโดยสันติ กำรสหกรณ์เป็นวิธีกำรท่ีอุ้มชูผู้ท่ียำกจนให้มีฐำนะดีขึ้น โดยมิได้ทำลำย คนมง่ั มี จงึ มลี ักษณะเปน็ สันตนิ ยิ มหรือส่งเสริมสันติภำพ 3 สหกรณเ์ ป็นแหล่งจัดหำเงินทนุ มำให้สมำชิกกู้ยืมไปลงทุนในกำรประกอบอำชีพหลกั 4 สหกรณ์ช่วยส่งเสริมควำมรู้ด้ำนกำรประกอบอำชีพแก่สมำชิก เช่น แนะนำให้สมำชิกรู้จัก พัฒนำกำร ผลิตดว้ ยวธิ ีกำรเกษตรสมัยใหม่ จำหน่ำยผลผลติ ใหไ้ ด้ในรำคำสงู ขึ้น เปน็ ต้น 5 ส่งเสริมควำมเสมอภำคกันและเป็นประชำธิปไตย โดยให้ทุกคนมีสิทธิเท่ำเทียมกัน ในกำรออก เสยี งแสดงควำมคดิ เห็นเกยี่ วกับกิจกำรสหกรณ์ 6 สหกรณ์ฝึกคนให้มีควำมรู้ ประสบกำรณ์ รู้จักกำรประหยัดทรัพย์และสนับสนุนด้ำนเงินทุนกำรผลิต ควบคมุ กำรใช้เงนิ ทนุ ให้เปน็ ไปตำมแผน รวมกันซือ้ ปจั จัยกำรผลติ และรวมกนั ขำยผลติ ผล ทำให้คนใน ชุมชนนั้นๆ มสี ภำพควำมเปน็ อยู่ท่ีดีข้ึน ประวัติสหกรณ์ ระหว่ำงศตวรรษที่ 18-19 ได้เกิดกำรปฏิวัติอุตสำหกรรมขึ้นในยุโรปมีกำรนำเอำ เคร่ืองจักรมำใช้ แทนแรงงำนคน ซึ่งทำให้เกิดกำรเปล่ียนแปลงทำงเศรษฐกิจ คือ เกิดภำวะกำรว่ำงงำนและ เศรษฐกิจตกต่ำ ทั่วไปกำรเปล่ียนแปลง อย่ำงใหญ่หลวงครั้งน้ีเริ่มต้นจำกประเทศอังกฤษ ชำวอังกฤษต้อง ประสบปัญหำควำม เดือดร้อนอย่ำงมำกมำยจำกกำรท่ีนำยทุนใช้เคร่ืองจักรแทนแรงงำนมีกำรปลดคนงำนออก จำกโรงงำน ส่วนผู้ ประกอบ กำรรำยย่อย ต้องเลิกล้มกิจกำรไป สภำพสังคมทั่วไปมีกำรแบ่งชนชั้น ออกเป็น 2 ฝ่ำย คือ ฝ่ำย นำยทุน และทำงฝ่ำยกรรมกำร นำยทุนพยำยำมแสวงหำกำไรจำกกำรลงทุนมำก ที่สุด โดยกำรเอำรัดเอำเปรียบฝ่ำยกรรมกรทุกวิถีทำง จำกกำรเปล่ียนแปลงทำงเศรษฐกิจในคร้ังน้ี บรรดำกรรมกำรท่ถี ูกบบี ค้นั ท้ังหลำยจึงเรมิ่ แสวงหำ หนทำง ที่จะปลดเปล้ืองควำมทุกข์ยำกของพวกตนประกอบ กับเวลำนั้นมีนักเศรษฐศำสตร์ท่ีมีควำมคิด อยำกจะช่วยพยุงฐำนะของสังคมให้ดีข้ึน ได้เสนอแนวทำงปรับปรุง สภำพทำงเศรษฐกิจให้เกิดควำมเป็นธรรม แก่สังคม โดยกำรร่วมมือ ระหว่ำงผู้ที่เดือดร้อนให้รู้จักกำรช่วยตนเอง และช่วยเหลอื ซึ่งกันและกนั แนวควำมคิดดงั กลำ่ วได้ก่อใหเ้ กดิ ระบบสหกรณ์ขนึ้ ในเวลำตอ่ มำ

8 โรเบริ ์ต โอเวน บิดำสหกรณโ์ ลก บุคคลแรกที่สอนให้คนทั่งไปรู้จักคำว่ำ “สหกรณ์” คือโรเบิร์ต โอเวน ชำวอังกฤษ ซึ่งถือว่ำเป็น ผู้ให้กำเนิด กำรสหกรณ์ข้ึนในโลก และได้ช่ือว่ำเป็นบิดำแห่งกำรสหกรณ์ เดิมโอเวนเป็นคนที่ยำกจนแต่ควำม เฉลียว ฉลำดและรู้จักวิธีกำรทำมำหำกินจึงทำให้เข้ำได้มีโอกำสเป็นผู้จัดกำรและมีหุ้นส่วนเป็นเจ้ำของโรงงำน เขำเป็น นำยจ้ำงท่ีมีควำมหวังดีต่อกรรมกร จึงได้ปรับปรุงสภำพควำมเป็นอยู่ทั่วไปของคนงำนให้ดีข้ึน หลงั จำกน้นั โอเวนได้หำวิธชี ่วยเหลือกรรมกรอื่นๆ โดยสอนให้รู้จักกำรช่วยตนเอง และช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน เพอ่ื ขจัด ปัญหำ ควำมเดือดรอ้ นตำ่ งๆ ซ่ึงเป็นวิธีกำรของระบบสหกรณ์ โอเวนเสนอให้จัดตั้ง “ชมรม สหกรณ์” (Co-operative Community) ให้ชมรมสหกรณ์น้ีผลิตส่ิงของเครื่องใช้ต่ำงๆ ใช้เองโดยไม่ใช้ เครื่องจักร ทรัพย์สินของชมรม เป็นของส่วนรวม เพ่ือมิให้สภำพนำยทุนปะปนอยู่ในชมรม กำรจัดจั้งชมรม สหกรณ์ จะต้องใช้เงินทุน และท่ีดินเป็นจำนวนมำกและโอเวนก็ได้พยำยำมเผยแพร่แผนกำรจัดต้ังชมรม สหกรณ์ เพ่ือให้คนท่ัวไป ได้เข้ำใจสหกรณ์ในฐำนะสมำคมเพื่อเศรษฐกิจ แต่โอเวนยังไม่สำมำรถจัดตั้งชมรม สหกรณ์ใน ประเทศอังกฤษได้ เพรำะมีปัญหำเกี่ยวกับสภำพสังคมในสมัยนั้น โอเวนจึงได้เดินทำงไปประเทศ อเมริกำ และทดลองจัดต้ังชมรมสหกรณ์ ขึ้นเป็นคร้ังแรกท่ี นิวฮำโมนี รัฐอินเดียนำ สหรัฐอเมริกำ ในปี พ.ศ. 2368 ให้ช่ือว่ำ นิวฮำโมนี (New Harmony) แต่ได้ล้มเลิกไปในระยะเวลำต่อมำ เนื่องจำกไม่ได้ คัดเลือกสมำชิก และไม่มกี ิจกรรมเพียงพอใหค้ ุ้มคำ่ ใช้จ่ำย นอกจำกนย้ี ังมปี ัญหำเกย่ี วกับกำรปกครองและ ศำสนำ อย่ำงไรก็ตำม แนวควำมคิดของโอเวนก็มีอทิ ธพิ ลตอ่ นักปฏริ ูปทำงเศรษฐกิจ เขำได้ให้แนวควำมคิด เก่ยี วกบั ควำมร่วมมือร่วมใจ ระหวำ่ งมนษุ ย์ ในอันท่จี ะช่วยตนเองและชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกนั เพอ่ื ยก มำตรฐำนควำมเปน็ อยูใ่ ห้สูงขึ้น

9 นำยแพทย์วิลเลย่ี ม คิง อีกท่ำนหน่ึงคือนำยแพทย์วิลเลี่ยม คิง อำศัยอยู่ในเมืองไบรตัน ประเทศอังกฤษ เป็นผู้นิยมให้ ควำมคดิ ทำงสหกรณ์ของโอเวน แต่เห็นว่ำโครงกำรของโอเวนต้องใช้เงินทุนจำนวนมำก ซึ่งจะทำให้เป็นจริงได้ ยำก นำยแพทย์คิงจึงเริ่มต้นจำกกำรชี้แจงให้คนงำนรวมทุนกันคนละเล็กละน้อย ตั้ง “สมำคมกำรค้ำ” (Trading Association) ในรูปสหกรณ์ข้ึน เมื่อปี พ.ศ. 2370 เป็นรูปร้ำนสหกรณ์จำหน่ำยสินค้ำ แต่มี ข้อแตกต่ำงไป จำกร้ำนสหกรณ์ในปัจจุบันคือกำไรท่ีเกิดจำกกำรดำเนินธุรกิจของร้ำนสหกรณ์น้ีจะไม่นำมำ แบ่งปันกัน แต่จะเก็บสมทบไว้เป็นทุนเพื่อใช้งำนของร้ำนสหกรณ์ต่อไป จนสำมำรถจัดตั้งชมรมสหกรณ์ตำม แบบโอเวนได้ ซึ่ง จำกกำรกระทำดังกล่ำวทำให้ร้ำนค้ำแบบสหกรณ์ในรูปแบบนี้ไม่ประสบผลสำเร็จเน่ืองจำก กำร เก็บกำไร ท้ังหมดไว้ไม่จ่ำยคืนแก่สมำชิก ทำให้สมำชิกไม่ศรัทธรำสหกรณ์ อย่ำงไรก็ตำมกิจกำรของ นำยแพทย์คิง ก็ คล้ำยกับร้ำนสหกรณ์ในปัจจุบัน ฉะนั้นในวงกำรร้ำนสหกรณ์สมัยน้ีจึงให้เกียรติแก่ท่ำนมำก ตอ่ มำเมอื่ สมำชิกเพม่ิ และธุรกิจกำรค้ำขยำยใหญข่ ้นึ กไ็ ด้มกี ำรทำธรุ กจิ กบั บุคคลภำยนอกด้วยนักสหกรณ์ รอชเดล หรือ ท่ีเรียกกันว่ำ “ผู้นำแหง่ รอชเดล” ไดก้ ำหนดหลักปฏบิ ัติไว้ 10 ประกำร ซึง่ มสี ำระสำคญั หลำยประกำรท่ีถูกยึดถือ เป็นหลักสหกรณ์สำกลมำจนถึงปัจจุบันแม้เวลำจะล่วงเลยมำเป็นเวลำนำ แต่ร้ำน สหกรณ์รอชเดลก็ยังคงอยู่และกลำยเป็นร้ำนที่มีขนำดใหญ่ ย่ิงกว่ำนั้นวิธีกำรของร้ำนสหกรณ์สำหรับ ผู้บริโภค แบบนี้ ได้เผยแพร่หลำย ออกไปสู่ ประชำชนกลุ่มอ่ืนๆ ปัจจุบันร้ำนสหกรณ์ท่ีถือหักกำรสำคัญๆ อย่ำง เดียวกันน้ี มีอยู่ในประเทศต่ำงๆเป็นจำนวนมำก ส่วนสหกรณ์ประเภทอ่ืนๆ เช่น สหกรณ์ที่ช่วยเหลือ สมำชกิ ให้กู้ยมื เงนิ ไปทำทุน หรือ สหกรณ์เครดิต หรือสหกรณ์สินเช่ือก็เช่นเดียวกันสหกรณ์เหล่ำนี้เกิดจำกควำม ขดั สน และควำมเดือนรอ้ นของเกษตรกรและกรรมกร เน่ืองจำกหำเงินกู้ยืมมำประกอบกำรทำมำหำกินได้ยำก และแม้ว่ำจะกู้มำได้ก็ต้องเสียดอกเบ้ียแพง จนมำสำมำรถหำรำยได้มำให้เพียงพอกับกำรชำระดอกเบ้ียและ เงินตน้ ได้ เปน็ เหตุใหม้ ีหน้ีสินมำกเมื่อปี พ.ศ. 2393 นำยเฮิร์มัน ชูลช์ชำวเยอรมัน ผู้พิพำกษำ แห่งเมืองเดลิตช์ ได้คิดจัดต้ังสหกรณ์ ประเภทหำทุนข้ึนในหมู่ชำวเมือง ผู้เป็นช่ำงฝีมือและพ่อค้ำขนำดเล็ก โดยรวบรวมขึ้น เป็นองค์กำรเพื่อจัดหำทุนให้สมำชิกกู้ยืม และในปี พ.ศ. 2405 นำยฟริดริค วิลเฮล์ม ไรฟไฟเซน ชำวเยอรมัน นำยกเทศมนตรี เมือง เฮดเอสดอร์ฟ ได้จัดต้ังสหกรณ์ หำทุนข้ึนในหมู่ชำว ชนบท ซ่ึงเป็นเกษตรกร โดยจัดเป็นองค์กำร เพื่อจัดหำทุนให้แก่สมำชิก กู้ยืม เช่นเดียวกัน ในเวลำต่อมำ กำรรวมกันเป็นสหกรณ์

10 เพื่อแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อน ของประชำชนก็ได้แพร่หลำยไปยังประเทศ ต่ำงๆ อันเป็นประโยชน์และ เป็นตัวอย่ำงในกำรจดั ตัง้ สหกรณ์แก่ชำวบำ้ นและชำวเมอื งมำจนถงึ ปจั จบุ นั วันสหกรณ์สำกล (International Cooperativees Day) สหกรณ์ในประเทศต่ำง ๆ มีหลำยประเภท หลำยระดับรวมเป็นขบวนกำรสหกรณ์ของประเทศนั้นๆ มีควำมเจริญก้ำวหน้ำแตกต่ำงกันไป มองในภำพรวม เรียกได้ว่ำเป็น \" ขบวนกำรสหกรณ์โลก \" มีกำรประชุม สมัชชำสหกรณ์ระหว่ำงชำติ เป็นคร้ังแรกเมื่อวันท่ี 18 สิงหำคม พ.ศ. 2438 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ มีมติก่อต้ังองค์กำรสัมพันธภำพสหกรณ์ ระหว่ำงประเทศ ( องค์กำร ICA ) เพ่ือประสำนควำมร่วมมือในด้ำน ต่ำง ๆ มีสำนักงำนใหญ่ ณ กรุงเจนีวำ ประเทศ สวิชเซอร์แลนด์ เม่ือ พ.ศ. 2538 องค์กำร ICA ได้ปรับปรุง และประกำศหลักกำรเป็น 7 ประกำรท่ี ใช้อยู่ในปัจจุบัน นอกจำกนี้องค์กำร ICA ได้ประกำศให้สหกรณ์ท่ัวโลก ร่วมเฉลิมฉลองวันสหกรณ์สำกลตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2465 ต่อมำท่ีประชุมสมัชชำใหญ่สหประชำชำติ เม่ือวันที่ 16 ธันวำคม 2535 มีมติให้วันเสำร์แรก ของเดือนกรกฎำคมทกุ ปี เป็น \" วันสหกรณส์ ำกล \" ประวตั สิ หกรณ์ในประเทศไทย พระรำชวรวงศ์เธอกรมหม่นื พิทยำลงกรณ์ พระบดิ ำของสหกรณใ์ นประเทศไทย

11 สหกรณ์แห่งแรก สำหรับประเทศไทยเม่ือ พ.ศ. 2458 นโยบำยแห่งรัฐ เห็นสมควรนำวิธีกำรสหกรณ์ เข้ำมำช่วย พัฒนำ ประเทศให้ประชำชนได้หลุดพ้นจำกควำมยำกจน โดยเฉพำะเกษตรกร พระรำชวรวงค์เธอ กรมหม่ืน พิทยำ ลงกรณ์ พระบิดำแห่งกำรสหกรณ์ไทย ได้ทรงส่งเสริมให้ก่อต้ังสหกรณ์แห่งแรกคือ สหกรณ์วัดจันทร์ ไม่จำกัด สินใช้ ณ ตำบลวัดจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกและทรงเป็นนำยทะเบียนสหกรณ์ รับจดทะเบียนเป็น สหกรณ์แห่งแรก เมื่อวันท่ี 26 กุมภำพันธ์ 2459ตำมรูปแบบสหกรณ์ เครดิตแบบไรฟ์ไฟเซน ที่ได้รับ ควำมสำเร็จ มำแล้วใน อินเดีย และพม่ำ ซ่ึงทั้งสองประเทศได้ส่งคนไปศึกษำจำกประเทศเยอรมนี และเมื่อ วันท่ี 9 ตุลำคม 2527 ท่ีประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติกำหนดให้วันท่ี 26 กุมภำพันธ์ ของทุกปี เป็น \"วันสหกรณ์ แห่งชำติ กำรสหกรณ์ได้แพร่หลำยเร่ิมตั้งแต่กำรตรำพระรำชบัญญัติสมำคมเพิ่มเติม พ.ศ. 2459 เพ่ือทดลอง และเมื่อวันที่ 19 พฤษภำคม พ.ศ. 2471 ได้ประกำศใช้ พระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2471 เป็น พระรำชบัญญัติสหกรณ์ฉบับแรกที่ส่งเสริมให้สหกรณ์ร่วมกลุ่ม กันก่อต้ังชุมนุมสหกรณ์ สันนิบำตสหกรณ์ แห่ง ประเทศไทย จำกัดสินใช้ก็ได้เกิดข้ึนโดยกำรรวม กลุ่มกันของสหกรณ์ท้องถิ่น ได้จดทะเบียนเป็นประเภท ชุมชนสหกรณ์ เม่ือวันที่ 7 มิถุนำยน พ.ศ. 2511 มีพระบรมรำช โองกำร ประกำศพระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 มีผลทำให้สันนิบำตสหกรณ์ แห่งประเทศไทย จำกัดสินใช้ เลิกไป และให้มีกำรก่อตั้งสันนิบำต สหกรณ์แห่งประเทศไทยข้ึนแทนโดยผลแห่งกฎหมำยสหกรณ์ฉบับนั้นพระรำช บัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ซึ่งใช้บงั คบั ในปจั จุบัน กำหนดใหม้ คี ณะกรรมกำรพฒั นำกำรสหกรณ์แหง่ ชำติ และกองทนุ พัฒนำสหกรณ์ กำรเปล่ียนแปลงครั้งสำคัญที่สุดของขบวนกำรสหกรณ์ในประเทศไทย ก็คือ กำรควบสหกรณ์หำทุน เข้ำด้วยกันโดยทำงรำชกำรได้ออกพระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 เปิดโอกำสให้สหกรณ์หำทุนขนำดเล็ก ทด่ี ำเนินธรุ กจิ เพยี งอย่ำงเดียวควบเขำ้ กันเป็นขนำดใหญ่ สำมำรถขยำยกำรดำเนินธุรกิจเป็นแบบ อเนกประสงค์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่สมำชิก ได้มำกกว่ำ ด้วยเหตุนี้ สหกรณ์หำทุนจึงแปรสภำพเป็นสหกรณ์ กำรเกษตร มำจนปัจจุบัน และในปี 2511 สันนิบำตสหกรณ์แห่งประเทศไทยได้ถือกำเนิดข้ึนมำ เพื่อเป็น สถำบัน สำหรับให้กำรศึกษำแก่สมำชิกสหกรณ์ทั่วประเทศ มีหน้ำท่ีติดต่อประสำนงำนกันสถำบันสหกรณ์ ต่ำงประเทศ

12 เพ่ือให้เกิดควำมสัมพันธ์และควำมช่วยเหลือ ร่วมมือกันระหว่ำงสหกรณ์สำกลในด้ำนอ่ืนๆ ที่ มิใช่เก่ียวกันกำร ดำเนินธุรกิจโดยมีสหกรณ์ทุกประเภทเป็นสมำชิก ซึ่งประเทศไทยได้กำหนดประเภทสหกรณ์ ไว้ 7 ประเภท ตำมประกำศกฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2516 ประกอบด้วยสหกรณ์ กำรเกษตร สหกรณ์นิคม สหกรณ์ประมง สหกรณ์ออกทรัพย์ สหกรณ์ร้ำนค้ำ สหกรณ์บริกำรและสหกรณ์ เครดิตยูเนียน ซ่ึงนับแต่ สหกรณ์ได้ถือกำเนิดขึ้นในประเทศไทยจวบจนปัจจุบัน ผลกำรดำเนินงำนของ สหกรณ์ในธุรกิจต่ำงๆ ได้สร้ำง ควำมเชื่อถือเป็นท่ีไว้วำงใจของสมำชิกจนทำให้จำนวนสหกรณ์ จำนวน สมำชิก ปริมำณเงินทุน และผลกำไร ของสหกรณ์ เพ่ิมขึ้นทุกปี กำรสหกรณ์ในประเทศไทยจึงมีควำมสำคัญ ต่อเศรษฐกิจของประเทศโดยเฉพำะ ต่อประชำชนที่ยำกจน กำรสหกรณ์จะเป็นสถำบันทำงเศรษฐกิจและ สังคมที่ช่วยแก้ไขปัญหำในกำรประกอบ อำชีพ และชว่ ยยกระดบั ควำมเปน็ อยู่ของประชำชนให้ดขี น้ึ กำรบรหิ ำรจดั กำรสหกรณ์ ระบบสหกรณ์ รวมคน อดุ มกำรณส์ หกรณ์ หลกั กำรสหกรณ์ วธิ ีกำรสหกรณ์ (ควำมเชอ่ื ) (แนวปฏิบตั ิ) (รว่ มมือ) สู่เป้ำหมำย ทำธรุ กจิ กินดี อยดู่ ี มีสนั ติสุข และมีควำมเปน็ ธรรมในสังคม อุดมกำรณ์สหกรณ์คือ “ควำมเชื่อร่วมกันท่ีว่ำกำรช่วยตนเองและกำรช่วยเหลือซ่ึงกันและกันตำม หลัก กำรสหกรณจ์ ะนำไปสู่กำรกนิ ดีอยู่ดี มคี วำมเป็นธรรมและสันตสิ ุขในสงั คม” อุดมกำรณ์สหกรณ์ สำมำรถ แยกองคป์ ระกอบคือ องค์ประกอบของอุดมกำรณส์ หกรณ์ ควำมเชือ่ มนั่ ของคนท่ีมำรวมกัน ชว่ ยตนเอง ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน กำรอย่ดู ี กินดี มีสนั ตสิ ุข

13 กำรช่วยตัวเอง กำรช่วยตนเอง หมำยถึง กำรดำเนินชีวิตตำมปกติได้ด้วยตัวเองไม่เป็นภำระของผู้อื่น สำหรับกำร ช่วยตนเองตำมอุดมกำรณ์สหกรณ์จะหมำยถึงกำรดำเนินชีวิตด้วยตนเอง มุ่งสู่ควำมอยู่ดี กนิ ดี สนั ตสิ ุข กำรชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกัน กำรทแี่ ตล่ ะคนช่วยตนเองดว้ ยกำรขยัน ประหยดั พัฒนำชีวิต ไม่เสพ ติดอบำยมุข เป็นสิ่งดีทำให้ ดำเนินชีวิตได้ด้วยกำรพ่ึงพำตนเองไม่เป็นภำระของใคร แต่ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้ อยู่ดี กนิ ดี มีสันติสุข ตำม ควำมต้องกำรของคนทั่วไป เพรำะแต่ละคนเพียงคนเดียวมีจ้อจำกัดในกำรทำงำนได้ เฉพำะบำงสิ่ง กำรช่วย ตนเอง จึงเป็นกำรดำเนินชีวิตได้ดีในระดับของกำรสนองควำมต้องกำรข้ันต้น แต่เม่อื ต้องกำรสงู ข้นึ ตอ้ งมกี ำร ร่วมมอื ช่วยเหลอื โดยหลำยคนมำชว่ ยกัน กำรร่วมมือช่วยเหลือกันอย่ำงมีคุณธรรมนำไปสู่ควำมสำเร็จที่แต่ละคนต้องกำร กำรช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน ตำมอุดมกำรณ์สหกรณ์ หมำยถึง กำรร่วมแรงกำย แรงใจ แรงควำมคิด กำลังทรัพย์เข้ำมำช่วยเหลือ ให้เกิดประโยชน์ในกลมุ่ เพอ่ื ใหแ้ ตล่ ะคน ในกลุ่มมีกำรกินดี อยู่ดี มีสนั ตสิ ขุ อดุ มกำรณ์สหกรณ์ ช่วยตนเอง ขยัน ประหยดั (ควำมเชอ่ื ) พฒั นำตนเอง หลีกพ้นอบำยมุข ช่วยเหลือ ซ่งึ กันและกัน เสียสละเพอ่ื สว่ นรวม ร่วมมอื กนั พฒั นำ ซื่อตรงต่อกติกำ มี เมตตำรกั ใครก่ ัน \"คณุ คำ่ ของสหกรณ์\" (Cooperative Values) “สหกรณ์อยู่บนพ้ืนฐำนแห่งคุณค่ำของกำรช่วยตนเอง ควำมรับผิดชอบต่อตนเอง ควำมเป็น ประชำธิปไตย ควำมเสมอภำค ควำมเท่ียงธรรม และควำมเป็นเอกภำพ สมำชิกสหกรณ์เชื่อมั่นในคุณค่ำ ทำง จริยธรรมแหง่ ควำมสุจรติ ควำมเปิดเผย ควำมรับผิดชอบต่อสังคม และควำมเอื้ออำทรต่อผู้อ่ืน โดยสืบทอด ประเพณปี ฏิบตั ิของผู้รเิ รมิ่ กำรสหกรณ\"์ \"วธิ ีกำรสหกรณ\"์ (Cooperative Practices) วิธีกำรสหกรณ์ คือ “ กำรนำหลักกำรสหกรณ์มำประยุกต์ใช้ในกำรดำเนินกิจกรรม ทำงเศรษฐกิจและ สังคม เพอื่ ประโยชน์ของมวลสมำชิกและชมุ ชน โดยไม่ละเลยหลักกำรธรุ กิจทด่ี ี” \"หลักกำรสหกรณ\"์ (Cooperative Principles) หลักกำรสหกรณ์ คือ \"แนวทำงที่สหกรณ์ยึดถือปฏิบัติเพ่ือให้คุณค่ำของสหกรณ์เกิดผล เป็นรูปธรรม\" ซึ่งประกอบด้วยหลกั กำรทสี่ ำคญั รวม 7 ประกำร กล่ำวคือ หลักกำรท่ี 1 กำรเป็นสมำชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้ำง (Voluntary and Open Membership) สหกรณ์เป็นองค์กำรแห่งควำมสมัครใจ เปิดรับบุคคลท่ัวไปที่สำมำรถใช้บริกำรสหกรณ์ได้และเต็มใจ

14 จะรบั ผิดชอบในฐำนะสมำชกิ เขำ้ เป็นสมำชกิ โดยปรำศจำกกำรกดี กนั ทำงเพศ ฐำนะทำงสังคม เชื้อชำติ กำรเมือง หรือศำสนำ หลักกำรที่ 2 กำรควบคุมโดยสมำชิกตำมหลักประชำธิปไตย (Democratic Member Control) สหกรณ์เป็นองคก์ ำรประชำธปิ ไตยท่ีมีกำรควบคุมโดยสมำชิก ซึ่งมีส่วนร่วมอย่ำงแข็งขัน ในกำร กำหนดนโยบำย และกำรตัดสินใจ บุรุษและสตรีที่ได้รับกำรเลือกตั้งจำกที่ประชุมใหญ่ให้เป็นผู้แทนสมำชิก ต้องรับผิดชอบต่อ สมำชกิ ในสหกรณ์ขัน้ ปฐมสมำชิกมีสิทธ์ใิ นกำรออกเสียงเท่ำเทียมกัน (สมำชิกหนึ่งคนหน่ึงเสียง) สำหรับสหกรณ์ ในระดบั อ่ืนๆ ก็ดำเนนิ กำรตำมแนวทำงประชำธิปไตยเช่นเดยี วกนั หลักกำรท่ี 3 กำรมีส่วนร่วมทำงเศรษฐกิจของสมำชิก (Member Economic Participation) สมำชกิ มสี ว่ นร่วมในกำรลงทุน (ซื้อหุน้ ) ในสหกรณ์ของตนเองอยำ่ งเสมอภำคกนั และมีส่วนในกำร ควบคุมกำรใช้ เงนิ ทนุ ของสหกรณ์ตำมแนวทำงประชำธิปไตย ทุนของสหกรณ์อย่ำงน้อยๆ ส่วนหนึ่งต้องเป็น ทรัพย์สินส่วนรวม ของสหกรณ์ โดยปกติสมำชิกจะได้รับผลตอบแทน (ถ้ำมี) ในอัตรำท่ีจำกัดตำมเงินลงทุน (หุ้น) ท่ีกำหนด เป็นเง่ือนไขของกำรเข้ำเป็นสมำชิก สมำชิกสำมำรถจัดสรรเงินส่วนเกินของสหกรณ์เพื่อ วัตถุประสงค์อย่ำงหน่ึง หรือทกุ อย่ำงตำมข้อบงั คับดังนี้ คือ - เพื่อกำรพัฒนำสหกรณ์โดยอำจกันไว้เป็นทุนสำรองซึ่งอย่ำงน้อยๆ จะต้องมีส่วนหนึ่งท่ีนำมำแบ่งปัน กนั ไมไ่ ด้ - เพื่อตอบแทนแก่สมำชิกตำมสัดส่วนของปริมำณธุรกิจท่ีสมำชิกได้ทำกับสหกรณ์ เพ่ือสนับสนุน กิจกรรมตำ่ งๆ ทม่ี วลสมำชกิ เหน็ ชอบ หลักกำรที่ 4 กำรปกครองตนเองและควำมเป็นอิสระ (Autonomy and Independence) สหกรณ์เป็นองค์กำรท่ีพ่ึงพำตนเองและปกครองตนเอง โดยกำรควบคุมของมวลสมำชิก หำกสหกรณ์ จะต้อง มีข้อตกลงผูกพันกับองค์กำรอ่ืนใด ซ่ึงรวมถึงหน่วยงำนของรัฐบำลด้วย หรือจะต้องเพิ่มเงินลงทุน โดยอำศัยแหล่งเงินทุนจำกภำยนอกสหกรณ์ สหกรณ์จะต้องกระทำกำรดังกล่ำวภำยใต้เง่ือนไขท่ีม่ันใจได้ว่ำ มวล สมำชิกจะยังคงธำรงไว้ซ่ึงอำนำจในกำรควบคุมสหกรณ์ตำมแนวทำงประชำธิปไตย และสหกรณ์ยังคงดำรง ควำมเปน็ อิสระ หลักกำรท่ี 5 กำรศึกษำ ฝึกอบรม และสำรสนเทศ (Education, Trainning and Information) สหกรณ์พึงให้กำรศึกษำและกำรฝึกอบรมแก่สมำชิก ผู้แทนสมำชิกท่ีได้รับกำรเลือกต้ัง ผู้จัดกำรและ เจ้ำหน้ำที่ สหกรณ์ เพ่ือให้บุคลำกรเหล่ำนี้สำมำรถมีส่วนช่วยพัฒนำสหกรณ์ของตนเองได้อย่ำงมีประสิทธิผล และพึงให้ ข่ำวสำรแก่สำธำรณชนโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเยำวชนและบรรดำผู้นำทำงควำมคิดในเร่ืองคุณลักษณะ และคุณประโยชน์ของสหกรณ์ หลักกำรที่ 6 กำรร่วมมอื ระหว่ำงสหกรณ์ (Cooperation among Cooperatives) สหกรณ์จะสำมำรถ ให้บริกำรแก่สมำชิกได้อย่ำงมีประสิทธิผลสูงสุด และเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งให้แก่ ขบวนกำรสหกรณ์ได้ โดยรว่ มมือกนั ในระดบั ทอ้ งถิน่ ระดับชำติ ระดบั ภูมิภำค และระดบั นำนำชำติ หลักกำรท่ี 7 กำรเอื้ออำทรต่อชุมชน (Concern for Community) สหกรณ์พึงดำเนินกิจกำรต่ำงๆ เพื่อกำรพฒั นำชมุ ชนให้มีควำมเจริญยั่งยืนตำมนโยบำย ทม่ี วลสมำชกิ เหน็ ชอบ

15 บทท่ี 3 สหกรณ์โรงเรยี นบ้ำนปวงคำ(ประชำอทุ ศิ ) กำรดำเนินงำนสหกรณ์โรงเรียน เกิดจำกควำมร่วมมือของสมำชิกทุกฝ่ำยท้ังคณะครู นักเรียน ผปู้ กครอง ในกำรรว่ มมอื กนั วำงแผนกำรดำเนนิ กิจกรรม จดั เตรยี มเอกสำร อุปกรณ์เคร่ืองใช้ต่ำง ๆ ลงมือช่วยกัน ดำเนินงำนในแต่ละกิจกรรม มีกำรตรวจสอบผลของกำรดำเนินงำนอย่ำงชัดเชน และมีกำร นำผลของ กำรตรวจสอบมำปรับปรุงแกไ้ ขกำรดำเนนิ งำนในสว่ นนน้ั ๆ ซง่ึ กำรสหกรณโ์ รงเรยี นไดจ้ ัดกจิ กรรม ประกอบด้วย 1. กิจกรรมสหกรณ์รำ้ นค้ำ -กิจกรรมกำดนดั พอเพียง 2. กิจกรรมออมทรัพย์ (ธนำคำรโรงเรยี น) ๓. กจิ กรรมกำรผลติ -กจิ กรรมสง่ เสรมิ อำชพี อิสระ -กิจกรรมเกษตรเพ่ืออำหำรกลำงวนั -กิจกรรมเยำวชนปวงคำลำ้ เทคโนโลยสี ืบสำนวิถคี นทอผ้ำ ๔.กิจกรรมส่งเสริมสวัสดกิ ำร โดยกำรดำเนินงำนของสหกรณ์จะดำเนินงำนในรูปของคณะกรรมกำร ตำมโครงสร้ำงของสหกรณ์ ซง่ึ กำรดำเนินงำนสหกรณ์ มดี ังนี้ 1. กำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรอำนวยกำร โดยแต่งต้ังจำกคณะครูท่ีมีควำมต้องกำรดำเนินงำนสหกรณ์ จำนวนไม่เกิน 10 คน โดยมีท่ำนผู้อำนวยกำรเป็นประธำนคณะกรรมกำรอำนวยกำร และมอบหมำย ควำมรบั ผิดชอบใหก้ บั คณะกรรมแตล่ ะคนกำกบั ดแู ล กำรดำเนินงำนสหกรณท์ ้ัง ๔ กิจกรรม 2. คณะกรรมกำรอำนวยกำรร่วมกับคณะกรรมกำรสหกรณ์ (นักเรียน) จัดกำรเลือกต้ัง เพ่ือสรรหำ คณะกรรมกำรสหกรณ์ชุดใหม่ จำนวน 1๕ คน โดยคนท่ีได้รับคะแนนสูงสุดจะได้กำรคัดเลือก ให้ เป็น ประธำนคณะกรรมกำรสหกรณ์ (นักเรียน) และให้คณะกรรมกำรสหกรณ์คัดเลือกรอง ประธำนและ เลขำนุกำร ตำมลำดับ 3. เมื่อสหกรณ์มีคณะกรรมกำรอำนวยกำรและคณะกรรมกำรสหกรณ์ (นักเรียน) ครบเรียบร้อย ก็ จะประชุมช้ีแจง เพ่ือวำงแนวทำงกำรดำเนินงำนของสหกรณ์ และจัดทำคำส่ังแต่งต้ังและแจ้งให้สมำชิก ทุกคนรับทรำบ 4. คณะกรรมกำรในแต่ละกิจกรรมจะร่วมกันประชุม คัดเลือกเจ้ำหน้ำที่ดำเนินงำนและคณะครู ผรู้ ับผิดชอบในแตล่ ะฝำ่ ยร่วมกัน และจัดทำโครงสรำ้ งของสหกรณ์ ดงั นี้

16 ช่อื โครงกำร สหกรณร์ ำ้ นคำ้ โรงเรยี น กลยทุ ธ์ที่ 1 พัฒนำคุณภำพผ้เู รยี นในระดับกำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน แผนงำน แผนงำนกำรบรหิ ำรทว่ั ไป สอดคล้องนโยบำย สพฐ. ข้อ 1 และข้อ 2 สนองกบั มำตรฐำนกำรศึกษำ สพฐ. มำตรฐำนที่ 1 ข้อ 1 (1.6) มำตรฐำนที่ 3 ข้อ 1 ผอู้ นื่ ได้ และมีเจตคติทด่ี ตี ่ออำชพี สจุ ริต ลกั ษณะโครงกำร โครงกำรตอ่ เนื่อง ผู้รับผดิ ชอบโครงกำร นำงอรุณี ต๊ะน้อย นำงศันสนีย์ หล้ำหนกั นำงสำวฉนั ชนกท์ สมฝั้น ระยะเวลำ ตลอดปี ________________________________________________________________________ หลักกำรและเหตผุ ล แนวคิดในกำรพัฒนำประเทศได้อำศัยหลักกำรสำคัญ 3 ประกำรคือ มุ่งให้ประชำชนพ่ึงตนเอง มีส่วนร่วมในกำรพัฒนำ และใช้เทคโนโลยีท่ีเหมำะสม กำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ให้มีคุณภำพ มีคุณลักษณะ ท่เี ออ้ื ต่อกำรพฒั นำประเทศดังกลำ่ ว จะตอ้ งไดร้ ับกำรปลูกฝังตง้ั แตย่ งั เยำว์วยั จึงจะประสบผลสำเรจ็ โครงกรบรษิ ัทสรำ้ งกำรดี กิจกรรมสหกรณ์หรอื อุดมกำรณส์ หกรณเ์ ป็นควำมรว่ มมือกันของสมำชิก ในอันที่ จะพฒั นำชีวติ และกลุ่มให้มคี วำมเข็มแขง็ เศรษฐกิจ พง่ึ พำตนเองได้ และดำรงชีวติ อยู่อยำ่ งมคี วำมสุข ปลูกฝังให้ นักเรียนมีควำมซอ่ื สัตย์สจุ ริต จึงได้มีกำรจดั กิจกรรมดังกลำ่ วนใ้ี นสถำนศกึ ษำ กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนสหกรณ์โดยกำรปฏิบัติจริง นอกจำกจะเป็นกำรฝึกทักษะกำรเรียนรู้ ระบบสหกรณ์แล้ว ยังส่งเสริมกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย และฐำนะทำงเศรษฐกิจอีกทำงหนึ่งด้วย เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีควำมรับผิดชอบ มีควำมซ่ือสัตย์สุจริต มีนิสัยไม่ฟุ่มเฟือยรู้จักกำรประหยัดตำมหลักปรัชญำ เศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรยี นบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทศิ )จึงได้จัดโครงกำรนขี้ น้ึ วตั ถุประสงค์ 1.เพื่อปลูกฝังควำมร้พู นื้ ฐำนเรื่องสหกรณ์และฝึกใหน้ กั เรียนได้ปฏบิ ตั ิจรงิ 2.เพื่อปลกู ฝงั ใหน้ ักเรียนมีกำรวำงแผนในกำรใช้จำ่ ย และกำรลงทนุ 3.เพื่อปลูกฝังใหน้ ักเรียนมีคำมซ่ือสตั ยส์ ุจริต มีควำมรบั ผดิ ชอบต่อหน้ำท่ี ทไ่ี ดร้ ับมอบหมำย 4.เพื่อปลกู ฝงั นิสัยรักกำรประหยดั อดออม เป้ำหมำย ด้ำนปรมิ ำณ 1.นักเรียนร้อยละ 80 มีควำมรพู้ ้นื ฐำนเรือ่ งสหกรณ์และฝึกให้นกั เรียนไดป้ ฏบิ ตั จิ รงิ 2.นักเรยี นรอ้ ยละ 80 มีกำรวำงแผนในกำรใชจ้ ำ่ ยและกำรลงทนุ 3.นกั เรยี นร้อยละ 80 มีควำมรับผิดชอบตอ่ หนำ้ ที่ ทไี่ ด้รับมอบหมำย 4. นักเรียนรอ้ ยละ 80 นิสัยรกั กำรประหยัดอดออม ดำ้ นคณุ ภำพ นกั เรยี นมคี วำมรู้พื้นฐำนเรื่องสหกรณม์ กี ำรวำงแผนในกำรใชจ้ ่ำย ประหยัดอดออม มีควำมรับผดิ ชอบ และสำมำรถนำควำมรู้เกย่ี วกับหลกั กำรสหกรณ์ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้อยำ่ งเหมำะสม

17 งบประมำณ ๒,000 บำท รำยละเอียดดังนี้ งบประมำณ จำแนกตำมรำยจ่ำย รำยละเอยี ดกำรใชง้ บประมำณ คำ่ ใชส้ อย ค่ำตอบแทน 1. คำ่ จดั ทำเอกสำร และอปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ น ๒,000 ๒,000 งำนสหกรณ์โรงเรยี น กำรวดั และประเมนิ ผล ตวั บ่งชี้สภำพควำมสำเร็จ กำรวดั และประเมินผล เครื่องมอื ที่ใช้ 1.นักเรียนรอ้ ยละ 80 มีควำมรพู้ น้ื ฐำน 1.สังเกต 1. บญั ชรี ำยช่อื สมำชิก 2. แบบสอบถำม เรื่องสหกรณ์และฝกึ ใหน้ ักเรียนได้ปฏิบัติ 2. สอบถำม 3. ภำพกจิ กรรม จรงิ 2.นักเรยี นร้อยละ 80 มกี ำรวำงแผนใน กำรใช้จำ่ ยและกำรลงทุน 3.นักเรียนร้อยละ 80 มีควำม รบั ผิดชอบต่อหนำ้ ท่ี ที่ไดร้ บั มอบหมำย 4. นักเรยี นร้อยละ 80 นิสยั รักกำร ประหยดั อดออม 7. ผลท่ีคำดวำ่ จะไดร้ ับ 1. โรงเรยี นมรี ำ้ นค้ำสวสั ดกิ ำรบริกำรแก่ครแู ละนักเรยี น 2.ครแู ละนักเรยี นเข้ำใจหลักพ้นื ฐำนทำงเศรษฐศำสตร์เบ้ืองตน้ 3.โรงเรียนนำผลกำรดำเนนิ งำนไปพฒั นำกำรศึกษำ

18 ชอ่ื โครงกำร ออมทรัพย์ (ธนำคำรโรงเรียนบำ้ นปวงคำ(ประชำอทุ ิศ)) กลยทุ ธ์ที่ 1 กำรพัฒนำคุณภำพผู้เรยี นในระดบั กำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน แผนงำน บริหำรงำนทัว่ ไป สอดคล้องนโยบำยสพฐ. ขอ้ 1 และข้อ 3 สอดคล้องกบั มำตรฐำนกำรศกึ ษำ สพฐ. มำตรฐำนที่ 1 ขอ้ 1.2 (1) มำตรฐำนที่ 3 ขอ้ 1 ลกั ษณะโครงกำร โครงกำรต่อเนื่อง ผรู้ บั ผดิ ชอบ นำงยวุ รี ประทีปยวุ พฒั น์ นำงสำวพรรณภำ ตำยะ ระยะเวลำ ตลอดปีงบประมำณ หลกั กำรและเหตุผล ธนำคำรเป็นสถำบันกำรเงินแห่งหน่ึงที่เข้ำมำมีบทบำทในชีวิตประจำวันของคนเรำเพรำะธนำคำร เปน็ สถำนท่รี บั ฝำก – ถอนเงินกำรออมทรัพย์โดยกำรฝำกเงินไว้กับธนำคำรเป็นกำรสร้ำงนิสัยในกำรประหยัดอด ออมเพ่ือให้นักเรียนมีเงินเก็บไว้ใช้จ่ำยในยำมจำเป็นสิ่งที่โครงกำรธนำคำรโรงเรียนมุ่งหวังก็คือให้เด็กรู้จัก กำรทำงำนที่ต้องมีควำมซื่อสัตย์และมีควำมสุจริตเพรำะว่ำกำรทำงำนท่ีเกี่ยวข้องกับเงินน้ันต้องมีควำมซื่อสัตย์ ต้องมีควำมสุจริตเป็นสำคัญซ่ึงเป็นรำกฐำนนำไปสู่สังคมท่ีดีคนก็จะมีระเบียบของชีวิตมีสังคมที่ไม่ต้องเส่ียง กบั ควำมที่มีกำรกระทำท่ีไมถ่ กู ต้องเกิดขึ้นมำกนัก ธนำคำรโรงเรียนจะเน้นเฉพำะเร่ืองกำรฝำกเงินกับถอนเงินเด็กก็จะเร่ิมคุ้นเคยกับกำรท่ีจะรับฝำกเงิน ถ อ น เ งิ น ท ำ บั ญ ชี คื อ ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ข อ ง เ ด็ ก เ มื่ อ โ ต ขึ้ น เ ป็ น ผู้ ใ ห ญ่ ส่ิ ง เ ห ล่ ำ นี้ เ ป็ น ส่ิ ง ท่ี ทุ ก ค น จ ะ ต้ อ ง รู้ เ ป็ น กำรจัดระเบียบชีวิตของตน เด็กยังรู้จักฝึกงำนทำงำนเป็นทำงำนร่วมกับผู้อื่น ธนำคำรโรงเรียนจึงเป็นเป้ำหมำย คือกำรท่ีให้เด็กฝึกงำนในภำคปฏิบัติจริงคุ้นเคยกับระบบกำรเงินจริงได้มีกำรออมด้วยตัวเอง ดังน้ันทำงโรงเรียน จึงไดจ้ ดั ตั้งโครงกำรธนำคำรโรงเรยี นนขี้ ึน้ วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือสร้ำงนสิ ัยนกั เรียนให้รู้จกั กำรประหยดั อดออมใช้ทรัพย์สนิ อยำ่ งรู้คณุ ค่ำ 2. เพื่อใหน้ กั เรียนเหน็ คุณค่ำประโยชนข์ องกำรออมทรพั ย์ 3. เพื่อใหน้ ักเรยี นมีควำมรับผิดชอบ และกำรทำงำนร่วมกนั กบั ผอู้ น่ื ได้ 4. เพ่ือใหน้ กั เรียนรูจ้ ักวำงแผนกำรใช้จ่ำยและฝำกเงนิ ของตนเองทุกวนั เปำ้ หมำย เชิงปรมิ ำณ 1. นักเรยี นโรงเรยี นบำ้ นปวงคำ (ประชำอุทศิ ) ระดับช้นั อนุบำลปที ี่ 1 ถึง มธั ยมศึกษำปีที่ 3 ทุกคน 2.ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ทุกคน

19 เชิงคุณภำพ 1.นกั เรียนได้ร้จู กั กำรประหยัดอดออมใช้ทรัพยส์ ินอยำ่ งรู้คุณค่ำ 2.นกั เรยี นเห็นคุณค่ำประโยชน์ของกำรออมทรพั ย์ 3.นกั เรยี นมีควำมรับผดิ ชอบ และกำรทำงำนร่วมกนั กบั ผูอ้ ่ืนได้ 4.นักเรยี นร้จู ักวำงแผนกำรใช้จ่ำยและฝำกเงินของตนเองทุกวนั กิจกรรมกำรดำเนินงำน 1. ประชุมวำงแผนกำหนดกจิ กรรม 2. เสนอแผนงำน/โครงกำรเพือ่ ขออนมุ ตั ิ 3. แตง่ ต้งั คณะกรรมกำรดำเนนิ งำน 4. ดำเนนิ กำรจัดกิจกรรมตำมแผน - อบรมนักเรยี นในกำรปฏบิ ตั งิ ำนทกุ แผนก - ประชำสมั พนั ธก์ ำรฝำกเงนิ กบั ธนำคำรโรงเรียน - จดั ทำบัญชีเงินฝำกของนกั เรียนและคณะครู - นักเรียนฝำกออมทรพั ยก์ ับธนำคำรโรงเรยี น - นำเงนิ ฝำกธนำคำรเพอื่ กำรเกษตรและสหกรณ์สำขำลี้ 5. ประเมนิ ผลกำรดำเนนิ งำน สรุปและรำยงำนผลตอ่ ผบู้ รหิ ำร งบประมำณ บำท 1. งบประมำณรวมท้ังสนิ้ 2,000 2. แหล่งที่มำของงบประมำณ 2.1 เงินอุดหนนุ กำรจดั กำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน โรงเรยี นบ้ำนปวงคำ (ประชำอุทศิ ) บำท 3. รำยละเอยี ดกำรใช้งบประมำณ รำยกำรท่ีตอ้ งใชง้ บประมำณ หมวดรำยจำ่ ย รวม ค่ำตอบแทน ค่ำใชส้ อย ค่ำวัสดุ 2,000 1. ค่ำจัดซื้อวสั ดตุ ำ่ ง ๆ - - 2,000 รวม กำรประเมนิ ผลโครงกำร ตัวชว้ี ัดสำคัญ วธิ กี ำร เคร่ืองมอื แบบสำรวจขอ้ มูล 1. นักเรยี นรอ้ ยละ 100 ได้รู้จักกำรประหยดั สำรวจข้อมูล แบบสำรวจขอ้ มูล อดออมใช้ทรัพย์สนิ อยำ่ งรคู้ ุณค่ำ แบบสำรวจข้อมลู 2. นกั เรียนรอ้ ยละ 100 เห็นคณุ ค่ำประโยชน์ สำรวจขอ้ มลู ของกำรออมทรัพย์ 3. นักเรียนร้อยละ 100 มคี วำมรับผดิ ชอบ สำรวจข้อมูล และกำรทำงำนรว่ มกนั กับผ้อู ่ืนได้

20 ตัวชีว้ ัดสำคญั วธิ ีกำร เครื่องมือ สำรวจข้อมูล แบสำรวจขอ้ มลู 4.ร้จู กั วำงแผนกำรใชจ้ ำ่ ยและฝำกเงินของ ตนเองทุกวัน ประเมนิ ควำมพึงพอใจ แบบประเมินควำมพงึ พอใจ 5.ผูท้ ี่เกยี่ วขอ้ งมีควำมพึงพอใจ ร้อยละ 80 ผลทีค่ ำดว่ำจะไดร้ บั 1.นกั เรียนไดร้ จู้ ักกำรประหยัดอดออมใชท้ รพั ย์สินอยำ่ งรู้คุณคำ่ 2.นกั เรียนเหน็ คุณคำ่ ประโยชน์ของกำรออมทรัพย์ 3.นักเรียนมีควำมรบั ผิดชอบ และกำรทำงำนรว่ มกันกบั ผอู้ ่ืนได้ 4.นกั เรียนรจู้ กั วำงแผนกำรใช้จำ่ ยและฝำกเงินของตนเองทุกวัน

21 ช่ือกจิ กรรม กำดนัดพอเพียง หล่อเลี้ยงวิถีชีวิต โรงเรียนปวงคำ (ประชำอุทศิ ) บรู ณำกำรกิจกรรมลดเวลำ เรียนเพ่ิมเวลำรู้ ยทุ ธศำสตร์ท่ี 3 ปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพียง มำตรฐำน/ตวั บง่ ชีท้ ี่ มฐ.3 มฐ.6 มฐ.10 มฐ.13 มฐ.14 มฐ.15 3.1 , 6.2 , 6.4 , 10.1 10.2 , 10.4 , 13.1 , 13.2, 14.1 , 15.1 วนั /เวลำทจ่ี ัด 16 พ.ค. 62 - 31 มี.ค.63 (ตลอดปีกำรศกึ ษำ) ผูร้ ับผิดชอบกจิ กรรม นำงอรณุ ี ต๊ะน้อย นำงสันศนีย์ หล้ำหนัก นำงสำวฉนั ทช์ นก สมฝั้น …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วตั ถุประสงคก์ ิจกรรม 1. เพอ่ื ส่งเสริมวัฒนธรรมและภูมิปัญญำท้องถนิ่ ในกจิ กรรมกำดนัดพอเพียง หล่อเลย้ี งวิถชี วี ติ 2. เพอ่ื เพิม่ ทกั ษะกำรเรียนรเู้ รอ่ื งกำรจัดกำรตลำดกำรทำบัญชี รำยรบั -รำยจำ่ ย 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมสนใจในอำชพี ค้ำขำย เพิ่มทักษะกระบวนกำรทำงำน มีกำรคดิ วิเครำะห์ วำงแผน ปรับปรงุ และพฒั นำงำน ตำมหลักกำรสหกรณ์ 4. เพื่อพฒั นำผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ธรรมพืน้ ฐำน 8 ประกำร 5. 7. เปำ้ หมำย เชิงปรมิ ำณ นกั เรยี นในระดับช้นั อนบุ ำล1 ถึงชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ 3 ร้อยละ 80 เขำ้ ร่วมกจิ กรรม และผู้ทเี่ ข้ำรว่ ม กิจกรรมร้อยละ 80 มคี วำมพึงพอใจในระดบั ดีขนึ้ ไปร้อยละ 80 เชิงคุณภำพ สำมำรถดำเนินงำนไดต้ ำมวัตถุประสงค์ของกิจกรรม 8. งบประมำณท่ใี ช้ จำนวน รวม หมำยเหตุ จำนวน 500 บำท 1500 1500 ท่ี รำยกำร 1500 1. คำ่ วสั ดุอปุ กรณ์ ในกำรจดั สถำนท่ีเปิดงำนกำดนัดพอเพยี ง รวม กำรดำเนินกำร 1. วำงแผนกำรปฏบิ ตั ิงำน - ประชมุ คณะครู - เสนอกจิ กรรมต่อผู้บรหิ ำร - แตง่ ต้ังคณะกรรมกำรฯ -ดำเนนิ กำรจัดเอกสำรประกอบกิจกรรมกำดนัดพอเพียง หล่อเลย้ี งวิถีชีวิต

22 2. ดำเนนิ กำรกิจกรรม 1. จัดเตรียมสถำนที่เปิดงำนกำดนัดพอเพียง และเตรียมอุปกรณ์ในกำรจัดกำดนัดพอเพียง นกั เรียนลงมือปฏิบัติงำน 2. แบ่งกลุ่มนักเรยี นเป็นกลุม่ เพ่ือปฏิบตั ิงำนตำมท่ีครมู อบหมำย 3. จดั นักเรียนแต่ละชนั้ เรยี นเป็นกลุม่ ปฏบิ ัตงิ ำน กิจกรรม กำดนัดพอเพียง หลอ่ เลี้ยงวิถีชีวิตจดั ทุกวัน ศุกรส์ ปั ดำห์สดุ ทำ้ ยของเดือน 3.กลุ่มกำรตลำด 1. มอบหมำยใหน้ ักเรยี นจัดทำบญั ชีรำยรับรำยจำ่ ย สรปุ ผล และนำเสนอผลงำนกลุ่ม ผ่ำนทำงสอ่ื ตำ่ ง ๆ กำรนำผลผลิตมำแปรรูปจำหนำ่ ยโดยผ่ำนสหกรณ์โรงเรยี น 2. มแี บบบันทึกกำรปฏิบตั ิงำนแจกนักเรยี นแต่ละกลุ่มเพื่อจดบันทกึ 3.ครูตรวจสอบควำมเรยี บร้อยของสถำนทีจ่ ัดกจิ กรรม ตรวจสอบ ประเมินผล 4. สรปุ ผลกำรดำเนนิ กำร - รำยงำนผลกำรปฏบิ ตั ิกิจกรรม - นำผลกำรประเมนิ มำปรับปรุง รำยละเอียดกำรดำเนินกจิ กรรม วำงแผนกำรปฏิบตั ิงำน ประชมุ ครูและเสนอกิจกรรม ตลอดปีกำรศึกษำ ดำเนนิ กำร กจิ กรรมกำดนดั เศรษฐกิจพอเพยี ง หล่อเลี้ยงวถิ ีชีวติ - จดั เตรยี มสถำนทแ่ี ละเตรยี มอปุ กรณ์ในกำรจัดร้ำนกำดนดั พอเพยี ง หล่อเลีย้ งวถิ ชี ีวิต โรงเรยี นปวงคำ (ประชำอุทศิ ) นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิงำน - นักเรยี นแตล่ ะช้ันหรอื นักเรยี นแตก่ ลมุ่ ปฏบิ ัตงิ ำนตำมท่ีครมู อบหมำย หรอื ตำมท่ีนกั เรยี นชว่ ยกนั คิดว่ำจะ จดั ทำอะไร (คำบกจิ กรรมลดเวลำเรียนเพม่ิ เวลำรู้ ) กลมุ่ กำรตลำด - มอบหมำยให้นักเรยี นจัดทำบญั ชรี ำยรับรำยจำ่ ย สรุปผล และนำเสนอผลงำนกลมุ่ หรือกำรนำผลผลติ มำแปร รปู จำหนำ่ ยในกำดนดั พอเพียง หลอ่ เล้ยี งวิถชี วี ิตภำยในโรงเรียน - มีแบบบนั ทกึ กำรปฏิบัตงิ ำนแจกนักเรียนแต่ละกลุ่มเพ่ือจดบันทกึ - ครตู รวจสอบควำมเรียบร้อยของสถำนทจ่ี ดั กจิ กรรม

23 กำรวดั ผล / ประเมนิ ผล วิธปี ระเมนิ เครอ่ื งมอื ชี้วดั ประเมินควำมพึงพอใจ แบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจ ตัวชี้วัดควำมสำเรจ็ ประเมนิ กจิ กรรม แบบประเมนิ กิจกรรม ผลผลติ 1นักเรียนทุกคนมีควำมสนใจในเรอ่ื งกิจกรรม กำดนัด พอเพียง หล่อเล้ียงวิถีชีวิต 2.ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80 มคี วำมรูเ้ ก่ยี วกับกจิ กรรมกำดนดั พอเพียง กำรทำบนั ทึกรำยรับ-รำยจำ่ ย 3.ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80 มคี วำมตระหนกั ในกำรร่วม กิจกรรมกำดนดั พอเพยี ง หล่อเล้ยี งวิถชี วี ติ 4. ผเู้ รียนร้อยละ 80 มคี วำมสนใจในกจิ กรรมกำด นัดพอเพียง หล่อเล้ยี งวิถีชวี ิต 5. ผ้เู รยี นร้อยละ 80 สำมำรถปฏบิ ตั งิ ำนในกำรรว่ ม กจิ กรรมกำดนัดพอเพียง หล่อเลยี้ งวิถชี ีวติ ผลที่คำดว่ำจะได้รบั 1.นกั เรยี นสง่ เสรมิ วัฒนธรรมและภมู ิปัญญำทอ้ งถ่ินในกิจกรรมกำดนัดพอเพียง หล่อเลยี้ งวถิ ชี ีวติ 2.นกั เรียนมีทกั ษะกำรเรยี นรู้เรื่องกำรจดั กำรตลำดกำรทำบัญชี รำยรับ-รำยจำ่ ย 3.นักเรยี นมีควำมสนใจในอำชพี คำ้ ขำย เพิ่มทักษะกระบวนกำรทำงำน มีกำรคิดวิเครำะห์ วำงแผน ปรบั ปรงุ และพัฒนำงำน ตำมหลักกำรสหกรณ์ 4.นักเรียนมีคณุ ธรรมพืน้ ฐำน 8 ประกำร

24 ช่อื โครงกำร กำรพฒั นำงำนอำชีพอสิ ระสำหรบั นักเรียน กลยุทธท์ ่ี 1 กำรพฒั นำคุณภำพผู้เรียนในระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน แผนงำน บริหำรทวั่ ไป สอดคลอ้ งนโยบำย สพฐ. ขอ้ 1 และขอ้ 7 สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรศกึ ษำ มำตรฐำนที่ 1 ข้อ 1 (1.3) และมำตรฐำนที่ 3 ขอ้ 1 ลักษณะโครงกำร โครงกำรตอ่ เนื่อง ผรู้ ับผดิ ชอบ นำงสำวโสภี ศรีใจต๊ะ และคณะ ระยะเวลำ ตลอดปี หลกั กำรและเหตผุ ล กำรจัดกำรศึกษำอำชีพในปัจจุบันทีควำมสำคัญมำก เพรำะจะเป็นกำรพัฒนำประชำชนของประเทศ ให้มีควำมรู้ ควำมสำมำรถและทักษะในกำรประกอบอำชีพ เป็นกำรแก้ปัญญำหำกำรว่ำงงำนและส่งเสริมควำม เข็มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึงสอดคล้องตำมมำตรฐำนตัวชี้วัด กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพ และเทคโนโลยี ท่ีกำหนดใหผ้ ู้เรยี นตอ้ งมีควำมเข้ำใจในกำรทำงำน มีควำมคดิ สร้ำงสรรค์ มีทักษะกำระบวนกำร ทำงำน ทกั ษะกำรจัดกำร ทักษำทำงำน มจี ติ สำนกึ ในกำรใชพ้ ลังงำน ทรัพยำกรและสิ่งแวดล้อมเพื่อกำรดำรงชีวิต และครอบครัว โดยนำมำบูรณำกำรพัฒนำทำงเลือกในกำรประกอบอำชีพอิสระในรูปแบบของกำรเตรียมควำมพร้อม และทดลองฝึกทักษะอำชีพในโรงเรียนอย่ำงเป็นระบบและพร้อมที่จะเร่ิมประกอบอำชีพอิส ระได้ทันทีท่ีเรียนจบ ช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี 3 แล้วไม่มีโอกำสได้ศึกษำต่อในระดับท่ีสูงขึ้น ซึ่งกระบวนกำรของโครงกำรสอดคล้อง กับนโยบำยและกำรพัฒนำระบบกำรศึกษำหลำยประกำร ตั้งแต่กำรเรียนรู้ด้ำนอำชีพควบคู่ไปกับด้ำนวิชำกำร มำตรฐำนกำรเรียนกำรสอน กำรเรียนรู้โดยเด็กเปน็ ศูนย์กลำง ซงึ่ กำรจดั ทำโครงกำรดังกล่ำว ทำงโรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ)ได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนต้นแบบ สหกรณ์โรงเรียนระดับประเทศ เป็นกำรส่งเสริมให้นักเรียนได้มีควำมรู้และทักษะ กระบวนกำร กำรหำรำยได้ ระหว่ำงเรียนโดยผลิตสินค้ำ งำนฝีมือต่ำงๆ เช่น หมอนฟักทอง กระเป๋ำเชือกร่ม กำรเย็บผ้ำ เสริมสวย กำรประดษิ ฐด์ อกไม้ ซึ่งกำรผลิตจะขำยผำ่ นสหกรณโ์ รงเรยี นเปน็ ศูนยก์ ลำงในกำรจดั กิจกรรม วัตถุประสงค์ 2.1 เพ่อื ให้ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรู้โลกของอำชีพ มเี จตคติท่ีดตี ่ออำชีพสจุ ริต ได้เรียนรู้ทักษะทีจ่ ำเปน็ สำหรับกำรประกอบอำชีพและได้แนวทำงในกำรสร้ำงควำมสขุ จำกกำรประกอบอำชีพได้ 2.3 เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนสำมำรถเลอื กประกอบอำชีพได้ 1 อำชพี 2.3 เพื่อให้ผู้เรียนได้มีทกั ษะกระบวนกำรของกจิ กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนนำสำมำรถนำสินคำ้ ไป จำหน่ำย หำรำยได้ระหวำ่ งเรียนได้ เปำ้ หมำย 3.1 ดำ้ นปรมิ ำณ นกั เรยี นโรงเรยี นบำ้ นปวงคำ (ประชำอทุ ิศ ) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 1 – 3 จำนวน 47 คน

25 3.2 ดำ้ นคณุ ภำพ 3.2.1 ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้โลกของอำชีพ มเี จตคติที่ดีต่ออำชีพสุจริต ได้เรยี นรู้ทักษะทีจ่ ำเป็น สำหรบั กำรประกอบอำชพี และได้แนวทำงในกำรสรำ้ งควำมสุขจำกกำรประกอบอำชีพได้ 3.2.2 ผู้เรียนสำมำรถเลอื กประกอบอำชีพทตี่ นเอง ถนดั และสนใจได้อย่ำงน้อย 1 อำฃีพ 3.2.3 ผเู้ รยี นได้ทักษะกระบวนกำรของกจิ กิจกรรมสหกรณใ์ นโรงเรียนนำสำมำรถนำสินค้ำไป จำหนำ่ ย หำรำยไดร้ ะหว่ำงเรียนได้ กจิ กรรมและขนั้ ตอนกำรดำเนินงำน 1. ประชมุ ชี้แจงคณะครแู กนนำและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำในโรงเรียนเพ่อื สร้ำงควำมเข้ำใจรว่ มกนั เก่ยี วกับกระบวนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ 2. สำรวจควำมถนดั และควำมต้องกำรของนกั เรยี นในกำรเลือกประกอบอำชีพอิสระและจดั ตง้ั กล่มุ งำน อำชพี อิสระ 3. จดั เตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์และสถำนที่สำหรบั ดำเนินงำนโดยยมื เงินจำกโครงกำร 4. นักเรียนดำเนนิ งำนประกอบอำชีพอสิ ระตำมควำมถนดั และควำมสนใจของแต่ละกลุ่มกิจกรรม คือ งำนถกั กระเป๋ำ เชือกร่ม งำนเยบ็ หมอนฟักทอง งำนเย็บผ้ำ งำนเสริมสวย งำนประดษิ ฐ์ดอกไม้ 5. สรุปและประเมนิ ผลกำรดำเนินงำน 6. รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนต่อสภำองค์กำรพัฒนำเดก็ และเยำวชน ฯและบริษทั บำ้ นปู จำกดั มหำชน งบประมำณ 1. งบประมำณรวมทั้งสน้ิ 5000 .- บำท. 2. แหล่งทีม่ ำของงบประมำณ 2.1 เงนิ สนับสนุนกำรดำเนินงำนโรงเรียนต้นแบบสหกรณโ์ รงเรียน 5000 .- บำท. รำยละเอยี ดกำรใช้งบประมำณ ตอบแทน หมวดรำยจำ่ ย - ใช้สอย พัสดุ รวม รำยกำรท่ตี อ้ งใชง้ บประมำณ - - 2000 2000 1. งำนถักกระเปำ๋ เชือกร่ม - ค่ำวัสดุฝึก - 1000 1000 2. งำนงำนเยบ็ หมอนฟักทอง 3. งำนเย็บผำ้ 1000 - ค่ำวัสดฝุ กึ 4. งำนเสรมิ สวย 1000 1000 - ค่ำวสั ดฝุ กึ 2000 2000 2000 5. งำนประดิษฐด์ อกไม้ 5000 5000 5000 รวม

กำรประเมนิ ผลโครงกำร วธิ ีกำร 26 ตัวช้ีวัดสำคญั สำรวจข้อมูล เคร่อื งมอื 1. กำรสำรวจควำมถนัดในงำน สอบถำม แบบสำรวจข้อมลู อำชีพของนักเรยี น แบบสอบถำม 2. นักเรียนดำเนินกำรประกอบอำชพี อิสระ ผลท่ีคำดวำ่ จะได้รบั 1. ผู้เรยี นไดเ้ รยี นร้โู ลกของอำชีพ มเี จตคติท่ดี ตี ่ออำชพี สจุ รติ ได้เรยี นรทู้ กั ษะท่ีจำเป็น สำหรบั กำรประกอบอำชพี และได้แนวทำงในกำรสรำ้ งควำมสขุ จำกกำรประกอบอำชีพได้ 2. ผเู้ รยี นสำมำรถเลอื กประกอบอำชีพท่ีตนเอง ถนัดและสนใจไดอ้ ย่ำงน้อย 1 อำฃีพ 3. ผเู้ รยี นไดท้ กั ษะกระบวนกำรของกจิ กิจกรรมสหกรณใ์ นโรงเรียนนำสำมำรถนำสินคำ้ ไป จำหน่ำย หำรำยไดร้ ะหว่ำงเรียนได้

27 โครงกำร โครงกำรเกษตรเพ่ือสนับสนุนกิจกำรสหกรณ์ และอำหำรกลำงวันแก่เด็ก ลกั ษณะโครงกำร นักเรยี นกลมุ่ มธั ยม สนองมำตรฐำนสถำนศึกษำ ( ) โครงกำรใหม่ ( ) โครงกำรตอ่ เนือ่ ง มำตรฐำนท่ี 6 ผู้เรียนมีทักษะในกำรทำงำน รักกำรทำงำน สำมำรถทำงำน ผรู้ บั ผิดชอบโครงกำร ร่วมกบั ผู้อี่นได้ และมเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ อำชีพสจุ รติ ระยะเวลำดำเนินกำร มำตรฐำนท่ี 13 กำรสรำ้ ง สง่ เสริม สนับสนุนใหโ้ รงเรยี นเปน็ สงั คม แห่งกำรเรียนรู้(ตัวบ่งช้ี ที่ 1 ) (ข้นั พืน้ ฐำน) นำยโสพล สตุ ำนนั ตลอดปีกำรศกึ ษำ หลกั กำรและเหตผุ ล ปัจจุบันโรงเรียนในระดับประถมศึกษำ และโรงเรียนในกลุ่มขยำยโอกำส ได้รับกำรสนับสนุน งบประมำณจำกภำครัฐเพ่ือดำเนินงำนด้ำนอำหำรกลำงวันให้แก่เด็กๆ ถึงระดับช้ันประถมศึกษำ ส่วนระดับ ชั้นมัธยมศึกษำตอนต้นน้ัน นักเรียนยังไม่ได้รับบริกำรจำกภำครัฐในด้ำนน้ี จึงประสบปัญหำเพรำะนักเรียน บำงส่วนมีบ้ำนอยู่ไกลจำกโรงเรียนต้องตื่นแต่เช้ำเพ่ือมำโรงเรียนให้ทัน เร่ืองอำหำรเช้ำและอำหำรกลำงวัน จึงเป็นปัญหำกับนักเรียนเพรำะผู้ปกครองเตรียมให้ไม่ทัน โครงกำรเกษตรเพื่อสนับสนุนอำหำรกลำงวันแก่ นักเรียนไดท้ ำขน้ึ มำจำกงบประมำณเงินส่วนหนึ่งของรำงวัลสหกรณ์ดีเด่นระดับประเทศของโรงเรียน สนับสนุน กิจกำรสหกรณ์ และ กำรดำเนินงำนอำหำรกลำงวันให้แก่นักเรียนระดับช้ันมัธยม ทำงโรงเรียนได้คิดกิจกรรม กำรเกษตรขึ้นจำนวน 3 กิจกรรม ตำมควำมเหมำะสมของสภำพพื้นท่ี และเวลำในกำรดำเนินกิจกรรม และกำหนดครูรบั ผดิ ชอบในแตล่ ะกจิ กรรมไป โดยทำเป็นแหล่งเรียนรู้ด้ำนงำนเกษตรกรรมในโรงเรียนด้วย สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลำง 2551 มุ่งให้จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จำกกำรฝึกประสบกำรณ์จริงรวมถึง กำรปลูกฝังให้รักในอำชีพสุจริตท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น เห็นคุณค่ำและควำมสำคัญของกำรทำงำนและกำรฝึกทักษะอำชีพ สำมำรถนำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่ำงมีควำมสุข ด้วยเหตุผลดังกล่ำวข้ำงต้น ทำงโรงเรียนบำ้ นปวงคำประชำอทุ ศิ จงึ ได้จดั โครงกำรนข้ี นึ้ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ดำเนินงำนด้ำนงำนเกษตรสนับสนนุ อำหำรกลำงวัน ให้แกน่ กั เรียนในระดับชั้นมัธยม 2. เพอ่ื ให้นกั เรียนไดเ้ รียนรู้กำรวำงแผนกำรทำงำน และดำเนินกำรจนสำเร็จ มีควำมมุ่งม่ันพัฒนำงำน และภมู ิใจในผลงำนของตนเองสำมำรถทำงำนร่วมกบั ผู้อ่นื ไดอ้ ย่ำงมคี วำมสขุ 3. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติท่ีดีต่ออำชีพสจุ รติ และหำควำมรูเ้ ก่ียวกับอำชพี ทีต่ นเองสนใจ 4. เพื่อให้โรงเรียนมีกำรสร้ำงและพัฒนำแหล่งเรียนรู้ ภำยในสถำนศึกษำและใช้ประโยชน์จำกแหล่ง เรียนรู้ท้ังภำยในและภำยนอกสถำนศึกษำ เพ่ือพัฒนำกำรเรียนรู้ของนักเรียนและบุคลำกรของสถำน ศึกษำ รวมทัง้ ผ้ทู เ่ี กีย่ วข้อง

28 เป้ำหมำย เชิงปริมำณ 1. ดำเนินกิจกรรมทำงกำรเกษตรเพอ่ื ชว่ ยสนับสนนุ โครงกำรอำหำรกลำงวันใหแ้ กน่ กั เรียนช้ันมัธยม 2. มีแหล่งเรียนรงู้ ำนเกษตร 3 กจิ กรรม 4. นกั เรยี นรอ้ ยละ 90 ได้เรียนรู้งำนอำชีพตำมหลักปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพยี ง เชงิ คณุ ภำพ 1. นักเรียนมีปัญญำ มีทักษะ เป็นนักเรียนที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสำมำรถดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมอยำ่ งมคี วำมสุข 2. จดั สภำพแวดล้อม ห้องเรียนได้อย่ำงเหมำะสม และสอดคลอ้ งกบั สำระกำรเรยี นรู้ 3. นกั เรียนมเี จตคติท่ีดีตอ่ อำชีพสุจริตและมคี วำมรู้ตำมภูมปิ ญั ญำท้องถิ่น กจิ กรรมและขั้นตอนกำรดำเนินงำน ลำดับท่ี รายการกิจกรรม 1. ขั้นตอนกำรเตรยี มงำน 2. 1. จัดทำโครงกำรเพื่อขออนุมัตจิ ำกผบู้ รหิ ำร 2. จดั ทำคำสัง่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรดำเนนิ งำนตำมโครงกำร 3. ประชมุ คณะกรรมกำรเพ่ือวำงแผนกำรดำเนนิ งำน ดำเนินกำรตำมกิจกรรมโครงกำรเกษตรตำมงบประมำณท่ีไดร้ ับเพอ่ื โครงกำรอำหำรกลำงวัน แก่เด็กมธั ยม ดงั นี้ - ครู และ นกั เรยี นรว่ มกันวำงแผนกำรทำงำน เพำะถั่วงอก ปลกู ผักไฮโดรโปนิค เพำะตน้ อ่อน ทำนตะวัน และดำเนินกำรจนสำเร็จ (6.1) - นักเรยี นมีควำมมุ่งมั่นและสนกุ กับงำนทำงำน เพำะถ่ัวงอก ปลูกผักไฮโดรโปนิค เพำะตน้ อ่อนทำนตะวันและภำคภมู ิใจในผลงำน( 6.2) - นักเรียนร่วมกนั ทำงำนเพำะถ่ัวงอก ปลูกผกั ไฮโดรโปนคิ เพำะตน้ อ่อนทำนตะวันด้วยควำม สำมคั คี (6.3) - นกั เรียนมีควำมรู้สึกท่ีดีตอ่ งำนทำงำน เพำะถว่ั งอก ปลูกผักไฮโดรโปนิค เพำะตน้ อ่อน ทำนตะวัน(6.4) - ดำเนนิ กำรกำกับ ติดตำม และประเมนิ ผลกำรดำเนนิ งำนและนำผลไปปรบั ปรุงพฒั นำ อยำ่ งต่อเนอ่ื ง - สรปุ รำยงำนผลกำรดำเนินกจิ กรรม ขั้นกำรประเมินผลโครงกำร 1. จัดทำแบบประเมินควำมพึงพอใจของผทู้ ม่ี สี ว่ นเกย่ี วข้อง 2. ประเมนิ ควำมพึงพอใจของผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้อง 3. สรปุ ผลกำรประเมนิ ควำมพงึ พอใจ 4. สรุปผลกำรดำเนินงำนโครงกำรและรำยงำนผู้บริหำร สถำนศกึ ษำ

29 งบประมำณรำยรบั ทั้งหมด จำนวน 5000 บำท รำยละเอียดกำรใช้งบประมำณ ที่ กจิ กรรม/รำยกำร คำ่ ใชจ้ ำ่ ย รวม ใชส้ อย วสั ดุ 2000 ตอบแทน รวม 2000 - 2,000 2,000 1. กจิ กรรมที่ 1 กำรเพำะถั่วงอก 2000 ๕๗ - 2000 1.1 1 ปรับปรงุ โรงเพำะถว่ั งอกขนำด 3x3 - 1000 1000 - 1000 5000 เมตร เทพน้ื 1.1ถงั พลำสติก 2 ชุด 1.2ปัม้ น้ำ พร้อมอุปกรณ์ใหน้ ำ้ 2 ชุด 1.3ทำมเมอรค์ มุ เวลำ 1.4สำยไฟฟำ้ พร้อมอุปกรณ์ระบบไฟฟ้ำ 1.5เมลด็ ถ่วั เขยี ว 2. กิจกรรมที่ 2 กำรปลกู ผักไฮโดรโปนคิ 2.1ปรบั ปรุงโรงเรือนปลกู ผักไฮโดรโปนคิ - ขนำด 2*6 ตรม.จำนวน 1 โรง 2.2 โฟมปลกู ขนำด 50 หลมุ จำนวน 10 แผ่น 2.3 พลำสตกิ มุงหลังคำกวำ้ ง 3 เมตร ยำว 8 เมตร 2.4 พลำสติกปบู ่อ 3*7 ม. 2.5 ชดุ สะดอื นำ้ 1 ชุด 2.6 ป้มั น้ำขนำด 35 วัตต์ 1 เครอื่ ง พรอ้ มอุปกรณท์ ่อต่ำงๆ 2.7สำยไฟฟำ้ พรอ้ มอปุ กรณ์ 2.8ทำมเมอรค์ ุมเวลำ 2.9ฟองน้ำเพำะเมลด็ 2.10เมล็ดพันธ์ผุ กั ตำ่ งๆ 2.11ปยุ๋ และสำรละลำย 3. กจิ กรรมที่ 4 กำรเพำะต้นออ่ นทำนตะวนั 4.1 ปรับปรุงโรงเรือนเพำะขนำด 2*3 ม. - 4.2 ตะกร้ำเพำะ 4.3 เมล็ดทำนตะวัน 4.4 บวั รดน้ำ รวม

30 สถำนทด่ี ำเนนิ กำร โรงเรียนบำ้ นปวงคำ(ประชำอุทิศ) หนว่ ยงำน/ผทู้ ่ีเกยี่ วขอ้ ง โรงเรยี นบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ) , คณะครู , นกั เรยี น กำรประเมินผล ตัวช้ีวัดควำมสำเรจ็ วิธกี ำรประเมินผล เคร่ืองมือท่ีใช้ แบบบันทึกโครงกำร 1. ผลผลิตทไ่ี ด้จำกกำรดำเนนิ กจิ กรรม ประเมนิ จำกเปำ้ หมำย 80% แบบบนั ทึกกิจกรรม แตล่ ะกจิ กรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม แบบบันทึกคุณลักษณะอันพึง 2.นกั เรยี นร้อยละ 90 สำมำรถวำง กำรตรวจสอบ กำรสงั เกต ประสงค์ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน แผนกำรทำงำนที่ชัดเจนและเป็น กำรนเิ ทศติดตำมประเมิน เครื่องมือที่ใช้ แบบบันทกึ กิจกรรม ระบบ และดำเนินงำนได้ทกุ ขน้ั ตอน คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ แบบสงั เกตพฤติกรรม แบบบนั ทึกคุณลักษณะอันพึง ดว้ ยควำมกระตือรือรน้ ตัง้ ใจ ประสงค์ ผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรยี น พำกเพยี ร ละเอียด รอบคอบในกำร ทำงำน ตัวชีว้ ดั ควำมสำเร็จ วธิ ีกำรประเมนิ ผล 3. นักเรยี นร้อยละ 90 มสี ่วนร่วมใน กำรตรวจสอบ กำรสังเกต กำรวำงแผนกำรทำงำนรว่ มกับหมู่ กำรนเิ ทศติดตำม คณะครบทุกข้นั ตอนปฏิบตั งิ ำนตำม ประเมนิ คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ บทบำทหนำ้ ที่ จนบรรลผุ ลสำเรจ็ และ สนับสนนุ อำชพี สจุ ริต ยดึ ม่นั ใน แนวทำงประกอบอำชีพสุจริต บอก แหล่งขอ้ มลู เกีย่ วกับอำชีพสุจรติ ได้ หลำกหลำย 15.ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1. นกั เรียนระดบั ชน้ั มธั ยมได้รบั ผลประโยชนจ์ ำกกำรดำเนินกิจกรรมทั้งสี่ มำเสรมิ โครงกำรอำหำร กลำงวันปกตขิ องโรงเรียน 2. โรงเรยี นบำ้ นปวงคำ(ประชำอทุ ิศ) มีแหลง่ เรยี นรู้ดำ้ นกำรเกษตรเพม่ิ ขึน้ สำมำรถใชใ้ นกำรจดั กำรเรยี น กำรสอนไดอ้ ยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพ ช่อื โครงกำร เยำวชนปวงคำ ล้ำเทคโนโลยี สืบสำนวิถคี นทอผำ้ ท่มี ำและควำมสำคัญ ชุมชนบ้ำนปวงคำเป็นชุมชนท่ีมีชื่อเสียงในด้ำนกำรทอผ้ำจกโหล่งล้ีและในชุมชน ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ ท่ีสำคัญของท้องถ่ินคือกลุ่มทอผ้ำศูนย์วัฒนธรรมไทยสำยใยชุมชน กลุ่มทอผ้ำจกโหล่งลี้ วัดพวงคำ ตำบลล้ี อำเภอล้ี จังหวัดลำพูน ซ่ึงกำรทอผ้ำจกโหล่งลี้ถือเป็นภูมิปัญญำท้องถ่ินที่ได้รับกำรถ่ำยทอดมำจำกผู้เฒ่ำผู้แก่ สู่ลูกหลำนในหมู่บ้ำนแล ะจำกกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในช้ันเรียนของโรงเรียนบ้ำนปวงคำ (ประชำอุทิศ ) พบว่ำนักเรียนไม่มีสมำธิในกำรเรียนและไม่มีกำรวำงแผนในกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบ โรงเรียนจึงเล็งเห็นถึง ปัญหำดังกล่ำวและได้ชวนนักเรียนท่ีมีปัญหำด้ำนสมำธิไปฝึกสมำธิโดยกำรออกแบบลำยผ้ำบนกระด ำษ โดยมีครศู ลิ ปะคอยให้ควำมรู้ ทำงโรงเรียนจึงเห็นควำมสำคัญว่ำกิจกรรมกำรทอผ้ำจะสำมำรถแก้ปัญหำสมำธิสั้น

31 และฝึกให้นักเรียนรู้จักกำรวำงแผนในกำรทำงำน ซึ่งกำรทอผ้ำจะทำให้นักเรียนเกิดสมำธิและรู้จักกำรวำงแผน ในกำรทำงำน เมื่อนักเรียนมีสมำธิมำกขึ้นจะทำให้นักเรียนสำมำรถเรียนรู้ได้ดีและส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ท่ีเพิ่มข้ึน อีกทั้งยังเป็นกำรส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้ำนอำชีพกำรทอผ้ำ เพื่อเป็นกำรสร้ำงรำยได้และอนุรักษ์ สืบสำน ภูมปิ ัญญำท้องถิ่นอย่ำงยง่ั ยนื และมีกำรตอ่ ยอดกำรพฒั นำกำรออกแบบโดยกำรใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ ประเภทโครงกำร เกษตร ➤ วิชำชพี พัฒนำครู ➤ ICT/วิชำกำร ➤ ศลิ ปวฒั นธรรม ดนตรี/กีฬำ สังคม/สิง่ แวดลอ้ ม อ่นื ๆ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื เปน็ กำรอนรุ ักษภ์ มู ปิ ัญญำทอ้ งถ่ินและสืบสำนวฒั นธรรมกำรทอผ้ำพืน้ เมือง 2. เพื่อให้ผเู้ รยี นเกิดทกั ษะควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ในกำรทอผำ้ สำมำรถนำไปใชใ้ นกำรประกอบอำชีพได้ 3. เพ่ือใหน้ ักเรียนมีสมำธิสง่ ผลตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นของนกั เรียนและของโรงเรยี นเพ่มิ ขนึ้ 4.เพ่ือเปน็ กำรฝึกสมำธิ ฝกึ กำรวำงแผน ซึง่ จะส่งเสริมใหเ้ ด็กนำไป ประยกุ ต์ใช้ในกำรเรียนรู้ในชั้นเรยี น กลมุ่ เป้ำหมำย นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษำปที ี่ 1-3และเยำวชนในชุมชนที่สนใจ รปู แบบกำรดำเนินโครงกำร นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี 1-3 และเยำวชนในชุมชนที่สนใจฝึกปฏิบัติกำรทอผ้ำในวิชำกำรงำน พื้นฐำนอำชีพ(เพิ่มเติม) โดยโรงเรียนมีหลักสูตรกำรทอผ้ำให้นักเรียนได้ศึกษำเรียนรู้ และเรียนรู้จำกวิทยำกร ซึ่งเป็นภูมิปัญญำท้องถ่ินของคณะกลุ่มทอผ้ำศูนย์วัฒนธรรมไทยสำยใยชุมชน กลุ่มทอผ้ำจกโหล่งล้ี เพื่อสร้ำง เยำวชนรุ่นใหม่ให้สืบสำนวัฒนธรรมกำรทอผ้ำแบบเดิมท่ีเป็นเอกลักษณ์และออกแบบลำยผ้ำท่ีพัฒนำข้ึนมำใหม่ ด้วยกำรนำเทคโนโลยีกำรออกแบบลำยผ้ำเข้ำมำช่วย เพื่อเป็นกำรฝึกสมำธิ และลดพฤติกรรมกำรใช้โทรศัพท์ ของนักเรียน (Health) มีกำรวำงแผนในกำรทำงำน ฝึกกำรออกแบบลำยผ้ำ (Head) ทำผลิตภัณฑ์ที่เป็น ท่ีต้องกำรของตลำดขึ้นมำ (Hand) พร้อมท้ังสร้ำงตลำดออนไลน์เพ่ือประชำสัมพันธ์และขำยผลิตภัณฑ์ ของนักเรียน เพื่อเป็นกำรสร้ำงรำยได้และอนุรักษ์ สืบสำน ภูมิปัญญำท้องถ่ิน และเยำวชนหวงแหนวัฒนธรรม ในชุมชน (Heart) ขัน้ ตอนกำรดำเนินโครงกำร 1. จัดซ้ือวสั ดุ อปุ กรณท์ ใ่ี ช้กำรทอผำ้ 2. จัดทำหลักสูตรกำรทอผ้ำ 3. เชิญวทิ ยำกรจำกชุมชนใหค้ วำมรู้ทัว่ ไปเก่ียวกบั กำรทอผ้ำ ประเภทของวัสดุ อปุ กรณท์ ใี่ ชก้ ำรทอ ผ้ำ วิธกี ำรใช้ ประโยชน์ของอุปกรณ์แต่ละชนิด วิธกี ำรคดั เลือกดำ้ ยหรือฝำ้ ย ใหเ้ หมำะสมกบั อปุ กรณ์ในกำรทอจำกวิทยำกรท้องถิน่ 4. ให้นกั เรียนกลุ่มเปำ้ หมำยฝกึ ปฏบิ ตั กิ ำรทอผำ้ - กำรออกแบบผลติ ภณั ฑโ์ ดยกำรใชล้ ำยพืน้ ฐำนในกำรทอผำ้ เพ่ือกำรพฒั นำฝีมือ

32 - กำรออกแบบลำยผ้ำโดยใชล้ ำยใหมท่ ี่คดิ ข้นึ มำเอง 5. นำเสนอชนิ้ งำนของนกั เรียนร่วมกบั ศูนยก์ ำรเรยี นรผู้ ้ำจกโหลง่ ลี้ 6. สรำ้ งตลำดออนไลน์เพื่อนำเสนอสินค้ำของนักเรยี น 7. กำรออกแบบบรรจุภัณฑเ์ พื่อกำรจำหนำ่ ยและผลติ สนิ ค้ำใหเ้ พยี งพอกับควำมต้องกำรของตลำด ระยะเวลำกำรดำเนนิ โครงกำร (Action Plan) ตลอดปีกำรศึกษำ งบประมำณโครงกำร 1. กำรจัดซื้อกี่ทอผำ้ โบรำณพรอ้ มอุปกรณ์ เช่น กระสวย หลอดดำ้ ย ฟันหวี(ฟมื ) ทอ่ ประกอบเก็บเขำฟันหวี จำนวน 5 หลงั 60,000 บำท 2. ค่ำตอบแทนแหลง่ เรียนรู้และวทิ ยำกร (นำงสุนยี ์ ทองสัมฤทธ์ิ) และค่ำอบรมนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 1-3 และครู จำนวน 50 คน 20,000 บำท 3. วสั ดุอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นกำรทอผำ้ เช่น ฝ้ำยยนื ฝ้ำยพงุ่ หลอดดำ้ ย เชือก ฝำ้ ยรอ้ ย ฝำ้ ยทอ กรรไกร ตระกล้ำ กระจก คำ่ จำ้ งเกบ็ ฟมื สยี ้อมธรรมชำติ กวงปนั่ ฝำ้ ย หกู ฮว้ นฝ้ำย 30,000 บำท รวม 110,000 บำท เมื่อไดผ้ ลิตภณั ฑ์ออกมำแล้วจะนำเอำผลติ ภณั ฑ์น้นั ๆออกขำยยงั สถำนทีต่ ่ำงๆ ดังน้ี 1. ขำยทสี่ หกรณร์ ้ำนค้ำโรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอทุ ิศ) 2. ฝำกขำยท่ีกลมุ่ ทอผ้ำจกโหล่งล้ี วัดพวงคำ ตำบลลี้ อำเภอลี้ จงั หวดั ลำพูน 3. จัดขำยในบธู แสดงผลงำนนักเรยี น 4. กำรขำยผำ่ น facebook ของโรงเรยี นบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ) ซึ่งผลติ ภณั ฑ์ทจ่ี ะจำหนำ่ ยมดี ังนี้ 1. กระเปำ๋ ใสเ่ งิน, ใส่บัตร ชิ้นละ 40 บำท 2. ผ้ำพันคอ ผนื ละ 150 บำท 3. ผำ้ ซิ่นตนี จก ผนื ละ 3,000 บำท 4. ผำ้ ซน่ิ ตีนป้ำน ผนื ละ 1,000 บำท 5. ถงุ ย่ำม ใบละ 250 บำท เมื่อจำหนำ่ ยผลติ ภัณฑ์ได้สำมำรถทจี่ ะมีเงนิ ทุนหมุนเวียนนำไปซื้อวัสดอุ ปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นกำรทอผำ้ เพม่ิ เตมิ ในปีต่อๆไป

33 กำรประเมนิ ผล (ใช้วิธใี ดประเมนิ ผล เชิงปรมิ ำณ เชงิ คุณภำพ) รูปแบบกำรวัดและประเมนิ ผล รูปแบบกำรวดั และประเมนิ ผล ➤ 1.ประเมินตนเองและเพื่อน ➤ 2.สงั เกตุพฤติกรรมกำรปฏิบัตงิ ำนรำยบคุ คล ➤ 3.สงั เกตุพฤติกรรมกำรปฏิบัติงำนกล่มุ ➤ 4.ประเมินผลงำน ➤ 5.ประเมนิ กระบวนกำรกลุม่ ➤ 6.ประเมินกระบวนกำรคิด 7.ประเมินกระบวนกำรกลมุ่ ➤ 8.ประเมนิ ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 9.กำรสอบวัดผล ผลทค่ี ำดว่ำจะได้รับ (เชิงปรมิ ำณ เชงิ คณุ ภำพ) 1. นกั เรยี นมสี มำธิในกำรทำงำน มีกำรวำงแผน ซ่ึงจะส่งผลใหน้ ักเรียนเกดิ กำรเรยี นรอู้ ย่ำงยัง่ ยืน 2. ผลสมั ฤทธิ์ของนักเรยี นและของโรงเรียนเพ่ิมขน้ึ 3. นักเรยี นมที ักษะด้ำนกำรอำชีพกำรทอผ้ำ สำมำรถเป็นแนวทำงกำรประกอบอำชีพได้ 4. นกั เรียนมีควำมตะหนัก เกิดควำมรักและหวงแหนและรว่ มอนรุ ักษ์สืบสำนภูมิปัญญำทอ้ งถน่ิ 5. เปน็ กำรสง่ เสรมิ ให้นักเรียนใช้เวลำว่ำงใหเ้ ป็นประโยชน์ ควำมเชอื่ มโยงกบั คณุ สมบัติพงึ ประสงค์ในศตวรรษที่ 21 3Rs 8Cs Read Writi Arithm Critic Creativ Collabor Cross Communi Compu Caree Compas ing ng etic al ity ation Cult cation ting r Self sion Think ural Learn ing Innova Teamwo Informatio ing tion rk n ➤ ➤➤ ➤ ➤ ➤ ➤➤ ➤ ➤➤ ผู้ดแู ลโครงกำร นำงสำวโสภี ศรีใจต๊ะ นำยวศิ ษิ ฐ์ สทิ ธิดง ผู้อำนวยกำรโรงเรียน นำยชนะชัย เหลืองอ่อน

34 บทที่ 4 ระเบียบและข้อบงั คบั สหกรณร์ ้ำนค้ำ ระเบียบ สหกรณร์ ้ำนค้ำโรงเรยี นบำ้ นปวงคำ(ประชำอุทิศ ) สถำนที่ต้ัง ข้อ 1. ช่ือกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียนบ้ำนปวงคำ(ประชำอุทิศ) ประเภท กิจกรรมสหกรณ์ร้ำนค้ำ สำนักงำน โรงเรียนบ้ำนบำ้ นปวงคำ(ประชำอทุ ศิ ) หมทู่ ี่ ๙ ตำบลล้ี อำเภอลี้ จงั หวัดลำพูน รหสั ไปรษณีย์ ๕๑๑๑๐ โทร ๐๕๓-๙๗๙๓๐๐ สังกดั สำนักงำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำ ลำพูน เขต ๒ วตั ถปุ ระสงค์ ข้อ 2. กจิ กรรมสหกรณร์ ้ำนค้ำมวี ัตถุประสงค์เพอื่ 1) ส่งเสรมิ ควำมรู้ ทักษะในกำรเรียนร้รู ะบบสหกรณโ์ ดยวธิ ีปฏบิ ตั จิ ริง 2) ส่งเสริมควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจ กำรปกครองตำมระบอบประชำธปิ ไตย โดยอำศัยวิธีกำร ของสหกรณ์ 3) ส่งเสริมฐำนะทำงเศรษฐกิจและสังคมของสมำชิก โดยวิธีร่วมกันดำเนินกิจกำเพื่อ ประโยชน์ ดังต่อไปน้ี ก.อำนวยควำมสะดวกให้แก่สมำชิก ข. ชว่ ยจำหนำ่ ยผลผลติ ของสมำชกิ ค.อบรมสมำชกิ ใหม้ ีควำมรดู้ ำ้ นสหกรณ์ จ.สง่ เสริมใหส้ มำชกิ ประหยัด 4) ร่วมมือกับกิจกรรมสหกรณ์ของสถำนศึกษำต่ำง ๆ และสถำบันที่เก่ียวกับกำรสหกรณ์ในอันท่ี จะเก้อื กูลชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกนั สมำชกิ ภำพ ข้อ 3. สมำชกิ สมำชกิ ของกิจกรรมสหกรณ์ในสถำนศึกษำ ได้แก่ ผู้ริเริ่มดำเนินกำรจัดกิจกรรมสหกรณ์ ผู้ที่สมคั ร และไดร้ ับเลอื กเข้ำเป็นสมำชิกตำมขอ้ บังคับ ข้อ 4. คณุ สมบตั ขิ องสมำชกิ ผู้สมคั รเขำ้ เป็นสมำชิกตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิดงั ตอ่ ไปนี้ 1) เปน็ ผู้เหน็ ชอบในวตั ถปุ ระสงคข์ องกิจกรรมสหกรณ์ 2) เป็นครู อำจำรย์ นกั เรยี น หรือเจำ้ หนำ้ ทอี่ ื่น ๆ ในสถำนศึกษำนัน้ ๆ 3) ไม่เป็นคนวกิ ลจรติ จิตฟั่นเฟอื น ไม่สมประกอบ 4) เปน็ ผูม้ ีควำมประพฤตไิ มเ่ สียหำย ข้อ 5. กำรรับสมำชิก ผู้สมัครเข้ำเป็นสมำชิก ต้องยื่นใบสมัครตำมแบบที่กำหนดไว้ ถึงคณะกรรมกำร ดำเนินกำร เม่ือคณะกรรมกำรดำเนินกำรพิจำรณำและสอบสวนแล้วเห็นว่ำมีคุณสมบัติถูกต้องตำมข้อบังคับ ก็ให้รับไวเ้ ป็นสมำชกิ แลว้ รำยงำนกำรรบั สมำชกิ ใหมใ่ ห้ท่ีประชุมใหญส่ ำมญั ทรำบ ในกำรประชมุ ครำวถดั ไป ข้อ 6. กำรได้สิทธิในฐำนะกำรเป็นสมำชิกและกำรปฏิบัติตำมข้อบังคับ เม่ือผู้เข้ำเป็นสมำชิกลงลำยมือ ในทะเบียนสมำชิก และชำระค่ำหุ้นเต็มค่ำ หรือในงวดแรกแล้วถือว่ำได้สิทธิ์ในฐำนะสมำชิก สมำชิกต้องปฏิบัติ ตำมข้อบงั คับ และระเบยี บของกจิ กรรมสหกรณ์โดยเคร่งครัด

35 ขอ้ 7. กำรขำดจำกสมำชกิ ภำพ สมำชิกยอ่ มขำดจำกสมำชกิ ภำพด้วยเหตดุ ังต่อไปนี้ 1) ตำย 2) ลำออก 3) ขำดคณุ สมบตั ิตำมขอ้ 4 4) ตอ้ งคำพิพำกษำให้ลม้ ละลำย 5) ถูกให้ออกจำกสมำชิกกจิ กรรมสหกรณ์ ข้อ 8. กำรลำออก สมำชิกที่ประสงค์จะลำออก ให้ยื่นหนังสือขอลำออกต่อคณะกรรมกำรดำเนินกำร เมอื่ ไดร้ ับอนญุ ำตแล้ว จึงพ้นสภำพกำรเปน็ สมำชิก ข้อ 9. กำรถูกให้ออก สมำชกิ อำจถกู ให้ออกเพรำะเหตใุ ดเหตุหน่ึงดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ไมช่ ำระคำ่ ห้นุ ภำยในเวลำทก่ี ำหนด 2) ต้องคำพพิ ำกษำถึงทสี่ ดุ ให้จำคุก เว้นแต่ควำมผิดอนั ไดก้ ระทำโดยประมำท หรือกระทำ ควำมผิดข้ันลหุโทษ 3) เจตนำฝำ่ ฝืนขอ้ บังคับ หรอื ระเบยี บกิจกรรมสหกรณ์ 4) กระทำใด ๆ อันเป็นเหตุให้เกิดควำมเสียหำย หรือขัดผลประโยชน์ของกิจกรรม สหกรณ์เมื่อคณะกรรมกำรดำเนินกำรพิจำรณำแล้วสั่งให้ออกโดยคะแนนเสียงสองในสำม ของท่ีประชุม กรรมกำรดำเนินกำร ข้อ 10. กำรจำหน่ำยช่ือออกจำกทะเบียนสมำชิก ในกรณีท่ีสมำชิกออกจำกกิจกรรมสหกรณ์ไม่ว่ำ เพรำะเหตุใด ๆ ให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรจัดให้จำหน่ำยชื่อออกจำกทะเบียนสมำชิก แล้วเสนอเรื่องสมำชิก ออกให้ที่ประชุมใหญ่ครำวถัดไปทรำบ โดยเฉพำะกำรใหอ้ อกตอ้ งช้ีแจงเหตผุ ลดว้ ย ข้อ 11. กำรชำระหนี้ของสมำชิกเม่ือถูกให้ออก สมำชิกท่ีถูกให้ออกไม่ว่ำกรณีใด ๆ ถ้ำมีหน้ีอยู่กับ กจิ กรรมสหกรณ์ ต้องชำระให้ครบถ้วนทันที และกจิ กรรมสหกรณม์ สี ิทธหิ กั เงนิ ซึ่งจะต้องจ่ำยให้แกส่ มำชิกผ้นู น้ั ทุนดำเนินกำร ขอ้ 12. ทุนดำเนินกำร กจิ กรรมสหกรณอ์ ำจหำทนุ ดำเนนิ กำรโดยวธิ ีตอ่ ไปนี้ 1) ออกหุ้น 2) รบั ฝำกเงินจำกสมำชิก 3) กยู้ ืมเงิน 4) สะสมเงินสำรองและทนุ อ่นื ๆ 5) รบั เงินอุดหนุนหรือทรัพยส์ ินอน่ื ใดที่มีผู้ยกให้โดยไมม่ ภี ำระผกู พัน ข้อ 13.กำรออกหุ้น กิจกรรมสหกรณอ์ ำจออกหนุ้ ให้แกส่ มำชกิ โดยจำกัดจำนวน มีมลู คำ่ หนุ้ ละ 10 บำท ข้อ 14. ข้อจำกัดกำรถือหุ้น สมำชิกคนหน่ึงจะต้องถือหุ้นอย่ำงน้อยไม่เกิน๒๐๐ หุ้น และจะขอเพ่ิมหุ้น ในเวลำใด ๆ ก็ได้โดยควำมเหน็ ชอบของคณะกรรมกำรดำเนินกำร ขอ้ 15. กำรชำระหนุ้ ใหก้ ระทำโดยวิธหี นง่ึ วิธีใดดังต่อไปนี้ 1) ชำระครำวเดียวครบมูลคำ่ ห้นุ ทุกหนุ้ ที่ถอื 2) ชำระเปน็ งวดรำยเดอื นใหค้ รบมูลคำ่ หุ้นท่ีถือไม่เกนิ สองงวด งวดแรกชำระในวันลงลำยมือชื่อ ในทะเบียน งวดทส่ี องชำระในหนง่ึ เดือนนับแต่วนั ทีช่ ำระงวดแรก 3) กิจกรรมของสหกรณ์จะออกใบหุ้นที่ชำระค่ำหุ้นครบมูลค่ำหุ้น แล้วมอบให้สมำชิกถือไว้เป็น หลักฐำน

36 ขอ้ 16. กำรโอนหุน้ 1) สมำชิกจะโอนหุ้นให้แกบ่ คุ คลอนื่ ไม่ได้ เว้นแตโ่ อนใหแ้ กส่ มำชกิ ในกจิ กรรมสหกรณ์เดยี วกัน 2) กำรโอนหุ้นจะตอ้ งทำเปน็ หนงั สือ และคณะกรรมกำรดำเนินกำรอนมุ ตั แิ ล้ว จงึ จะสมบูรณ์ 3) หุ้นท่จี ะโอนตอ้ งเป็นหุน้ ท่ีชำระค่ำหุ้นครบมูลค่ำหุ้นแลว้ ข้อ 17. กำรจ่ำยคืนค่ำหุ้น ในกรณีท่ีสมำชิกขำดจำกสมำชิกภำพตำม ข้อ 8 ให้กิจกรรมสหกรณ์ปฏิบัติ เกย่ี วกบั กำรจำ่ ยคำ่ หนุ้ คืนดังน้ี 1) กรณีสมำชิกตำย หรือตกเป็นผู้ไร้ควำมสำมำรถ หรือเสมือนไร้ควำมสำมำรถ หรือวิกลจริต ถ้ำทำยำทเป็นสมำชิกของกิจกรรมสหกรณ์อยู่แล้วจะรับโอนหุ้นก็ได้ ถ้ำทำยำทไม่ได้เป็นสมำชิกของกิจกรรม สหกรณ์นั้นมีสทิ ธิคืนหุ้นโดยให้กิจกรรมสหกรณซ์ อ้ื หุน้ ไวไ้ ด้ 2) กรณีสมำชิกลำออก ถ้ำสมำชิกไม่อำจโอนหุ้นของตนให้แก่สมำชิกอื่นได้ กิจกรรมสหกรณ์ รบั ซือ้ ไว้ได้ 3) ในกรณีที่สมำชิกถูกให้ออก เม่ือพ้นกำหนดระยะเวลำหน่ึงนับแต่วันถูกให้ออก สมำชิกนั้น ไม่สำมำรถจัดกำรโอนหุ้นให้แก่สมำชิกอ่ืนได้ กิจกรรมสหกรณ์จะเอำหุ้นนั้นออกขำยโดยเปิดเผยได้เงินเท่ำใด จะหกั ชำระหนี้ซง่ึ สมำชิกนัน้ มีอยู่ต่อกจิ กรรมสหกรณ์ ถำ้ ยงั มีเหลอื ให้คนื แกส่ มำชกิ นั้น 4) เมอ่ื มกี ำรจ่ำยคนื คำ่ ห้นุ สมำชิก ต้องเวนคืนใบหุน้ ใหแ้ ก่กจิ กรรมสหกรณ์ 5) กำรซ้อื สนิ ค้ำเป็นเงินเชอื่ ข้อ 18. วงเงนิ สินเชื่อ สมำชกิ กิจกรรมสหกรณ์อำจซ้อื สนิ ค้ำเปน็ เงนิ เชอื่ ได้ ภำยในวงเงิน ไมเ่ กนิ 30 เท่ำของทุนเรือนหุ้นในแตล่ ะเดือน กำรประชมุ ใหญ่ ขอ้ 19. กำรประชุมใหญ่สำมญั กำรประชุมใหญ่สำมัญครั้งแรก ให้คณะผู้ริเริ่มจัดตั้งกิจกรรมสหกรณ์นัดสมำชิกประชุมภำยใน 90 วัน นบั แตว่ ันท่สี ถำนศึกษำประกำศจัดตง้ั กิจกรรมสหกรณ์ เพอ่ื เลือกตง้ั คณะกรรมกำรดำเนนิ กำร กำรประชุมใหญ่สำมัญ ให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรนัดสมำชิกประชุมอย่ำงน้อยปีละครั้ง ภำยใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีปฏิทิน ข้อ 20. กำรประชุมใหญ่วิสำมัญ คณะกรรมกำรดำเนินกำรอำจนัดสมำชิกประชุมใหญ่วิสำมัญ เมื่อใดกไ็ ด้ เมือ่ มเี หตุอนั สมควร สมำชิกจำนวนไม่น้อยกว่ำหน่ึงในห้ำของจำนวนสมำชิกทั้งหมด หรือไม่น้อยกว่ำ 50 คน ทำ เ ป็ น ห นั ง สื อ ล ง ล ำ ย มื อ ข อใ ห้ ค ณ ะ กร ร ม ก ำ ร ด ำ เ นิ น ก ำ ร นั ด ป ร ะใ ห ญ่ วิ ส ำ มั ญ ก็ ไ ด้ เ ม่ื อ มี เ ห ตุ อั น ส ม ค ว ร ให้คณะกรรมกำรจดั ใหม้ กี ำรประชุมใหญ่วิสำมัญภำยใน 60 วนั นบั แตว่ ันรับหนังสอื ข้อ 21. กำรแจ้งกำหนดกำรประชุมใหญ่ คณะกรรมกำรดำเนินกำรจะต้องแจ้งวัน เวลำ สถำนที่ และเรอ่ื งท่จี ะประชุมใหบ้ รรดำสมำชิกทรำบล่วงหน้ำ ไม่น้อยกว่ำ 7 วัน ถ้ำเป็นกำรประชุมด่วนอำจแจ้งล่วงหน้ำ ได้ตำมสมควร ขอ้ 22. องค์ประชุมใหญ่ องค์ประชุมใหญ่ทั้งสำมัญ และวิสำมัญ ต้องมีสมำชิกมำประชุมไม่น้อยกว่ำก่ึง หนง่ึ ของจำนวนสมำชิกท้งั หมด หรือไมน่ อ้ ยกว่ำ คน 100 ข้อ 23. อำนำจหน้ำท่ีของท่ีประชุมใหญ่ ที่ประชุมใหญ่มีอำนำจหน้ำท่ีพิจำรณำวินิจฉัยปัญหำ ทกุ อยำ่ งทีเ่ กิดขน้ึ กบั กจิ กรรมสหกรณ์ ซงึ่ รวมทงั้ เร่ืองตอ่ ไปนี้ 1) รบั ทรำบเรือ่ งกำรรับสมำชิกเข้ำใหม่ และกำรออกของสมำชิก 2) รบั ทรำบเรอื่ งกำรเงนิ ของกจิ กรรมสหกรณ์

37 3) กำหนดวงเงินกูย้ มื ของกจิ กรรมสหกรณ์ 4) เลอื กตั้งคณะกรรมกำรดำเนนิ กำร 5) เลอื กตั้งผู้ตรวจสอบกิจกำร 6) พิจำรณำงบดุลและรำยงำนประจำปี แสดงผลกำรดำเนินงำนของคณะกรรมกำร ดำเนนิ งำน 7) พิจำรณำรับจดั สรรกำไรสทุ ธปิ ระจำปี 8) เรื่องอนื่ ๆ ซง่ึ คณะกรรมกำรดำเนินกำร หรอื สมำชกิ เป็นผู้เสนอ ข้อ 24. กำรเลือกตั้งคณะกรรมกำรดำเนินกำร ให้ท่ีประชุมใหญ่เลือกต้ังสมำชิกขึ้นเป็นคณะกรรมกำร ดำเนินกำรมีจำนวนไม่น้อยกว่ำ 9 คน และไม่เกิน 25 คน คณะกรรมกำรดำเนินกำรชุดแรก ให้ที่ประชุมใหญ่ สำมญั คร้งั แรก ตำมข้อ 22 (1) ดำเนนิ กำรเลือกตง้ั ให้คณะกรรมกำรที่ได้รับกำรเลือกตั้ง เลือกในระหว่ำงกันเอง ขึ้นเป็นประธำนหนึ่งคน รอง ประธำนหนึ่งคนหรือหลำยคน เลขำนุกำรหนึ่งคน เหรัญญิกหนึ่งคน นำยทะเบียน และผู้ช่วย นำยทะเบียน ตำแหน่งละหน่ึงคน นอกนัน้ เปน็ กรรมกำร คณะกรรมกำรดำเนินกำร ข้อ 25. กำหนดเวลำอยู่ในตำแหน่ง คณะกรรมกำรดำเนินกำรอยู่ในตำแหน่งได้มีกำหนดเวลำ 1 ปี เม่ือครบกำหนดแล้วยังไม่มีกำรเลือกต้ังคณะกรรมกำรชุดใหม่ ก็ให้ชุดเดิมอยู่ในตำแหน่งต่อไปจนกว่ำ จะมีกำรเลือกต้ังกรรมกำรชุดใหม่ กรรมกำรท่ีพ้นจำกตำแหน่งตำมวำระ อำจได้รับเลือกต้ังซ้ำอีกได้ แตท่ งั้ นจี้ ะตอ้ งไมเ่ กินสองปตี ิดต่อกนั ข้อ 26. กำรพ้นตำแหนง่ กรรมกำรดำเนนิ กำรต้องพ้นจำกตำแหนง่ เพรำะเหตุดังต่อไปนี้ 1) ออกตำมวำระ 2) เข้ำรับตำแหน่งหน้ำทอ่ี ่นื ในกิจกรรมสหกรณน์ ้ี เว้นแตต่ ำแหนง่ ผ้จู ัดกำร 3) ขำดจำกสมำชิกภำพ 4) ที่ประชุมใหญล่ งมติให้ถอดถอนออกจำกกำรเปน็ กรรมกำร ข้อ 27. ตำแหน่งที่ว่ำงก่อนถึงครำวออกตำมวำระ ถ้ำมีตำแหน่งว่ำงลงก่อนถึงครำวออกตำมวำระให้ คณะกรรมกำรดำเนินกำรที่มีตัวอยู่ประชุมดำเนินกำรไปจนกว่ำจะมีกำรประชุมใหญ่ แต่ถ้ำเวลำใดจำนวน กรรมกำรน้อยกว่ำที่จะเป็นองค์ประชุมได้ ให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรเรียกประชุมใหญ่วิสำมัญ เพื่อเลือกต้ัง กรรมกำรข้ึนแทนตำแหน่งที่ว่ำง กรรมกำรที่ได้รับเลือกแทนนี้อยู่ในตำแหน่งเพียงเท่ำเวลำท่ีผู้ท่ีตนแทนน้ันพึง จะอย่ไู ด้ ข้อ 28. กำรประชุมและองค์ประชุม ให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรประชุมกันเดือนละครั้งเป็นอย่ำงน้อย ในกำรประชุมคณะกรรมกำรดำเนินกำรต้องมีกรรมกำรมำประชุมไม่ น้อยกว่ำก่ึงหน่ึงของจำนวนกรรมกำร จงึ จะเปน็ องคป์ ระชมุ ข้อ 29. อำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรดำเนินกำร คณะกรรมกำรดำเนินกำรมีอำนำจหน้ำที่ ในกำรดำเนนิ กจิ กำรทัง้ ปวงของกจิ กรรมสหกรณ์ เพ่ือให้เกิดผลดีแก่กิจกรรมสหกรณ์และดำเนินกำรตำมระเบียบ ข้อบงั คับและมติของทป่ี ระชมุ ใหญ่รวมทั้งเร่อื งต่ำง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1) ดำเนนิ กำรในเร่อื งกำรรับสมำชกิ กำรชำระคำ่ ธรรมเนยี ม กำรให้สมำชกิ ออก 2) พิจำรณำใหส้ มำชกิ ถอื หุ้น กำรชำระคำ่ หุ้น กำรออกใบหุ้น กำรโอนหุ้น กำรจ่ำยคนื ค่ำห้นุ 3) ดำเนนิ กำรในเรื่องกำรกู้เงิน กำรรบั ฝำกเงินจำกสมำชกิ

38 4) ออกระเบียบต่ำง ๆ ของกิจกรรมสหกรณ์ โดยควำมเห็นชอบของหัวหน้ำสถำนศึกษำและให้ หัวหน้ำสถำนศกึ ษำเป็นผูร้ กั ษำกำรให้เป็นไปตำมระเบียบน้ัน ๆ 5) ควบคุมดูแลกำรจัดกำรทั่วไปใหเ้ ปน็ ไปตำมวัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรมสหกรณ์ 6) เสนองบดลุ และรำยงำนประจำปตี ่อทป่ี ระชุมใหญ่ 7) พจิ ำรณำจัดสรรกำไรสทุ ธปิ ระจำปี 8) ดำเนนิ กจิ กำรอนื่ ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตำมวัตถปุ ระสงค์และเกดิ ผลดีแก่กจิ กรรมสหกรณ์ ข้อ 30. ประธำนในที่ประชุม ในกำรประชุมใหญ่ หรือกำรประชุมคณะกรรมกำร ให้ประธำน คณะกรรมกำรดำเนินกำรเป็นประธำนในที่ประชุม ถ้ำประธำนไม่อยู่ให้รองประธำนทำหน้ำที่แทนประธำน ถำ้ ประธำนและรองประธำนไม่อย่หู รือไม่มี ให้ที่ประชุมเลือกกรรมกำรคนหนึ่งข้ึนเป็นประธำนในท่ีประชุมเฉพำะ กำรประชุมครำวนั้น ข้อ 31. กำรรำยงำนกำรประชุมในกำรประชุมใหญ่ หรือกำรประชุมคณะกรรมกำรดำเนินกำร ต้องจัด ให้มีกำรบันทึกกำรประชมุ ไว้ในสมุดบันทกึ กำรประชุม และรำยงำนให้หวั หนำ้ สถำนศึกษำทรำบทกุ คร้ัง ขอ้ 32. กำรออกเสียง สมำชิกหรือกรรมกำรออกเสียงในที่ประชุมได้คนละหน่ึงเสียง จะมอบให้ผู้อ่ืนมำ ประชมุ หรือออกเสียงแทนตนไมไ่ ด้ กรรมกำรทป่ี รึกษำ ข้อ 33. กรรมกำรท่ปี รกึ ษำ หัวหน้ำสถำนศึกษำอำจต้ังกรรมกำรที่ปรึกษำขนึ้ จำนวนหน่ึงตำมที่ เห็นสมควรก็ได้กรรมกำรทปี่ รึกษำต้องไม่เปน็ กรรมกำรดำเนนิ กำร เจ้ำหนำ้ ทห่ี รอื ผู้จัดกำรของกิจกรรมสหกรณ์ นน้ั ขอ้ 34. หนำ้ ที่ของกรรมกำรทป่ี รกึ ษำ กรรมกำรทีป่ รกึ ษำมีหนำ้ ท่ใี ห้คำปรึกษำและเสนอแนะต่อหัวหน้ำ สถำนศกึ ษำ และคณะกรรมกำรดำเนินกำร เพือ่ ให้กำรดำเนินกำรของกิจกรรมสหกรณ์เปน็ ไปด้วยควำมถูกต้อง เรยี บร้อย ตรงตำมวัตถุประสงค์ และเกิดผลดแี ก่กิจกรรมสหกรณ์ ผ้ตู รวจสอบกิจกรรมสหกรณ์ ขอ้ 35. ผูต้ รวจสอบกิจกรรมสหกรณ์ ท่ปี ระชุมใหญ่อำจเลือกจำกสมำชิก หรอื บุคคลภำยนอกท่ี เหมำะสมคนหนึ่งหรอื หลำยคน เปน็ ผูต้ รวจสอบกจิ กรรมสหกรณ์ประจำปี ผู้ตรวจสอบกิจกรรมสหกรณ์ อยู่ในตำแหน่งได้ 1 ปี เมอื่ ครบกำหนดแล้วยังไมม่ ีกำรเลอื กต้งั ผตู้ รวจสอบคนใหม่ ให้ผ้ตู รวจสอบคนเดมิ ปฏิบตั ิหนำ้ ท่ไี ปพลำง ผูต้ รวจสอบอำจได้รับเลือกต้งั อีกได้ ท่ีประชุมใหญ่ จะเลือกตัง้ กรรมกำรดำเนนิ กำร เจ้ำหน้ำที่ประจำในกิจกรรมสหกรณ์ เป็นผู้ ตรวจสอบกิจกรรมสหกรณไ์ ม่ได้ ข้อ 36. อำนำจหน้ำท่ีของผตู้ รวจสอบกจิ กรรมสหกรณ์ ผตู้ รวจสอบมีอำนำจหนำ้ ท่ตี รวจสอบกจิ กรรม ท้ังปวงของกจิ กรรมสหกรณ์ แล้วเสนอผลกำรตรวจสอบต่อท่ปี ระชมุ คณะกรรมกำรดำเนินกำร ในกำรประชุม ประจำเดือน แลว้ เสนอผลกำรตรวจสอบประจำปตี ่อทป่ี ระชมุ ใหญส่ ำมัญของกิจกรรมสหกรณ์

39 ผู้จดั กำร ข้อ 37. กำรแต่งตั้งผู้จัดกำร ให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรเป็นผู้แต่งต้ังผู้จัดกำร โดยกำรคัดเลือก จำกสมำชิกท่ีมีควำมรู้ ควำมสำมำรถ ควำมซ่ือสัตย์สุจริต ควำมเหมำะสมแก่หน้ำท่ี โดยควำมเห็นชอบ ของหัวหน้ำสถำนศกึ ษำ กำรแต่งตั้งผู้จัดกำรให้ทำหนังสือแต่งตั้งไว้เป็นหลักฐำน ให้ผู้น้ันรับทรำบและรับรอง ทจี่ ะปฏิบตั ิหนำ้ ทีใ่ หเ้ ป็นไปตำมขอ้ บังคบั ระเบยี บของกจิ กรรมสหกรณ์ และมติของคณะกรรมกำรดำเนนิ กำร ถ้ำมีเหตุอันพึงถอดถอนผู้จัดกำร ให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรเป็นผู้ส่ังถอดถอน โดยควำมเห็นชอบของหัวหนำ้ สถำนศึกษำ ข้อ 38. อำนำจหน้ำที่ของผู้จัดกำร ผู้จัดกำรมีอำนำจหน้ำที่และควำมรับผิดชอบในกำรจัดกำรท่ัวไป ในสว่ นท่เี ก่ยี วขอ้ งกับบรรดำกิจกรรมสหกรณ์ทง้ั ปวง และกำรบริหำรของกิจกรรมสหกรณ์ รวมท้ังในข้อต่อไปนี้ 1) กำหนดหนำ้ ทขี่ องเจำ้ หน้ำท่ีตำมควำมจำเปน็ ของกิจกรรม 2) ควบคุมเจ้ำหน้ำที่ทั้งหลำยของกิจกรรมสหกรณ์ จัดวำงระเบียบเก่ียวกับกำรปกครอง และกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำท่ี ตำมที่เห็นสมควร ท้ังนี้ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรดำเนินกำร และหัวหนำ้ สถำนศึกษำ 3) จดั กำรทว่ั ไปในส่วนทีเ่ ก่ยี วกบั กิจกรรมสหกรณ์นนั้ ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตำมวตั ถุประสงค์ 4) เป็นธุระกวดขันในเรื่องกำรออกใบรับ เรียกใบรับ หรือใบสำคัญ ตลอดจนเก็บรักษำ เอกสำร หลักฐำนต่ำง ๆ ของกิจกรรมสหกรณ์ใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ์ 5) รับผิดชอบในกำรจัดทำบัญชี และทะเบียนต่ำง ๆ ของกิจกรรมสหกรณ์ให้ถูกต้อง และเปน็ ปัจจุบนั อยู่เสมอ 6) รับผดิ ชอบและตรวจตรำ กำรรับจ่ำยเงินของกจิ กรรมสหกรณใ์ หเ้ ป็นไปโดยถกู ตอ้ ง 7) รักษำเงินสดภำยในจำนวนท่ีคณะกรรมกำรดำเนินกำรกำหนด เพ่ือสำรองไว้ใช้จ่ำย ในกิจกรรมสหกรณ์ และจดั กำรส่งเงนิ ส่วนทีเ่ กนิ จำนวนดงั กลำ่ วน้ันฝำกตำมท่ีคณะกรรมกำรดำเนนิ กำรกำหนด 8) ตรวจตรำดูแลสถำนท่ีสำนักงำน ทรัพย์สิน เคร่ืองใช้อุปกรณ์ต่ำง ๆ ตลอดจนสินค้ำ ใหอ้ ย่ใู นสภำพอนั ดี และปลอดภยั 9) จดั ทำรำยงำน กจิ กำร และกำรบริกำรประจำเดือน เสนอต่อคณะกรรมกำรดำเนินกำร 10)เข้ำร่วมประชุมใหญ่ และประชุมคณะกรรมกำรดำเนินกำรตำมท่ีคณะกรรมกำร ดำเนินกำรขอร้อง 11)ทำกำรอ่ืน ๆ ตำมท่ีได้รับมอบหมำยจำกคณะกรรมกำรดำเนินกำร เพ่ือให้กิจกรรม ในหน้ำที่ของตนลุลว่ งไปดว้ ยดี ข้อ 39. กำรเปลี่ยนตัวผู้จัดกำร ในกรณีที่มีกำรเปลี่ยนตัวผู้จัดกำร ให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรจัดให้มี กำรตรวจสอบหลักฐำนทำงบัญชีและกำรเงินพร้อมทั้งทรัพย์สินที่เหลือ และจัดทำงบดุล แสดงฐำนะอันแท้จริง ของกจิ กรรมสหกรณ์ แลว้ ให้ทำบนั ทกึ กำรสง่ มอบกันไว้เป็นหลกั ฐำน ข้อ 40. ผ้จู ดั กำรช่ัวครำว ถ้ำกิจกรรมสหกรณย์ ังไมไ่ ดแ้ ต่งตง้ั ผู้จัดกำร ให้ถือว่ำคณะกรรมกำรดำเนินกำร เป็นผู้จัดกำรในเวลำนั้น โดยคณะกรรมกำรมอบหมำยให้กรรมกำรคนใดคนหน่ึงทำหน้ำท่ีผู้จัดกำรช่ัวครำว แตต่ ้องอยใู่ นควำมรบั ผิดชอบของคณะกรรมกำรดำเนินกำร ข้อ 41. ผู้ปฏิบัติหน้ำท่ีแทนผู้จัดกำร ถ้ำผู้จัดกำรไม่อยู่ หรือไม่สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ได้ ให้ประธำน กรรมกำรดำเนนิ กำรตั้งเจ้ำหนำ้ ท่ีอื่นทเี่ ห็นสมควรเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิหน้ำทแี่ ทน กำรลงลำยมือชือ่ แทนกจิ กรรมสหกรณ์ ข้อ 42. กำรลงลำยมอื ชอื่ แทนกจิ กรรมสหกรณ์ ให้ประธำนกรรมกำรหรือรองประธำนกรรมกำรร่วมกับ เลขำนุกำร หรอื เหรญั ญกิ อย่ำงน้อย 2 คน มีอำนำจลงลำยมือช่ือแทนกจิ กรรมสหกรณ์ ในเอกสำรท้งั ปวงได้

40 กำรจัดสรรกำไรประจำปี ข้อ 43. กำรจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี เมื่อส้ินปีปฏิทิน ให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรจัดทำงบดุล โดยมีผู้ตรวจสอบบัญชีรับรอง เสนอตอ่ ทป่ี ระชมุ ใหญส่ ำมญั ภำยใน 30 วนั นับแตว่ ันสิ้นปปี ฏิทนิ ขอ้ 44. กำรจัดสรรกำไรสุทธขิ องกจิ กรรมสหกรณ์ ใหจ้ ดั สรรดังตอ่ ไปนี้ 1) เป็นเงนิ ทนุ สำรองไมน่ ้อยกว่ำ 10 % ของกำไรสุทธิ และ 2) เป็นคำ่ บำรงุ สถำนศกึ ษำ 5 % ของกำไรสทุ ธิ แต่ไม่เกนิ 1,000 บำท ข้อ 45. กำรจดั สรรกำไรสุทธิสว่ นที่เหลือตำมข้อ 47 ที่ประชมุ ใหญ่อำจจดั สรรได้ดงั ต่อไปนี้ 1) จ่ำยเปน็ เงนิ ปนั ผลแก่สมำชกิ ไมต่ ำ่ กวำ่ 10 % ตอ่ ปี และไมเ่ กิน 20 % ตอ่ ปี 2) จ่ำยเป็นเงินเฉลี่ยคืนแก่สมำชิก ตำมส่วนธุรกิจท่ีสมำชิกได้กระทำกับกิจกรรม สหกรณใ์ นระหว่ำงปี 3) จ่ำยเป็นโบนัสกรรมกำรและเจำ้ หนำ้ ที่ไมเ่ กนิ 10 % ของกำไรสุทธิ 4) จ่ำยเปน็ ทุนสำธำรณะประโยชน์ไมเ่ กิน 10 % ของกำไรสทุ ธิ 5) จ่ำยเป็นทนุ โอนหนุ้ ไม่เกนิ 5 % ของกำไรสทุ ธิ 6) จ่ำยเปน็ ทนุ กำรศึกษำแกส่ มำชกิ ไมเ่ กิน 10 % ของกำไรสุทธิ 7) จำ่ ยเป็นเงินสวัสดกิ ำรในสถำนศกึ ษำไม่เกิน 10 % ของกำไรสุทธิ 8) จ่ำยเปน็ ทนุ เพ่ือขยำยกจิ กำรของกิจกรรมสหกรณ์ไม่เกนิ 10 % ของกำไรสทุ ธิ 9) เงนิ ท่เี หลอื ใหส้ มทบเป็นทนุ สำรอง กำรตรวจสอบกิจกำร ขอ้ 46. กำรสำรวจตรวจตรำควบคุม หรอื หัวหน้ำสถำนศกึ ษำนัน้ ๆ มอี ำนำจเขำ้ ไปตรวจสอบกิจกำร ข้อ 47. กำรตรวจสอบบัญชี ให้หัวหน้ำสถำนศกึ ษำแต่งต้ังเจ้ำหน้ำท่ีทำกำรตรวจสอบบัญชีของกิจกรรม สหกรณ์อยำ่ งนอ้ ยปีละคร้ัง เอกสำรตำ่ ง ๆ ข้อ 48. เอกสำรต่ำง ๆ ทะเบียน สมุดบัญชี และเอกสำรอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องกับกำรดำเนินงำน ของกิจกรรมสหกรณ์ จะต้องจัดทำและเกบ็ รกั ษำไวเ้ พอื่ พรอ้ มทจ่ี ะให้ผู้มีอำนำจในกำรตรวจสอบทำกำรตรวจสอบ ได้ทันที กำรจำหน่ำยทรัพยส์ นิ เม่ือยุบเลกิ ข้อ 49. กำรจำหน่ำยทรัพย์สินของกิจกรรมสหกรณ์เม่ือต้องยุบเลิก เม่ือกิจกรรมสหกรณ์ต้องยุบเลิก ไปไมว่ ำ่ กรณีใด ๆ เงินและทรัพย์สนิ ของกจิ กรรมสหกรณ์ที่มีอยู่ในวันชำระบัญชี ถ้ำยังมีเงินและทรัพย์สินที่ปลอด จำกภำระติดพนั เหลอื อยูเ่ ท่ำใด ใหจ้ ดั เปน็ ทรพั ยส์ ินและเงินบำรงุ กำรศึกษำของสถำนศกึ ษำนน้ั ๆ เบ็ดเตลด็ ขอ้ 50. ในกรณีที่ข้อบังคบั น้ีมไิ ด้กำหนดข้อควำมเร่ืองใดไว้ ใหถ้ อื ว่ำกิจกรรมสหกรณ์ต้องถือปฏิบัติ ตำมคำสั่ง และระเบียบของทำงรำชกำร และสถำนศึกษำนั้น ๆ ให้ ผู้ชว่ ยผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนฝำ่ ยบรหิ ำรทั่วไป รักษำกำรตำมระเบียบน้ี

41 บทที่ 5 โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรงำน สหกรณโ์ รงเรยี นบำ้ นปวงคำ(ประชำอทุ ศิ ) กำรบญั ชีสหกรณน์ กั เรียน กำรบัญชีสหกรณ์นักเรียน คือ กำรจดบันทึกรำยกำรทำงกำรเงินจำกเอกสำรหลักฐำนต่ำงๆ ที่สหกรณ์ นักเรียนได้ดำเนินกำร โดยจัดหมวดหมู่ แยกประเภทรำยกำรและสรุปผลออกมำในรูปรำยงำนทำงกำรเงิน เพ่ือ ประโยชน์ในกำรควบคมุ กำรดำเนินงำนของสหกรณน์ ักเรยี น วตั ถุประสงคข์ องกำรจัดทำบญั ชี - เพอื่ จดบนั ทึกรำยกำรคำ้ ต่ำงๆ ตำมลำดับกำรเกดิ ของรำยกำรอย่ำงเปน็ ระเบียบ - เพื่อให้ทรำบผลกำรดำเนนิ งำนว่ำกำไร หรอื ขำดทุนในรอบระยะเวลำท่ีกำหนด - เพื่อใหเ้ ห็นถึงฐำนะทำงกำรเงิน ณ วนั ใดวันหนงึ่ วำ่ มี สนิ ทรพั ย์ หนสี้ นิ - เพ่ือเปน็ กำรปอ้ งกนั กำรทจุ รติ และกันกำรสญู หำยของสนิ ทรพั ย์ - เพอ่ื ใช้เปน็ แหล่งขอ้ มูลทำงกำรเงินในกำรตัดสินใจดำ้ นต่ำงๆ - ผบู้ รหิ ำร : วำงแผน ควบคุม วดั ผลดำเนินงำน และตัดสนิ ใจด้ำนตำ่ งๆ - บคุ คลภำยนอก : ตดั สนิ ใจในกำรลงทนุ กำรพิจำรณำกำรให้สนิ เช่ือ ควำมสำคญั ของกำรบญั ชี สำมำรถสรปุ ได้ดงั น้ี - กำรวำงแผนและกำรตดั สนิ ใจเชงิ เศรษฐกิจสำหรบั ผูใ้ ช้ท้งั ภำยในและภำยนอกกจิ กำร - บทบำทในกำรบรหิ ำรจัดกำร เพื่อควำมได้เปรียบในกำรแขง่ ขนั

42 - ข้อมูลที่ดีต้อง ถูกต้อง เช่ือถือได้และทันเวลำ ซึ่งสะท้อนให้เห็นควำมโปร่งใสของกำรดำเนิน ธุรกิจ เอกสำรประกอบกำรลงบัญชี หมำยถึง เอกสำรท่ีใช้เป็นหลักฐำนบันทึกข้อเท็จจริงตำมลักษณะ ของรำยกำรรับเงินหรือจ่ำยเงินท่ีเกิดขึ้น เพื่อแสดงว่ำได้เกิดรำยกำรรับเงินหรือจ่ำยเงินขึ้นจริงตำมที่ปรำกฏใน เอกสำรนั้น เอกสำรประกอบกำรลงบญั ชีของสหกรณ์นักเรยี นมีดงั นี้ 1.ใบเสรจ็ รบั เงินจำกบรษิ ทั หำ้ งรำ้ นที่สหกรณ์ไปซ้อื สนิ คำ้ 2.ใบเสร็จรับเงินของสหกรณ์ ใช้บันทึกรำยกำรรับเงินของสหกรณ์ ทั้งจำกสมำชิกและ ไม่ใชส่ มำชิก 3.ใบเบิกเงิน ใช้บันทึกรำยกำรจ่ำยเงินของสหกรณ์ในกรณีที่สหกรณ์ไม่สำ มำรถ เรียกใบเสรจ็ รับเงินจำกผรู้ ับเงนิ ได้ 4.ใบนำสง่ ฝำกออมทรัพยใ์ ชบ้ ันทึกเป็นหลกั ฐำนกำรนำส่งเงนิ ฝำกออมทรพั ย์ของนักเรียน 5.ใบถอนเงินฝำกออมทรัพย์ ใช้บันทึกเป็นหลักฐำนเมื่อสมำชิกถอนเงินฝำกออมทรัพย์ จำกสหกรณ์ 6.ใช้ขำยสินค้ำประจำวัน ใช้บันทึกรำยกำรขำยสินค้ำ จำนวนสินค้ำ จำนวนเงิน และหมำยเลข สมำชิกผู้ซือ้ สนิ ค้ำในแต่ละวนั และสรปุ ยอดขำยในแต่ละวัน กำรลงบัญชีในสมุดบัญชี เป็นกำรนำเอำหลักฐำนจำกเอกสำรประกอบกำรลงบัญชีมำบันทึกลงใน สมุดบัญชเี ปน็ ประจำวันท่ีมรี ำยกำรเกิดขึน้ ได้แก่ 1. กำรลงบัญชีในสมุดเงินสดประจำวัน เป็นหน้ำที่ของกรรมกำร ในกำรบันทึกรำยกำรรับเงิน ทุกรำยกำรของแตล่ ะวนั ลงในดำ้ นรำยกำรรับโดยใช้ ใบเสร็จรับเงิน ใบขำยสินค้ำประจำวัน ใบนำส่งเงินฝำกออม ทรัพย์เป็นหลักฐำนกำรลงบัญชีและบันทึกรำยกำรจ่ำยเงินทุกรำยกำรของแต่ละวันลงใน ด้ำนรำยกำรจ่ำยเงิน โดยใบเบิกเงินในถอนเงินฝำกออมทรัพย์ และใบเสร็จรับเงินของร้ำนค้ำ (กรณีซื้อสินค้ำและร้ำนค้ำมีใบเสร็จให้) เปน็ หลักฐำนกำรลงบัญชตี ลอดจนสรปุ เงนิ สดคงเหลอื ประจำวัน 2. กำรลงบญั ชใี นสมุดซ้ือสินคำ้ เป็นหน้ำท่ีของกรรมกำรในกำรบันทึกรำยกำรซื้อสินค้ำเป็นเงิน สด โดยใชใ้ บเสรจ็ รบั เงนิ ของร้ำนค้ำเปน็ หลกั ฐำนกำรลงบัญชี ในกรณีซ้อื สนิ ค้ำเป็นเงินเช่ือใช้ใบส่งของของร้ำนค้ำ เป็นหลกั ฐำนในกำรลงบัญชี ทัง้ นใ้ี ห้ผู้จดั กำรเป็นผ้กู ำหนดรำคำขำยสินคำ้ แต่ละรำยกำร ทะเบียนต่ำงๆ ของสหกรณ์นักเรียน ใช้สำหรับบันทึกรำยละเอียดของแต่ละรำยกำรที่เกิดขึ้น โดยใช้เอกสำรประกอบกำรลงบัญชีเป็นหลกั ฐำนในกำรบันทึก ดังนี้ 1. ทะเบียนสมำชิกและกำรถือหุ้น จัดทำข้ึนเพ่ือบันทึกจำนวนสมำชิกท้ังหมดของสหกรณ์ จำนวนห้นุ ทชี่ ำระท้ังหมด บันทึกรำยกำรเพมิ่ หุ้น ถอนหุน้ หรือ โอนหนุ้ ของสมำชิกแตล่ ะรำย 2. ทะเบียนคุมสินค้ำ ใช้บันทึกรำยกำรเกี่ยวกับสินค้ำท่ีซื้อมำจำหน่ำยแต่ละอย่ำง ท้ังน้ี เพ่ือควบคุมรำยกำรรับสินค้ำเข้ำร้ำน กำรตัดจ่ำยสินค้ำเมื่อขำย และคุมยอดคงเหลือของสินค้ำให้ถูกต้อง เป็นกำรปอ้ งกันกำรขำดหำยของสนิ คำ้ แตล่ ะรำยกำร 3. ทะเบียนบันทึกยอดซื้อของสมำชิก ใช้บันทึกยอดซ้ือสินค้ำของสมำชิกสหกรณ์นักเรียน เป็นรำยวนั ของแตล่ ะบุคคล ทง้ั นเ้ี พือ่ ควำมสะดวกในกำรรวมยอดซอ้ื สินค้ำของสมำชิกตอนส้นิ ปี 4. ทะเบียนเจ้ำหนี้เงินฝำกออมทรัพย์ ใช้บันทึกรำยกำรเงินฝำก ถอนเงินและยอดคงเหลือ เงินฝำก

43 5. ทะเบียนคุมรำยรับรำยจ่ำยของฝ่ำยส่งเสริมกำรเกษตรหรือฝ่ำยกำรศึกษำและสวัสดิกำร ใชบ้ นั ทกึ บันทึกรำยกำรในทะเบียนต่ำงๆ เป็นกำรบันทึกรำยละเอียดของแต่ละรำยกำรท่ีเกิดขึ้นโดยใช้เอกสำร ประกอบกำรลงบญั ชเี ปน็ หลกั ฐำนกำรบันทึก สรุปไดด้ งั นี้ หลกั ฐำนประกอบกำรบันทึกทะเบียน ทะเบียน ผู้บนั ทกึ หลกั ฐำนประกอบกำรบนั ทึก ใบเสร็จรับเงินคำ่ หุ้น 1. ทะเบยี นสมำชิกและกำรถือหนุ้ ผู้จดั กำรหรอื ผูท้ ไ่ี ด้รับมอบหมำย หรอื ใบถอนเงนิ ค่ำหุ้น ทะเบียนคุมสินค้ำ 2. ทะเบียนคุมสินค้ำ กรรมกำรสหกรณ์ ใบขำยสินค้ำประจำวนั 3. ทะเบียนบันทกึ ยอดซ้ือของ กรรมกำรสหกรณ์ ใบนำส่งเงินฝำกออมทรัพย์ หรือใบ ถอนเงนิ ออมทรัพย์ สมำชิก ใบเสร็จรับเงิน 4. ทะเบียนเจ้ำหน้ีเงินฝำกออม กรรมกำรสหกรณ์ ทรพั ย์ 5. ทะเบียนคุมรำยรบั รำยจ่ำย กรรมกำรสหกรณ์ นอกจำกกำรลงบญั ชี และกำรบันทึกเอกสำรทำงกำรเงินเป็นประจำทุกวันแล้ว ต้องมีกำรสรุปกำรบัญชี เป็นประจำทุกเดือนเรียกว่ำ งบเดือน เช่น งบรำยวัน รำยจ่ำยประจำเดือนและงบทดลองประจำเดือน เป็นต้น และกำรส้ินสุดของกำรจัดทำบัญชีน้ัน โดยทั่วไปกำหนดรอบบัญชีไว้ 1 ปี ดังนั้น กำรบัญชีสหกรณ์ นักเรยี นจงึ กำหนดรอบปีบญั ชีไว้ 1 ปี โดยเริ่มต้งั แต่วนั เปดิ เรียนภำคตน้ และไปปิดบญั ชใี นวนั ปดิ ภำคเรยี นสุดทำ้ ย

44 รำยกำรรับเงนิ และรำยกำรจำ่ ยเงนิ ของสหกรณ์นักเรยี น 1. กำรรบั สมำชกิ และกำรดำเนินงำนทัว่ ไปของสหกรณ์ รำยกำรรับเงนิ - รับเงินค่ำหุน้ - รบั เงนิ บรจิ ำค รำยกำรจ่ำยเงิน - จำ่ ยคนื ค่ำหุ้น - จ่ำยคำ่ เครื่องเขียน - จำ่ ยค่ำวัสดุ ตัวอย่ำงกำรบนั ทกึ บัญชรี ำยรบั - รำยจ่ำย วนั -เดอื น- รำยกำร รำยรบั รำยจำ่ ย หมำยเหตุ ปี ทนุ 2,000 รำยได้ 5 มค. ๖๑ รับเงินคำ่ หุ้นจำก ด.ช. แก้ว บุญมำ หนุ้ ละ 10 200 100 ทุน บำท จำนวน 20 หุ้น 5,000 ค่ำใชจ้ ำ่ ย 7 มค. ๖๑ สหกรณไ์ ดร้ บั เงนิ บริจำคจำกบริษัทแห่งหน่งึ เปน็ เงนิ 5,000 บำท ๑ ก.พ.๖๑ จ่ำยคืนเงินค่ำหุ้นให้กับ ด.ญ.ปลำ นวลใจ เป็นเงนิ 2,000 บำท 2 ก.พ.๖๑ จ่ำยเงินคำ่ สมุดและปำกกำเป็นเงิน 100 บำท ลำดบั ท่ี ช่ือ-สกลุ ตัวอยำ่ งทะเบยี นสมำชกิ วนั ทเ่ี ขำ้ วันทอ่ี อก เลขที่ ช้นั เรยี น 1 เด็กหญงิ แก้ว ใจใส่ สมำชกิ ๑๖ พ.ค.๖๒ 2 เด็กชำยหน่อ แก้วใจ 0001 ป.๓ ๑๖ พ.ค.๖๒ 0002 ป.๖ ๑๖ พ.ค.๖๒ 3 เด็กชำยอ้ำย คำนำ 0003 ป.๔ คำอธิบำย บนั ทึกรำยชอ่ื สมำชกิ เรยี งตำมลำดบั ทีส่ มัครโดยกำหนดเลขท่ีสมำชิกเรียงกัน เมื่อมีสมำชิกออกให้บันทึก เลขที่สมำชกิ ต่อไปโดยไม่ต้องนำเลขท่ีของสมำชกิ ทล่ี ำออกมำใช้

ตัวอย่ำงบัตรสมำชิก 45 ชอ่ื ................................................................. วนั ท่เี ปน็ สมำชกิ ........................................ (รปู ) เลขทะเบยี นสมำชิก.................................. ……………………ผู้ออกบตั ร ตวั อย่ำงทะเบียนทุนเรือนหุน้ (รวม) ท่ี เลขท่ี วนั -เดือน-ปี ชอ่ื -สกลุ จำนวนหนุ้ หมำยเหตุ สมำชิก เพิ่ม ถอน คงเหลือ 1 0001 ๑๖ พ.ค.๖๑ เดก็ หญิงแก้ว ใจใส่ 2,000 2,000 2 0002 ๑๗ พ.ค.๖๑ เด็กชำยหนอ่ แกว้ ใจ 100 2,100 3 0003 ๑๘ พ.ค.๖๑ เดก็ ชำยอำ้ ย คำนำ 200 2,300 คำอธิบำย บนั ทกึ เรยี งตำมลำดับวันที่ ตวั อยำ่ งทะเบยี นห้นุ รำยคน ชื่อ ………………………………………. เลขทสี่ มำชิก ............................... วนั -เดือน-ปี เพ่มิ จำนวน คงเหลือ หมำยเหตุ ถอน ๑๖ พ.ค.๖๒ 200 - 200 คำอธิบำย สมำชิกจะถอนห้นุ คนื ได้ต่อเมื่อออกจำกสหกรณ์ 2. กจิ กรรมร้ำนค้ำ รำยกำรรบั เงนิ - รับเงินขำยสนิ ค้ำ - รับเงินขำยวสั ดเุ หลอื ใช้ รำยกำรจ่ำยเงิน - ซื้อสินคำ้ มำจำหน่ำย - คำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรซอื้

ตวั อยำ่ งทะเบยี นคมุ สินคำ้ 46 ชนดิ สินคำ้ ........................................ คงเหลอื จำนวน หนว่ ย ลำดบั ท่ี วันเดอื นปี รบั จำ่ ย จำนวน หน่วย จำนวน หน่วย 50 เล่ม 43 เลม่ 1 1 0 ม ค . 50 เลม่ 38 เลม่ 58 เล่ม 2 ๖๒ 7 เลม่ 48 เล่ม 3 11 มค. 5 เลม่ 4 ๖๒ 20 เลม่ 5 13 มค. 10 เลม่ ๖๒ 15 มค. ๖๒ 15 มค. ๖๒ 3. กจิ กรรมออมทรัพย์ รำยกำรรบั เงนิ - รับเงินฝำกออมทรัพย์ รำยกำรจำ่ ยเงนิ - ถอนเงินฝำก ตัวอยำ่ งกำรบันทกึ บัญชรี ำยรบั – รำยจำ่ ยเงินออม วนั -เดือน-ปี รำยกำร รำยรบั รำยจ่ำย หมำยเหตุ (เดบติ ) (เครดติ ) 1๐ ม.ค. ๖๒ รับฝำกเงินจำกสมำชิก เปน็ เงิน 1,000 บำท 1,000 ทุน 1๓ ม.ค. ๖๒ สมำชกิ ถอนเงนิ ฝำก เป็นเงิน 100 บำท 100 ทุน ๑๘ ม.ค. ๖๒ 500 ทุน รับเงินฝำกจำกสมำชิกเพ่ิม เป็นเงิน 500 ๒๐ ม.ค. ๖๒ บำท 270 รำยได้ ได้รับดอกเบ้ียเงินฝำกจำกธนำคำร เป็นเงิน 270 บำท ตัวอยำ่ งทะเบยี นคมุ เงนิ ออมทรัพย์รำยคน ชอ่ื ผูฝ้ ำกเงนิ ออมทรัพย์ ............................................................... วัน-เดอื น-ปี ฝำก ถอน คงเหลือ (บำท) (บำท) (บำท) 1๐ พ.ค. ๖๒ 1๗ พ.ค. ๖๒ 20 10 20 ๒5 พ.ค. ๖๒ 50 70 60

47 4. กิจกรรมส่งเสรมิ กำรเกษตร รับเงินขำยผลผลติ กำรเกษตร รำยกำรรับเงิน - ค่ำใช้จำ่ ยในกำรผลิต รำยกำรจ่ำยเงนิ - ตำรำงท่ี 18 ตัวอย่ำงกำรบันทกึ บัญชีรำยรบั - รำยจ่ำย วนั -เดือน-ปี รำยกำร รำยรับ รำยจ่ำย หมำยเหตุ 1๐ ม.ค. ๖๒ รับเงินค่ำขำยถัวงอก 10 กิโลกรัมๆละ ๑๕ ๑๕๐ 20 รำยได้ บำท เปน็ เงิน ๑๕๐ บำท 20 1๓ ม.ค. ๖๒ จ่ำยค่ำแรงงำนคน เป็นเงนิ 20 บำท 10 คำ่ ใชจ้ ำ่ ย ๑๘ ม.ค. ๖๒ 21 ลูกหน้ี ๒๐ ม.ค. ๖๒ จ่ำยเงนิ กู้ใหก้ บั สมำชิก เป็นเงิน 20 บำท รำยได้ 26 มค. ๖๒ รบั ดอกเบ้ียเงินกจู้ ำกสมำชกิ เปน็ เงนิ 10 บำท ลกู หน้ี รับชำระหนี้เงินกู้จำกสมำชิก 20 บำท พร้อม ดอกเบยี้ 10 บำท ตวั อยำ่ งทะเบยี นคมุ เจำ้ หนร้ี ำยคน ช่ือเจำ้ หน้ี ................................................................................... วนั -เดอื น-ปี จำนวนเงินกู้ วันครอบ จำนวนเงินชำระ จำนวนเงนิ (บำท) กำหนดชำระ (บำท) คงเหลือ 1 มี.ค. ๖๒ 2,000.- 1 มคี . ๖๓ 2,000.- 12 ม.ี ค. ๖๒ 1,500.- 7 ม.ี ค. ๖๒ 500 1,000.- 500 ตวั อยำ่ งทะเบียนคมุ ผลผลิต วนั -เดอื น-ปี รำยกำร จำนวนทร่ี ับ จำนวนทีข่ ำย จำนวนเงนิ จำนวน ผลผลติ คงเหลอื 11 มี.ค. ๖๒ (หน่วย) (หนว่ ย) รำคำ เปน็ เงนิ 12 มี.ค. ๖๒ ถว่ั งอก 20 12 มี.ค. ๖๒ ยอดตะวัน 50 30 8 240 - 12 มี.ค. ๖๒ มนั มว่ ง - - 20 9 180 - ผักบงุ้ 6,000 6,000 1 6,000 70 70 7 490 5. กิจกรรมกำรศึกษำและสวสั ดิกำร รำยกำรรับเงิน - รบั เงนิ บรจิ ำคที่ระบุเฉพำะกิจกรรมน้ี - รบั เงนิ อดุ หนุนจำกสหกรณ์ รำยกำรจำ่ ยเงนิ - คำ่ ใช้จ่ำยในกำรจัดมุมสหกรณ์ - ค่ำใชจ้ ำ่ ยในกำรจัดนทิ รรศกำรสหกรณ์ - ค่ำใชจ้ ำ่ ยในกำรจดั สวสั ดิกำร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook