Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเชิดชูเกียรติ

หนังสือเชิดชูเกียรติ

Published by คณะเกษตร, 2022-08-02 02:28:47

Description: รางวัลเชิดชูเชิดเกียรติ
บุคคลและผลงานที่สร้างคุณูปการ
ให้กับกิจการด้านด้านข้าวโพด
และข้าวฟ่างของประเทศไทย

Keywords: หนังสือเชิดชูเกียรติ

Search

Read the Text Version

รางวลั เชดิ ชูเกยี รติ ผู้ส่งเสรมิ เชงิ นโยบายและวิชาการ ดา้ นข้าวโพดและข้าวฟ่าง 96

ดร.เกรยี งศกั ด์ิ สุวรรณธราดล นกั วชิ าการอสิ ระ และผทู้ รงคณุ วฒุ ิสานักงานพฒั นาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ประวตั ิการศึกษา สถาบนั การศกึ ษา ประเทศ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย ปี พ.ศ. วุฒกิ ารศึกษา Iowa State University 2511 กส.บ. (เกียรตินยิ ม) สาขาพชื ไร่นา Iowa State University สหรัฐอเมริกา 2515 MS. (Plant Breeding and Cytogenetics) สหรฐั อเมริกา 2517 Ph.D. (Plant Breeding) 97

เชิดชเู กียรติคณุ ูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง ดร.เกรียงศักดิ์ สุวรรณธราดล เร่ิมแรกบรรจุเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ สังกัดภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2511-2513 และในปี พ.ศ. 2517-1524 เป็นนักปรับปรุงพันธุ์ขา้ ว กรมวิชาการ เกษตร จากน้ัน ในปี พ.ศ. 2524-2538 ทางานในตาแหน่งผู้อานวยการฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ซีบา-ไกกี้ จากัด ต่อมาได้เปล่ียนชื่อเป็น บริษัท โนวาร์ตีส (เอ็มพีแอล) จากัด ในปี พ.ศ. 2540 และบริษัท ซินเจนทา จากัด ในปี พ.ศ. 2544 ได้เล่ือนตาแหน่งเป็นผู้อานวยการบริหารธุรกิจเมล็ดพันธุ์ รับผิดชอบในการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ การผลิต และ การตลาดเมล็ดพันธ์ุพืชทุกชนิดในประเทศไทย และรับผิดชอบการพัฒนาธุรกิจเมล็ดพันธ์ุข้าวโพดไร่และพืชน้ามันใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค จนกระท่ังเกษียณอายใุ นปี พ.ศ. 2544 จากการทางานด้านการปรับปรุงพันธุ์และมีผลงานโดดเดน่ ทาให้ ดร.เกรียงศักดิ์ สุวรรณธราดล ได้รับโล่เกียรติยศนักปรับปรุงพันธุ์พืชดีเด่น จากสมาคมปรับปรุงพนั ธุ์และขยายพนั ธุ์ พืชแห่งประเทศไทย ณ วันท่ี 15 ธันวาคม 2547 และโล่เกียรติคุณผู้ทาคุณประโยชน์ให้แก่สมาคมปรับปรุงพันธุ์และ ขยายพนั ธุ์พืชแห่งประเทศไทย ณ วนั ที่ 14 ธันวาคม 2549 ดร.เกรียงศักด์ิ สุวรรณธราดล เป็นบุคคลหนึ่งที่อยู่ในวงการธรุ กิจเมล็ดพันธ์ุของภาคเอกชนมากวา่ 20 ปี เม่ือ คร้ังทางานบริษัท มีผลงานด้านการปรับปรุงพันธุ์ที่มีส่วนร่วมในการวิจัยและพัฒนาพันธ์ุพืชลูกผสม และการพัฒนาธุรกจิ เมล็ดพันธ์ใุ นรปู แบบอุตสาหกรรมของขา้ วโพดไร่ ข้าวโพดฝักออ่ น และขา้ วโพดหวาน เปน็ ผู้พัฒนาพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมพนั ธุ์ อศั วนิ ต๊กุ ตาทอง เฮอร์ควิ ลีส 31 เฮอร์ควิ ลสี 35 และเฮอร์ควิ ลสี 40 ซึ่งเป็นพันธ์ุขา้ วโพดไร่ลกู ผสมสามทางกลุ่มแรกของ บริษัทเอกชนที่ให้ผลผลิตสูง คุณภาพเมล็ดดี และทนแล้ง เป็นที่ยอมรับของเกษตรกร และพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดฝักอ่อน ลูกผสม G-5414 ซงึ่ เปน็ พนั ธลุ์ ูกผสมเดี่ยวพันธแ์ุ รกท่ีใหผ้ ลผลิตสูงและมีคุณภาพดที ี่ได้รับความนยิ มสูงสดุ เป็นเวลาหลายปี ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพม่ิ ขนึ้ หลังจากเกษยี ณอายจุ ากบริษทั เอกชน ดร.เกรยี งศักด์ิ สุวรรณธราดล ได้เขา้ รว่ มงานในฐานะผู้เชยี่ วชาญ ผูท้ รงคุณวฒุ ิ ทป่ี รึกษา และผ้ปู ระสานงานของหลายหนว่ ยงานทง้ั ภาครัฐและเอกชน ปัจจุบัน ดร.เกรียงศกั ดิ์ สวุ รรณธราดล เป็นกรรมการพิจารณา ตดิ ตาม และประเมินผลโครงการวิจัยกลุม่ เร่อื ง พืชสวน/พืชไร่ (เชน่ ไมผ้ ล พืชผกั ไม้ดอกไมป้ ระดับ และขา้ วโพด) ภายใตง้ บบูรณาการวิจยั แห่งชาติ สานกั งานพฒั นาการวิจยั การเกษตร (องคก์ ารมหาชน) และผ้ทู รงคุณวุฒิ ทาหนา้ ท่ปี ระเมนิ ขอ้ เสนอโครงการวิจยั และตดิ ตามประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของโครงการวิจยั ท่ีไดร้ บั การสนับสนุนทนุ วิจยั ดา้ นต่าง ๆ จากหนว่ ยงานทใ่ี ห้ทนุ วิจยั ได้แก่ สกว. สวก. สวทช. และ สวทน. เปน็ ตน้ และไดร้ ับการสนบั สนุนจาก สานกั งานพัฒนาการวจิ ยั การเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) ในการเป็นหัวหนา้ โครงการ เพอื่ จัดทา“ยุทธศาสตรข์ อง ประเทศไทยดา้ นความม่ันคงและความปลอดภัยทางอาหารในขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ ถวั่ เหลอื ง ถว่ั เขยี ว และ ถ่วั ลสิ ง กบั การ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น” จึงถือว่า ดร.เกรยี งศักดิ์ สวุ รรณธราดล เป็นบคุ คลหนึง่ ท่ีมีสว่ นในการสนบั สนนุ และ สง่ เสริมใหน้ กั วิจัยที่ทางานด้านปรับปรุงพันธุแ์ ละการเทคโนโลยกี ารผลติ ข้าวโพดจากมหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ และ กรมวิชาการ เกษตรพัฒนาขอ้ เสนอโครงการวจิ ัยเพ่ือเสนอต่อหน่วยงานใหท้ ุน คือ สานกั งานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน) ซึ่ง ดร.เกรียงศกั ด์ิ สุวรรณธราดล ไดใ้ ช้ประสบการณท์ ี่ทางานด้านปรับปรุงพนั ธขุ์ า้ วโพดมากวา่ 20 ปี ได้ให้คาแนะนาทง้ั การเขยี นข้อเสนอโครงการวจิ ยั การวางแผนงานวิจัย และติดตามผลการดาเนนิ งานอย่างใกลช้ ิด เปน็ การทางานอย่างทมุ่ เท และเสียสละเพื่อใหน้ กั วิจยั ทางด้านขา้ วโพดไดม้ ีการพัฒนาตวั เอง และสร้างผลงานวจิ ยั ทัง้ ในรปู ของพนั ธุ์และเทคโนโลยกี าร ผลติ ทจ่ี ะเป็นประโยชนต์ อ่ เกษตรกรในการได้ใชพ้ นั ธ์ุดี และเทคโนโลยกี ารผลิตทเี่ หมาะสมสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ นอกจากน้ี ยังให้การสนบั สนนุ ด้านการเรยี น การสอน และการวจิ ัยกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ มาอยา่ งต่อเน่ือง จากผลงานเชงิ ประจักษ์ข้างต้น จึงเหน็ สมควรประกาศยกยอ่ งและเชดิ ชูเกยี รติให้ ดร.เกรยี งศักด์ิ สุวรรณธราดล เปน็ ผสู้ ่งเสริมเชิงนโยบายและวชิ าการด้านข้าวโพดและขา้ วฟ่างทสี่ มควรเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ตี ่อไป 98

ดร.สุวิทย์ ชยั เกียรตยิ ศ ผู้อานวยการสานักงานพฒั นาการวิจยั การเกษตร ประวตั กิ ารศกึ ษา ปี พ.ศ. วุฒกิ ารศึกษา สถาบนั การศกึ ษา ประเทศ 2523 วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย (เกียรตนิ ยิ มอันดบั 2) 2528 วท.ม.(เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2535 Ph.D. (Plant physiology) University of Queensland ออสเตรเลยี 2549 การพฒั นานกั บรหิ ารระดบั กลาง ชว่ งท่ี 1 สานกั งาน กพ. ไทย 2549 การพฒั นานักบรหิ ารระดับกลาง ช่วงที่ 2 สานักงาน กพ. ไทย 2555 นักบรหิ ารระดับสูง : ผ้นู าทีม่ ีวิสยั ทศั นแ์ ละ สานกั งาน กพ. ไทย คณุ ธรรม 2563 รฐั บาลอเิ ล็กทรอนกิ ส์สาหรบั ผู้บรหิ ารระดบั สงู สถาบนั พัฒนาบุคลากรภาครัฐ ไทย (รอส.) รนุ่ ท่ี 7 TDGA 2565 วทิ ยาการเกษตรระดับสูง (วกส.) รุ่นที่ 1 มูลนิธิเกษตราธกิ าร ไทย 99

เชิดชูเกียรติคุณปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง ดร.สวุ ทิ ย์ ชัยเกยี รตยิ ศ เรม่ิ ต้นรับราชการ สังกดั กรมวิชาการเกษตร และเตบิ โตในเสน้ ทางราชการตลอดมา ใน ปี พ.ศ. 2550 ดารงตาแหน่งผ้อู านวยการกองแผนงานและวิชาการ ปี พ.ศ. 2552 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานกั วิจัย และพัฒนาการเกษตร เขต 6 ปี พ.ศ. 2553 ตาแหน่งผู้อานวยการสถาบันวิจัยพืชสวน ปี พ.ศ. 2555 รับตาแหน่งรอง อธบิ ดีกรมวิชาการเกษตร ปี พ.ศ. 2558 ตาแหนง่ ผ้ตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ ปี พ.ศ. 2559 ดารง ตาแหน่งอธิบดีกรมวิชาการเกษตร หลังจากเกษียณอายุราชการ ในปี พ.ศ. 2561 ได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสานักงานพฒั นาการวิจัยการเกษตร ซึ่ง ดร.สุวิทย์ ชัยเกียรติยศ มีบทบาทสาคัญในการกากับนโยบายในการ 1) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนางานและบุคลากรด้านการวิจัยการเกษตร 2) ให้มีการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาและ เผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศในด้านการเกษตร 3) ร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาหรือสถาบันอื่นของรัฐและ เอกชนในการผลิตและพัฒนางานวิจัยและนักวิจัยการเกษตรท้ังในประเทศและต่างประเทศ 4) เป็นศูนย์กลางในการ ให้บริการข้อมูลและสารสนเทศในด้านการเกษตรท่ีได้จากการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนา ตลอดจนการเชื่อมโยงกับ สถาบันการศึกษาและหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ และ 5) ส่งเสริมให้เกิดกิจการทางวิชาการ เพื่อเผยแพร่ความร้ใู นรูปแบบตา่ งๆ เช่น การจัดพิมพ์เอกสาร การจัดทาสอ่ื โสตทศั น์ การสมั มนา การประชมุ เชิงปฏิบัติการ การจัดนิทรรศการ หรือดาเนินการอ่นื ใดที่เก่ียวกบั การเผยแพรค่ วามร้ใู นดา้ นการเกษตร ดร.สุวิทย์ ชัยเกียรติยศ เป็นผู้ที่มีความมุ่งม่ัน ความตั้งใจ และมีหลักการบริหารจัดการท่ีดียิ่ง ในฐานะท่ีเป็น ผู้อานวยการสานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร จึงเป็นผู้วางนโยบาย กรอบวิจัย และงบประมาณสนับสนุนงานวิจัย ทางด้านข้าวโพดให้กับหน่วยงานต่าง ๆ อาทิเช่น กรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลยั ขอนแก่น มหาวิทยาลยั มหดิ ล มหาวิทยาลยั นเรศวร มหาวิทยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี เป็นตน้ ในการทางาน วิจัยทางด้านการพัฒนาพันธ์ุข้าวโพดเล้ียงสัตว์เพื่อปลูกในดินนา การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธ์ุเชิงธุรกิจ การ จัดการองคค์ วามรู้ และถอดบทเรียนเพ่อื จดั ทาคาแนะนาการปลกู ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์หลังนา การลดการปลดปล่อยคาร์บอน และการสูญเสียฟอสฟอรัสในการผลิตข้าวโพดสาหรับอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ในประเทศไทย การวิเคราะห์ปริมาณธาตุ อาหารในสว่ นต่างๆ ของต้นข้าวโพดเลย้ี งสัตวท์ ี่มอี ายุการเกบ็ เกยี่ วทแ่ี ตกต่างกัน เป็นตน้ จากผลงานเชงิ ประจกั ษข์ า้ งต้น จงึ เหน็ สมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชูเกียรตใิ ห้ ดร.สุวทิ ย์ ชยั เกยี รติยศ เปน็ ผู้ สง่ เสริมเชิงนโยบายและวชิ าการดา้ นข้าวโพดและขา้ วฟ่างทสี่ มควรเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ตี ่อไป 100

101

รางวลั เชดิ ชูเกยี รติ ผลงานทสี่ รา้ งคณุ ประโยชน์ ด้านขา้ วโพดของประเทศ 102

การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมร่วมกัน ระหวา่ งภาครัฐและเอกชน (กรอ.) 103

การทดสอบพนั ธุข์ า้ วโพดลูกผสมร่วมกนั ระหว่างภาครฐั และเอกชน (กรอ.) โครงการทดสอบพันธ์ุข้าวโพดลูกผสมร่วมกันระหวา่ งภาครัฐและเอกชน (กรอ.) ได้เร่ิมดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 โดยความคดิ รเิ ร่ิมของอดีตผ้อู านวยการศนู ยว์ ิจัยขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแหง่ ชาติ ศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถริ พร ท่ี ต้องการเหน็ ความร่วมมือกนั ระหว่างนกั วิจยั ด้านปรบั ปรุงพนั ธข์ุ ้าวโพดของภาครฐั และเอกชนในประเทศ ในการแลกเปลีย่ น ความรแู้ ละประสบการณ์ เพอ่ื ให้เกิดการพัฒนางานวิจัยการปรบั ปรุงพันธข์ุ องประเทศโดยรวม นอกจากนนั้ ยังเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์ท่ีดีในระหว่างนักวิจัยวงการข้าวโพดของประเทศ โดยใช้การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดที่ต้องทางานร่วมกันเป็น ส่อื กลางความร่วมมอื จุดเด่นของโครงการน้ีมีลักษณะเป็นโครงการแบบสมัครใจ (voluntary base) ทุกหน่วยงานท่ีเข้าร่วมต้อง สนับสนุนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในสถานีทดลองของตนด้วยงบประมาณของตนเอง จึงได้มีข้อตกลงสาหรับหน่วยงานที่จะเข้า ร่วมเป็นหลักการไวด้ งั น้ี 1) ตอ้ งมีสถานที ดลองอยู่ในประเทศไทย มีนกั วจิ ยั และมีการพฒั นาพนั ธ์ุเปน็ ของตนเอง 2) อนุญาตให้ใช้สถานท่ีเพื่อการทดสอบพันธ์ุ สามารถปฏิบัติและดูแลการทดลองของตนเองได้ ขณะเดียวกัน ต้องอนุญาตใหส้ มาชกิ ที่เข้ารว่ ม สามารถเข้าชมแปลงทดสอบพันธุน์ ีไ้ ด้ 3) ตอ้ งไมน่ าผลการทดสอบพันธท์ุ ี่ได้ไปประชาสัมพนั ธ์เพือ่ ผลประโยชน์ทางการค้าของหน่วยงานตนเอง ผลจากการดาเนินงานของโครงการฯ ได้ทาให้เห็นถึงพัฒนาการของการใช้เช้ือพันธุกรรมข้าวโพดของประเทศ เป็นอย่างมาก และชใี้ ห้เหน็ ความก้าวหนา้ ในการพฒั นาพนั ธุ์เป็นไปอยา่ งต่อเน่อื ง มอี ตั ราการเพ่มิ ผลผลิตที่สูง โดยอัตราการ เพ่ิมผลผลิตโดยเฉล่ียของพันธุ์ลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูงสุดในแต่ละปี และพันธ์ุลูกผสมที่ร่วมทดสอบ การดาเนินงานของ โครงการฯ ได้ดาเนินมาอย่างต่อเน่ืองเป็นเวลา 35 ปี โดยในปีแรกมีหน่วยงานเข้าร่วมจานวน 8 หน่วยงาน โดยเป็น หน่วยงานภาคเอกชน 6 หน่วยงาน และภาครัฐ 2 หน่วยงาน ปัจจุบันมีหน่วยงานเข้าร่วมโครงการ 14 หน่วยงาน เป็น ภาคเอกชน 10 หน่วยงาน และภาครัฐ 4 หนว่ ยงาน จากคุณประโยชน์เชิงประจกั ษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรตใิ ห้ โครงการทดสอบพันธ์ุ ข้าวโพดลูกผสมร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน (กรอ.) เป็นผลงานที่สร้างคุณประโยชน์ด้านข้าวโพดของประเทศท่ี สมควรเปน็ แบบอย่างที่ดีต่อไป 104

ข้าวโพดลูกผสมเดย่ี วพนั ธุ์สวุ รรณ 2301 105

ข้าวโพดลกู ผสมเดี่ยวพนั ธ์ุสุวรรณ 2301 คณะผวู้ ิจยั : ศ.ดร.สจุ ินต์ จินายน วีระศกั ดิ์ ดวงจนั ทร์ ธวัชชัย ประศาสนศ์ รีสุภาพ ดร.สรรเสรญิ จาปาทอง และ ดร.โชคชัย เอกทัศนาวรรณ ข้าวโพดลูกผสมเด่ียวพันธสุ์ ุวรรณ 2301 เป็นข้าวโพดลูกผสมพันธ์ุแรกท่ีได้รับการปรับปรุงขนึ้ ในประเทศไทย ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2521 และสง่ เสริมใหเ้ กษตรกรปลกู ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2525 ข้าวโพดพันธ์สุ วุ รรณ 2301 ได้รับการพัฒนาใหเ้ ปน็ ขา้ วโพดลกู ผสมจากภายในประชากร (Intra-population hybrid) ประกอบด้วยสายพันธุ์แท้ที่ดีเด่นทส่ี กัดจากพนั ธุ์สุวรรณ 1 รอบคดั เลือกท่ี 4 (SUWAN 1 (S) C4) 2 สายพันธ์ุ คือ Ki 3 ซ่ึงเปน็ พนั ธแ์ุ ม่ และ Ki 11 เป็นพนั ธ์ุพอ่ ข้าวโพดพันธส์ุ ุวรรณ 2301 มีอายุเก็บเก่ยี วค่อนข้างส้ัน ความสูงของต้นและฝักปานกลาง เมล็ดมีสีเหลืองสม้ หัวแขง็ ต้านทานต่อโรครานา้ ค้างและโรคทางใบท่ัวไปได้ดี และท่สี าคญั คือให้ผลผลิตสงู และมีความทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ ดมี าก มีสมรรถนะในการรวมตัวกบั สายพันธ์ุแท้อ่ืน ๆ ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง สาหรับใช้เปน็ แมพ่ นั ธ์ใุ นการผลิตขา้ วโพดลูกผสม 3 ทาง และลูกผสมคู่ ทั้งในภาคเกษตรและภาคเอกชน สามารถใช้ในการสกัดสายพันธ์ุแท้เพื่อใช้เป็นแหล่งพันธุกรรม สาหรับปรับปรุงพันธุ์ ใช้เป็นแหล่งพันธกุ รรมของความต้านทานโรคราน้าค้าง และใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมสาหรับความทน ต่อสภาพแหง้ แลง้ ขา้ วโพดพันธ์ุสุวรรณ 2301 ได้รบั รางวัลจากสภาวจิ ยั แหง่ ชาตใิ นฐานะงานคิดคน้ /สงิ่ ประดิษฐซ์ ่ึงเป็นประโยชน์ แก่ประเทศชาติ รางวัลท่สี อง ประจาปี พ.ศ. 2532 จากคุณประโยชน์เชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ข้าวโพดลูกผสมเดี่ยว พนั ธสุ์ วุ รรณ 2301 เปน็ ผลงานท่สี ร้างคณุ ประโยชน์ดา้ นขา้ วโพดของประเทศท่ีสมควรเปน็ แบบอยา่ งที่ดีตอ่ ไป 106


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook