72 การประชมุ วชิ าการข้ากวาโรพปดรแะลชะุมขวา้ชิ วาฟก่าางรแขหา้ วง่ โชพาดตแิ คลระ้งั ขท้า่ี ว4ฟ0า่ งแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 40 71 remus ในห้องปฏิบัติการ พบว่าวงชีวิตจากไข่เป็นตัวเต็มวัยใช้เวลาเฉลี่ย 12.48±0.14 วนั เพศเมยี สามารถวางไข่และใหล้ ูก F1 เฉลยี่ 146.35±14.45 ตวั โดยมอี ัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศ เมียเท่ากับ 1:2.74 ตัวเต็มวัยเพศผู้และเพศเมียที่ได้รับการผสมพันธ์ุมีอายุขัยเฉล่ีย 7.57±0.53 และ 9.26±0.38 วัน ตามลาดับ ผลจากการศึกษาครั้งนช้ี ใ้ี ห้เหน็ วา่ แตนเบียนไข่ T. remus เป็นศัตรูธรรมชาติที่มีศักยภาพ สามารถพัฒนาเป็นชีวินทรีย์ (bio-agent) เพื่อ ควบคุมศตั รพู ืชที่สาคญั ชนิดนไ้ี ด้ คาสาคญั : การควบคมุ โดยชวี วธิ ี, ข้าวโพด, หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจดุ , แมลงศตั รูธรรมชาติ
72 การประชมุ วิชาการขกา้ าวรโพปดระแชลุมะวขิช้าวากฟาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ คลระัง้ขทา้ ่ีว4ฟ0่างแห่งชาติ คร้ังที่ 40 73 การใช้กากข้าวโพดผลิตเช้ือรา Metarhizium rileyi เพ่ือควบคุม หนอนกระทขู้ ้าวโพดลายจดุ Using Corn Milk Residue for Mass Production of Metarhizium rileyi to Control Fall Armyworm วราภรณ์ บุญเกิด1* วรรณวิภา ขันสรุ ินทร์1 ปิณฑริ า แจม่ แจง้ อรวรา ผาสกุ 1 แสงแข น้าวานิช1 อทุ มุ พร ไชยวงศ์1 และ ธานี ศรวี งศช์ ัย1,2 Warapon Bunkoed1*, Wanwipa Khansurin1, Pintira jamjang1, Onwara phasuk1, Saengkhae Nawanich1, Utumporn Chaiwong1 and Tanee Sreewongchai1,2 1 ศูนยว์ จิ ัยข้าวโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครราชสมี า 30320 2 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ 10900 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand * Corresponding author: [email protected] ABSTRACT Metarhizium rileyi SW1 has the potential as a biocontrol agent for the management of the fall armyworm, an important pest that infects maize. The aim of this study was to reduce cost of M. rileyi SW1 spore production by utilizing corn milk residue to increase the growth and sporulation of M. rileyi SW1. The highest sporulation was observed in M. rileyi SW1 cultured on corn milk residue supplemented with 10% fish meal, with a minimum average of 10 days required for fungal sporulation, and the highest sporulation was observed at 14 days after inoculation (DAI) (2.5x108 conidia/g). Using only one corn milk residue, rice, sorghum, or cornmeal, on the other hand, results in lower spore yields. Pathogenicity tests in field revealed that applying 2.0x106 conidia/ mL of M. rileyi SW1 from corn milk residue with 10% fish meal could result in 79.4% mortality at 7 DAI when compared to control. When compared to pesticide, this culture showed no significant difference in green yield
74 การประชุมวิชาการขา้กวาโรพปดรแะลชะมุ ขวา้ชิ วาฟก่าางรแขหา้ ว่งโชพาดตแิ คลระงั้ ขท้า่ี ว4ฟ0่างแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 40 73 productivity; nevertheless, the cost can be reduced by nearly threefold. Additionally, the use of M. rileyi has also increased the population of various natural enemies, which can be used to control to FAW in the next season. This study suggests alternative nutrient sources for mass-scale M. rileyi production and that agro refuse could be employed in biopesticide development. Keywords: Biological control, corn milk residue, entomopathogenic fungi, fall armyworm บทคดั ย่อ เชื้อรา Metarhizium rileyi SW1 มีประสิทธิภาพในการควบคุมหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุด ซึ่งเป็นศัตรูสาคัญของข้าวโพด การศึกษาในครั้งนี้มุ่งเน้นการลดต้นทุนการ ผลิตสปอร์เชื้อราโดยใชป้ ระโยชน์จากกากข้าวโพดเป็นวัสดุเพาะเพื่อเพิ่มปริมาณเชื้อรา M. rileyi SW1 จากผลการทดลองพบว่าเชื้อราสามารถสร้างสปอร์ได้ปริมาณมากที่สุดบนวัสดุ เพาะกากข้าวโพดผสมปลาปน่ 10% โดยเชื้อราเริม่ สร้างสปอร์ได้ที่ระยะเวลา 10 วัน และ สร้างสปอร์ได้มากที่สุดที่ระยะเวลา 14 วัน (2.5x108 สปอร์/กรัม) ส่วนการใช้กากข้าวโพด ข้าวสาร ข้าวฟ่าง หรือข้าวโพดบด เพียงอย่างเดียวพบว่าเชื้อราสร้างสปอร์ได้ปริมาณน้อย และเมื่อนาสปอร์เชื้อราที่เลี้ยงได้จากกากข้าวโพดผสมปลาป่นไปทดสอบการเข้าทาลาย หนอนกระทู้ข้าวโพดในระดับแปลง พบว่าที่ 7 วันหลังพ่นสารแขวนลอยสปอร์เชื้อรา M. rileyi SW1 ทีค่ วามเข้มขน้ 2.0x106 สปอร/์ มลิ ลิลิตร สามารถลดปรมิ าณหนอนกระทู้ได้ 79.4% เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม และข้าวโพดสามารถให้ผลผลิตได้ไม่แตกต่าง จากการใช้สารเคมี แต่สามารถลดต้นทุนได้มากกว่าการใช้สารเคมีเกือบ 3 เท่า นอกจากน้ี การใช้เชื้อรา M. rileyi SW1 ยังช่วยเพ่ิมประชากรของแมลงศัตรูธรรมชาติชนดิ ต่าง ๆ โดย แมลงศัตรูธรรมชาติจะมสี ่วนช่วยในการลดการเข้าทาลายของหนอนในรุ่นต่อไป การศึกษา ในครั้งนี้จึงเป็นอีกแนวทางในการเลือกใช้วัสดุเพาะในการเพิ่มปริมาณเชื้อราทาลายแมลง โดยใชป้ ระโยชนจ์ ากวสั ดเุ หลือใชท้ างการเกษตรเพ่ือพฒั นาเปน็ ชวี ภณั ฑต์ อ่ ไป คาสาคัญ: การควบคมุ ทางชีวภาพ, กากข้าวโพด, เชอื้ ราทาลายแมลง, หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจดุ
74 การประชุมวชิ าการขกา้ าวรโปพรดะแชลมุ ะวขิชา้ าวกฟาา่ รงขแา้ หวง่โชพาดตแิ ลคะรขัง้ ทา้ วี่ 4ฟ0่างแหง่ ชาติ คร้ังที่ 40 75 ผลของสารนโิ คซัลฟรู อนต่อข้าวโพดเล้ียงสตั วล์ กู ผสมพันธุ์กอ่ นการค้า ปี 2564 Effect of Nicosulfuron to Pre-commercial Field Corn Hybrids in 2021 สดใส ชา่ งสลัก1* สาราญ ศรชี มพร1 ประกายรัตน์ โภคาเดช1 สราวุธ รุง่ เมฆารัตน์2 และ ณฐั พร วรธงไชย1 Sodsai Changsaluk1*, Samran Srichomporn1, Prakayrat Phocadate1, Sarawut Rungmekharat2 and Nattaporn Worrathongchai1 1 ศนู ยว์ จิ ยั ข้าวโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 2 ภาควิชาพชื ไร่นา คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ 10900 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand * Corresponding author: e-mail; [email protected] ABSTRACT Nicosulfuron can be used to control weed, however it has a negative impact on some corn hybrids. The objective was to study the effect of nicosulfuron (6% W/V OD) on pre-commercial field corn hybrids. The experiment was conducted at National Corn and Sorghum Research Center, Pak Chong district, Nakhon Ratchasima province, during July – November 2021. The trial was laid out in Randomized Complete Block Design with 3 replications. The 32 pre-commercial hybrids varieties were used. Nicosulfuron 160 g/rai) was mixed with atrazine (90% WG) at a rate of 300 g/rai and applied mixed herbicide to 3 weeks-old maize after planting. The results revealed that purple nutsedge (Cyperus rotundus L.), Itchgrass (Rottboellia cochinchinensis Lour.), wild poinsettia (Euphorbia heterophylla L.), tropical spiderwort (Commelina benghalensis L.) and Ogiera weed (Eleutheranthera ruderalis (Swartz) were major weeds in the field. The application of nicosulfuron with atrazine showed high to very high efficiency on weed control (80-95%). The application of mixed herbicide showed no effect on grain yield of
76 การประชมุ วชิ าการขกา้ าวรโปพรดะแชลุมะวขชิ ้าาวกฟาา่ รงขแา้ หว่งโชพาดตแิ ลคะรข้งั ท้าว่ี 4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 40 75 pre-commercial hybrids cultivar; HS1913, HS2003, SP7009, SP7199, SP7039, SP7193, WS8414, AC6339, STG300, GT200, GT600, PC18054, PC181080, NSX152070, NSX152097, SW5720, SW5819, KSX5918, KSX6007, KSX6009, KSX6108, KSX6204, KSX6402, KSX6417, KSX6431, KSX6438, NS3, S7328 and SW4452. The grain yield of those varieties ranged from 811 to 1,722 kg/rai. However, application of mixed herbicide damaged STG168 and SW5731 varieties, demonstrating 100% plant toxicity. Keywords: Nicosulfuron, atrazine, weed control, field corn, injury บทคัดยอ่ นิโคซัลฟูรอนสามารถควบคุมวัชพืชได้ดีแต่มีผลกระทบต่อผลผลิตในข้าวโพดเลี้ยง สัตว์บางพันธุ์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอน (nicosulfuron 6% W/V OD) ต่อผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์ก่อนการค้า ที่ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ดาเนินการระหว่าง เดอื นกรกฎาคมถงึ พฤศจิกายน 2564 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรู ณ์ในบลอ็ ค มี 3 ซ้า โดยใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพนั ธ์ุก่อนการคา้ 32 พันธุ์ พ่นสารนิโคซัลฟูรอน อัตรา 160 กรัม/ไร่ ร่วมกับอาทราซีน อัตรา 300 กรัม/ไร่ เมื่อข้าวโพดอายุ 3 สัปดาห์หลังปลูก ผลการทดลองพบว่า วัชพืชที่พบมากในแปลงได้แก่ แห้วหมู (Cyperus rotundus L.) หญ้าโขย่ง (Rottboellia cochinchinensis L.) ผักยาง (Euphorbia heterophylla L.) และผักปลาบ (Commelina benghalensis L.) นิโคซัลฟูรอนมปี ระสิทธภิ าพควบคุมวชั พชื ได้ระดับดีถึงดีมาก ตั้งแต่ 80–95 เปอร์เซ็นต์ และไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตของพันธุ์ก่อน ก า ร ค ้ า HS1913, HS2003, SP7009, SP7199, SP7039, SP7193, WS8414, AC6339, STG300, GT200, GT600, PC18054, PC181080, NSX152070, NSX152097, SW5720, SW5819, KSX5918, KSX6007, KSX6007, KSX6108, KSX6204, KSX6402, KSX6417, KSX6431, KSX6438, NS3, S7328 และ SW4452 โดยให้ผลผลิตระหว่าง 811–1,722 กิโลกรัมต่อไร่ แต่การให้สารผสมร่วมดังกล่าวมีผลทาให้ข้าวโพดพันธุ์ STG168 และ SW5731 เสยี หาย มีเปอร์เซ็นต์การตายอย่ทู ี่ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ ไมม่ ผี ลผลติ คาสาคญั : นิโคซัลฟูรอน, การกาจัดวชั พืช, ขา้ วโพดเล้ียงสัตว,์ พนั ธุ์ก่อนการคา้ , ผลผลติ
76 การประชุมวิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลุมะวขิช้าาวกฟาา่ รงขแา้ หว่งโชพาดตแิ ลคะรขัง้ ท้าว่ี 4ฟ0า่ งแห่งชาติ ครงั้ ที่ 40 77 ผลของพันธุ์ขา้ วโพดหวานต่อคุณภาพของข้าวโพดตม้ และน้านมขา้ วโพดหวาน Effect of Sweet Corn Varieties on Quality of Boiled Sweet Corn and Sweet Corn Milk บงกชมาศ โสภา1* เสาวนยี ์ ฝดั ศริ ิ1 ศุภรา จนั ทรค์ ืน1 ชฎามาศ จติ ต์เลขา1 กัญญรตั น์ กัญญาคา2 และ จฑุ ามาศ กองผาพา3 Bongkochmas Sopa1*, Saowanee Fudsiri1, Supera Jankuen1, Chadamas Jitlaka1 Kanyarat Kanyakam2 and Juthamas Kongphapa3 1 ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 2 สถาบนั คน้ ควา้ และพฒั นาผลิตภณั ฑ์อาหาร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ 10903 3 ภาควชิ าเทคโนโลยกี ารอาหารและโภชนาการ คณะทรพั ยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาเขตเฉลมิ พระเกยี รติ สกลนคร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ สกลนคร47000 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Institute of Food Research and Product Development, Kasetsart University, Bangkok 10903, Thailand 3 Department of Food Technology and Nutrition, Faculty of Natural Resources and Agro-Industry, Chalermphrakiat Sakon Nakhon Province Campus, Kasetsart University, Sakon Nakhon 47000, Thailand * Corresponding author: [email protected] ABSTRACT Two new sweet corn hybrids (KSSC 704 and KSSC 705) developed by National Corn and Sorghum Research Center and two checked commercial cultivars (Insee 2 and Hi–brix 81) were used to produce boiled sweet corn and sweet corn milk. The color values (L* a* and b*), chemical composition and sensory acceptance of boiled sweet corn and sweet corn milk were determined. It was found that sweet corn varieties had no effect on total soluble solid and sugar content in corn kernels (p>0.05). The moisture, fat, ash, color values (L* a* and b*) and beta–carotene content of boiled sweet corn and sweet corn milk values of the hybrid KSSC 704 did not significantly differ from that of hybrid Insee 2 (p>0.05). The sensory acceptances (appearance, color, taste, texture, flavor and overall liking) of boil sweet corn
78 การประชมุ วิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลุมะวขชิ ้าาวกฟาา่ รงขแา้ หว่งโชพาดตแิ ลคะรขง้ั ท้าวี่ 4ฟ0่างแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 40 77 produced by hybrid KSSC 704 and KSSC 705 were lower scores than those of two checked commercial hybrids tested. While the sensory acceptances of hybrid KSSC 704 corn milk were high scores (6 points) at like slightly, which was similar to that of checked commercial corn milk, Insee 2. Keywords: Sweet corn hybrids, boiled sweet corn, sweet corn milk บทคดั ยอ่ ขา้ วโพดหวานลูกผสมพนั ธุใ์ หม่ 2 พันธุ์ (KSSC 704 และ KSSC 705) ที่พฒั นาโดย ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ถูกนามาผลิตเป็นข้าวโพดต้มและน้านมข้าวโพด หวาน โดยมีพันธุ์ลูกผสมการค้า 2 พันธุ์ (อินทรี 2 และ Hi–brix 81) เป็นตัวอย่าง เปรียบเทียบ วัดค่าสี (L* a* และ b*) ศึกษาคุณภาพทางเคมี และการยอมรับทางประสาท สมั ผัส จากผลการทดลอง พบวา่ พนั ธขุ์ องข้าวโพดหวานไมม่ ผี ลต่อปรมิ าณของแข็งท้ังหมดที่ ละลายได้และปริมาณน้าตาลในเมล็ดข้าวโพด (p>0.05) ปริมาณความชื้น ไขมัน เถ้า ค่าสี (L* a* และ b*) และปริมาณเบต้าแคโรทีนในข้าวโพดหวานตม้ และนา้ นมข้าวโพดของพนั ธุ์ KSSC 704 ไม่แตกต่างกับพันธุ์อินทรี 2 (p>0.05) การยอมรับทางประสาทสัมผัส (ลักษณะ ปรากฏ สี รสชาติ เน้ือสมั ผสั กลิน่ รส และความชอบโดยรวม) ของข้าวโพดต้มที่ได้จากพันธ์ุ KSSC 704 และ KSSC 705 มีค่าคะแนนความความชอบที่ต่ากว่าพันธุ์เปรียบเทียบ ขณะท่ี การยอมรับทางประสาทสัมผัสของน้านมข้าวโพดพันธุ์ KSSC 704 ได้รับคะแนนความ ความชอบอยู่ในระดับชอบเล็กน้อย (6 คะแนน) ซึ่งมีคะแนนใกล้เคียงกับน้านมข้าวโพด พันธ์อุ ินทรี 2 คาสาคญั : ข้าวโพดหวานลกู ผสม, ขา้ วโพดตม้ , น้านมขา้ วโพดหวาน
78 การประชุมวิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลุมะวขิช้าาวกฟาา่ รงขแ้าหว่งโชพาดตแิ ลคะรขง้ั ท้าว่ี 4ฟ0า่ งแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 40 79 ผลของการเตรียมพร้อมเมล็ดพันธุ์ดว้ ยกรดจิบเบอเรลลกิ และแสงจากหลอด LEDs ต่อการงอกและการเจรญิ เตบิ โตของข้าวฟา่ ง (Sorghum bicolor (L.) Moench) Effects of Seed Priming with Gibberellic Acid and LEDs Light on Germination and Growth of Sorghum (Sorghum bicolor (L.) Moench) พงศกร นติ ย์ม1ี * วิทวสั เนตรเกต2 ภัทรา ประทับกอง1 เตชติ า ปิน่ สันเทยี ะ1 จักรกฤษณ์ ศรแี สง1 ธรี ะวฒั น์ ศรีสุข1 เรวัตร จนิ ดาเจ่ีย1 บณั ฑิตา เพญ็ สุรยิ ะ1 น้าฝน ชาชยั 1 จรรยา มุ่งงาม1 พงษศ์ ักด์ิ แกว้ ศรี1 และ สุรสิทธิ์ วงษ์สจั จานันท์1 Pongsakorn Nitmee1*, Wittawat Nategate2, Pattra Pratabkong1, Tashita Pinsanthia1, Jakkrit Sreesaeng1, Teerawat Srisuk1, Rewat Chindachia1, Banthita Pensuriya1, Nanfon Chachai1, Janya Mungngam1, Pongsak Kaewsri1 and Surasit Wongsasjanan1 1 สถานีวจิ ัยลาตะคอง ศูนยเ์ ชย่ี วชาญนวตั กรรมเกษตรสรา้ งสรรค์ สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย ปทุมธานี 12120 2 คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ปทมุ ธานี 12110 1 Lamthakong Research Station, Expert Centre of Innovative Agriculture, Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Pathum Thani 12120, Thailand 2 Faculty of Agricultural Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Pathum Thani 12110, Thailand * Corresponding author: [email protected] ABSTRACT The objective of this study was to determine the concentration of gibberellic acid (GA) and the suitable type of LEDs light for germination and growth of sorghum seedlings. The experiment was performed at the seed laboratory, Lamtakong Research Station, Nakhon Ratchasima province. This study was divided into 3 experiments. The first experiment was to examine the water uptake patterns of the seeds, which showed that the sorghum seeds were water saturated with constant water absorption capacity and no additional suction at 4 hr. 30 min. The second experiment aimed to evaluate the optimal concentration of GA for seed priming. Completely Randomized
80 การประชมุ วชิ าการขกา้ วารโพปดระแชลมุะขวชิ้าวาฟกาา่ รงขแา้หว่งโชพาดตแิ คลระั้งขทา้ ี่ว4ฟ0่างแห่งชาติ ครัง้ ที่ 40 79 Design (CRD) was used to set up five treatments (GA concentrations of 0, 250, 500, 1,000, and 2,000 mg/L) with four replications. Soaking sorghum seeds in GA at a concentration of 1,000 mg/L resulted in the highest germination percentage and germination index as well as increased growth in the highest seedling stage. In the third experiment, the development of sorghum seedlings in the presence of GA and various types of LEDs light was examined. Sorghum seed were soaked with GA before being exposed to LEDs light for 12 hours/day. The CRD arranged six treatments, each with 4 repetitions: dark (control), red, blue, white, red + blue + white and natural light. It was found that red LEDs light resulted in the highest increase in seedling height, root length and stem diameter. Keywords: Seed priming, hormone, LEDs, seed บทคดั ย่อ การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้มข้น ของกรดจิบเบอเรลลิก (GA) และชนดิ ของแสงจากหลอด LEDs ท่เี หมาะสมต่อการงอกและการเจรญิ เตบิ โตของต้น กล้าข้าวฟ่าง ดาเนินการทดลอง ณ ห้องปฏิบัติการทางเมล็ดพันธุ์ สถานีวิจัยลาตะคอง จังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วย 3 การทดลอง ได้แก่ การทดลองที่ 1 ศึกษารูปแบบการ ดูดนา้ ของเมลด็ พบวา่ เมลด็ ข้าวฟา่ งมีการอิม่ ตัวด้วยนา้ ซง่ึ มีความสามารถในการดูดน้าคงท่ี และไม่ดูดเพิ่มเติมอีกที่ระยะเวลา 4 ชั่วโมง 30 นาที การทดลองที่ 2 ศึกษาปริมาณความ เข้มข้นของ GA ที่เหมาะสมในการใช้เตรียมพร้อมเมล็ดพันธ์ุ วางแผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูรณ์ ประกอบด้วย 5 กรรมวิธี (GA ความเข้มข้น 0, 250, 500, 1,000 และ 2,000 มิลลิกรัมต่อลิตร) กรรมวิธีละ 4 ซ้า พบว่าการแช่เมล็ดข้าวฟ่างด้วย GA ที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อลิตร ทาให้เมล็ดมีเปอร์เซ็นตก์ ารงอกและดัชนีการงอกสงู ที่สุด และเพ่ิม การเจริญเติบโตในระยะต้นกล้าสูงที่สุด และการทดลองที่ 3 ทดสอบการเจริญเติบโตของ เมล็ดข้าวฟ่างที่แช่ GA ร่วมกับการให้แสง LEDs ชนิดต่าง ๆ โดยหลังจากแช่เมล็ดข้าวฟ่าง ด้วย GA จะนามาให้แสง LEDs เป็นเวลา 12 ชั่วโมง/วัน วางแผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูรณ์ 6 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 4 ซ้า คือ ทึบแสง (ชุดควบคุม), สีแดง, สีน้าเงิน, สีขาว, สี แดง+สีน้าเงิน+สีขาว (1:1:1) และแสงธรรมชาติ พบว่าการให้แสง LEDs สีแดง ส่งผลทาให้
80 การประชุมวิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ ้าาวกฟาา่ รงขแา้ หว่งโชพาดตแิ ลคะรขงั้ ทา้ ว่ี 4ฟ0่างแห่งชาติ คร้งั ท่ี 40 81 การเจริญเติบโตด้านความสูงต้นกล้า ความยาวราก และความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางลาต้น สูงทสี่ ดุ คาสาคัญ: การเตรยี มพร้อมของเมล็ดพนั ธุ์, ฮอร์โมน, แสงสี, เมลด็ พนั ธุ์
82 การประชุมวชิ าการขกา้ วารโพปดระแชลุมะขวชิา้ วาฟกา่ารงขแา้หว่งโชพาดตแิ คลระ้ังขท้า่ีว4ฟ0่างแห่งชาติ คร้ังที่ 40 81 “รเู้ กษตร – Agri Pro” แอปพลเิ คชันเพื่อการวางแผนและตดิ ตาม ผลการเพาะปลูกขา้ วโพดหวานฝกั สดของเกษตรกรภายใต้ระบบพันธะสัญญากับ ศนู ย์วิจยั ข้าวโพดและขา้ วฟ่างแหง่ ชาติ “Agri Pro Application” Production Planning and Follow up on Fresh Sweet Corn Grown by Contracted Farmers towards the National Corn and Sorghum Research Center รัตตกิ าน เกิดผล1* ธานี ศรวี งศช์ ัย1 ณัฐพร วรธงไชย1 พรเทพ แชม่ ชอ้ ย1 กติ ตศิ กั ด์ิ ศรชี มพร1 สมชาย โพธิสาร1 อทุ มุ พร ไชยวงษ์1 แสงแข นา้ วานิช1 พิทยาภรณ์ สุภรพัฒน์1 และ ปวณี า ทองเหลือง1 Rattigan Kaedphol1*, Tanee Sreewongchai1, Nattaporn Worathongchai1, Porntep Chamchoy1, Kittisak Srichomporn1, Somchai Potisarn1, Utumporn Chaiwong1, Saengkhae Nawanich1, Pittayaporn Supornpath1 and Paweena Thongluang1 1 ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสมี า 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: [email protected] ABSTRACT The \"Agri Pro application\" was used to collect information on cultivation activities, costs, and returns of fresh sweet corn yield from farmers who participated in the contract system with the National Corn and Sorghum Research Center. The data was collected from 81 farmers across three provinces: Nakhon Ratchasima, Saraburi, and Lopburi, with a total planting area of 340.67 rai in crop year 2021. The collected data were uploaded to the data bank system (https://kasetdb.agr.ku.ac.th/agripro-dashboard/) which was developed by Kasetsart University. The platform's efficiency is in the collecting of fundamental farm data, showing the locations of the cultivated areas, collecting data on farm management, classifying expense data, and reviewing
82 การประชุมวิชาการข้ากวาโรพปดรแะลชะมุ ขว้าชิ วาฟกา่ างรแขห้า่งวชโพาตดิแคลระง้ั ขท้าี่ 4วฟ0า่ งแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 40 83 the action plans for each field to assess the overall performance of corn cultivation in each area. The results showed that farmers had an average production cost of 9,897.52 Thai baht/rai. Fertilization was the most expensive at 3,399.8 Thai baht/rai (34.35%), followed by water management at 1,520.41 Thai baht/rai (15.36%) and soil preparation at 912.04 Thai baht/rai (9.21%). Weed control was the lowest cost at 504.79 Thai baht/rai (5.1%). In terms of the total revenue, the farmers earned an average of 15,049.95 Thai baht/rai from selling fresh sweet corn. The average yield was 1,582.80 kg/rai. The farmers' net profit was 5,152.44 Thai baht/rai. According to the results, if data collection is continuous, it will result in a big database of corn production. This will be useful for agricultural authorities to analyze the best practices on corn cultivation plans in each area in order to promote more effective corn cultivation to farmers. Keywords: Contracted farmers, fresh sweet corn, costs and returns, best practices, Agri Pro application บทคัดย่อ การใช้แอปพลิเคชัน “รู้เกษตร – Agri Pro” บันทึกข้อมูลกิจกรรมการเพาะปลูก รวมถึงต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าวโพดหวานฝักสดของเกษตรกรภายใต้ระบบ พันธะสัญญากับศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ จานวน 81 ราย ในพื้นท่ีจังหวัด นครราชสมี า สระบุรี และลพบุรี พื้นที่เพาะปลูกรวม 340.67 ไร่ ในปีเพาะปลูก 2564 เพื่อ ส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบธนาคารข้อมูล https://kasetdb.agr.ku.ac.th/agripro-dashboard/ ท่ีถูกพัฒนาขึ้นโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประสิทธิภาพของ platform น้ีคือ การเก็บ ข้อมูลพื้นฐานเกษตรกร การแสดงตาแหน่งของแปลงปลูก การบันทึกข้อมูลกิจกรรมการ จัดการแปลง การจัดหมวดหมู่ค่าใช้จ่าย และการตรวจสอบรายละเอียดของแผนการ ดาเนินงานแต่ละแปลงเพื่อประเมินผลให้เห็นภาพรวมของการเพาะปลูกข้าวโพดในแต่ละ พื้นที่ จากการสรุปผลพบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 9,897.52 บาทต่อไร่ โดยมคี า่ ใช้จ่ายในการใสป่ ุ๋ยสงู ท่ีสดุ จานวน 3,399.87 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 34.35) รองลงมา คือการจัดการน้า จานวน 1,520.41 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 15.36) และการเตรียมดิน
84 การประชมุ วชิ าการข้ากวาโรพปดรแะลชะุมขวา้ ชิ วาฟก่าางรแขหา้ ่งวชโพาตดิแคลระงั้ ขทา้ี่ 4วฟ0า่ งแห่งชาติ ครั้งที่ 40 83 จานวน 912.04 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 9.21) ส่วนต้นทุนที่ต่าท่ีสดุ คอื การควบคมุ วัชพืช จานวน 504.79 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 5.1) ในส่วนของผลตอบแทนที่ได้รับ พบว่า เกษตรกรมีรายได้ จากการขายข้าวโพดหวานฝักสดเฉลี่ย 15,049.95 บาทต่อไร่ โดยมีผลผลิตเฉลี่ย 1,582.80 กิโลกรัมต่อไร่ ส่งผลให้เกษตรกรมีกาไรสุทธิอยู่ที่ 5,152.44 บาทต่อไร่ หากมีการเก็บรวม รวมข้อมูลการเพาะปลูกข้าวโพดอย่างต่อเนื่องจะเกิดเป็นฐานข้อมูลการผลิตข้าวโพดขนาด ใหญ่ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานด้านการเกษตรในการวิเคราะห์หารูปแบบของ แผนการเพาะปลูกข้าวโพดทีเ่ หมาะสมในแตล่ ะพ้ืนท่ีสาหรบั การส่งเสริมให้เกษตรกรเพื่อให้ การเพาะปลูกข้าวโพดมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ขน้ึ คาสาคญั : เกษตรกรภายใตร้ ะบบพันธะสญั ญา, ข้าวโพดหวานฝกั สด, ต้นทุนและ ผลตอบแทน, แผนการผลติ ท่ีเหมาะสม, แอปพลเิ คชนั “ร้เู กษตร – Agri Pro”
84 การประชุมวิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลมุ ะวขิช้าาวกฟาา่รงขแ้าหวโ่งพชาดตแิลคะรขง้ั า้ทว่ี ฟ40่างแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 40 85 การทา seed priming ของขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์สายพนั ธ์ุแท้เคไอ 48 เพื่อพัฒนา ระบบการผลติ เมลด็ พนั ธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลกู ผสมเดีย่ วพันธสุ์ วุ รรณ 4452 Seed Priming of Inbred Field Corn Variety Ki 48 for the Development of Seed Production System for Single Cross Hybrid Field Corn Variety Suwan 4452 ยุวดี อนิ จันทร์1* ปวณี า ทองเหลอื ง1 สรรเสรญิ จาปาทอง1 ประเสรฐิ ถาหล้า1 สุปราณี งามประสิทธิ์1 และ ภภสั สร วฒั นกุลภาคิน2 Yuwadee Injan1*, Paweena Thongluang1, Sansern Jampatong1, Prasert Thala1 Supranee Ngamprasitthi1 and Papassorn Wattanakulpakin2 1 ศูนยว์ จิ ัยขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 2 ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาเมลด็ พันธพุ์ ชื พิษณโุ ลก พิษณโุ ลก 65130 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Phisanulok Seed Research and Development Center, Phisanulok 65130, Thailand * Corresponding author: [email protected] ABSTRACT Seed production of the single cross hybrid cultivar Suwan 4452 is limited due to a 3-day delay in Ki 48 male flowering relative to Ki 47 female silking. Thus, the male line must be planted before the female line for 4 days to obtain a good pollination. This is regarded as a waste of time and labor in the management of seed production plots. This experiment was conducted to determine the priming methos for Ki 81. Randomized Complete Block Design with four replications and 4 treatments were performed. The treatments included soaking maize seeds in 1) water, 2) urea solution, and 3) potassium nitrate solution at a concentration of 1%, then incubating them for 3, 6, 12, and 24 hours at room temperature (25±2°C) and 4) unprimed seed (Control). Then tested seeds were stored at 12±2°C and relative humidity 50±2% for 12 months. The monthly changes in the quality of corn seed were collected.
86 การประชุมวชิ าการขา้กวาโรพปดรแะลชะมุ ขว้าชิ วาฟก่าางรแขหา้ ว่งโชพาดตแิ คลระ้งั ขท้าี่ ว4ฟ0่างแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 40 85 Seed priming using 1% potassium nitrate solution for 6 and 12 hours and 1% urea solution for 6 hours resulted in high germination and vigor before storage and could be stored in a temperature-controlled room for more than 12 months with more than 90% germination and vigor. Keywords: Seed priming, seed production, urea, potassium nitrate บทคัดย่อ การผลิตเมล็ดพันธ์ุลูกผสมเดี่ยวพันธุ์สุวรรณ 4452 มีข้อจากดั บางประการเนื่องจาก สายพันธุ์พ่อ (Ki 48) มีอายุการออกดอกตัวผู้ช้ากว่าอายุการออกไหมของสายพันธุ์แม่ (Ki 47) ประมาณ 3 วัน ดังน้นั จึงต้องปลูกสายพันธพุ์ อ่ ก่อนสายพันธ์ุแมเ่ ปน็ เวลา 4 วัน เพื่อให้มี การผสมเกสรที่ดี ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองเวลาและแรงงานในการจัดการแปลงผลิตเมลด็ พันธ์ุ การทดลองนี้เป็นการทา priming เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดสายพันธุ์แท้ Ki 48 วางแผนการ ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบลอค มี 4 ซ้า 4 กรรมวิธี การนาเมล็ดข้าวโพดมากระตุ้นความ งอกของเมล็ดด้วย 1) น้า 2) สารละลายยูเรีย และ 3) สารละลายโพแทสเซียมไนเตรต ท่ี ความเขม้ ขน้ 1 เปอร์เซน็ ต์ แช่เมลด็ ในสารละลาย 3 ช่วงเวลา คอื 6, 12 และ 24 ช่ัวโมง ที่ อุณหภูมิห้อง (25±2 องศาเซลเซียส) และ 4) เมล็ดข้าวโพดที่ไม่ผ่านการกระตุ้นความงอก (กลุ่มควบคุม) จากนั้นเก็บรักษาเมล็ดที่อุณหภูมิ 12±2 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 50±2 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 12 เดือน ทดสอบการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ ข้าวโพดทุกเดือน พบว่า การกระตุ้นเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดพันธุ์ Ki 48 ด้วยน้าและสารละลาย โพแทสเซียมไนเตรตที่ความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นระยะเวลา 6 และ 12 ชั่วโมง และ สารละลายยเู รยี ที่ความเขม้ ข้น 1 เปอรเ์ ซน็ ต์ เปน็ ระยะเวลา 6 ชว่ั โมง รวมทง้ั เมลด็ ทไี่ ม่ผ่าน การกระตุ้น ให้ความงอกและความแข็งแรงที่สูงก่อนเก็บรักษา และสามารถเก็บรักษาใน หอ้ งควบคมุ อุณหภูมไิ ดน้ านกวา่ 12 เดอื น โดยใหค้ วามงอกและความแขง็ แรงเมล็ดมากกว่า 90 เปอร์เซน็ ต์ คาสาคญั : กระตนุ้ ความงอก, ผลติ เมล็ดพนั ธุ,์ ยูเรีย, โพแทสเซียมไนเตรต
86 การประชมุ วชิ าการขกา้ าวรโพปดระแชลมุะวขิช้าวากฟาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ คลระง้ัขท้า่ีว4ฟ0่างแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 40 87 การใช้โดรนพน่ สารเพือ่ การจดั การแปลงที่ศูนย์วิจัยข้าวโพดและขา้ วฟ่างแหง่ ชาติ Farm Management Using a Spraying Drone at the National Corn and Sorghum Research Center ภรณภิ า โพธ์ศิ ริ 1ิ *, ธานี ศรวี งศ์ชัย2, วชั รกมล พลู ฤทธิ์3 และ สภุ าวดี ภมู ิโคกรกั ษ์3 Pornnipa Phosiri1*, Tanee Sreewongchai2, Watcharakamon Poonrith3 and Supawadee Poomkokrak3 1 ศนู ย์วจิ ยั และถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตร คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ 10900 2 ภาควชิ าพชื ไรน่ าคณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ 10900 3 ศนู ย์วจิ ัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 1 Agricultural Research and Technology Transfer Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand 2 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand 3 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: [email protected] ABSTRACT Pest management at the National Corn and Sorghum Research Center was previously done by spraying using labor or agricultural machinery. These methods were costly, slow spray and hazardous to labor. As a result, spraying drone were brought in for testing. When comparing the duration of work, the result showed that drone was took at least time at 3.36 min/rai, followed by agricultural machinery and labor at 4.48 and 30.0 min/rai, respectively. The spraying test was carried out using a Randomized Complete Block Design with three replications. The results showed that efficiency of three spraying techniques did not differ significantly. Spraying by drone, agricultural machinery, and labor cost 150, 300, and 400 baht/rai, respectively. Spraying using a drone had an advantage over the other two spraying method. It sprayed a large area quickly, effectively, and consistently. This is because the pump is utilized to adjust the intensity and amount of substance used during the spraying process. It can spray in corn fields at a height above the level of
88 การประชมุ วิชาการขกา้ วารโพปดระแชลมุะขวชิา้ วาฟกาา่ รงขแา้หวง่ โชพาดตแิ คลระั้งขทา้ ่ีว4ฟ0่างแห่งชาติ คร้ังท่ี 40 87 agricultural machinery nozzles, and it can spray in areas where humans or agricultural machinery cannot operate in the fields, such as uneven plots or flooded areas. However, drone operators must be trained in order to control and operate them effectively. Keywords: Spraying drone, pest control, sprayer, agricultural machinery บทคัดย่อ เดิมการฉีดพ่นสารป้องกันและกาจัดศัตรูพืชภายในศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่าง แห่งชาติดาเนินการโดยแรงงานคนหรอื เครื่องจกั รกลเกษตรฉีดพ่นเท่านัน้ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง ฉีดพ่นได้ช้า และอาจเป็นอันตรายต่อผู้ฉีดพ่น ดังนั้นจึงได้มีการนาโดรนฉีดพ่นสารเข้ามา ทดลองใช้งาน โดยเมื่อเปรียบเทียบระยะเวลาการทางาน การฉีดพ่นด้วยโดรนใช้ระยะ เวลาน้อยที่สุดอยู่ที่ 3.36 นาทีต่อไร่ รองลงมาคือเครื่องจักรกลเกษตรและแรงงานคน ใช้ระยะเวลา 4.48 และ 30.0 นาทีต่อไร่ ตามลาดับ จากการทดลองฉีดพ่นสารโดยใช้ แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบลอค จานวน 3 ซ้า ประสิทธภิ าพในการฉีดพ่นสารของ ท้ัง 3 วิธีทไี่ ม่แตกตา่ งกันทางสถติ ิ สว่ นคา่ ใช้จา่ ยการจา้ งแรงงานฉีดพน่ สารของทัง้ 3 วิธี การ ฉีดพ่นด้วยโดรน เครื่องจักรกลเกษตร และแรงงานคน มีค่าจ้างอยู่ที่ 150 300 และ 400 บาทต่อไร่ ตามลาดบั โดยการใช้โดรนฉดี พน่ สารมีข้อได้เปรยี บกว่าการใช้วิธีการฉีดพ่นแบบ อื่น คือ สามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็วและฉีดพ่นได้พื้นที่จานวนมาก การฉีดพ่นมีความ สม่าเสมอ เนื่องจากใช้ปั๊มควบคุมระดับความแรงและปริมาณสารตลอดการฉดี พน่ สามารถ ฉีดพ่นสารในแปลงข้าวโพดที่มีระดับความสูงต้นเหนือระดับของหัวฉีดของเครื่องจักร กล เกษตร และสามารถฉีดพ่นสารได้ในสภาพพืน้ ที่ที่คนหรือเครอ่ื งจักรกลเกษตรไมส่ ามารถเข้า ไปปฏิบัติงานได้ เช่น แปลงท่ีมีพื้นท่ีไม่สม่าเสมอ หรือพื้นที่ที่มีน้าท่วมขัง เป็นต้น อย่างไรก็ ตาม ผู้ที่บังคับโดรนจะต้องได้รับการฝึกฝนการใช้งานให้ชานาญก่อนจึงจะสามารถควบคมุ และใชง้ านโดรนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ คาสาคัญ: โดรนพน่ สาร, การป้องกนั กาจดั ศตั รพู ชื , แรงงานฉดี พ่น, เครอื่ งจกั รกลเกษตร
88 การประชุมวชิ าการข้ากวาโรพปดรแะลชะุมขว้าชิ วาฟกา่างรแขหา้ วง่ โชพาดตแิ คลระ้งั ขทา้ ่ี ว4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ คร้ังที่ 40 89 ผลของสารคลา้ ยบราสซนิ ต่อผลผลิตและองค์ประกอบผลผลติ ของขา้ วโพดเทยี น พนั ธ“์ุ เทยี นอยธุ ยา 60\" Effects of Brassin-like Substance on Yield and Yield Component of Tian corn var. “Tian Ayutthaya 60” ศิโรรัตน์ เขยี นแมน้ 1* กติ ติ บญุ เลศิ นิรนั ดร์1 ธนะชัย พันธ์เกษมสขุ 2 และ ธนวรรณ พรมขลิบนิล1 Sirorat Khienman1*, Kitti Boonlertnirun1, Tanachai Pankasemsuk2 and Tanawan Promkhlibnil1 1 สาขาพชื ศาสตร์ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ ศูนย์ พระนครศรอี ยธุ ยาหนั ตรา พระนครศรีอยุธยา 13000 2 ภาควิชาพชื ศาสตรแ์ ละปฐพศี าสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ เชียงใหม่ 50200 1 Department of Plant Sciences Faculty of Agricultural Technology and Agro-Industry, Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi (Huntra), Pranakronsri Ayuttaya 13000, Thailand 2 Department of Plant and Soil Sciences, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200, Thailand * Corresponding author: [email protected] ABSTRACT Effects of brassin-like substance on yield and quality of Tian corn var. “Tian Ayutthaya 60” were studied. The experiment was set up using a Randomized Complete Block Design, with four treatments consisted of spraying brassin-like substance concentrations of 0 (control), 0.5, 1.0, and 1.5 mg/l, with four replications. All treated plants were foliar sprayed twice at the seedling and 50% silking stages. The results revealed that all brassin-like substance treatments had higher fresh weight, length, and diameter of sweet corn ears with and without husk than the control. the number of rows, number of kernels per row, and fresh weight of 100 seeds increased significantly after applying brassin-like substance. Applying 1.5 mg/l of brassin- like substance yielded 210.08 gram of fresh weight, 30.11 cm of length, and 4.15 cm of diameter of sweet corn ear with husk. As a result, in this study,
90 การประชมุ วชิ าการข้ากวาโรพปดรแะลชะุมขว้าชิ วาฟก่าางรแขห้าว่งโชพาดตแิ คลระง้ั ขทา้ ่ี ว4ฟ0่างแห่งชาติ คร้ังท่ี 40 89 application of a brassin-like substance at a concentration of 1.5 mg/l was found to be most effective in increasing yield and yield composition of Tian corn var. “Tian Ayutthaya 60.” Keywords: Plant growth regulators, brassinosteroids, brassin-like substance, Tian Ayutthaya 60 บทคัดย่อ ศึกษาผลของสารคล้ายบราสซินต่อผลผลิตและคุณภาพ ของข้าวโพดเทียนพันธุ์ “เทียนอยุธยา 60” วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณใ์ นบลอค ประกอบด้วย 4 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 4 ซ้า คือ ฉีดพ่นสารคล้ายบราสซินที่ระดับความเข้มข้น 0 (กรรมวิธีควบคุม), 0.5, 1.0 และ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ใน 2 ระยะ คือ ในระยะต้นกล้าและระยะดอกเพศเมยี ปรากฏไหม 50% ผลการทดลองพบว่า ทุกกรรมวิธีที่ให้สารคล้ายบราสซินให้น้าหนักสด ความยาวและความกว้างของฝักทั้งก่อนและหลังปอกเปลือก จานวนแถวต่อฝัก จานวน เมลด็ ตอ่ แถว และนา้ หนกั สด 100 เมล็ดสงู กวา่ กรรมวิธคี วบคุมอยา่ งมีนัยสาคัญ ซ่ึงกรรมวิธี ที่ให้สารคล้ายบราสซินที่ความเข้มข้น 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้น้าหนักสด ความยาว และ ความกว้างของฝักรวมเปลือก 210.08 กรัม 30.11 เซนติเมตร และ 4.15 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้การให้สารคล้ายบราสซินที่ความเข้มข้น 1.5 มิลลิกรัม ต่อลิตร จึงมีความเหมาะสมที่สุดต่อการเพิ่มผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของข้าวโพด เทียนพนั ธุ์ “เทียนอยุธยา 60\" คาสาคัญ: สารควบคมุ การเจริญเติบโตของพืช บราสสิโนสเตอรอยด์ สารคล้ายบราสซนิ ขา้ วโพดเทยี น
ภาคผนวก
การประชมุ วชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 40 93
94 94 กากรปารรปะรชะุมชวมุ ชิ วาชิ กาากราขรา้ ขว้าโวพโพดแดลแะลขะข้าว้าวฟฟา่ ่างงแแหหง่ ่งชชาาตติ ิคครรงั้ ้งั ทที่ ี่4400
กกาารรปปรระะชชุมมุ ววชิ ิชาากกาารรข้าวโพดและขา้ วฟ่างงแแหห่งง่ ชชาาตติ ิคครรง้ั ั้งทที่ 4ี่ 400 9595
9696 กกาารรปปรระะชชุมมุ ววิชิชาากกาารรขข้าวโพดและข้าวฟา่ งงแแหห่งง่ ชชาาตติ ิคครร้งั ั้งทที่ 4่ี 400
การรปปรระะชชุมุมววชิ ชิ าากกาารรขข้า้าววโพโพดดแแลละขะ้าขว้าฟวฟ่างา่ แงหแง่หชง่ าชตาิ ตคิรคั้งรทัง้ ่ี ท40ี่ 4097 97
98 98การกปารระปชรุมะวชิชมุ าวกิชาารกขา้ารวขโ้าพวดโพแดลแะลขะ้าขว้าฟวา่ ฟง่าแงหแง่ หช่งาชตาิ ตคิ รคงั้ รทัง้ ที่ 4่ี 040
กกาารรปปรระะชชุมุมววชิ ชิากาการาขรา้ขว้าโวพโดพแดลแะลขะา้ ขว้าฟว่าฟง่าแงหแง่ หช่งาชตาิ คตริ คั้งทร่ีัง้ 4ท0ี่ 4099 99
100100 กากราปรรปะรชะมุชุมวิชวิชากาการารขขา้ า้ววโพโพดดแแลละะขข้า้าววฟฟา่ ่างงแหง่ ชาติ ครั้งที่ 40
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130