Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเชิดชูเกียรติ

หนังสือเชิดชูเกียรติ

Published by คณะเกษตร, 2022-08-02 02:28:47

Description: รางวัลเชิดชูเชิดเกียรติ
บุคคลและผลงานที่สร้างคุณูปการ
ให้กับกิจการด้านด้านข้าวโพด
และข้าวฟ่างของประเทศไทย

Keywords: หนังสือเชิดชูเกียรติ

Search

Read the Text Version

เชิดชูเกยี รติคณุ ูปการด้านวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง นางสุรณี ทองเหลือง ได้รับบรรจุทางานเข้ารับราชการในตาแหน่งนักวิชาการเกษตร สังกัดศูนย์วิจัยข้าวโพด และข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2548 มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ งานวิจยั ด้านการปรบั ปรุงพนั ธ์ุขา้ วโพดขา้ วเหนียว เปน็ หัวหนา้ โครงการรวบรวมสายพันธุแ์ ละปรับปรงุ พนั ธุ์ของข้าวโพดขา้ ว เหนียวและข้าวโพดเทียนของประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ืออนุรักษ์และปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดพื้นเมือง ได้รวบรวม พันธุ์จากแหล่งต่าง ๆ ในประเทศไทย จานวน 136 สายพันธ์ุ โดยดาเนินโครงการฯ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2531 จนกระทั่ง เกษียณอายรุ าชการ ตลอดช่วงระยะเวลาที่ดาเนินการวิจัย จึงมีผลงานพันธขุ์ า้ วโพดขา้ วเหนียว ข้าวเหนียวหวาน ข้าวโพด แปดแถว ทั้งพันธ์ุผสมเปิดและลูกผสม ท่ีมีรสชาติดี เป็นท่ียอมรับของเกษตรกร และผู้บริโภค โดยพันธุกรรมข้าวโพดข้าว เหนียวดังกล่าว ได้ดาเนินการต่อยอดกระท่ังปัจจุบัน ข้าวโพดข้าวเหนียวที่ท่านได้ทาหน้าที่เป็นหัวหน้าโครงการในการ ปรับปรงุ พันธ์ุ ไดแ้ ก่ 1) ขา้ วโพดข้าวเหนยี ว พันธร์ุ ชั ตะ 1 เปน็ ขา้ วโพดข้าวเหนียวพันธ์ผุ สมเปดิ แนะนาสูเ่ กษตรกรครง้ั แรก ในปี พ.ศ. 2537 และขอรับรองพันธ์ุจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2540 2) ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสม เด่ียว พันธ์ุ Kwsx 107 เป็นข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมเดี่ยวพันธ์ุแรก ให้ผลผลิตฝักสดสูง คุณภาพดี รสชาติเหนียวนุ่ม แนะนาให้เกษตรกรปลูกในปี พ.ศ. 2541 3) ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมเดี่ยว พันธ์ุ Kwsx 91 เป็นพันธุ์ที่มีลักษณะทาง การเกษตรที่ดี ต้านทานโรคทางใบได้ดี ให้ผลผลิตฝักสดสูง แนะนาให้เกษตรกรปลูกในปี พ.ศ. 2547 4) ข้าวโพดข้าว เหนียวหวานลูกผสมเดี่ยว พันธ์ุ Kswsx 2410 แนะนาให้เกษตรกรปลูกในปี พ.ศ. 2545 5) ข้าวโพดข้าวเหนียวหวาน ลกู ผสมเดย่ี ว พนั ธุ์ Kswsx 2401 แนะนาใหเ้ กษตรกรปลูกในปี พ.ศ. 2547 6) ข้าวโพดขา้ วเหนยี วแปดแถวลกู ผสมเดี่ยว พนั ธ์ุ Kwpsx 7253 แนะนาใหเ้ กษตรกรปลูกในปี พ.ศ. 2546 7) ข้าวโพดข้าวเหนียวแปดแถวลูกผสมเดยี่ ว พันธุ์ Kwpsx 7436 แนะนาให้เกษตรกรปลกู ในปี พ.ศ. 2547 ในส่วนของการสนบั สนุนการดาเนินงานตามภารกจิ ของหนว่ ยงาน นางสุรณี ทองเหลอื ง นอกจากงานวจิ ยั แลว้ ไดม้ สี ่วนรว่ มในการบรกิ ารวิชาการ การผลิตเมลด็ พันธ์ุ งานประกนั คณุ ภาพ และมสี ว่ นในการดาเนินงานจัดตัง้ หอประวตั ิ และพพิ ธิ ภณั ฑ์เกษตรไรส่ ุวรรณ เมื่อปี พ.ศ 2549 โดยเปน็ ประธานคณะกรรมการอานวยการ การจัดงาน “พิธเี ปิดหอ ประวัตแิ ละพพิ ิธภัณฑเ์ กษตรไร่สวุ รรณฯ” ซงึ่ เป็นสถานท่ีรวบรวมประวตั คิ วามเป็นมาของไร่สุวรรณ เปน็ แหล่งข้อมูลทาง วิชาการเช่อื มโยงจากอดีตถึงปจั จบุ ัน เปน็ ความภาคภูมิใจของหนว่ ยงาน จากผลงานเชงิ ประจกั ษข์ า้ งต้นจึงเหน็ สมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชเู กียรติให้ นางสรุ ณี ทองเหลืองเปน็ นกั วชิ าการอาวุโสผู้สร้างคณุ ูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ ง ทเ่ี ห็นสมควรถือเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีสบื ไป 46

ศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วงษใ์ หญ่ ข้าราชการบานาญ ภาควิชาพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศึกษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบันการศึกษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2513 D.Agr. (Agriculture Proper) ญีป่ นุ่ Kyushu University 2527 47

เชิดชูเกียรติคุณูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง ศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วงษ์ใหญ่ ได้รบั บรรจุเขา้ รับราชการในตาแหน่งอาจารย์ ภาควิชาพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รับผิดชอบงานสอนทางด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช และเริ่มต้นทางานวิจัยในโครงการปรับปรุง พนั ธข์ุ า้ วฟา่ ง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มผี ลงานทางวชิ าการหรอื ความเช่ียวชาญพเิ ศษในวิชาชีพและเป็นทยี่ อมรบั ในการ ปรับปรุงพันธ์ุข้าวฟ่างท้ังที่เป็นหัวหน้าโครงการและผู้ร่วมโครงการวิจัย จนได้ข้าวฟ่างลูกผสมและข้าวฟ่างอาหา รสัตว์ ตัวอย่างเช่น 1) ข้าวฟา่ งพันธแ์ุ ท้สีแดง เคยู 630 ทีมีอายุเกบ็ เก่ียวสั้นประมาณ 100 วนั ต้นเต้ยี ผลผลิตดี เมลด็ สีแดงสดใส และตา้ นทานโรคทางใบ 2) ข้าวฟ่างลูกผสมสีแดง เคยู 8702 และ เคยู 8703 มีอายุเก็บเกี่ยวปานกลาง ผลผลิตอยู่ในเกณฑ์ดี โดยท่ี พนั ธุ์ เคยู 8702 จะมีความสงู ต้นเตีย้ กวา่ และอายเุ กบ็ เก่ียวสนั้ กว่าเลก็ นอ้ ย 3) ข้าวฟ่างอาหารสัตว์พันธุ์แท้ กลางดง 1 โดยการผสมระหว่างสายพันธ์ุข้าวฟ่างอาหารสัตว์ M 097/KU 538-1 ที่โครงการปรับปรุงขึน้ มากบั สายพนั ธุ์ข้าวฟ่างหญา้ M 009 จาก CIMMYT ได้ลูกชวั่ ที่ 1 นาลกู ชว่ั ท่ี 1 ของคู่ผสม M009//M 097/KU 538-1 มาผสมกับสายพันธขุ์ ้าวฟ่างหญ้า M 007 และนาลูกชั่วท่ี 1 ของ M 007///M 009//M 097/KU 538-1 มาปลูก และเร่ิมทาการคัดเลือกต้ังแต่ลูกช่ัวท่ี 2 โดยวิธีการคัดเลือกแบบจดประวัติลักษณะท่ีคัดเลือก ขา้ วฟา่ งอาหารสัตวพ์ นั ธก์ุ ลางดง 1 ใหผ้ ลผลติ ตน้ สดคอ่ นขา้ งสงู คณุ คา่ ทางอาหารสตั วอ์ ยูใ่ นเกณฑด์ ี และปริมาณกรดไฮโดร ไซยานิคอยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์ ได้รับรางวัลผลงานวจิ ัยดีเด่น เร่ือง ข้าวฟางอาหารสัตว์พันธ์ุ กลางดง 1 จาก การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คร้ังท่ี 31 สาขาพืช 3-6 กุมภาพนั ธ์ 2536 4) ข้าวฟ่างพันธ์ุ เคยู 804 เป็นข้าวฟ่างเมล็ดสีขาว เหมือนพันธ์ุเฮกการี่ ต้นเต้ีย เมล็ดโต แป้งอ่อน (floury endosperm) ปริมาณแทนนนิ ตา่ ไวต่อชว่ งแสงเล็กน้อย มคี วามสมา่ เสมอสงู ระบบรากและลาตน้ แขง็ แรง แนะนาสู่เกษตร ในปี พ.ศ. 2535 5) ข้าวฟ่างลูกผสมพันธุ์ เคยู 9501 เป็นข้าวฟ่างเมล็ดสีขาว ให้ผลผลิตสูง ต้นสูงปานกลาง ปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมได้ดี ทนทานตอ่ สภาพแหง้ แล้ง ระบบรากและลาต้นแข็งแรง ตา้ นทานตอ่ โรคทางใบได้ดี แนะนาสูเ่ กษตรใน ปี พ.ศ. 2540 6) ข้าวฟ่างลูกผสมพันธ์ุ เคยู 9502 เป็นข้าวฟ่างเมล็ดสีแดง ให้ผลผลิตสูง ต้นเตี้ย ปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดลอ้ มได้ดี ทนทานต่อสภาพแห้งแล้ง ระบบรากและลาตน้ แข็งแรง ตา้ นทานตอ่ โรคทางใบได้ดี แนะนาสู่เกษตรใน ปี พ.ศ. 2540 จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วงษใ์ หญ่ เป็นนักวชิ าการอาวุโสผู้สรา้ งคุณปู การด้านวิชาการข้าวโพดและข้าวฟา่ งที่สมควรเป็นแบบอย่างท่ีดีตอ่ ไป 48

นายสมชัย ลิ่มอรณุ ข้าราชการบานาญ ตาแหน่งนักวชิ าการเกษตร ศนู ยว์ ิจัยข้าวโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวตั ิการศกึ ษา วุฒกิ ารศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (พืชศาสตร)์ วิทยาลยั เทคโนโลยแี ละ ไทย พ.ศ. 2524 อาชีวศกึ ษา 49

เชิดชเู กยี รติคณุ ปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ ง นายสมชัย ลิม่ อรุณ ได้รบั บรรจุทางานเข้ารับราชการในตาแหน่งนักวิชาการเกษตร สงั กดั ศนู ย์วิจัยข้าวโพดและ ข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ต้งั แต่ ปี พ.ศ. 2514 – 2551 เปน็ หัวหนา้ โครงการทดสอบขา้ วโพดขา้ วฟา่ ง ระดับไร่กสิกร ในช่วง ปี พ.ศ. 2534 โดยมีศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถิรพร และ รองศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ เฟ่ืองฟู พงศ์ เป็นทปี่ รึกษาโครงการ โดยดาเนนิ งานทดลองเฉพาะในสว่ นของข้าวโพดในไรก่ สิกร มกี ารทดสอบพันธ์ขุ า้ วโพดลูกผสม ทางการค้า การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมก่ึงการค้า แรทดสอบพันธ์ุข้าวโพดหวานลูกผสม การทดสอบพันธุ์ข้าวโ พด ลูกผสมพันธุ์ปรับปรุงท่ีดีเด่น เนื่องจากในระยะเวลานั้น เกษตรกรใช้ข้าวโพดลูกผสมเป็นพนั ธ์ปุ ลูกเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ และข้าวโพดหวานกาลังมีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ในงานวิจัยช่วงน้ี พันธ์ุข้าวโพดท่ีใช้เป็นพันธ์ุเปรียบเทียบสาหรับพันธ์ุ ผสมเปิดยังคงใชพ้ ันธสุ์ ุวรรณ 1 สว่ นพันธ์ุลูกผสม ใช้พนั ธสุ์ วุ รรณ 4452 และข้าวโพดหวาน ใช้พันธ์ุอนิ ทรี 2 โดยโครงการทดสอบขา้ วโพดและข้าวฟ่างระดับไร่กสิกร เป็นช่องทางท่ีสาคัญในการนาความรแู้ ละเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมและถูกต้องไปสู่เกษตรกร เป็นการให้การศึกษาและพัฒนาความรู้ให้แก่เกษตรกร และประชาชนท่ัวไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และสร้างความอยู่ดี กินดี และมีความสุขให้แก่เกษตรกร ปัจจุบันโครงการทดสอบข้าวโพดข้าวฟ่างในระดบั ไร่กสิกร ยังคงมีการดาเนนิ การวิจยั อยู่ภายใตน้ ักวิจยั ของศูนย์วิจัยข้าวโพดฯ มีการนาผลการวิจัยดังกล่าวเผยแพร่ผ่านการ นาเสนอในการประชมุ วิชาการ จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้นจึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ นายสมชัย ล่ิมอรุณ เป็น นักวิชาการอาวโุ สผูส้ รา้ งคณุ ปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง ท่เี หน็ สมควรถอื เปน็ แบบอย่างที่ดีสบื ไป 50

ศาสตราจารย์ ดร.สุดฤดี ประเทอื งวงศ์ ขา้ ราชการบานาญ ภาควิชาโรคพชื คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวตั กิ ารศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย พ.ศ. วฒุ ิการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประเทศไทย 2515 วท.บ. (เกษตรศาสตร)์ Tokyo University of Agriculture 2518 วท.ม.(เกษตรศาสตร)์ Japan 2533 Ph.D. (Agricultural Science) 51

เชดิ ชเู กียรติคุณปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง ศาสตราจารย์ ดร.สุดฤดี ประเทืองวงศ์ บรรจุเป็นอาจารย์ประจาภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2519 ไดร้ ับแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาโรคพชื วิทยา เมอ่ื วันที่ 28 สิงหาคม 2556 ตลอดระยะเวลาการเปน็ อาจารย์ ในภาควิชาโรคพชื คณะเกษตร ได้ทาหน้าทใ่ี นการสอน และ การทาวิจยั เกย่ี วกับโรคของพชื เศรษฐกิจที่สาคัญ ซง่ึ ผลงานวจิ ยั ดังกล่าวได้มีสว่ นช่วยในการแก้ไขปัญหาความเสยี หายของ พืชผลในประเทศไทยหลายชนิด รวมทั้งข้าวโพด การเป็นอาจารย์ของภาควิชาโรคพืช คณะเกษ ตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ยงั ทาให้ได้มีส่วนรว่ มในการเขา้ มามีบทบาทในการแก้ไขปญั หา และมีสว่ นชว่ ยในการขับเคลื่อน งานวิจัยทางด้านข้าวโพดและข้าวฟ่าง ในช่วงท่ีดารงตาแหน่งเป็นผู้ประสานงานวิจัยและผู้อานวยการชุดโครงการของ โครงการวิจัยแม่บทขา้ วโพดและข้าวฟ่างของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548-2554 รวมทั้งยังถ่ายทอด องค์ความรแู้ ละสรา้ งลกู ศิษยใ์ ห้พฒั นางานวจิ ัยด้านโรคของขา้ วโพดอนั จะเปน็ ประโยชน์มาอย่างต่อเนอื่ ง ศาสตราจารย์ ดร.สุดฤดี ประเทอื งวงศ์ ปฏิบตั งิ านในมหาวทิ ยาลยั ดว้ ยความต้งั ใจ รวมทัง้ ไดอ้ ุทศิ ตัวใหแ้ ก่สังคม ในการทาหน้าท่ีตาแหน่งต่างๆ เช่น ผู้ทรงคุณวุฒิภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็น Editorial Board ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิในบัญชีรายชื่อ ตามมาตรา 28 (4) ผู้ทรงคุณวุฒิอ่าน บทความและผลงานวิจัยทางวิชาการ ของวารสารวิทยาศาสตร์เกษตร วารสารโรคพืช และวารสารพระจอมเกล้า ลาดกระบัง ผทู้ รงคุณวฒุ ิประเมนิ ข้อเสนอโครงการวจิ ัย และประเมนิ ผลงานวจิ ยั ของสานกั งานพัฒนาการ วิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) และสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.) (สกว.เดิม) และเป็น อปุ นายกสมาคมนกั โรคพืช แห่งประเทศไทย นอกจากนยี้ ังไดร้ ับรางวลั และสรา้ งช่ือสียงใหก้ ับมหาวทิ ยาลัยอีกหลายรางวัน เช่น รางวลั นิสิตเกา่ ดเี ดน่ คณะเกษตร และบคุ คลดีเด่นทางการเกษตร ประจาปี พ.ศ. 2557 รางวัล “รวงทองเกียรติคุณ” สาหรับคณาจารย์ผู้สร้างช่ือเสียงสู่คณะเกษตร รางวัลครูต้นแบบ ตามโครงการเชิดชูอาจารย์ต้นแบบ ด้านการสอดแทรก คณุ ธรรม จริยธรรมในการสอน ประจาปี 2553 รางวลั เชิดชเู กยี รติแด่ผู้ทาประโยชน์แกว่ งศ์การพืชไรว่ งศ์ถว่ั ในการประชุม วิชาการพืชไร่วงศ์ถั่ว แห่งชาติคร้ังที่ 2 และ รางวัลบุคลากรดีเด่นสายวิชาการ ด้านการเรียนการสอน ของ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประจาปี 2550 52

ดร.เอนก ศลิ ปพนั ธ์ุ อดตี ที่ปรกึ ษาดา้ นงานวิจยั กล่มุ ธรุ กจิ พืชครบวงจร อดตี ตาแหน่งรองกรรมการผจู้ ดั การบริหารกลมุ่ ธรุ กิจพชื ครบวงจร บรษิ ัท เจรญิ โภคภณั ฑเ์ มลด็ พนั ธ์ุ จากดั ประวตั กิ ารศกึ ษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบนั การศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. M.S. (Agronomy) Texas A&M University พ.ศ. 2516 Ph.D. (Plant Breeding) Texas A&M University สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2519 สหรฐั อเมรกิ า พ.ศ. 2522 53

เชิดชเู กียรติคณุ ปู การด้านวชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟ่าง ดร.เอนก ศิลปพันธุ์เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการข้าวโพด โดยเร่ิมรับราชการในตาแหน่งอาจารย์ ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2423-2524 ต่อมาในปี พ.ศ. 2524 ได้ทางานใน ตาแหน่งผู้จัดการฝ่ายปรับปรุงพันธ์ุพืช บริษัท เจริญธัญญพืช จากัด เครือเจริญโภคภัณฑ์ จนถึงปี พ.ศ. 2564 โดยดูแล งานวิจัยปรับปรุงพันธข์ุ ้าวโพดลูกผสม ทดสอบพันธ์ุ การผลิตเมล็ดพันธ์ุคดั การผลิตเมล็ดพันธุ์หลัก ด้านข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ข้าวโพดบริโภค การผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายโดยเกษตรกร เพ่ือให้ได้วัตถุดิบท่ีดี มีคุณภาพสูง และดูแลระบบการควบคุม คุณภาพของโรงงานปรับปรงุ สภาพเมล็ดพนั ธุ์ของบรษิ ัทในเครือเจริญโภคภณั ฑท์ ั้งในประเทศไทย และตา่ งประเทศ ดร.เอนก ศิลปพันธุ์ เป็นนักปรับปรุงพันธุ์ท่ีมีความเชี่ยวชาญเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการข้าวโพด พันธ์ุ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมต่าง ๆ ที่จาหน่ายในประเทศที่วิจัยและผลิต เช่น CP1, CP707, CP989, CP999 และพันธ์ุท่ี ได้รับความนิยมสงู สุด คือ พันธ์ุ CP888 ท่ีได้เริ่มจาหน่ายในประเทศไทยเป็นพันธกุ์ ารค้า ต้ังแต่ปี 2533 เป็นต้นมาจนถงึ ปัจจุบัน เป็นท่ียอมรับของเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ท้ังนี้ เนื่องจากเป็นพันธทุ์ ี่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี ให้ ผลผลิตต่อไร่สูง ทนแล้งได้นานกว่าพันธ์ุอื่น ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มข้ึน ลดความเส่ียงให้กับเกษตรกรเนื่องจากความ แห้งแลง้ ฝนท้ิงชว่ ง พันธุ์ข้าวโพดลกู ผสมโดยทว่ั ไปจะมีอายุที่จะอยู่ในความนยิ มของเกษตรกรเฉลีย่ ประมาณ 5 ปี แต่พนั ธุ์ CP888 สามารถเป็นพันธ์ุที่เกษตรกรนิยมมากกว่า 25 ปี จึงเป็นที่ยืนยันถึงความม่ันใจของเกษตรกรในพันธุ์นี้ พันธุ์ CP888 ก็ยังได้รับความนิยมที่ อินโดนีเซีย เวียดนาม เมียนมาร์ กัมพูชา และลาว จนถึงปัจจุบันพันธ์ุ CP888 ได้ถูกผลิต ออกมาจาหน่าย ไม่ต่ากว่า 250,000 ตัน ทารายได้ให้เกษตรกร ตั้งแต่ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ในรูปแบบการส่งเสริมการผลิต จนถึงเกษตรกรที่ปลูกเมล็ดพันธุ์ เพ่ือขายเมล็ดพันธุ์ เป็นเงินสะสมในช่วงเวลาที่ผ่านมาไม่ต่า กว่า ล้านบาท 375,000 นบั เปน็ ผลงานทสี่ รา้ งช่ือเสียงเชงิ ประจักษ์อยา่ งแท้จริง โดยพนั ธ์ุขา้ วโพดลกู ผสมเดย่ี ว CP 888 และได้รับรางวัลที่ 1 จาก สภาวิจัยแห่งชาติ ในการประกวดส่ิงประดิษฐ์ ปี 2541 ประเภททั่วไป มอบโดย นายกรัฐมนตรี พณฯชวน หลีกภัย ที่ตึก ไทยคู่ฟ้า ทาเนยี บรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีพันธ์ุใหม่ๆ เช่น CP AAA Super, CP QQQ Super, CP 888 New, CP 888 Super สาหรับ เกษตรกรในไทย เวียดนาม เมียนมาร์ กัมพูชา ลาว และมีพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมจาหน่ายในประเทศจีน เช่น CP 357, CP 222, CP 999, CP 818, CP 619 และในประเทศอนิ เดยี เชน่ CP 808, CP 818, CP 828, CP 838 และ CP 848 พันธข์ุ า้ วโพดหวาน เชน่ CP Sweet พันธุข์ ้าวโพดฝักอ่อน เช่น CP 468 จาหน่ายใหเ้ กษตรกรผูส้ นใจอกี ดว้ ย สาหรับงานสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐและเอกชนน้ัน ดร.เอนก ศิลปพันธ์ุ ได้เป็นคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากรให้กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สถาบันการ จัดการปัญญาภิวัฒน์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังเคยเป็นกรรมการให้กับสมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย สมาคมปรับปรุง พันธุ์ และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แห่งชาติ อีกทั้งสนับสนุนการศึกษานิสิตคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ ในรูปแบบของทุนสนับสนุนการศึกษา โครงการจัดต้ังกองทุน “ซีพี 888” ร่วมกับมูลนิธิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และกองทุน 60 ปี ดร.เอนก ศิลปพันธ์ุ ร่วมกับภาควชิ าพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2552 จนถงึ ปัจจบุ ัน เพือ่ สนบั สนนุ งานวจิ ัย ของภาควิชาพืชไรน่ า และสนับสนนุ การศึกษาของนิสิตทั้งระดับปริญญาตรี และปริญญาโท สนับสนุนการฝึกงานของนสิ ิต และนกั ศกึ ษาท่ีเก่ยี วข้องกับหน่วยงานของบริษัท ทง้ั ในและต่างประเทศ จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ดร.เอนก ศิลปพันธุ์ เป็น นกั วชิ าการอาวโุ สผู้สรา้ งคุณปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งทส่ี มควรเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ตี ่อไป 54

นายธวัชชยั ประศาสน์ศรีสภุ าพ นกั วิชาการอิสระ ประวตั ิการศกึ ษา พ.ศ. วฒุ กิ ารศกึ ษา สถาบันการศึกษา ประเทศ 2515 วท.บ. (เกษตรศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2522 วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย สาขาปรบั ปรงุ พันธพ์ุ ชื 2516-2517 ฝึกอบรมการปรับปรุงพันธข์ุ ้าวโพด ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วโพดและขา้ วสาลีนานาชาติ เมก็ ซิโก เวลา 7 เดอื น (CIMMYT) 55

เชดิ ชเู กยี รติคุณูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง นายธวชั ชยั ประศาสน์ศรสี ภุ าพ มีสว่ นร่วมงานวจิ ยั โครงการปรับปรุงพันธ์ุขา้ วโพดเพอื่ เพ่ิมผลผลติ และคุณภาพ โปรตนี (ศ1) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ในฐานะนกั ปรบั ปรุงพันธุข์ า้ วโพด ตั้งแต่ พ.ศ.2515–2525 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน และ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ เป็นหัวหน้าโครงการ จนทาให้ได้พันธุ์ข้าวโพดที่ ดีเด่น เช่น สุวรรณ 1 และสุวรรณ 2 เพ่ือใช้ในการสง่ เสริมใหแ้ ก่เกษตรกรในอดีตและปัจจบุ ันใช้เป็นเช้ือทางพันธุกรรมทง้ั ในประเทศและแพร่หลายในต่างประเทศ โดยใช้การคัดเลือกปรับปรุงพันธุ์ประชากรด้วยวิธี S1 Recurrent Selection ร่วมพัฒนาพันธ์ุข้าวโพดเพ่อื เพ่ิมคุณภาพโปรตีน โดย ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ เป็นหัวหน้าโครงการ จนได้พันธ์ุ Thai Opaque Composite No.1 ซึง่ ยงั คงเปน็ แหล่งเช้ือพนั ธกุ รรมของข้าวโพดท่มี ีคุณภาพโปรตนี สูงท่ีดี จนถงึ ปัจจบุ ัน มสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาพันธ์ุลูกผสมเดยี่ ว สุวรรณ 2301 ซึ่งเกิดจากสายพันธุ์แท้ที่คดั เลอื กมาจากสายพันธุ์ท่ีผสม ตัวเองหน่ึงช่ัว (S1 Lines) ท่ีมาจากการปรับปรุงประชากรข้าวโพดพันธุ์สุวรรณ 1 (S) C4 และมีส่วนร่วมในการดาเนิน โครงการ “A Pilot Project on Farm Testing” ซ่ึงเป็นโครงการแรกของการทดสอบพนั ธ์ุข้าวโพดสุวรรณ 1 ในสภาพไร่ เมอ่ื ปี พ.ศ.2518 ในชว่ ง พ.ศ 2525-2538 ร่วมโครงการปรบั ปรุงพันธุข์ ้าวโพดภาคเอกชน โดยมี ดร.เกรียงศกั ด์ิ สุวรรรธราดล เป็นผู้อานวยการงานวิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธ์ุข้าวโพด และหลังจาก พ.ศ.2539 ได้เล่ือนตาแหน่งเป็นผู้บริหารงานวิจัย และพัฒนาเมล็ดพันธ์ุ บริษัท ซินเจนทา ซีดส์ โดยมีส่วนกาหนดนโยบายและวิธีการเพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดและพัฒนา พันธุ์อย่างต่อเนื่อง ได้ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับโครงการถ่ายทอดความเป็นหมันของข้าวโพด (Cytoplasmic Male Sterility CMS) จนกระท่ังมีพันธุ์ข้าวโพดฝักออ่ นมดี อกเกสรตัวผู้เป็นหมัน เกษตรกรไม่จาเป็นต้องถอดยอดดอกตัวผู้ พันธุ์ข้าวโพด ฝักอ่อนมีดอกเกสรตัวผู้เป็นหมันทไ่ี ดร้ บั ความนิยมในประเทศไทย ได้แก่ พันธ์ุ SG18 พันธุ์ SG17 และ พนั ธ์ุ SG20 ตงั้ แต่ ปี พ.ศ.2529-2553 มีส่วนร่วมพัฒนาพันธ์ุข้าวโพดลูกผสมในเชิงการค้าของบริษัทฯ ทั้งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (22 พันธุ์) และขา้ วโพดฝักออ่ น (11 พนั ธ)์ุ ไดท้ ั้งสน้ิ 33 พันธ์ุทัง้ ในประเทศไทย และต่างประเทศ จากผลงานดีเดน่ ในการปรบั ปรงุ พนั ธ์ุ ทาให้ นายธวชั ชัย ประศาสนศ์ รสี ภุ าพ ได้รับรางวลั ตา่ ง ๆ ในฐานะหวั หนา้ ทีมงานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธ์ุพืช บริษัทซินเจนทา ซีดส์ จากัด ได้แก่ 1) รางวัลทีมงานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธ์ุพืช ดีเด่น จากสมาคมปรับปรุงพันธ์ุและขยายพันธ์ุพืชแห่งประเทศไทย ณ วันท่ี 14 ธันวาคม พ.ศ.2549 2) รางวัล (Recognition of the excellent performance of the field corn variety) NK48 culminating in the achievement in Asia Pacific region in 2006 จาก Thailand Country Head Syngenta Seeds เมื่อวันท่ี 19 มกราคม 2550 3) เป็นหนึ่งในทีมนักวิจัยเสนอผลความสาเร็จของธุรกิจข้าวโพดในหัวข้อ The APAC Corn Seed Story ได้รับรางวัล Performance Achieving excellent ในการแข่งขนั ระดับ Asia Pacific Region ของ Syngenta Award 2008 และ 4) รางวลั นกั วิจยั ด้านการปรับปรุงพนั ธพุ์ ชื ดีเดน่ จากสมาคมปรบั ปรงุ พันธแุ์ ละขยายพนั ธพ์ุ ืชแหง่ ประเทศไทยในปี พ.ศ.2553 ทาหน้าที่ท่ีปรึกษาฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โปรดิ๊วส ให้แก่นักปรับปรุ งพันธ์ุ ข้าวโพดและนักวจิ ัยประเมินผลิตภัณฑ์ข้าวโพด โดยให้คาแนะนาการวางระบบแบบแผนงานวจิ ยั ปรบั ปรุงพันธข์ุ า้ วโพดท้ัง ด้านทฤษฎีและปฏิบัติในภาคสนามในประเทศและต่างประเทศ จนไดผ้ ลติ ภณั ฑ์พันธ์ุลูกผสมไปส่ทู อ้ งตลาดหลายพันธุ์ ด้านการเป็นบุคคลท่ีทาคุณประโยชน์ต่อส่วนรวมนั้น นายธวัชชัย ประศาสน์ศรีสุภาพ ได้ให้ความร่วมมือและ สนับสนุนทางวิชาการให้กบั หนว่ ยงานราชการ เป็นอาจารย์พิเศษและให้คาปรึกษาหัวข้อและเน้ือหาวทิ ยานิพนธ์ของนสิ ติ ปริญญาตรี, โท และเอกของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในหัวข้อเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์พืชชั้นสูงงานวิจัยและพัฒนา พันธพุ์ ชื เพ่อื ธรุ กิจเมล็ดพนั ธ์ุ เป็นคณะกรรมการผู้ก่อต้งั สมาคมเทคโนโลยชี วี ภาพสัมพนั ธ์และเป็นที่ปรึกษาภาควชิ าพชื ไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาโครงการ การพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเชิงการคา้ โดยการบรู ณาการงานวิจยั ขา้ วโพดเลย้ี งสัตวข์ องภาครัฐ ชว่ งปี 2562-2565 จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ นายธวัชชัย ประศาสน์ศรี สุภาพ เป็นนกั วชิ าการอาวุโสผสู้ รา้ งคณุ ูปการดา้ นวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างทส่ี มควรเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีต่อไป 56

ดร.ทวศี กั ด์ิ ภ่หู ลา นักปรบั ปรงุ พันธ์พุ ืช บริษทั วจิ ัยพฒั นาพันธุ์พชื ไทย จากดั ประวตั กิ ารศึกษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ วท.บ.(เกษตรศาสตร์) เกยี รตนิ ิยม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. U.S.A. 2515 Ph.D. (Plant Breeding) University of Hawaii 2521 57

เชดิ ชูเกยี รติคณุ ปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง ดร.ทวีศักดิ์ ภู่หลา เป็นบุคคลหนึ่งท่ีมีบทบาทในการพัฒนาพันธ์ุและตลาดข้าวโพดลูกผสมของประเทศไทย ระหว่างปี 2523 – 2533 ซึ่งเป็นของใหม่และสวนกระแสของภาครัฐในยุคน้ัน มีผลให้ประเทศไทยมีการใช้พนั ธ์ขุ ้าวโพด ลูกผสมกันอย่างกว้างขวาง เป็นบุคคลแรกท่ีนาเสนอเร่ืองการใช้ข้าวโพดลูกผสมเพื่อผลิตข้าวโพดฝักอ่อนและเริ่มการ แนะนาอย่างจริงจัง และสร้างพันธข์ุ า้ วโพดลูกผสมสาหรบั การผลิตฝกั อ่อนโดยเฉพาะ จนเป็นพ้นื ฐานของคนในรนุ่ ตอ่ มา ในช่วงปี 2533 ได้เร่ิมพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมสาหรับเขตร้อนถึงแม้ว่าไม่ได้เป็นผู้ริเริ่มการพัฒนาพันธ์ุ ข้าวโพดหวานลูกผสมเป็นคนแรก แต่ก็เป็นผู้ท่ีริเริ่มทาอย่างจริงจังจนได้พันธ์ุข้าวโพดหวานลูกผสมพันธ์ุ ATS-2 ซึ่งเป็น ข้าวโพดหวานคุณภาพดีใหผ้ ลผลิตสูงและปลูกง่าย และนามาซ่ึงรางวัลประดิษฐ์ยอดเยี่ยมจากสภาวจิ ัย ให้คาปรึกษาเรือ่ ง ระบบการผลิตข้าวโพดหวานเพื่อการอุตสาหกรรม และสร้างระบบการผลติ และระบบสารสนเทศใหก้ ับโรงงานต่างๆ ซึ่งมี ผลทาใหร้ ะบบการผลิตขา้ วโพดหวานและอุตสาหกรรมขา้ วโพดหวานมคี วามแข็งแรงมัน่ คง เป็นผลให้ประเทศไทยสามารถ สง่ ออกข้าวโพดหวานเป็นอันดบั 1 ของโลก ตอ่ มาในปี 2540 – 2551 ไดร้ ว่ มมือกบั บริษัท ซนิ เจนทาซดี ส์ จากัด ซงึ่ เป็น บริษัท เมล็ดพันธุ์ใหญ่อันดับ 2 ของโลก ในตาแหน่ง Sweet Corn Business Manager for Asia and Pacific ดูแลเรื่อง การพัฒนาตลาดข้าวโพดหวานในเอเชีย งานดังกล่าวทาให้สามารถนาพันธ์ุขา้ วโพดหวานที่วิจยั พัฒนาขึ้นมาไปจาหน่ายใน เกือบทุกประเทศในเอเชีย (ยกเว้นญี่ปุ่น และเกาหลี) มีผลทาให้พันธ์ุ Sugar-75 (ชื่อการค้าของพนั ธุ์ ATS-5 เมื่อจาหน่าย ภายใต้เคร่อื งการหมายการค้าของบรษิ ทั ซนิ เจนทาซีดส์ จากัด) เป็นขา้ วโพดทมี่ ียอดขายสงู สุดของ บริษทั ซนิ เจนทาซีดส์ ตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมาได้เร่ิมพัฒนาพนั ธ์ขุ ้าวโพดไร่ลูกผสม ด้วยเห็นวา่ ขา้ วโพดไร่เป็นพืชทสี่ าคัญ เมล็ดพันธุท์ ่ี ใช้อยู่ในประเทศซึ่งมีมูลค่าประมาณ 2,000 ล้านบาทน้ันเป็นพันธุกรรมของบริษัทต่างชาติเกือบ 100% จึงได้ต้ังบริษัท วิจัย พัฒนาพันธุ์พืชไทย จากัด ขึ้นมาเพ่ือพัฒนาพันธ์ุข้าวโพดไร่และข้าวโพดข้าวเหนียว เพื่อให้บริษัทของคนไทยนา พันธุกรรมไปผลติ เมลด็ พนั ธุข์ า้ วโพดลูกผสมเพ่ือจาหน่าย ปัจจุบัน ดร.ทวีศักด์ิ ภู่หลา เป็นบุคคลท่ีทาคุณประโยชน์ต่อส่วนรวมให้กับหน่วยงานราชการและเกษตรกร ไดแ้ ก่ 1) การจัดต้ัง ต้ังโรงเรียนเกษตรกรข้าวโพดหวานตั้งแต่ปี 2545 เพ่ือบรรยายให้ความรู้เร่ืองข้าวโพด ดิน ปุ๋ย 2) การตั้ง กลุ่มบน social media ชอ่ื ข้าวโพดหวาน 5 ไร่รอด เพ่ือใหค้ วามรู้พน้ื ฐานด้านขา้ วโพด ดนิ ปยุ๋ แก่เกษตรกรแล้วก่อให้เกิด การปลูกข้าวโพดหวานบนพื้นท่ี 5 ไร่ แล้วมีผลผลิตและรายได้ต่อเนื่อง เกษตรกรท่ีร่วมโครงการสามารถขายผลผลิตได้ กิโลกรมั ละ 30-100 บาท ซึ่งมีการปลูกกันอยา่ งกว้างขวางในไทย และเรมิ่ ขยายไปท่ี เวียดนาม จนี อนิ โดนเี ซยี มาเลเซีย 3) จากผลงานด้านการเกษตรได้รบั การแต่งตง้ั จากคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเกษตรของสานักงานพัฒนาการ วิจัยการเกษตร องค์กรมหาชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2 สมัย และ 4) สนับสนุนหน่วยงานภาครัฐ ท้ังในด้านการ เรยี นการสอน และเปน็ กรรมการตา่ ง ๆ ให้กับมหาวทิ ยาลยั สนับสนนุ ทนุ การศกึ ษาใหก้ ับบุคลากรในหน่วยงานศึกษาต่อใน ระดับท่ีสูงข้ึน สนับสนุนการศึกษาให้กับมหาวิทยาลัย และสนับสนุนการทางานวิจัยของนิสิตปริญญาโทและเอกทางด้าน ข้าวโพดมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งต้งั แตอ่ ดตี จนถึงปัจจุบนั จากผลงานโดดเด่นที่ผ่านมาทั้งด้านการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวาน และการทาคุณประโยชน์ให้กับสังคม ทาให้ ดร.ทวีศักดิ์ ภู่หลา ได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่น 1) งานเรื่องข้าวโพดหวานนามาซึ่งรางวัลบุคคลดีเด่นของชาติ สาขาพัฒนาด้านเศรษฐกจิ ในปี 2542 จากสานกั นายกรัฐมนตรี 2) รางวัลที่ 1 สิ่งประดษิ ฐ์ยอดเยี่ยมจากสภาวจิ ัยแห่งชาติ 3) นักปรบั ปรุงพนั ธุ์พืชดีเด่น สมาคมปรบั ปรุงพันธุแ์ ละขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย 4) การสร้างพันธ์ุข้าวโพดหวานแดง ซุปเปอร์สวีทพันธ์ุแรกของโลก โดยร่วมมือกับ รวิกานต์ ภู่หลา แล้วตั้งชื่อ “ราชินีทับทิมสยาม หรือ SiamRubyQueen” และได้ทาการเผยแพร่ตั้งแต่ปี 2559 พันธ์ุน้ีได้รับรางวัล National Innovation Awards ปี 2560 Chivas Venture ปี 2560 จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ดร.ทวีศักดิ์ ภู่หลา เป็น นักวชิ าการอาวโุ สผู้สรา้ งคุณูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่างทส่ี มควรเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีตอ่ ไป 58

นางวัชรา ชุณหวงศ์ ขา้ ราชการบานาญ นกั กฏี วิทยา ระดบั 8 กลุ่มกีฏและสตั ววทิ ยา สานักวิจยั พัฒนาการอารักขาพชื กรมวชิ าการเกษตร ประวัติการศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ไทย พ.ศ. วุฒิการศกึ ษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2516 วท.บ.(เกษตรศาสตร์) สาขาสตั วศาสตร์ 2525 วท.ม.(เกษตรศาสตร์) สาขากฏี วทิ ยา 59

เชิดชูเกยี รติคณุ ูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง นางวัชรา ชุณหวงศ์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและผลงานทางวิชาการด้านการจัดการศัตรูพืชข้าวโพด จน เปน็ ที่ยอมรบั ในวงวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง ท่านดาเนนิ งานวิจัยท่สี าคญั เกี่ยวกบั การบริหารแมลงศัตรขู า้ วโพดหวานใน แหล่งปลูก อาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ซ่ึงเป็นแหล่งปลูกที่มีการใช้สารฆ่าแมลงมากเกินความจาเป็นท่ีทาให้เกิด ปัญหาแมลงศัตรูพืชหลายชนิดระบาดอย่างรุนแรง จากการสารวจแมลงศัตรูธรรมชาติตั้งแต่ปี2517-2537 ยังไม่เคย ตรวจพบแมลงหางหนีบ Proreus simulans Stallen ซ่ึงเป็นตัวห้าที่สาคัญของแมลงศัตรูข้าวโพดมาก่อน จึงได้ทลองนา แมลงหางหนีบชนิดตัวสีน้าตาลนี้เข้าไปช่วยควบคุมแมลงศัตรูข้าวโพดหวาน พบว่าแมลงหางหนีบสามารถปรับตัวอยู่รอด และแพร่ขยายพันธุ์ต่อไปได้ดี จนสามารถควบคุมแมลงศัตรูข้าวโพดหวานหลายชนิดให้อยู่ต่ากว่าระดับเศรษฐกิจได้ โดย สามารถลดการใช้สารฆา่ แมลงได้ 75-100 เปอร์เซ็นต์ อกี ทง้ั เปน็ การสง่ เสริมให้แมลงศัตรธู รรมชาติในทอ้ งถิน่ ได้มีโอกาส ฟนื้ ฟปู ระชากรเพม่ิ มากขน้ึ อกี ดว้ ย ท่านได้สร้างคุณประโยชน์ด้านวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง ด้วยการเขียนเอกสารทางวิชาการที่เก่ียวข้องกับ การบรหิ ารจดั การแมลงศตั รูขา้ วโพดไว้มากมายหลายผลงาน เช่น 1. แมลงศัตรทู ่สี าคัญของข้าวโพดหวานในประเทศไทย 1. แมลงศตั รขู ้าวโพดและการป้องกันกาจดั 2. การบริหารแมลงศตั รขู ้าวโพดหวานในแหลง่ ปลูกอาเภอดาเนนิ สะดวก 3. การบรหิ ารมอดดนิ ศตั รขู า้ วโพด 4. การจัดการแมลงศัตรทู ี่สาคัญของข้าวโพด 5. การป้องกันกาจัดแมลงศตั รขู ้าวโพดหวานโดยวธิ ผี สมผสาน 6. ปญั หาแมลงศัตรูขา้ วโพดฝกั สดในประเทศไทย 7. เพลยี้ อ่อนแมลงศัตรูข้าวโพดหวาน 8. การจดั การแมลงศตั รขู ้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ 9. บทบาทแมลงหางหนีบ Proreus simulans Stallen ในการควบคุมแมลงศัตรขู ้าวโพด 10. ศตั รูขา้ วโพดฝกั อ่อนและการป้องกันกาจดั 11. Studies on the Economic Threshold Level of Corn Stem Borer,Ostrinia furnacalis (Guenee) 12. Insect Pest of Corn in Thailand 13. Insect Pest Management on Super Sweet Corn at Damnoensaduak. จากความมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ ทาให้ท่านได้มีโอกาสสร้างคุณประโยชน์ในการเผยแพร่ความรู้ จากการได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยาย และฝึกอบรมที่เก่ียวของกับการจัดการแมลงศัตรูข้าวโพด เช่น เป็นวิทยากร บรรยายวชิ า “แมลงศัตรูข้าวโพดและพืชไร่อืน่ ๆ” ในการอบรมหลกั สูตรแมลง-สัตวศ์ ัตรูพชื และการป้องกนั กาจดั ของกอง กีฏและสัตววิทยา ต้ังแต่ปี 2524-2546 เป็นวิทยากรอบรมเร่ือง “แมลงศัตรูข้าวโพดและพืชไร่อ่ืนๆ” ให้แก่เจ้าหน้าท่ี ข้าราชการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่างๆ บริษัทเอกชนผลิตเมล็ดพันธ์ุ และเกษตรกรที่สนใจ ทั่วไป เป็นวทิ ยากรอบรม “Insect Pests of Corn in Thailand”: Training Course in Agriculture Entomology จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ นางวัชรา ชุณหวงศ์ เป็น นกั วชิ าการอาวโุ สผ้สู ร้างคุณูปการด้านวชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟา่ งท่สี มควรเปน็ แบบอย่างท่ดี ีตอ่ ไป 60

นายสรุ พล เชา้ ฉ้อง ขา้ ราชการบานาญ ตาแหน่งนกั วชิ าการเกษตร ศูนยว์ จิ ยั ข้าวโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการศกึ ษา วฒุ ิการศึกษา สถาบนั การศึกษา ประเทศ วท.บ. (พืชศาสตร)์ วทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละอาชวี ศกึ ษา ไทย พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร์) ไทย 2524 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 2536 61

เชิดชเู กียรติคณุ ปู การดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ ง นายสุรพล เช้าฉอ้ ง ได้รบั บรรจทุ างานเขา้ รับราชการในตาแหน่งนักวิชาการเกษตร สังกดั ศูนยว์ จิ ัยข้าวโพดและ ข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2554 โดยได้ทางานวิจัยด้านเขตกรรมใน ข้าวโพดเป็นหลัก เช่น การวิจัยปริมาณธาตุอาหารท่ีเหมาะสมในการปลูกข้าวโพดหวานในพื้นท่ีต่างๆ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ท่ี เหมาะสมในขา้ วโพดหวานพนั ธุ์ต่างๆ ตลอดจนระยะหา่ งระหว่างต้นและระยะห่างแถวท่เี หมาะสมในขา้ วโพดหวานฝกั สด นอกจากนใี้ นช่วงปี พ.ศ.2546 – 2554 ได้ดารงตาแหนง่ หัวหนา้ งานหารายได้ของศูนย์วิจยั ข้าวโพดและขา้ ว ฟ่างแห่งชาติ นายสุรพล เช้าฉ้อง ได้มีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมใหเ้ กษตรกรในพ้ืนที่อาเภอปากช่อง ปลูกข้าวโพดหวาน พันธุ์อินทรี 2 ในรูปแบบพันธะสัญญาและรับซื้อคืนผลผลิตท่ีได้จากการส่งเสริมเพื่อนามาแปรรูปเป็น น้านมข้าวโพด ข้าวโพดหวานตม้ และข้าวโพดหวานฝกั สด โดยการส่งเสรมิ ดังกลา่ วอยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของนกั วชิ าการเกษตรตง้ั แต่ข้ันตอน จัดสรรพ้ืนที่ปลูก การวางแผนการปลูกตลอดจนให้คาปรึกษาตลอดฤดูปลูกให้แก่เกษตรกร ท้ังน้ีศูนย์วิจัยขา้ วโพดและข้าว ฟา่ งแหง่ ชาติ ไดน้ าแนวทางดงั กล่าวมาประยุกต์ใช้ในการสง่ เสริมการปลูกข้าวโพดหวานจนถึงปจั จบุ ัน จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้นจึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ นายสุรพล เช้าฉ้อง เป็น นักวชิ าการอาวโุ สผสู้ ร้างคณุ ปู การด้านวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟา่ ง ทีเ่ ห็นสมควรถือเป็นแบบอยา่ งท่ีดสี ืบไป 62

ศาสตราจารย์ ดร.เอ็จ สโรบล ข้าราชาการบานาญ ภาควชิ าพชื ไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวัติการศกึ ษา สถาบนั การศกึ ษา ประเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วุฒิการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2517 วท.บ. (เกษตรศาสตร์) Iowa State University USA 2521 วท.ม. (เกษตรศาสตร์) 2529 Ph.D. (Crop Production and Physiology) 63

เชดิ ชเู กียรติคุณปู การดา้ นวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง ศาสตราจารย์ ดร.เอ็จ สโรบล เริ่มบรรจุเข้ารับราชการในตาแหน่งอาจารย์ สังกัดภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 ถึงปัจจุบัน และได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาพืชไร่ สังกัดคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2560 สาหรับหน้าที่และความรับผิดชอบในการเป็นอาจารยป์ ระจาตลอดมา ได้แก่ งานสอนทางด้านสรีรวิทยาการผลิตพชื และ ภูมิอากาศพืช การเป็นอาจารยท์ ี่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ์หลกั ให้กับนสิ ิตระดบั ปริญญาโทและเอก จากความเชี่ยวชาญทางด้าน สรีรวทิ ยา การผลติ และอตุ ุนิยมวทิ ยาการเกษตร ทาให้ ศาสตราจารย์ ดร.เอ็จ สโรบล มผี ลงานวิจัยท่ตี ีพิมพท์ ่ีเผยแพร่เป็น ประโยชน์ทางวิชาการทางด้านพชื ไร่ โดยเฉพาะงานวิจัยทางด้านขา้ วโพดยงั คงมีอย่างต่อเน่ือง ทาให้นิสิต และนักวิจัยรุ่น หลงั ได้นาไปใชป้ ระโยชน์ในทางวิชาการและวจิ ยั นอกจากการเรยี นการสอน และการวจิ ัยแล้ว ศาสตราจารย์ ดร.เอจ็ สโรบล ยังคงดารงตาแหน่งบรหิ าร ดงั น้ี พ.ศ. 2533-2536 ผู้ชว่ ยหัวหน้าภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2537-2541 ผชู้ ่วยคณบดฝี า่ ยประสานงาน คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ พ . ศ . 2543-2545 ร อ ง ผู้ อ า น ว ย ก า ร โ ค ร ง ก า ร จั ด ต้ั ง วิ ท ย า เ ข ต ล พ บุ รี ฝ่ า ย วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2545-2549 ผู้อานวยการสถาบันอนิ ทรีจันทรสถิตยเ์ พ่อื การคน้ ควา้ และพัฒนาพืชศาสตร์ พ.ศ. 2549-2555 รองคณบดฝี า่ ยวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ซึ่งในระหว่างดารงตาแหน่งบริหารน้ัน ศาสตราจารย์ ดร.เอ็จ สโรบล สนับสนุนให้นักวิจัยในสังกัด พัฒนา โครงการวิจัยทางด้านปรับปรงุ พันธุแ์ ละเทคโนโลยกี ารผลิตข้าวโพดและข้าวฟ่าง รวมถึงสานต่องานวจิ ยั ทางด้านสรรี วทิ ยา และการผลิตข้าวโพด มีส่วนสาคัญในการผลิตนักวิจัยรุ่นใหม่ทางด้านสรีรวิทยาของข้าวโพด ทั้งในระดับปริญญาโท และ ปริญญาเอกเป็นจานวนมาก รวมไปถึงการให้ยังเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือ ดูแลเอาใจใส่ ถ่ายทอดความรู้คาปรึกษาและ คาแนะนาลกู ศิษย์เปน็ อยา่ งดเี สมอมา ทางด้านงานวิจัยศาสตราจารย์ ดร.เอ็จ สโรบล เป็นหัวหน้าโครงการวิจัยด้านการเขตกรรมขา้ วโพด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540-2559 มีความมุ่งม่ันในการทาวิจัยการเพ่ิมผลผลิตข้าวโพดและข้าวฟ่างโดยการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการ เพาะปลกู และบารุงดนิ ให้ถกู ต้อง ได้ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และให้คาปรกึ ษาทางดา้ นงานวิจยั ใหก้ บั นักวิชาการและ เกษตรกร นอกจากน้ี ยังทาหน้าที่เป็นคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ ในการจัดประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง แห่งชาติ และการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการโครงการวิจยั แม่บทข้าวโพดและข้าวฟา่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้านการบริการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.เอ็จ สโรบล ได้ทาหน้าที่เป็น Editor-in-chief ของวารสาร Kasetsart Journal เป็นอาจารย์พิเศษ/วิทยากรบรรยายด้านการจัดการน้าเพื่อการปลูกพืชไร่ อุตุวิทยาและการ ชลประทานเพ่ือการเกษตร อุตุนยิ มวทิ ยาการเกษตร ใหก้ ับหน่วยงานในประเทศและการฝกึ อบรมในระดับนานาชาติ จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จงึ เหน็ สมควรประกาศยกย่องและเชิดชเู กยี รติให้ ศาสตราจารย์ ดร.เอจ็ สโรบล เปน็ นักวิชาการอาวุโสผสู้ ร้างคุณูปการดา้ นวชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟา่ งทสี่ มควรเป็นแบบอย่างท่ีดตี ่อไป 64

ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลิศรตั น์ ขา้ ราชการบานาญ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประวัตกิ ารศกึ ษา สถาบันการศึกษา ประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ไทย พ.ศ. วุฒิการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2519 วท.บ. (เกษตร) เกยี รตินยิ ม สาขาพชื ศาสตร์ 2521 วท.ม. (พนั ธุศาสตร์) Wisconsin-Madison สหรัฐอเมรกิ า -โดยไดร้ ับทนุ โครงการพัฒนามหาวทิ ยาลยั (UDC) 2527 Ph.D.(Plant Breeding and Plant Genetics) -โดยไดร้ ับพระราชทานทุนมลู นิธิอานันทมหดิ ล (เมือ่ ปีพ.ศ. 2524) 65

เชิดชูเกยี รติคุณูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลศิ รตั น์ เป็นผมู้ ีความร้คู วามสามารถและประสบการณด์ า้ นการปรับปรงุ พนั ธขุ์ า้ วโพด หวานมากวา่ 30 ปี มผี ลงานเดน่ และปลอ่ ยพนั ธขุ์ ้าวโพดหวาน ดังนี้ พ.ศ. 2535 ปล่อยพันธุ์ขา้ วโพดหวานพเิ ศษ พันธ์ผุ สมเปิดพนั ธข์ุ า้ วเหนียวหวานขอนแก่น มเี มลด็ สดสีขาว ท่ีมี ยีนร่วม sh2,wx,su-พันธุ์แรกของประเทศไทย พันธ์ุดังกล่าวยังใช้เป็นพันธุ์แม่ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ประชากรลูกผสม ขอนแก่นหวานสลับสี พ.ศ. 2537 ปล่อยพันธ์ุข้าวโพดหวานพเิ ศษประชากรลูกผสม พันธุ์ขอนแก่นหวานสลับสีเมล็ดสดสีขาวสลับสี เหลือง- พันธแ์ุ รกของประเทศไทย-ขณะนี้เมลด็ พันธุย์ งั ผลิตจาหนา่ ยใหเ้ กษตรกรอยู่ พ.ศ. 2542 ปล่อยพันธ์ุผสมเปิด ข้าวโพดหวานพิเศษสีเหลือง พันธุ์ดอกคูน เมล็ดสดสีเหลือง เป็นพันธุ์ท่ี ปรับปรุงขึ้นมาเพื่อทดแทนพันธส์ุ ีเหลือง พันธุ์พ่อพันธ์ุเดิมทีไ่ ด้จากประชากรพ้ืนฐานกนั กับพันธ์ุข้าวเหนียวหวานขอนแก่น ปจั จบุ นั ผลติ เพื่อใช้เป็นพนั ธุพ์ อ่ เทา่ นนั้ พ.ศ. 2542 ปล่อยพนั ธ์ุผสมเปดิ ขา้ วโพดขา้ วเหนยี ว พนั ธสุ์ าลอี ีสาน ยังผลติ จาหนา่ ยใหเ้ กษตรกรอย่ทู มี่ ียีนรว่ ม คอื wx, sh2,su-พนั ธแุ์ รกของประเทศไทย- ขณะนี้เมลด็ พนั ธุ์ยัง ผลติ จาหนา่ ยใหเ้ กษตรกรอยู่ พ.ศ. 2542 ปล่อยพันธ์ุผสมเปิดข้าวโพดหวานพิเศษ พันธุ์หวาน 8 แถว เมล็ดสดสีขาว มีแปดแถวต่อฝัก ปัจจุบนั พนั ธุ์น้ีใชเ้ ปน็ เชื้อพนั ธกุ รรมในงานปรับปรุงพนั ธข์ุ า้ วโพดหวานฝกั เล็ก พ.ศ. 2550 ปล่อยพันธ์ุข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพนั ธ์ุใหม่ “ข้าวเหนียวสลับสี”เมล็ดสดสีเหลืองสลับสีขาว และ “ไขม่ ุก” เมล็ดสดสขี าว ท้ังสองพันธม์ุ ียีนรว่ มคือ wx, sh2 ของข้าวโพดข้าวเหนียวและขา้ วโพดหวาน ทาใหม้ เี มล็ดที่มี รสหวานแทรก กระจายอยู่บนฝักของข้าวโพดข้าวเหนียว เมล็ดพันธุ์ของข้าวโพดพันธุ์ดังกล่าวข้างต้น ได้ถูกใช้เป็นฐาน พันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานพิเศษและข้าวโพดข้าวเหนียว ของท้ังภาคเอกชนและหน่วยราชการหลาย หนว่ ยงาน ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลิศรัตน์ ได้ยื่นขอจดทะเบียน สายพันธ์ุแท้ของข้าวโพดข้าวเหนียว 3 สายพันธุ์ ของ ข้าวโพดหวาน 5 สายพันธ์ุ และพันธ์ุข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสม 3 พันธ์ุ เพ่ือขอรับการคุ้มครองเป็นพนั ธุพ์ ืชพนั ธใ์ุ หมต่ าม พรบ คุ้มครองพันธุ์พืช 2542 ต่อกองคุ้มครองพันธ์ุพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระหว่างปี 2548-2550 ขณะน้ีอยู่ในข้นั ตอนของการตรวจสอบเพอื่ รับรองพนั ธุ์ จากประสบการณท์ ้ังงานวิชาการ และงานวิจัย ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลศิ รตั น์ ผลงานวิจยั สาคญั ทางดา้ นการ ปรับปรุงพันธุ์ขา้ วโพดหวานและข้าวโพดข้าวเหนียวด้วยวิธีการ conventional breeding และการใช้เคร่ืองหมายโมเลกุล ที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งระดับชาติ และนานาชาติ แต่งตาราการปรับปรุงพันธ์ุพืชผสมข้าม ในปี 2536 ได้รับรางวัลชมเชย สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ ในโครงการประกวดตาราดีเด่น เน่ืองในวาระครบรอบ 30 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น) และ ในปี พ.ศ. 2549 แตง่ ตาราการปรบั ปรุงพันธุ์พชื ท่ีใช้สอนในรูปแบบ E-learning นอกจากน้ี ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลิศรัตน์ ได้สร้างบุคลากรด้านปรับปรุงพันธุพ์ ืชภาคสนาม ให้กับทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนหลายบรษิ ัท ทั้งของไทยและตา่ งประเทศ ผ่านระบบนกั ศึกษาชว่ ยงานวิจัย จากโครงการปรับปรงุ พันธุ์พืชที่ ได้ทามาอย่างต่อเน่ือง ได้เป็นวิทยากรบรรยายในเรื่องการปรับปรุงพันธ์ุและการผลิตเมล็ดพันธุ์ผักให้กับท้ังภาครัฐและ เอกชนมาโดยตลอด จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลศิ รัตน์ เปน็ นกั วชิ าการอาวุโสผสู้ ร้างคุณูปการด้านวชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟ่างทสี่ มควรเป็นแบบอยา่ งที่ดีตอ่ ไป 66

รองศาสตราจารย์ประวิตร พุทธานนท์ ข้าราชการบานาญ สาขาวชิ าพชื ไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ ประวัติการศกึ ษา พ.ศ. วุฒิการศกึ ษา สถาบนั การศึกษา ประเทศ 2520 วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไทย 2531 วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2523 Certificate: Plant Protection of Maize JICA Japan 2525 Diploma: Maize Improvement CIMMYT Mexico 2531 Certificate: Computer in Application to Plant University of Australia Breeding and G x E Queensland 2531 Certificate: Fulbright Senior Researcher in University of Kentucky USA Maize Biotechnology 67

เชิดชเู กยี รติคณุ ูปการดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง รองศาสตราจารย์ประวิตร พุทธานนท์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพดหวานและ ข้าวโพดฝักอ่อน จนเป็นท่ียอมรับในวงการวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง ท่านเป็นผู้มีประสบการณ์จากการผ่านหลักสูตร การฝึกอบรมท่ีเก่ียวข้องกับการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพด จากหน่ายงานต่างประเทศ เช่น ปี พ.ศ. 1980 ผ่านการฝึกอบรม หลักสูตร Certificate: Plant Protection of Maize จาก JICA ประเทศญ่ีปุ่น ปี พ.ศ. 1982 Diploma: Maize Improvement จาก CIMMYT ประเทศเมก็ ซโิ ก ปี พ.ศ. 1988 ได้รับ Certificate: Computer in Application to Plant Breeding and G x E จาก University of Queensland ประเทศออสเตรเลีย และ Certificate: Fulbright Senior Researcher in Maize Biotechnology จาก University of Kentucky ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ในช่วงแรกของการรับราชการได้ปฏิบตั ิงาน ณ สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร จากนั้นมาปฏิบัติงานใน ตาแหน่งอาจารย์ ณ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และด้วยความรู้ความสามารถทาให้ได้ทาหน้าที่ใน ตาแหน่งบริหารท่ีสาคัญ คือ ในช่วงปี พ.ศ. 2548-2552 ดารงหัวหน้าภาควิชาพืชไร่ และในช่วงปี พ.ศ. 2553-2557 ดารงตาแหน่งคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม้โจ้ และได้ดารงตาแหน่งรองอธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก ในช่วงปี พ.ศ. 2559-2561 ในชว่ งทีป่ ฏิบัติงานโดยต้องดารงตาแหน่งบริหารที่สาคญั รองศาสตราจารย์ประวิตร พุทธานนท์ ยงั คงทาหน้าท่ี ผลติ บัณฑิตระดบั ปรญิ ญาโทและปริญญาเอกในสาขาการปรบั ปรงุ พนั ธุพ์ ชื จานวนมาก สร้างสรรค์ผลงานตีพิมพท์ างวชิ าการ อย่างต่อเนื่องจานวนมาก ในสาขาเก่ียวข้องกับการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อน อีกท้ังยังมีผลงานใน การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อนท่ีมีช่ือเสียงในปัจจบุ ัน เช่น พัฒนาพันธุ์ข้าวโพดหวานแม่โจ้ 72 พัฒนา พนั ธข์ุ ้าวโพดหวาน 84 และ พฒั นาพันธ์ุข้าวโพดฝกั ออ่ นเชยี งใหม่ 90 จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ รองศาสตราจารย์ประวิตร พทุ ธานนท์ เป็นนกั วิชาการอาวุโสผสู้ ร้างคุณูปการดา้ นวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟา่ งที่สมควรเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ตี ่อไป 68

ดร.ธารงศิลป โพธิสูง ขา้ ราชการบานาญ ตาแหน่งนักวิชาการเกษตร ชานาญการพเิ ศษ ศูนยว์ ิจยั ข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวตั กิ ารศึกษา วุฒกิ ารศกึ ษา สถาบันการศึกษา ประเทศ วท.บ. (ชีววทิ ยา) มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ไทย พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2519 2531 69

เชิดชเู กียรติคุณปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง ดร.ธารงศิลป โพธิสูง ได้รับบรรจุทางานเข้ารับราชการในตาแหน่งนักวิชาการเกษตร สังกัดศูนย์วิจัยข้าวโพด และข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2557 เป็นนักวิชาการเกษตรด้านการ ปรับปรุงพันธ์ุขา้ วฟ่าง โดยในช่วงปี พ.ศ. 2521 ดร.ธารงศลิ ป โพธสิ งู ได้รว่ มทางานวิจยั เพ่ือพฒั นาขา้ วฟา่ งลกู ผสม และมี การเปรียบเทยี บพันธุก์ บั ข้าวฟ่างลูกผสมของบริษทั เอกชน มีการสร้างประชากรข้าวฟ่างโดยใช้ขา้ วฟา่ งเพศผู้เป็นหมันและ การพัฒนาสายพันธ์ุแมท่ ี่เป็น cytoplasmic genetic male sterile ในปี พ.ศ. 2533 ได้เป็นหัวหน้าโครงการโดยทาการ วจิ ยั ต่อเนอ่ื งดา้ นการพฒั นาพนั ธ์ุข้าวฟา่ ง ชว่ งนไ้ี ดม้ ีการพฒั นาพนั ธขุ์ า้ วฟ่างโดยแบ่งกลมุ่ ตามการใช้ประโยชน์ คือข้าวฟ่างใช้ เมล็ด ข้าวฟ่างอาหารสัตว์ ข้าวฟ่างหวาน ข้าวฟ่างไม้กวาด ข้าวฟ่างไข่มุก และข้าวฟ่างหางกระรอก โดยมีพันธ์ุท่ีแนะนา ส่งเสริม ไดแ้ ก่ ขา้ วฟา่ งพันธ์ุ KU257,KU439, KI630,KU804,KU902 และ KU909 ข้าวฟา่ งลูกผสมพันธุ์ KU850,1 KU9502 และ KU2015 ข้าวฟ่างอาหารสัตว์พันธุ์ KDF 404 ข้าวฟ่างหวานพันธ์ุ suwan sweet 4 ข้าวฟ่างไม้กวาด พันธ์ุ KU B1 ข้าวฟ่างไม้กวาดพันธ์ุรวงเรียว 1 ข้าวฟ่างไข่มุกพันธุ์ KU01 ข้าวฟ่างหางกระรอกพันธุ์กินรี 1 และข้าวฟ่าง หางกระรอกพันธุ์กินรี 2 ในส่วนของงานบริหาร ดร.ธารงศลิ ป โพธสิ งู ได้ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการศูนย์วิจยั ข้าวโพดฯ ดังน้ี 1) ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการศนู ยว์ ิจัยขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ ระหว่าง 9 มิ.ย. 2547 – 31 พ.ค. 2549 2) ดารงตาแหน่ง รกั ษาการผู้อานวยการศนู ย์วจิ ัยข้าวโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ ระหว่าง 1 ม.ิ ย. – 31 ส.ค. 2549 3) ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการศนู ย์วจิ ยั ข้าวโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ ระหวา่ ง 1 ม.ี ค. 2550 – 28 ก.พ. 2554 ในช่วงเวลาที่ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์วิจัยข้าวโพดฯ น้ันได้สนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน ท้ังด้าน งานวิจัย การบริการวิชาการ การหารายได้ของหน่วยงาน นอกจากนี้ได้มีการดาเนินการสร้างหอประวัติและพิพิธภัณฑ์ เกษตรไร่สุวรรณ เพ่ือเป็นอาคารแสดงเร่ืองราวต่างๆ ในอดีตเป็นเกียรติภูมิของไร่สุวรรณท่ีได้สร้างคุณประโยชน์แก่ ประเทศชาตนิ านปั การตลอดมาจนถึงปัจจบุ ัน จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้นจึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ดร.ธารงศิลป โพธิสูง เป็น นักวชิ าการอาวโุ สผูส้ ร้างคณุ ปู การดา้ นวิชาการข้าวโพดและข้าวฟา่ ง ท่ีเห็นสมควรถอื เป็นแบบอย่างทีด่ ีสบื ไป 70

นายณรงค์ วุฒิวรรณ ข้าราชการบานาญ กรมส่งเสรมิ การเกษตร อดตี ผู้อานวยการสว่ นสง่ เสรมิ สนิ คา้ เกษตร ประวัตกิ ารศกึ ษา วฒุ กิ ารศกึ ษา สถาบนั การศึกษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ไทย พ.ศ. วท.ม. (สง่ เสรมิ การเกษตร) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2521 DIPLOMA CIMMYT เม็กซิโก 2530 2532 71

เชิดชเู กยี รตคิ ณุ ปู การดา้ นวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง นายณรงค์ วุฒิวรรณ เป็นผู้มีประสบการณ์และความรู้ความสามารถด้านการส่งเสริมการเกษตร โดยเฉพาะท่ี เกี่ยวข้องกับข้าวโพด จนเป็นท่ียอมรับในวงการวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง ท่านมีผลงานโครงการด้านการส่งเสริม การเกษตร จานวนหลากหลายโครงการ เช่น ส่งเสริมการปลูกข้าวโพดข้าวฟ่างลูกผสมร่วมกับภาคเอกชนและสถาบัน การเงิน (ส่ปี ระสาน) สง่ เสรมิ การปลกู ขา้ วโพดเลีย้ งสตั วล์ ูกผสมเด่ยี ว สง่ เสรมิ เล่ือนระยะเวลาการปลูกขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์เพ่อื หลีกเลี่ยงภัยธรรมชาติ ส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังฤดูทานา ร่วมกับกรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแ์ ละภาคเอกชน การส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลกู ผสมเดี่ยว ปี 2540 – 2543 และ เคยไดร้ บั รางวลั การนาเสนอผลงานจากมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นอกจากความสามารถของการเป็นนักส่งเสริมการเกษตรแล้ว ท่านยังความสามารถด้านการบริหาร จนได้รับ การยอมรับให้ดารงตาแหน่งบริหารท่ีสาคัญ เช่น หัวหน้างานข้าวโพดและขา้ วฟา่ ง กองส่งเสริมพืชไร่นา กรมส่งเสริมการ เษตร และผูอ้ านวยการส่วนสง่ เสรมิ สินค้าเกษตร สานักสง่ เสรมิ และจัดการสนิ ค้าเกษตร กรมสง่ เสรมิ การเษตร จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ นายณรงค์ วุฒิวรรณ เป็น นกั วิชาการอาวุโสผ้สู ร้างคุณูปการดา้ นวิชาการข้าวโพดและขา้ วฟา่ งท่สี มควรเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีตอ่ ไป 72

ดร.สรรเสรญิ จาปาทอง ข้าราชการบานาญ นกั วชิ าการเกษตรเช่ียวชาญ ศนู ย์วจิ ัยขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศกึ ษา วฒุ ิการศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2519 Ph.D. (Agronomy) University of Missouri Columbia 2531 สหรฐั อเมรกิ า 2542 73

เชดิ ชเู กยี รติคณุ ูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง ดร.สรรเสริญ จาปาทอง ไดร้ ับบรรจทุ างานเขา้ รบั ราชการในตาแหน่งนักวิชาการเกษตร สังกดั ศูนย์วิจยั ขา้ วโพด และข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2559 มีหน้าที่รับผิดชอบเก่ียวกับ งานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในช่วงที่รับราชการได้สร้างผลงานวิจัยด้านพันธ์ุข้าวโพด ท่ีทาให้เกิด ประโยชนท์ ั้งในส่วนภาครฐั และเอกชน รวมทงั้ การถา่ ยทอดความรู้และให้คาแนะนาทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ วงการข้าวโพด ประโยชน์ที่ได้จากผลงานวจิ ัยด้านการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ทาให้เกิดการต่อยอดของการสร้างพันธ์ุ ข้าวโพดที่มีศักยภาพ เพื่อการใช้ประโยชน์ในระดับต่าง ๆ สามารถสร้างรายได้และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโดยรวมแก่ ประเทศชาติ นอกจากผลงานวิจัยแล้ว ดร.สรรเสริญ จาปาทอง ยังมีบทบาทเป็นหัวหน้าโครงการทดสอบพันธ์ุข้าวโพด ลูกผสมร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน (กรอ.) สง่ เสริมให้เกดิ ความรว่ มมือกันระหว่างนกั วิจยั ดา้ นปรับปรุงพนั ธ์ุข้าวโพด ของภาครัฐและเอกชนในประเทศ ส่งผลให้เกิดการพฒั นางานวิจยั การปรับปรุงพันธุ์ของประเทศโดยรวม ในส่วนของงานบริหาร ดร.สรรเสริญ จาปาทอง ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่าง แห่งชาติ และหัวหน้าสถานีวิจัยพืชไร่สุวรรณวาจกกสิกิจ ในช่วงปี พ.ศ. 2544 – 2546 ได้สนับสนุนภารกิจของ หน่วยงาน ท้ังด้านงานวิจัย การบริการวิชาการ รวมถึงการหารายได้ของหน่วยงาน โดยดาเนินการสร้างอาคารจาหน่าย ข้าวโพดหวานไร่สวุ รรณ เพ่อื จาหนา่ ยผลิตภณั ฑจ์ ากข้าวโพดหวานพันธอุ์ นิ ทรี 2 ซึ่งเปน็ พันธุ์ขา้ วโพดที่เกิดจากงานวิจยั ทา ให้เกิดรายได้ท้ังในส่วนของหน่วยงานเอง อีกท้ังเป็นการส่งเสริมให้เกิดอาชีพแก่เกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชนต่าง ๆ ใน พ้ืนท่ีข้างเคยี งอยา่ งยั่งยนื จากผลงานเชิงประจกั ษ์ขา้ งต้นจึงเห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชดิ ชูเกียรติให้ ดร.สรรเสริญ จาปาทอง เป็น นกั วิชาการอาวโุ สผสู้ รา้ งคุณูปการดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ ง ทเ่ี ห็นสมควรถือเป็นแบบอยา่ งที่ดีสืบไป 74

นายสุขมุ โชติชว่ งมณีรตั น์ ขา้ ราชการบานาญ นกั วิชาการเกษตร ศนู ยว์ ิจยั ขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศึกษา สถาบนั การศกึ ษา ประเทศ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วุฒิการศึกษา ไทย 2521 วท.บ. (เกษตรศาสตร์) AIT 2525 The University of Western Australia Australia 2531 M.S. (Agriculture Studies) 75

เชิดชเู กยี รติคุณูปการด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง นายสุขุม โชติช่วงมณีรัตน์ ได้รับบรรจุทางานเข้ารับราชการในตาแหน่งนักวิชาการเกษตร สังกัดศูนย์วิจัย ข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2556 มีหน้าท่ีรับผิดชอบ เก่ียวกับงานวิจัยด้านดิน ปุ๋ย และพืชบารุงดิน ได้ดาเนินงานวิจัยด้านการจัดการดินสาหรับการผลิตข้าวโพดแบบเกษตร อินทรีย์ การศึกษาการใช้พืชบารุงดินในการผลิตข้าวโพด เช่นการปลูกไมยราบไร้หนามแซมข้าวโพดหวานเพ่ือลดการใช้ สารเคมี การจดั การดินสาหรบั การเพาะปลูกข้าวโพดอย่างยัง่ ยืน โดยลดการไถพรวน รวมทง้ั นาองค์ความรูท้ ไ่ี ด้จากงานวิจัย มาถา่ ยทอดความรู้ ให้คาแนะนา และตอ่ ยอดงานวจิ ัยท่เี ป็นด้านดิน ปุ๋ย และพชื บารุงดนิ ในระบบการปลูกขา้ วโพดตอ่ ไป ในระหว่างท่ีปฏิบัติหน้าท่ี นอกจากงานวิจัยแล้ว นายสุขุม โชติช่วงมณีรัตน์ ยังได้สนับสนุนภารกิจด้านอื่น ๆ ของหน่วยงาน โดยนาองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยมาถ่ายทอดผ่านทาง การฝึกอบรม การเย่ียมชมหน่วยงาน การฝึกงาน นิสิต โดยเป็นวิทยากรฝึกงานในหัวข้อ “ดิน ปุ๋ย และพืชบารุงดิน” ผู้ดาเนินการหลักในการฝึกงานให้กับนิสิตโครงการ แลกเปลี่ยนจาก Tokyo University of Agriculture (TUA) จากผลงานเชงิ ประจกั ษ์ขา้ งต้นจงึ เหน็ สมควรประกาศยกย่องและเชิดชเู กียรตใิ ห้ นายสขุ มุ โชตชิ ่วงมณรี ตั น์ เปน็ นักวิชาการอาวโุ สผู้สร้างคณุ ปู การดา้ นวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟา่ ง ท่เี ห็นสมควรถอื เปน็ แบบอยา่ งทีด่ สี ืบไป 76

รองศาสตราจารย์ ศานิต เก้าเอีย้ น ข้าราชการบานาญ ภาควขิ าเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรพั ยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวตั ิการศกึ ษา วุฒกิ ารศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (เศรษฐศาสตรเ์ กษตร) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วท.บ. (เศรษฐศาสตรเ์ กษตร) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2521 2524 77

เชดิ ชเู กยี รติคุณูปการด้านวิชาการข้าวโพดและขา้ วฟา่ ง รองศาสตราจารย์ ศานิต เกา้ เอี้ยน เป็นผมู้ ีประสบการณ์และความรู้ความสามารถดา้ นเศรษฐศาสตร์เกษตร จน เป็นที่ยอมรับในวงวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟ่าง ท่านทางานวจิ ยั ทางดา้ นเศรษฐศาสตร์ในโครงการวิจัยแม่บทขา้ วโพดและ ข้าวฟ่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาอย่างต่อเน่ืองเกือบ 20 ปี มีผลงานวิจัยทางด้านเศรษฐศาสตร์มาอย่างต่อเนื่อง ยาวนาน ตั้งแตป่ ี 2545-2557 ดงั น้ี พ.ศ. 2545-2549 การวเิ คราะห์ตน้ ทนุ และผลตอบแทนของการผลติ ข้าวโพดจาแนกตามวธิ กี ารผลิต พ.ศ. 2550-2552 การวเิ คราะหค์ วามคุ้มค่าจากการลงทุนผลติ ข้าวโพดเล้ียงสตั วแ์ ละข้าวโพด รับประทานฝัก สด จาแนกตามวิธกี ารผลิต พ.ศ. 2553-2555 การวิเคราะห์เศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผผู้ ลิตข้าวโพดเลีย้ งสัตว์และขา้ วโพดฝักสด พ.ศ. 2556-2557 การศึกษาภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตวใ์ นแหล่งผลติ ที่ สาคัญของประเทศไทย รวมทั้งยังได้มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการและนาเสนอในการประชุมวิชาการต่าง ๆ มากมาย ในบทบาทการทาหน้าที่อาจารย์ รองศาสตราจารย์ ศานิต เก้าเอี้ยน ได้ผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตทางด้าน เศรษฐศาสตร์และธุรกิจเกษตรออกไปทางานในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประกอบธุรกิจส่วนตัว นอกจากนี้ ยังผลิต บัณฑติ ทท่ี างานทางดา้ นเศรษฐศาสตรแ์ ละธุรกิจเกษตรดา้ นอน่ื ๆ โดยเปน็ อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาหลัก อาจารยท์ ่ปี รึกษาร่วม การ คน้ คว้าอสิ ระท่เี ป็นอาจารย์ทป่ี รึกษาหลัก และอาจารย์ทปี่ รึกษาร่วม โดยในปัจจุบันยังคงทาหน้าที่ เป็นที่ปรึกษาและให้คาแนะนาให้กับนักวิจัยรุ่นใหม่ท่ีมารับช่วงต่องานทางด้าน เศรษฐศาสตรข์ องโครงการวิจัยแม่บทขา้ วโพดและข้าวฟ่าง จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ รองศาสตราจารย์ ศานิต เก้าเอยี้ น เปน็ นกั วิชาการอาวโุ สผู้สรา้ งคุณปู การดา้ นวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างทีส่ มควรเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ตี ่อไป 78

นายพเิ ชษฐ์ กรุดลอยมา ขา้ ราชการบานาญ กรมวิชาการเกษตร ประวัติการศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย ปี พ.ศ. วุฒิการศกึ ษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2522 วท.บ. (เกษตรศาสตร์) 2528 วท.ม. (เกษตรศาสตร์) การปรบั ปรุงพันธ์พุ ืช 79

เชิดชเู กียรติคุณปู การดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ ง นายพิเชษฐ์ กรุดลอยมา รับราชการในสังกัดกรมวิชาการเกษตร ปฏิบัติงานวิจัยทางด้านการปรับปรุงพันธุ์ ข้าวโพดมาอย่างต่อเน่ือง มีส่วนร่วมในการประสานงานความร่วมมือระหว่างกรมวชิ าการเกษตรกับหน่วยงานต่างประเทศ โดยทาหน้าที่เป็นผู้ประสานงานโครงการความร่วมมือในงานวิจัยข้าวโพดระหว่างกรมวิชาการเกษตร และสาธารณรัฐ เกาหลี ในปี พ.ศ. 2545-2549 และ ผู้ประสานงานความร่วมมืองานวิจัยระหว่างกรมวิชาการเกษตรและศูนย์ปรับปรุง ข้าวโพดข้าวสาลีนานาชาติ (CIMMYT) ภายใต้โครงการ “Enhancing Maize Productivity in Drought – Prone Environment in East and Southeast Asia ระหว่างปี พ.ศ. 2548-2550 นอกจากนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2560 ยงั คงเป็นผปู้ ระสานงานความร่วมมอื ทางด้านพืชไรอ่ น่ื ๆ ของกรมวิชาการเกษตรกบั สถาบนั ในต่างประเทศ ทางดา้ นงานวิจยั นั้น นายพิเชษฐ์ กรดุ ลอยมา ไดท้ างานวิจัยทางด้านการปรับปรงุ พนั ธ์ขุ ้าวโพด และเป็นหัวหนา้ โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด กรมวิชาการเกษตร ในปี พ.ศ. 2549-2553 ผลงานเด่นท่ีได้จากโครงการปรับปรุงพันธุ์ ข้าวโพด กรมวิชาการเกษตร ท่สี ่งเสรมิ ใหเ้ กษตรกรใช้ต่อเนอ่ื งมาจนถงึ ปัจจบุ นั และไดร้ ับรางวลั จากผลงานดังกลา่ ว ไดแ้ ก่ 1) ผลงานวิจัยดีเด่นอับดับ 1 ประจาปี 2532 เร่ือง “ ข้าวโพดพันธุ์นครสวรรค์ 1“ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2) ผลงานวิจัยดีเด่นอับดับ 1 ประจาปี 2543 เร่ือง “การพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 72 และเส้นทางการเผยแพรส่ ูผ่ ใู้ ชป้ ระโยชน์” กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3) นกั ปรบั ปรุงพันธ์ุพชื ดีเดน่ ประจาปี 2545 สมาคมปรับปรุงพันธุแ์ ละขยายพันธ์ุพืชแหง่ ประเทศไทย 4) ผลงานวิจัยดีเด่นอับดับ 1 ประจาปี 2552 เร่ือง “ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมเดี่ยวพันธ์ุนครสวรรค์ 3” กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นอกจากน้ี ยังมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติอย่างต่อเน่ือง ทาให้เกิดประโยชน์ต่อแวดวง วชิ าการทางด้านการปรบั ปรุงพนั ธุข์ า้ วโพดเป็นอยา่ งมาก นายพิเชษฐ์ กรุดลอยมา เป็นผู้มีความสามารถโดดเด่นด้านการบริหารงาน ได้รับตาแหน่งบริหารที่สาคัญของ กรมวิชาการเกษตร มาอย่างต่อเน่ือง ในปี พ.ศ. 2551 – 2558 ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์วจิ ัยพชื ไร่นครสวรรค์ กรมวิชาการเกษตร ปี พ.ศ. 2558 – 2560 ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถาบนั วจิ ัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรม วชิ าการเกษตร นอกจากน้ีท่านยงั ได้ทางานหนา้ ท่ี เลขาธิการสมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พชื แห่งประเทศไทย ในปี 2556 และ นายกสมาคมปรับปรงุ พนั ธแุ์ ละขยายพนั ธุพ์ ชื แหง่ ประเทศไทย ในปี 2559 จากผลงานเชงิ ประจกั ษข์ า้ งต้น จงึ เห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกยี รติให้ นายพิเชษฐ์ กรุดลอยมา เป็น นักวิชาการอาวโุ สผู้สร้างคุณูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ งท่ีสมควรเป็นแบบอยา่ งทด่ี ตี อ่ ไป 80

นายมนตรี คงแดง ผู้จัดการฝา่ ยวจิ ัยและพัฒนา Research and Development Manager บริษัท แปซฟิ คิ เมลด็ พันธ์ุ จากดั ประวัตกิ ารศึกษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร์) สาขาปรับปรงุ พนั ธุพ์ ืช มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2523 2527 81

เชดิ ชูเกียรติคณุ ปู การดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง นายมนตรี คงแดง เรม่ิ ทางานในวงการข้าวโพดและขา้ วฟ่าง ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2527 เปน็ ผปู้ ระสานงาน โครงการ ฝึกอบรมชาวต่างชาติ ด้านงานวิจัยข้าวโพด โดยทุนของกรมวิเทศสหการ กระทรวงต่างประเทศ และ ช่วยงานโครงการ ปรับปรุงพันธ์ขุ ้าวฟ่าง ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ จากน้ัน ในปี พ.ศ. 2528 ไปทางานท่ี บริษัท แปซิฟิคเมลด็ พันธ์ุ จากดั ตาแหนง่ นกั ปรบั ปรงุ พันธ์ุขา้ วโพด และในปี พ.ศ. 2546 ไดร้ ับการแตง่ ตั้งเปน็ ผู้จัดการฝา่ ยวิจัยและพัฒนา ซ่ึง ไดท้ างานตอ่ เนอื่ งมาจนถงึ ปัจจุบนั ในปี พ.ศ. 2541 ได้ไปฝึกอบรมเรื่อง วิธีการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เทคนิค Double haploid ท่ีประเทศ สหรัฐอเมริกา ในปีเดียวกันได้นาวิธีการ Double haploid (โดยใช้ in vivo maternal haploid inducer) มาใช้ในการ ปรับปรุงพันุธข์ ้าวโพดในประเทศไทยเป็นคนแรก โดยใช้ Haploid inducer ท่ีนาเข้ามาจากสหรัฐอเมริกา ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 ได้เร่ิมทาการปรับปรุง Haploid inducer จนประสบความสาเร็จ สามารถสร้าง Tropical haploid inducer ข้นึ มาใช้เองในปี พ.ศ. 2550 ซง่ึ ขณะนโ้ี ครงการปรบั ปรงุ สายพันธแุ์ ท้ขา้ วโพดท่ีทาอย่ไู ดใ้ ชว้ ิธกี าร Double haploid 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ ตั้งแต่เร่ิมทางานด้านปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด ได้ Release พันธุ์ข้าวโพดพันธุ์แรกในปี 2531 จนถึงปัจจุบัน ได้ Release พันธุ์ข้าวโพดสาหรับประเทศไทยและต่างประเทศแล้วกว่า 20 พันธุ์ พันธุ์เด่นในท้องตลาด เช่น แปซิฟิค 11 (ปี 2531) แปซิฟคิ 328 (ปี 2536) แปซิฟิค 984 (ปี 2544) แปซิฟคิ 999 (ปี 2548) แปซฟิ คิ 339 และ แปซิฟคิ 999 Super (ปี 2553), แปซิฟิค 777 (ปี 2555), แปซิฟิค 139 (ปี 2559), แปซิฟิค 789 (ปี 2561) และ แปซิฟิค 995 (ปี 2563) ซ่ึงพันธุ์ แปซิฟิค 999 เป็นพันธุ์แรกที่ parent หน่ึงข้างได้มาจากการปรับปรุงพันธ์ุโดยใช้วิธีการ Double haploid ในขณะที่ แปซิฟิค 139 เป็นพันธุ์แรกท่ี parents ทั้งสองข้างได้มาจากการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้วธิ ีการ Double haploid ในปัจจบุ นั parents ทกุ สายพนั ธ์ไุ ด้รับการปรับปรุงพนั ธม์ุ าดว้ ยวธิ ีการ Double haploid พันธุ์ข้าวโพดจากโครงการปรับปรุงพันธ์ุดังกล่าว ได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย และยังมีการ ส่งออกไปจาหน่ายในหลายประเทศท่ัวโลก เช่น ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ ปากีสถาน และประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกา นอกจากนี้ยังมีการนาพ่อแม่พันธุ์ของพันธุ์ท่ีได้รับการปรับปรุง จากประเทศไทยไปผลิตเมล็ดพันธุ์ในอีกหลายประเทศ เช่น อินเดีย บราซิล และบางประเทศในลาตินอเมริกา โครงการ ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของแปซิฟิคประเทศไทย ประสบความสาเร็จอย่างมากท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศ ทาให้ บริษัทแม่ต้ังให้แปซิฟคิ ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปรับปรุงพนั ธข์ุ ้าวโพดเพื่อเขตร้อนชื้น ของบริษัทในเครือ Advanta ทว่ั โลก นอกจากนี้ นายมนตรี คงแดง ได้รับเชิญจากหน่วยงานภาครัฐไปเป็นวิทยากรบรรยาย ได้แก่ 1) Turn Pro Plant Breeder ในการอบรม “Plant Breeding In Commercial Organization” มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก า แ พ ง แ ส น 2) Line Development ใ น ก า ร จั ด Workshop “ Commercial Plant Breeding” ม ห า วิ ท ย า ลัย เกษตรศาสตร์ กาแพงแสน 3) การพัฒนาพันธุ์พืชลูกผสม ในงานเสวนา “การพัฒนาพนั ธุ์พืชและพันธส์ุ ัตว์” มหาวิทยาลยั แม่โจ้ 4) Line Development ใน Workshop “ธุรกิจเมล็ดพันธ์ุและงานวิจัย” มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 5) Double Haploid in Corn Breeding Program ในการประชุมแผนแมบ่ ทขา้ วโพดข้าวฟ่าง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จ. พระนครศรีอยุธยา และ 6) Double Haploid (DH) Technology in Corn ในการสัมมนา APSA 1st Field Crops Webinar 2021 เป็นกรรมการสมาคมปรบั ปรุงพนั ธแ์ุ ละขยายพันธุพ์ ชื แหง่ ประเทศไทย และได้รับรางวลั นกั ปรับปรงุ พนั ธ์ุ และขยายพนั ธุพ์ ชื ดีเดน่ ประจาปี พ.ศ. 2562 จากสมาคมปรับปรุงพนั ธ์แุ ละขยายพันธ์พุ ชื แห่งประเทศไทย จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ นายมนตรี คงแดง เป็น นักวชิ าการอาวุโสผสู้ ร้างคณุ ปู การด้านวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟ่างที่สมควรเปน็ แบบอย่างทด่ี ตี ่อไป 82

ดร.โชคชัย เอกทศั นาวรรณ ขา้ ราชการบานาญ ตาแหนง่ นกั วชิ าการเกษตรเช่ยี วชาญพิเศษ ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวตั ิการศกึ ษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ไทย พ.ศ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2524 วท.ม. (พชื ไร)่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2526 วท.ด. (พชื ไรน่ า) 2533 83

เชดิ ชูเกียรติคณุ ปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง ดร.โชคชัย เอกทัศนาวรรณ ได้รับบรรจุทางานเข้ารับราชการในตาแหน่งนักวิชาการเกษตร สังกัดศูนย์วิจัย ข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ. 2561 มีหน้าท่ีรับผิดชอบ เก่ียวกับงานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดฝักสด ในช่วงที่รับราชการได้สร้างผลงานวิจัยโดยได้ปรับปรุงพัฒนาพันธุ์ ข้าวโพดหวาน พนั ธุอ์ นิ ทรี 2 ซ่ึงเป็นพนั ธุท์ ส่ี รา้ งรายไดห้ ลักให้กับศูนยว์ ิจัยขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติจนถงึ ปัจจบุ ัน โดยในปัจจบุ ันผลจากการวิจยั พัฒนาการปรับปรุงพันธ์ขุ า้ วโพดหวานพนั ธ์อุ ินทรี 2 ทาให้เกดิ การตอ่ ยอดในการ สร้างรายได้หลักให้กับหน่วยงาน โดยมีการนาพันธุ์ข้าวโพดหวานพันธ์ุอินทรี 2 ไปส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกภายใต้การ ควบคมุ ดูแลใหค้ าปรึกษาจากนกั วชิ าการเกษตรของศูนยว์ จิ ัยข้าวโพดฯ ผลผลติ จากการส่งเสริมศนู ยว์ จิ ยั ข้าวโพดฯ ไดน้ ามา แปรรูปเปน็ ผลติ ภัณฑ์ นา้ นมขา้ วโพดหวาน ข้าวโพดหวานตม้ และขา้ วโพดฝกั สด ซ่งึ เปน็ ทร่ี ู้จกั อยา่ งกว้างขวาง ในส่วนของงานบริหาร ดร.โชคชัย เอกทัศนาวรรณ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่าง แห่งชาติ และหัวหน้าสถานีวิจัยพืชไร่สุวรรณวาจกกสิกิจ ในช่วงปี พ.ศ. 2556 – 2561 ได้สนับสนุนภารกิจของ หน่วยงาน ทั้งด้านงานวิจัย การบริการวิชาการ การหารายได้ของหน่วยงาน นอกจากน้ีได้มีการดาเนินการสร้างอาคาร ถ่ายทอดและฝึกอบรม การพัฒนาระบบการให้น้าชลประทานสาหรับแปลงทดลองงานวิจัยใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐานท่ีดี เพอ่ื รองรบั การใหบ้ รกิ ารด้านงานวจิ ัยให้แก่ภาครัฐและเอกชน จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้นจึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ดร.โชคชัย เอกทัศนาวรรณ เป็นนักวิชาการอาวโุ สผู้สร้างคณุ ูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง ที่เห็นสมควรถอื เปน็ แบบอยา่ งท่ีดสี ืบไป 84

ดร.สปุ ราณี งามประสิทธ์ิ ข้าราชการบานาญ ตาแหนง่ นกั วทิ ยาศาสตร์เชยี่ วชาญ ศนู ยว์ ิจัยขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวตั กิ ารศกึ ษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบนั การศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2526 ปร.ด. (พืชไร)่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2544 2554 85

เชิดชเู กยี รติคุณปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง ดร.สุปราณี งามประสิทธ์ิ ได้รับบรรจุทางานเขา้ รับราชการในตาแหน่งนกั วทิ ยาศาสตร์ สังกัดศูนย์วจิ ัยข้าวโพด และข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2537 ถึง พ.ศ. 2561 มีหน้าท่ีรับผิดชอบงานด้านการ ควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธ์ุ ซึ่งเป็นงานสนับสนุนงานผลติ เมล็ดพนั ธุข์ องศูนยว์ ิจัยขา้ วโพด และขา้ วฟา่ งแห่งชาติ โดยในตลอดท่ีปฏิบตั หิ นา้ ทท่ี ี่ศนู ยว์ ิจัยขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาตนิ น้ั ดร.สุปราณี งามประสทิ ธ์ิได้มี การพัฒนาห้องปฏบิ ัติการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ได้มาตรฐาน ISOSO/IEC 17025 เพ่ือผลักดันห้องปฏิบัติการของ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วโพดฯ ใหไ้ ดร้ บั การยอมรบั ทงั้ ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ สามารถออกใบรบั รองคุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้กับ ผู้จาหน่ายเมล็ดพันธ์ุได้ ท้ังน้ีเพ่ือรองรับการให้บริการการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้กับศูนย์วิจัยข้าวโพดฯ และ หน่วยงานทงั้ ภาครัฐและเอกชน นอกจากงานด้านการควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์แล้วนั้น ดร.สุปราณี งามประสิทธิ์ ได้ทาวิจัยในเรื่องของสาร เคลือบเมล็ดพันธ์ุ เพ่ือหาแนวทางตลอดจนเทคโนโลยีใหม่ๆสาหรับนามาประยุกต์ใช้ในการเคลือบเมล็ดพันธุ์เพื่อให้เมล็ด พนั ธ์ุมีความตา้ นทานโรคและแมลง ในส่วนของงานบริหาร ดร.สปุ ราณี งามประสิทธิ์ ดารงตาแหน่งหัวหนา้ ฝ่ายวิเทศสัมพนั ธแ์ ละกิจกรรมพิเศษของ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ตั้งแต่ 2559-2561 นอกจากนี้ได้ปฏิบัติหน้าท่ีในการสนับสนุนภารกิจของ หน่วยงาน ทั้งด้านงานวจิ ัย การบริการวิชาการ การหารายได้ของหนว่ ยงาน จากผลงานเชงิ ประจักษข์ ้างต้นจึงเห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชูเกียรติให้ ดร.สปุ ราณี งามประสทิ ธ์ิ เปน็ นกั วชิ าการอาวุโสผู้สรา้ งคณุ ปู การดา้ นวิชาการข้าวโพดและขา้ วฟา่ ง ทีเ่ ห็นสมควรถอื เปน็ แบบอยา่ งที่ดีสบื ไป 86

87

รางวัลเชดิ ชเู กยี รติ นกั วิชาการรุ่นกลาง ผูส้ ร้างคุณปู การดา้ นวชิ าการ ข้าวโพดและข้าวฟา่ ง 88

นายสรุ พิ ฒั น์ ไทยเทศ รักษาการผู้เช่ียวชาญดา้ นปรบั ปรงุ พันธ์พุ ืชไร่ สถาบนั วจิ ยั พืชไร่และพืชทดแทนพลงั งาน กรมวิชาการเกษตร ประวตั ิการศกึ ษา วฒุ กิ ารศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ไทย พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร)์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2535 2550 89

เชดิ ชูเกียรติคณุ ูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง นายสุรพิ ัฒน์ ไทยเทศ มีความมงุ่ มั่น ศกึ ษาวิจยั และพฒั นางานปรับปรุงพนั ธข์ุ า้ วโพดเล้ียงสตั ว์ เพื่อให้ได้พันธ์ุท่ี ให้ผลผลติ สงู ทนทานตอ่ สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ตา้ นทานตอ่ โรคท่ีสาคัญ โดยเปน็ หวั หนา้ โครงการวิจยั ปรบั ปรงุ พันธุข์ ้าวโพดเลีย้ งสัตว์ทนทานแล้ง กรมวิชาการเกษตร และไดพ้ ัฒนาพันธขุ์ า้ วโพดเลีย้ งสตั ว์ลูกผสมอายเุ ก็บเก่ยี วยาว ทน แลง้ พนั ธ์ุนครสวรรค์ 4 และพันธ์ุลกู ผสมอายเุ ก็บเก่ยี วส้นั ทนแลง้ พนั ธน์ุ ครสวรรค์ 5 ซง่ึ ทัง้ สองพันธุไ์ ด้รบั การรับรองเป็น “พนั ธร์ุ บั รอง” ของกรมวชิ าการเกษตร ในปี 2562 และเป็นพันธพุ์ ืชขึน้ ทะเบยี นของกรมวิชาการเกษตร ซงึ่ ตอ่ มาผลงาน ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ลูกผสมอายเุ กบ็ เกย่ี วสนั้ ทนแล้ง พนั ธน์ุ ครสวรรค์ 5 ไดร้ บั รางวลั ผลงานวิจัยดีเดน่ กรมวชิ าการเกษตร ประจาปี 2563 สาขางานวจิ ยั ประยกุ ต์ การทางานด้านวชิ าการ มีความสนใจ ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ที่จาเป็นต้องใช้ในการปฏบิ ตั ิงานอยู่เสมอ ทาให้ สามารถนาความรู้ท่ีมีอยู่ไปใช้ในการปฏิบัติงานและสามารถมองภาพองค์รวมของระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ได้รับ มอบหมายเปน็ ผู้แทนของสถาบนั วิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน ในการร่วมดาเนินงาน/ประสานงาน ระหว่างภาคส่วน ตา่ งๆ ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน องคก์ รระหวา่ งประเทศ รวมถึงเกษตรกร ท่เี กีย่ วขอ้ งกับขา้ วโพดเลยี้ งสัตวท์ ้ังระบบ เป็นผู้ ประสานงานวจิ ัยข้าวโพดกบั ศูนย์ปรับปรุงพันธุข์ ้าวโพดและขา้ วสาลีนานาชาติ (CIMMYT) และในปี 2561 ได้รับเชิญเปน็ ผู้แทนของไทย ร่วมอภิปรายเรื่อง “Ensuring a vibrant maize seed sector in Asia through public‐private partnerships” ในการประชมุ ขา้ วโพดภาคพน้ื เอเชีย ณ สาธารณรฐั อินเดยี นอกจากน้ี ยังพัฒนางานวิจัยโดยการร่วมบูรณาการงานวิจัยผ่านโครงการความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กร วิจัย ท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ อาทิ สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา หน่วยงานนานาชาติ เช่น ศูนย์ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดและข้า วสาลี นานาชาติ (CIMMYT), Institute of Food Crops (IFC), Yunnan Academy of Agricultural Science (YAAS) และ Guangxi Academy of Agricultural Science สาธารณรัฐประชาชนจีน และหน่วยงานภาคเอกชน ผา่ นโครงการทดสอบ พันธ์ขุ า้ วโพดเล้ียงสัตวร์ ่วมภาครัฐและเอกชน เป็นต้น จากผลงานทางวชิ าการ และการปฏิบัติงานที่ผา่ นมา จนได้รับการยอมรับ และความไว้วางใจในการปฏบิ ตั งิ าน เปน็ ผลให้ไดร้ ับเกยี รติ ดังน้ี 1) ได้รบั รางวัลนักวจิ ัยดีเด่น ร่นุ อาวุโส ประจาปี 2563 กรมวิชาการเกษตร 2 ) ไ ด้ รั บ โ ล่ เ กี ย ร ติ ย ศ “ Decades of strong & productive partnerships on maize research & development” จาก International Maize and Wheat Improvement Center (CIMMYT) ปี 2561 อทุ ิศตนเพือ่ งานวจิ ยั และมุ่งมัน่ ในการพฒั นางานวจิ ยั เพ่อื ส่วนรวมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จากองค์ความรู้ ความเชีย่ วชาญ และประสบการณ์ในงานวิจัย จึงได้รับมอบหมายเป็นประธานคณะทางานแผนบูรณาการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพ่ิม ประสิทธภิ าพการผลติ ข้าวโพด (2562-ปจั จุบนั ) เพื่อร่วมวางแผน และจดั ทาโครงการวิจัยด้านปรบั ปรงุ พันธแุ์ ละเทคโนโลยี การผลิตขา้ วโพด ภายใตแ้ ผนงานตามยทุ ธศาสตร์งานวิจยั และพัฒนาของกรมวชิ าการเกษตร ให้คาปรึกษาแนะนาวิชาการด้านปรับปรงุ พันธ์แุ ละเทคโนโลยีการผลิตพืชไร่ และเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ ด้านการปรับปรุงพันธ์ุ และการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อย่างถูกต้องและเหมาะสม รวมถึงการผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวโพดเลี้ยง สตั วล์ ูกผสม ให้แก่บคุ คลและหนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง รว่ มเป็นคณะทางาน คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ ในด้านต่างๆ ทงั้ ดา้ นพันธ์ุพืช และข้าวโพดให้กับกรมวชิ าการเกษตรและสัตว์ สานักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ จากผลงานเชิงประจักษข์ ้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชเู กียรติให้ นายสุรพิ ฒั น์ ไทยเทศ เปน็ นกั วชิ าการรุ่นกลางผสู้ รา้ งคณุ ูปการด้านวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟ่างทีส่ มควรเปน็ แบบอย่างที่ดตี ่อไป 90

นายฉลอง เกดิ ศรี นักวชิ าการเกษตร ชานาญการพิเศษ ศูนยว์ ิจยั พืชไร่ชัยนาท กรมวชิ าการเกษตร ประวัติการศึกษา วฒุ ิการศกึ ษา สถาบันการศึกษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วท.ม. (พชื ศาสตร)์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ไทย 2536 2546 91

เชดิ ชเู กียรติคุณูปการด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง นายฉลอง เกิดศรี ดาเนินการวจิ ยั การปรบั ปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานลกู ผสมตัง้ แตป่ ี 2541-ปจั จุบนั สามารถ เผยแพร่ข้าวโพดหวานลกู ผสมพนั ธสุ์ งขลา 84-1 ซ่งึ เป็นข้าวโพดหวานลกู ผสมพันธ์แุ รกท่ไี ดร้ ับการรบั รองพันธ์ุจากกรม วชิ าการเกษตร เมื่อวนั ที่ 15 มถิ ุนายน 2555 ขา้ วโพดหวานลูกผสมพันธุ์สงขลา 84-1 เป็นการปรบั ปรุงพนั ธด์ุ าเนนิ การ โดยนักวิจยั ของศนู ย์วิจยั พชื ไรส่ งขลา ทดสอบพนั ธแ์ุ ละคัดเลอื กพนั ธุ์รว่ มกับเกษตรกรในพื้นทภ่ี าคใต้ ได้รับการยอมรับจาก เกษตรกรและผบู้ ริโภคในเขตพนื้ ที่ภาคใต้ มผี ใู้ ชป้ ระโยชนจ์ ากขา้ วโพดหวานลูกผสมพนั ธ์ุน้ี นับตง้ั แต่ปี 2555 เป็นตน้ มา จนถงึ ปัจจุบนั เปน็ ผรู้ ิเร่มิ แนะนาพนั ธขุ์ า้ วโพดหวานประเภทพนั ธ์ุลูกผสมสเู่ กษตรกรและผ้บู ริโภคข้าวโพดหวานในภาคใต้ต้ังแต่ปี 2541 จนทาให้เป็นที่รู้จักและใช้พันธุ์ข้าวโพดหวานประเภทพันธุ์ลูกผสมอย่างกว้างขวางถึงปัจจุบัน และได้แนะนา เทคโนโลยกี ารผลิตขา้ วโพดหวานอย่างเหมาะสมกบั สภาพพ้นื ท่ี ระบบนิเวศน์เกษตร และภูมิสงั คมของภาคใต้ จนทาให้การ ผลติ ข้าวโพดหวานเป็นอาชีพหนึ่งทส่ี ามารถสรา้ งรายได้ใหแ้ กเ่ กษตรกรในภาคใต้ ทงั้ เป็นอาชีพหลักและอาชพี เสรมิ ตลอดมา จนถงึ ปัจจุบนั นอกจากน้ี เปน็ ผวู้ จิ ัยร่วมในการพฒั นาพนั ธข์ุ ้าวโพดหวานลกู ผสมพนั ธช์ุ ัยนาท 2 ข้าวโพดข้าวเหนยี วลกู ผสม พันธ์ุชัยนาท 84-1 และข้าวโพดข้าวเหนยี วลูกผสมพันธช์ุ ัยนาท 2 ในปัจจุบันยงั คงดาเนนิ การวิจยั การปรบั ปรุงพนั ธขุ์ า้ วโพดหวานอย่างตอ่ เนอ่ื ง รวมถึง การปรบั ปรงุ พันธุข์ ้าวโพดฝัก อ่อนลูกผสม ซ่ึงอยู่ระหว่างการทดสอบพันธุ์และประเมินการยอมรับของเกษตรกร ก่อนนาเสนอขอรับรองพันธ์ุต่อกรม วชิ าการเกษตรตอ่ ไป นอกจากน้ี นายฉลอง เกิดศรี ได้รว่ มมือในการวจิ ยั กับหน่วยต่างๆ ไดแ้ ก่ 1) ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยขอนแก่นและบริษัทภาคเอกชนในการทดสอบพันธ์ุข้าวโพดข้าวเหนียวร่วมภาครัฐ และเอกชน 2) รว่ มมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแ์ ละสานกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ใน การวจิ ัยโครงการวิจัยการพฒั นาระบบปฏิบัตกิ ารตรวจสอบจโี นไทป์แบบประสทิ ธภิ าพสูงในข้าวโพดหวานและขา้ วโพดข้าว เหนยี ว 3) ร่วมมือกับมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ในโครงการวจิ ัยการพัฒนาพันธ์ุข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเพ่อื ปลูกใน ดินนาฤดแู ล้งเขตชลประทานภาคกลาง (ระยะท่ี 2, ปที ่ี 3) 4) มีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการหรือคณะทางานในการจัดการสัมมนาวิชาการหรือประชุมวิชาการ ข้าวโพดข้าวฟ่างแห่งชาติ การประชุมข้าวโพดอุตสาหกรรม การสัมมนาข้าวโพดฝักสด เป็นต้น อย่างสม่าเสมอต้ังแต่ปี 2544 เปน็ ต้นมาถึงปัจจุบัน 5) เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ด้านการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพดให้แก่หน่วยงานภาครัฐ สถานศึกษา และ ภาคเอกชนอย่างสม่าเสมอ จากผลงานเชิงประจกั ษข์ า้ งตน้ จงึ เห็นสมควรประกาศยกย่องและเชดิ ชูเกียรตใิ ห้ นายฉลอง เกดิ ศรี เปน็ นักวิชาการร่นุ กลางผู้สรา้ งคุณปู การดา้ นวิชาการข้าวโพดและข้าวฟา่ งที่สมควรเปน็ แบบอย่างท่ดี ีตอ่ ไป 92

รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศกั ดิ์ จอมพุก ภาควชิ าพชื ไร่นา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ประวตั ิการศึกษา วุฒิการศกึ ษา สถาบนั การศึกษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2533 Dr. sc. nat. (Agronomy and Swiss Federal Institute of 2536 Technology, Zurich, สวสิ เซอร์แลนด์ 2547 Plant Breeding) Switzerland 93

เชดิ ชเู กียรติคุณปู การดา้ นวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ ง รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ จอมพุก เร่ิมรับราชการในตาแหน่งอาจารย์ ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ซงึ่ ปจั จุบันสงั กัด คณะเกษตร กาแพงแสน มคี วามเชี่ยวชาญงานสอนทางดา้ นปรับปรุงพันธ์ุพืช Quantitative Trait Loci Analysis in Maize การวเิ คราะหข์ ้อมูลทางสถิตทิ ใ่ี ช้ในงานวิจัยด้านพชื และมีตาราประกอบการ เรยี นการสอน ได้แก่ สถติ ิ : การวางแผนการทดลอง และการวเิ คราะห์ข้อมลู ในงานวจิ ยั ด้านพืชดว้ ย “R” และวธิ วี เิ คราะห์ ทางพันธุศาสตรป์ รมิ าณในการปรับปรุงพันธุพ์ ืช ซงึ่ ได้ใชก้ ันอยา่ งแพร่หลายท้ังหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ในส่วนของงานวิจัยน้ัน รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักด์ิ จอมพุก รับผิดชอบงานวิจัยทางด้านการปรับปรุงพันธ์ุ ข้าวโพด ซ่ึงมีประสบการณ์มากว่า 20 ปี ท้ังข้าวโพดข้าวเหนียวและข้าวโพดไร่ลูกผสม งานปรับปรุงพันธ์ุที่มีความสนใจ ได้แก่ การเพม่ิ ปรมิ าณทรปิ โตแฟนในเอนโดสเปริ ม์ ของข้าวโพดขา้ วเหนียวดว้ ยยนี โอเปกทู การปรบั ปรุงพนั ธเุ์ พอื่ เพ่ิมแอนโท ไซยานินในข้าวโพด การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่ลูกผสมเพ่ือปลูกในดินนาฤดูแล้งเขตชลประทานภาคกลาง และการพัฒนา เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมสาหรบั การปลกู ข้าวโพดไรเ่ ปน็ พชื หมนุ เวียนในนาข้าว ในอาเภอหนองหญา้ ไซ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี รองศาสตราจารย์ ดร.ชศู กั ดิ์ จอมพุก ขนึ้ ทะเบียนพันธุ์ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ลกู ผสม จานวน 4 พนั ธุ์ ได้แก่ สุวรรณ 5720 สุวรรณ 5731 สุวรรณ 5819 สุวรรณ 5821 ภายใต้โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของศูนย์วิจัยข้าวโพดและ ข้าวฟ่างแห่งชาติ ร่วมกับ โครงการพฒั นาพันธ์ุข้าวโพดไรล่ ูกผสมเพอื่ ปลกู ในดินนาฤดแู ล้งเขตชลประทานภาคกลาง แหลง่ ทุน สวก. ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2557-2563 และสถาบนั วิจัยและพัฒนาแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ตั้งแตป่ ี 2559-2562 ดังน้ี 1) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์สุวรรณ 5720 (Suwan 5720) ได้รับการพัฒนาสายพันธ์ุแท้ภายใต้โครงการ ปรับปรุงพันธ์ุของศูนยว์ ิจยั ขา้ วโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ร่วมกับ โครงการพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่ลูกผสมเพ่อื ปลูกในดินนาฤดูแล้ง เขตชลประทานภาคกลาง แหล่งทุน สวก. ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2557-2563 จนได้คู่ผสมระหวา่ งสายพันธุแ์ ท้เกษตรศาสตร์ 61 (Ki 61) (Suwan5(S)C6-F2-S9-30-2-1-2-1-B) กบั สายพนั ธุแ์ ทเ้ กษตรศาสตร์ 60 (Ki 60) ((Agron 12 x Ki 49)-F2-S9-2-1-3-1-1) 2) ข้าวโพดเล้ียงสัตวล์ ูกผสมลูกผสมเด่ียวพันธ์ุสุวรรณ 5731 (Suwan 5731) ได้จากการผสมพันธ์รุ ะหว่าง สายพนั ธ์แุ ท้เกษตรศาสตร์ 63 (Ki 63) ({(Ki 49 x Kei 9806)-F2-S7-4-1-1-B x Kei 0703}-F2-S7-9-1-1-1-1-1) กบั สายพนั ธุแ์ ท้เกษตรศาสตร์ 48 (Ki 48) (Pioneer 3013-S8-57-2) 3) ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมพันธ์ุสุวรรณ 5819 (Suwan 5819) ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างสายพนั ธแ์ุ ท้ เกษตรศาสตร์ 64 (Ki 64) (Suwan3(S)C8-F3-S6-142-1-1-1-1-B) กับ สายพันธุ์แท้เกษตรศาสตร์ 60 ((Agron 12 x Ki 49)-F2-S9-2-1-3-1-1) 4) ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมพันธ์ุสุวรรณ 5821 (Suwan 5821) ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างสายพันธ์ุแท้ เกษตรศาสตร์ 62 (Ki 62) (Pac224-F2 x Pac999N-F2-S6-6-1-1-5-B) กับ สายพันธ์ุแท้เกษตรศาสตร์ 60 (Ki 60) ((Agron 12 x Ki 49)-F2-S9-2-1-3-1-1) นอกจากน้ี มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดประโยชน์ต่อแวดวง วชิ าการทางดา้ นการปรบั ปรุงพันธ์ขุ ้าวโพด ผลิตบณั ฑติ ทมี่ คี วามเช่ียวชาญทางด้านการปรับปรุงพนั ธุ์ข้าวโพดทั้งปริญญาโท และเอก ทางานในหน่วยงานทัง้ ภาครฐั และเอกชน ต้งั แต่ปี 2551-ปจั จุบัน เปน็ ผู้ประสานงานโครงการวิจัยแมบ่ ทข้าวโพด และขา้ วฟ่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตงั้ แตป่ ี 2555-2561 และจัดประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารโครงการวิจัยแมบ่ ทขา้ วโพด และข้าวฟา่ ง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ครงั้ ท่ี 5 ถงึ ครง้ั ที่ 7 ร่วมกบั คณาจารยแ์ ละนกั วจิ ัย ศูนยว์ ิจยั ขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง แห่งชาติ เป็นการเผยแพร่ผลงานวิจัยให้กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกข้าวโพดเล้ียง สัตว์ลูกผสมเดยี่ วพนั ธุ์ใหม่ รว่ มกับ สวก. และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยศูนย์วจิ ัยข้าวโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ จากผลงานเชงิ ประจักษข์ ้างต้น จึงเหน็ สมควรประกาศยกย่องและเชิดชเู กยี รตใิ ห้ รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักด์ิ จอมพกุ เปน็ นกั วชิ าการรุ่นกลางผสู้ รา้ งคุณปู การดา้ นวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่างทีส่ มควรเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีต่อไป 94

95


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook