Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มบทคัดย่อ

เล่มบทคัดย่อ

Published by คณะเกษตร, 2022-08-01 10:22:15

Description: เล่มบทคัดย่อ การประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ครั้งที่ 40

Search

Read the Text Version

2222 กากราปรประรชะมุชวมุ ิชวาชิ กาากราขรา้ขว้าโวพโพดแดลแะลขะ้าขวา้ ฟวฟา่ งา่ แงหแ่งหชง่ าชตาิตคิ รคั้งรทง้ั ี่ท4่ี 040 resulted in leaf curling on Ki48, Ki60 and Ki61, while glufosinate ammonium was cause severe plant injury, had an efficacy to moderately control (64%) and good control (72%) weed for 30 days after application, respectively. The application of nicosulfuron + atrazine had an efficacy to control weed for 30 days after application (80%) but cause plant injury and destroy yield on Ki48, Ki50, Ki53, Ki56, Ki57, Ki58, Ki61, Ki63 and Ki64. The application of topramezone + atrazine, tembotrione + atrazine and mesotrione/ atrazine shown high efficacy to control weed and the yield was not significantly different. Keywords: Herbicide, inbred line, maize, weed บทคัดยอ่ การใช้สารป้องกันกาจัดวัชพืชที่เหมาะสมกับข้าวโพดจะช่วยลดผลกระทบที่มี ต่อขา้ วโพดและทาให้ขา้ วโพดสามารถเจริญเตบิ โตได้อย่างสมบูรณ์ ดงั น้ัน งานวิจัยน้ีมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้สารกาจัดวัชพืชประเภทก่อนงอกร่วมกับหลังงอกที่มี ประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชในข้าวโพดไร่สายพันธุ์แท้และข้าวโพดไร่ลูกผสม วาง แผนการทดลองแบบ Split plot in RCBD จานวน 3 ซ้า ประกอบด้วย ปัจจัยหลัก 7 กรรมวิธี ได้แก่ การใช้สารกาจัดวัชพืชก่อนงอก atrazine + pendimethalin เพียงอย่าง เดียว เปรียบเทียบกับการใช้สารกาจัดวัชพืชก่อนงอกร่วมกับสารกาจัดวัชพืชหลังงอก จานวน 6 กรรมวิธี ได้แก่ 2,4-D dimethylammonium, glufosinate ammonium, nicosulfuron + atrazine, topramezone + atrazine, tembotrione + atrazine, mesotrione/atrazine ปัจจัยรอง คือ ข้าวโพดไร่สายพันธุ์แท้ของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จานวน 18 สายพันธุ์ และข้าวโพดไร่ลูกผสมท่ีใช้เป็นพันธุ์เปรียบเทียบ คือ พันธุ์ SW4452, NS3, S7328, PAC339, CP888 และ DK6919 พบว่า การใช้สารกาจัด วัชพืชก่อนงอกร่วมกับ 2,4-D dimethylammonium พบใบส่วนยอดแสดงอาการหงิกงอ ในข้าวโพดสายพันธุ์แท้ Ki48 Ki60 และ Ki61 ส่วนการใช้ glufosinate ammonium น้ัน เป็นพิษรุนแรงต่อข้าวโพดทุกสายพันธุ์ มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชได้ปานกลาง (64%) และดี (72%) ตามลาดับ ที่ 30 วันหลังพ่นสาร สารกาจัดวัชพืช nicosulfuron + atrazine มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชได้ดี ที่ 30 วันหลังพ่นสาร สามารถควบคุม

กากราปรรปะรชะมุ ชวมุ ชิ วาชิกาากราขร้าขว้าโพวโดพแดลแะลขะ้าขวา้ฟวา่ ฟงา่แงหแง่ หช่งาชตาิ คตริ คั้งรทั้ง่ี ท40ี่ 40 2233 วัชพืชได้มากกว่า 80% แต่กลับมีผลกระทบรุนแรงต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของ ขา้ วโพดสายพันธุ์ Ki48, Ki50, Ki53, Ki56, Ki57, Ki58, Ki61, Ki63 และ Ki64 สาหรับการ ใช้ topramezone + atrazine, tembotrione + atrazine และ mesotrione/atrazine มีประสทิ ธิภาพในการควบคุมวชั พชื ไดด้ ี และข้าวโพดมีผลผลิตไมแ่ ตกต่างกนั คาสาคัญ: สารกาจดั วชั พชื , สายพนั ธุ์แท,้ ข้าวโพด, วชั พชื



ภาคโปสเตอร์



ศักยภาพการใหผ้ ลผลิตของข้าวโพดเลย้ี งสตั วล์ ูกผสมอายเุ กบ็ เกีย่ วสั้นพันธ์ุดเี ดน่ ของกรมวิชาการเกษตร ทดสอบในหลายสภาพแวดลอ้ ม Yield Potential of DOA’s Promising Early Maturity Maize Hybrids from Multi-environment Trials ปรญิ ญา การสมเจตน์1* ทัศนยี ์ บุตรทอง1 ชยั วัฒน์ นันทโชติ1 และ สุรพิ ฒั น์ ไทยเทศ2 Parinya Kansomjet1*, Thadsanee Budthong1, Chaiyawat Nantachot1 and Suriphat Thaitad2 1 ศูนย์วจิ ยั พชื ไรน่ ครสวรรค์ นครสวรรค์ 60190 2 สถาบนั วจิ ยั พชื ไรแ่ ละพืชทดแทนพลังงาน กรมวชิ าการเกษตร กรงุ เทพฯ 10900 1 Nakhon Sawan Field Crops Research Center, Nakhon Sawan 60190, Thailand 2 Field and Renewable Energy Crops Research Institute, Department of Agriculture, Bangkok, 10900, Thailand * Corresponding author: parinya.ku@gmail.com ABSTRACT The multi-environmental yield trials are an important step in maize variety selection. The objective of this research was to evaluate yield potential and yield stability of promising early maturity maize hybrids developed from Department of Agriculture (DOA), tested in muti-environment trials. Eight varieties of early maturity maize hybrids were grown for yield testing with two checks, CP301 and NS 5, in 10 environments in the 2021 rainy season. Randomized Complete Block Design with three replications was used. The results showed that varieties, environments and varieties x environments were significant differences (P < 0.05) in grain yield. NSX151034 gave average grain yield of 1,239 kg rai-1, with no significant difference to CP301 (1,315 kg rai-1) and NS 5 (1,317 kg.rai-1). For the yield stability, NSX151034 showed high stability in multi-environmental trials. Keywords: Zea mays L., yield stability, variety screening, multi-environment trials

28 การประชมุ วิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลุมะวขชิ า้ าวกฟาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ ลคะรขงั้ ท้าวี่ 4ฟ0่างแห่งชาติ ครัง้ ที่ 40 27 บทคดั ยอ่ การทดสอบผลผลิตในหลายสภาพแวดล้อมเป็นขั้นตอนสาคัญในการคัดเลือกพันธ์ุ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ดังนัน้ งานวิจยั น้ีจงึ มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินศกั ยภาพการใหผ้ ลผลิตและ เสถียรภาพผลผลติ ของขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ลกู ผสมอายเุ กบ็ เกี่ยวสั้นพนั ธดุ์ ีเดน่ ของกรมวิชาการ เกษตรซึ่งปลูกทดสอบในหลายสภาพแวดล้อม ดาเนินการทดลองโดยปลูกทดสอบพันธุ์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุเก็บเกี่ยวสั้นจานวน 8 พันธุ์ ร่วมกับพันธุ์ตรวจสอบ 2 พันธ์ุ ได้แก่ CP301 และนครสวรรค์ 5 ปลูกทดสอบใน 10 สภาพแวดลอ้ ม ในฤดูฝนปี 2564 วาง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการทดลอง พบว่า พันธุ์ สภาพแวดลอ้ ม และปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งพันธ์ุกับสภาพแวดลอ้ มแตกตา่ งอยา่ งมนี ยั สาคญั ทาง สถิตใิ นลกั ษณะผลผลติ ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ลูกผสมพันธ์ุ NSX151034 ให้ผลผลติ เฉล่ีย 1,239 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ซึ่งไมแ่ ตกต่างทางสถติ กิ บั พันธุต์ รวจสอบ CP301 (1,315 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่) และ นครสวรรค์ 5 (1,317 กิโลกรัมต่อไร่) และเมื่อพิจารณาเสถียรภาพผลผลิตของพันธุ์ พันธ์ุ NSX151034 จัดเป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพผลผลิตสูง ปรับตัว และตอบสนองต่อหลาย ๆ สภาพแวดลอ้ มไดด้ ใี นแหล่งปลูกขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ คาสาคญั : ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์, เสถียรภาพผลผลติ , การคัดเลือกพันธุ์, การทดสอบในหลาย สภาพแวดลอ้ ม

28 การประชุมวชิ าการขก้าาวรโปพรดะแชลุมะวขิชา้ าวกฟาา่รงขแ้าหวโ่งพชาดตแิลคะรข้งั า้ทว่ี ฟ40า่ งแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 40 29 การทดสอบพันธ์ุข้าวโพดเลยี้ งสัตวล์ ูกผสมทีเ่ หมาะสมสาหรับระบบการปลกู ขา้ วใน พนื้ ทน่ี าฤดูแลง้ Yield Trial of Field Corn Hybrids Appropriate for Rice Planting System on Paddy Field in Dry Season ชัยวัฒน์ นันทโชติ1* อรอนงค์ วรรณวงษ์2 เพญ็ รตั น์ เทยี มเพง็ 3 ปริญญา การสมเจตน์1 และ สรุ พิ ัฒน์ ไทยเทศ4 Chaiyawat Nantachot1*, Orn-anong Wannawong2, Penrat Thiempeng3, Parinya Kansomjet1 and Suriphat Thaitad4 1 ศูนย์วจิ ัยพชื ไร่นครสวรรค์ นครสวรรค์ 60190 2 ศูนยว์ จิ ัยพชื ไร่อุบลราชธานี อบุ ลราชธานี 34190 3 ศูนยว์ จิ ัยและพฒั นาการเกษตรเพชรบรู ณ์ เพชรบรู ณ์ 67000 4 สถาบันวจิ ยั พชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน กรมวิชาการเกษตร กรงุ เทพฯ 10900 1 Nakhon Sawan Field Crops Research Center, Nakhon Sawan 60190, Thailand 2 Ubon Ratchathani Field Crops Research Center, Ubon Ratchathani 34190, Thailand 3 Phetchabun Agricultural Research and Development Center, Phetchabun 67000, Thailand 4 Field and Renewable Energy Crops Research Institute, Department of Agriculture, Bangkok, 10900, Thailand * Corresponding author: Chaiyawat_sermod@hotmail.com ABSTRACT Domestic field corn production is insufficient to meet the market demand due to the increasing demand for raw materials in the feed industry. Most of the field corn production in Thailand is mainly cultivated in rainfed areas, which are most at risk of drought. Therefore, increasing field corn production areas to irrigated area of paddy fields in dry season is a way to achieve the field corn demand. The objective of this research was to evaluate field corn hybrids for yield potential and adaptability in paddy field of rice planting system. Ten field corn hybrids were tested in paddy fields at Nakhon Sawan, Phetchabun, and Ubon Ratchathani provinces in the 2021/22 dry season (November 2021-March 2022). The experimental design was Randomized

30 การประชมุ วชิ าการขก้าวารโพปดระแชลุมะขวชิา้ วาฟกาา่ รงขแา้หวง่ โชพาดตแิ คลระ้ังขท้า่ีว4ฟ0า่ งแห่งชาติ ครั้งท่ี 40 29 Complete Block Design (RCBD) with four replications. The results from combined analysis of the three locations showed that CP303 gave the highest yield of 1,167 kg/rai, which higher than that of NS3 by 25%, but not significant difference from NS5, Pac789, and NSX152067 which mean grain yield were in the range of 1,010–1,094 kg/rai, and higher than that of NS3 by 8-17%. The trial mean for grain yield was 974 kg/rai. For stability analysis on grain yield using GGE biplot, the results showed that CP303 is the most stable and highest-yielding variety, followed by NS5, Pac789, and NSX152067. Keywords: Field corn hybrid selection, rice planting system, stability analysis บทคัดยอ่ ผลผลิตขา้ วโพดเล้ียงสัตวท์ ี่ผลิตภายในประเทศมีปริมาณไม่เพียงพอกับความตอ้ งการ ของตลาด เนื่องจากความต้องการใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์มีมากข้ึน การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นการปลูกโดยอาศัยน้าฝนเป็นหลัก ทาให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดภัยแล้งและฝนทิ้งช่วง จึงมีการขยายพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ในฤดูแล้งสภาพนาในเขตชลประทานเพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณความต้องการใช้ใน ประเทศ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพด เลีย้ งสตั ว์ลกู ผสมท่เี หมาะสมสาหรบั ระบบการปลูกข้าวในด้านการปรบั ตัวในพื้นทน่ี า โดยได้ ทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมจานวน 10 พันธุ์ ในพื้นที่นาฤดูแล้งของเกษตรกรใน จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุบลราชธานี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2564 - มีนาคม 2565 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 4 ซ้า ผลการทดสอบโดยการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมทั้ง 3 แหล่งปลูก พบว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ CP303 ให้ผลผลิตเฉลย่ี สูงที่สุด 1,167 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ซง่ึ สงู กวา่ พันธุ์ NS3 ถงึ 25 เปอร์เซน็ ต์ แต่ไม่แตกตา่ งทางสถิติกบั พันธุ์ NS5, Pac789 และพนั ธุ์ NSX152067 ซ่ึงมีผลผลิตเฉลี่ยอยู่ ในช่วง 1,010-1,094 กิโลกรัมตอ่ ไร่ โดยให้ผลผลิตสงู กว่าพันธุ์ NS3 8-17 เปอร์เซน็ ต์ และมี ผลผลิตเฉลี่ยของแปลงทดลอง 974 กิโลกรัมต่อไร่ การวิเคราะห์เสถียรภาพของพันธ์ุ ใน ลักษณะผลผลิตด้วยวิธี GGE biplot จากทั้ง 3 แหล่งปลูก พบว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ CP303 เป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพของพันธุ์และผลผลิตสูงที่สุด ในขณะที่พันธุ์ NS5, Pac789 และ NSX152067 มีเสถียรภาพของพนั ธ์ุและผลผลติ รองลงมา

30 การประชมุ วิชากกาารรขป้ารวะโพชมุดวแชิลาะกขาา้ รวขฟา้ า่ วงโแพหด่งแชลาะตขิ คา้ วรฟั้งทา่ งี่ 4แ0ห่งชาติ ครัง้ ที่ 40 31 คาสาคัญ: การคดั เลือกพันธข์ุ า้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ลกู ผสม, ระบบการปลกู ขา้ ว, การวิเคราะห์ เสถยี รภาพ

32 การประชุมวชิ าการข้ากวาโรพปดรแะลชะุมขวา้ชิ วาฟกา่างรแขห้าว่งโชพาดตแิ คลระง้ั ขทา้ ่ี ว4ฟ0่างแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 40 31 การทดสอบพนั ธ์ขุ ้าวโพดเล้ียงสัตวล์ กู ผสมกอ่ นการค้าในไร่เกษตรกร ปี 2563 Field Corn Trials for Pre-commercial Hybrids on Farmers’ Fields in 2020 สดใส ช่างสลัก1* สาราญ ศรีชมพร1 ชฎามาศ จติ ตเ์ ลขา1 ปวีณา ทองเหลือง1 ประกายรตั น์ โภคาเดช1 พรเทพ แชม่ ช้อย1 กติ ตศิ กั ดิ์ ศรีชมพร1 สุทัศน์ แปลงกาย2 กิ่งกานต์ พาณิชนอก3 และ สเุ มศ ทบั เงิน3 Sodsai Changsaluk1*, Samran Srichomporn1, Chadamas Jitlaka1, Paweena Thongluang1, Prakayrat Phocadate1, Pornthep Chamchoy1, Kittisak Srichomporn1, Sutat Plangkay2, Kingkan Panichnok3 and Sumet Tabngoen3 1 ศนู ย์วจิ ัยขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 2 สถานวี จิ ยั ลพบรุ ี คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ลพบุรี 15250 3 สถานวี จิ ยั เขาหนิ ซอ้ น คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ฉะเชงิ เทรา 24120 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Lopburi Research Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Lop Buri 15250, Thailand 3 Kaohinson Research Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Chachoengsao 24120, Thailand * Corresponding author: ijsssc@ku.ac.th ABSTRACT The objective of this research was to investigate yield potential and adaptability of pre-commercial field corn hybrids on farmers’ fields. The trials of 40 pre-commercial field corn hybrids were tested on farmers’ fields at 15 locations in Lopburi, Nakhon Ratchasima, Prachinburi, Saraburi and Chachoengsao provinces during May-December 2020, using Randomized Complete Block Design with three replications. The results of combined analysis from 15 locations showed that SH19013 gave the highest yield of 954 kg/rai, which higher than that of SW4452 (check variety) by 28%, but it was not significantly different from STG109, SH1901, WS8520, GTX1946, KSX6110, ST168, S7328, GTX1959, SP6015, KESX1612, SP6001, KSX6206, KSX6112, KSX6202, KSX5819,

32 การประชมุ วชิ าการขกา้ าวรโพปดระแชลมุะวขชิ้าวากฟาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ คลระั้งขท้าี่ว4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 40 33 KSX6204, KSX5720, KSX6108, KSX6109, KSX5731, SP6002, KSX6102 and KSX6019. These hybrids gave higher yield than the check in the range of 3- 14%. AMMI analysis of yield trials from 15 planting sites showed that KSX5720 was the most stability. Keywords: Field corn, pre-commercial hybrids, farmers’ fields บทคดั ย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมก่อนการค้าที่ ให้ผลผลติ สูงและปรับตัวไดด้ ีในไรเ่ กษตรกร การทดสอบพันธุข์ ้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมก่อน การค้า จานวน 40 พนั ธ์ุ ในไร่เกษตรกรจงั หวัดลพบุรี นครราชสีมา ปราจนี บรุ ี สระบุรี และ ฉะเชิงเทรา ใน 15 แหล่งปลูก ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงธันวาคม 2563 วางแผนการ ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลร่วม 15 แหล่ง ปลกู พบว่า พันธุ์ SH19013 ให้ผลผลติ สงู สุดคือ 954 กโิ ลกรัมต่อไร่ ซง่ึ ให้ผลผลิตสูงกวา่ พนั ธ์ุ เปรียบเทียบ SW4452 28 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับพันธุ์ STG109, SH1901, WS8520, GTX1946, KSX6110, ST168, S7328, GTX1959, SP6015, KESX1612, SP6001, KSX6206, KSX6112, KSX6202, KSX5819, KSX6204, KSX5720, KSX6108, KSX6109, KSX5731, SP6002, KSX6102 และ KSX6019 ซึ่งให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ SW4452 ในช่วง 3-14 เปอร์เซ็นต์ จากการวิเคราะห์ผลผลิตแบบ IMMI พบว่า พันธ์ุ KSX5720 มเี สถียรภาพดีที่สดุ คำสำคญั : ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว,์ พันธลุ์ ูกผสมก่อนการคา้ , ไร่เกษตรกร

34 การประชมุ วชิ าการขกา้ าวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ ้าาวกฟาา่ รงขแา้ หวง่ โชพาดตแิ ลคะรขง้ั ทา้ ว่ี 4ฟ0่างแห่งชาติ ครัง้ ที่ 40 33 การทดสอบพนั ธ์ขุ ้าวโพดเล้ยี งสัตวล์ ูกผสมปรับปรุงใหม่ที่ดีเดน่ ในไร่เกษตรกร ปี 2563 On Farm Trials for New Improved Field Corn Hybrids on Farmers’ Fields in 2020 สดใส ช่างสลัก1* สาราญ ศรชี มพร1 ชฎามาศ จิตต์เลขา1 ปวีณา ทองเหลอื ง1 กติ ตศิ ักด์ิ ศรชี มพร1 พรเทพ แชม่ ช้อย1 และ ประกายรตั น์ โภคาเดช1 Sodsai Changsaluk1*, Sumran Srichomporn1, Chadamas Jitlaka1, Paweena Thongluang1, Kittisak Srichomporn1, Pornthep Chamchoy1 and Prakayrat Phocadate1 1 ศูนยว์ จิ ยั ข้าวโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสมี า 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: ijsssc@ku.ac.th ABSTRACT The objective of this research was to investigate yield potential and adaptability of new improved field corn hybrids on farmers’ fields. The trials of 12 new improved field corn hybrids were tested on farmers’ fields at five locations in Lopburi and Nakhon Ratchasima provinces, during June-December 2020, using Randomized Complete Block Design with three replications. The results of combined analysis from five locations showed that S7328 gave the highest yield of 1,127 kg/rai, which higher than that of SW4452 (check variety) by 18%, but it was not significantly different from KSX6007, KSX5819, KSX5720, KSX5821, KSX5916, KSX5731, KSX6017, KSX6010 and KSX6016. These hybrids gave higher yield than the check in the range of 4-14%. The trial mean for grain yield was 1,016 kg/rai. Keywords: Field corn, new improved hybrids, yield, farmers’ fields

34 การประชุมวิชาการขก้าาวรโพปดระแชลมุะวขิชา้ วากฟาา่ รงขแ้าหว่งโชพาดตแิ คลระง้ัขท้าี่ว4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 40 35 บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธ์ุข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมปรับปรงุ ใหม่ที่ ให้ผลผลิตสูงและปรับตัวได้ดีในไร่เกษตรกร การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสม ปรับปรุงใหม่ จานวน 12 พันธุ์ ในไร่เกษตรกรจังหวัดลพบุรีและนครราชสีมา ใน 5 แหล่ง ปลูก ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงธันวาคม 2563 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลร่วม 5 แหล่งปลูก พบว่า พันธุ์ S7328 ให้ผลผลิตสูงสุด 1,127 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์เปรียบเทียบ SW4452 18 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับพันธ์ุลูกผสมปรับปรุงใหม่ KSX6007, KSX5819, KSX5720, KSX5821, KSX5916, KSX5731, KSX6017, KSX6010 แ ล ะ KSX6016 ซ่ึ ง ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ SW4452 ในช่วง 4-14 เปอร์เซ็นต์ โดยมีผลผลิตเฉลี่ยของแปลง ทดลองเท่ากับ 1,016 กิโลกรัมตอ่ ไร่ คาสาคญั : ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์, พันธลุ์ ูกผสมปรบั ปรุงใหม,่ ผลผลิต, ไร่เกษตรกร

36 การประชมุ วชิ าการขกา้ าวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ า้ าวกฟาา่รงขแา้ หวง่โพชาดตแิลคะรขงั้ า้ทวี่ ฟ40่างแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 40 35 การทดสอบพันธ์ุขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมปรบั ปรุงใหม่อายุเก็บเก่ียวสั้น ในไรเ่ กษตรกร On Farm Trials for New Improved Early Field Corn Hybrids on Farmers’ Fields สดใส ช่างสลกั 1* สาราญ ศรชี มพร1 ณฐั พร วรธงไชย1 กติ ตศิ กั ดิ์ ศรชี มพร1 ชฎามาศ จิตต์เลขา1 ประกายรัตน์ โภคาเดช1 และ ณัฐณี จตุ โิ รจน์ปกรณ์1 Sodsai Changsaluk1*, Sumran Srichomporn1, Nattaporn Worathongchai1, Kittisak Srichomporn1, Chadamas Jitlaka1, Prakayrat Phocadate1 and Nattanee Jutirodpakorn1 1 ศูนยว์ จิ ัยขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: ijsssc@ku.ac.th ABSTRACT The objective of this research was to investigate yield potential and adaptability of new improved early field corn hybrids on farmers’ fields. The trials of 10 new improved early field corn hybrids were tested on farmers’ fields at six locations in Nakhon Ratchasima and Saraburi provinces during July- December 2021, using Randomized Complete Block Design with three replications. The results of combined analysis from six locations showed that SW5720 (check variety) gave the highest yield of 1,470 kg/rai, but it was not significantly different from 1103-1 x 1101-59 and 1103-3 x 1101-59, which yielding of 1,393 and 1,266 kg/rai, respectively. There were three early crosses, 1103-1 x 1101-59, 1103-2 x 1101-59 and 1103-3 x 1101-59, which had high yield (1,393 1,205 and 1,266 kg/rai, respectively) and not significantly different. The three crosses also had high yield with not significant difference from commercial hybrids; CP301, CP389, NS5, DK9919C and PAC339, which gave

36 การประชมุ วชิ าการขก้าาวรโปพรดะแชลมุ ะวขิชา้ าวกฟาา่รงขแ้าหวโง่ พชาดตแิลคะรขงั้ า้ทวี่ ฟ40า่ งแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 40 37 yield in the range of 1,022-1,277 kg/rai. The trial mean for grain yield was 1,195 kg/rai. Keywords: Field corn, new hybrids, early maturity, farmers’ fields บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมปรับปรุงใหม่ อายุเก็บเกี่ยวสั้นที่ให้ผลผลิตสูงและปรับตัวได้ดีในไร่เกษตรกร การทดสอบพันธุ์ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ลูกผสมปรับปรุงใหม่อายุเก็บเกี่ยวสั้น จานวน 10 พันธุ์ ในไร่เกษตรกรจังหวัด นครราชสีมาและสระบุรี จานวน 6 แหล่งปลูก ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงธันวาคม 2564 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลร่วม 6 แหล่งปลูกพบว่า พันธุ์เปรียบเทียบ SW5720 ให้ผลผลิตสูงสุดคือ 1,470 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับคู่ผสม 1103-1 x 1101-59 และ 1103-3 x 1101-59 ซึ่งให้ ผลผลิตเท่ากับ 1,393 และ 1,266 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ โดยมีคู่ผสมข้าวโพดอายุ เก็บเกี่ยวสั้น 3 คู่ผสม ได้แก่ 1103-1 x 1101-59, 1103-2 x 1101-59 และ 1103-3 x 1101-59 ให้ผลผลิตสูงไม่แตกต่างกันคือ 1,393 1,205 และ 1,266 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ และผลผลิตของ 3 คู่ผสมดังกล่าวไม่แตกต่างทางสถิติกับพันธุ์การค้า CP301, CP389, NS5, DK9919C และ PAC339 ซ่งึ ใหผ้ ลผลติ เฉลีย่ อยใู่ นช่วง 1,022-1,277 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ผลผลิตเฉลีย่ ของแปลงทดลองเทา่ กับ 1,195 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ คาสาคญั : ขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์, ลกู ผสมพันธุ์ใหม่, อายุเกบ็ เกี่ยวสั้น, ไร่เกษตรกร

38 การประชมุ วิชาการกขาา้ รวปโพระดชแมุลวะชิขา้ากวฟารา่ ขงา้แวหโ่งพชดาแตลิ คะรขง้ั้าทวฟ่ี 4า่ 0งแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 40 37 การทดสอบพันธ์ุข้าวโพดหวานลูกผสมปรับปรุงใหม่ในไรเ่ กษตรกร ฤดแู ล้ง ปี 2565 On Farm Trials for New Improved Sweet Corn Hybrids on Farmers’ Fields in the 2022 Dry season สดใส ชา่ งสลัก1* สาราญ ศรชี มพร1 ชฎามาศ จติ ตเ์ ลขา1 ณัฐพร วรธงไชย1 ประกายรัตน์ โภคาเดช1 และ กิตตศิ กั ด์ิ ศรีชมพร1 Sodsai Changsaluk1*, Sumran Srichomporn1, Chadamas Jitlaka,1 Nattaporn Worathongchai1, Prakayrat Phocadate1 and Kittisak Srichomporn1 1 ศนู ย์วจิ ัยขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครราชสมี า 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: ijsssc@ku.ac.th ABSTRACT The objective of this research was to investigate yield potential and adaptability of new improved sweet corn hybrids on farmers’ fields in dry season. The trials of 15 new improved sweet corn hybrids were tested on farmers’ fields at five locations in Lopburi, Nakhon Ratchasima and Saraburi provinces during December 2021 to April 2022, using Randomized Complete Block Design with three replications. The results of combined analysis from five locations showed that the new improved sweet corn hybrids; Insee 3, Insee 4 and Insee 5, gave ear green yield, standard green ear yield and yellow ear yield in the range of 1,675-2,093, 1,625-1,982 and 1,227-1,229 kg/rai, respectively, higher than Insee 2. The fresh yields were also not significantly different from commercial hybrids; Hi-Brix3, Sweet Jumbo, Wan 1351 and Siam Ruby, which gave green ear yield, standard green ear yield and yellow ear yield in the range of 1,838-2,278, 1,721-2,198 and 1,135-1,553 kg/rai, respectively. Insee 5 and KSPSX5901 gave high cut kernel (45.4-47.4%), which

38 การประชมุ วิชาการขกา้ าวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ ้าาวกฟาา่ รงขแา้ หว่งโชพาดตแิ ลคะรข้งั ทา้ ว่ี 4ฟ0่างแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 40 39 were not significantly different from Wan1351 (commercial hybrids). However, Insee 2 gave highest sweetness of 15.7 obrix. Keywords: Sweet corn, new improved hybrids, yield, farmers’ fields บทคดั ยอ่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมปรับปรุงใหม่ที่ให้ ผลผลิตสูงและปรับตัวได้ดใี นไร่เกษตรกรในฤดูแล้ง การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม ปรับปรงุ ใหม่ จานวน 15 พนั ธุ์ ในไรเ่ กษตรกรจังหวดั ลพบุรี นครราชสีมา และสระบุรี ใน 5 แหล่งปลูก ระหว่างเดือนธันวาคม 2564 - เมษายน 2565 วางแผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลร่วม 5 แหล่งปลูกพบว่า พันธุ์ ข้าวโพดหวานลกู ผสมปรับปรงุ ใหม่ Insee 3 Insee 4 และ Insee 5 ให้ผลผลิตฝกั ทงั้ เปลือก อยู่ในช่วง 1,675-2,093 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตฝักดีทั้งเปลือกอยู่ในช่วง 1,625-1,982 กิโลกรัมตอ่ ไร่ และผลผลติ ปอกเปลือกอยู่ในช่วง 1,227-1,229 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งผลผลติ ฝกั สดของพนั ธข์ุ ้าวโพดหวานลกู ผสมปรบั ปรงุ ใหมด่ งั กล่าวสงู กว่าพนั ธ์ุ Insee 2 และไมแ่ ตกตา่ ง ทางสถิติกับพันธุ์การค้า Hi-Brix3, Sweet Jumbo, Wan1351 และ Siam Ruby ซึ่งให้ ผลผลติ ฝักทัง้ เปลือกอยูใ่ นช่วง 1,838-2,278 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ผลผลติ ฝกั ดที ง้ั เปลือกอยู่ในช่วง 1,721-2,198 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ และผลผลติ ปอกเปลือกอยู่ในช่วง 1,135-1,553 กิโลกรัมตอ่ ไร่ โดยพันธุ์ Insee 5 และ KSPSX5901 ให้อัตราแลกเนื้อสูง (45.4-47.4 เปอร์เซ็นต์) ไม่ แตกต่างทางสถิติกับพันธ์ุการค้า Wan1351 ทั้งนี้พันธุ์ Insee 2 ให้ความหวานสูงสุดเทา่ กับ 15.7 องศาบริกซ์ คาสาคัญ: ข้าวโพดหวาน, พนั ธลุ์ ูกผสมปรับปรุงใหม่, ผลผลติ , ไร่เกษตรกร

40 การประชมุ วิชาการขก้าวารโพปดระแชลมุะขวชิา้ วาฟกาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ คลระ้งัขทา้ ี่ว4ฟ0่างแห่งชาติ คร้งั ท่ี 40 39 การทดสอบสมรรถนะการผสมของพันธขุ์ า้ วโพดเล้ียงสตั ว์ลกู ผสมทางการคา้ เพ่อื การพัฒนาสายพันธุแ์ ละพนั ธล์ุ ูกผสม Combining Ability Test of Commercial Field Corn Hybrids for Line and Hybrid Development สิทธินนั ต์ จองโพธิ์1* จงกลลดา พลายดี1 นิพัทธฌ์ า พอบขุนทด1 และ ศรนั ย์ หงษาครประเสริฐ1 Sitthinan Jongpho1*, Chongkonlada Phlaidee1, Nipatcha pobkhunthod1 and Sarun Hongsakornprasert1 1 สถานีวจิ ัยและพัฒนาอาชีพแกเ่ กษตรกร คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ลพบรุ ี 15120 1 Farming Research and Development Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Lopburi 15120, Thailand * Corresponding author: fagrsnj@ku.ac.th ABSTRACT The objectives of this research were to evaluate combining ability and identify heterotic groups of commercial field corn hybrids for line and hybrid development. In the 2017 early rainy season, 10 commercial field corn hybrids were crossed in a half-diallel manner with no reciprocals to produce 45 crosses. The crosses and 11 varieties were then grown for yield testing in the 2018 early and late rainy seasons at three locations (National Corn and Sorghum Research Center, Pak Chong, Nakhon Ratchasima, Farming Research and Development Station, Khok Samrong, Lopburi and Lop Buri Research Station, Khok Charoen, Lopburi). Lattice Design with four replications were used. The results showed that hybrids with positive and significant gca were P4554, KSX5402 and CP801. Crosses with positive and significant sca were P4546 x PAC559, S6248 x PAC339, P4546 x TS1004, CP801 x PAC559, PAC339 x TS1004, P4546 x KSX5402, P4554 x S6248 and P4554 x CP801. The commercial field corn hybrids were then grouped into three heterotic groups using grain yield. Group I was PAC559, TS1004, P4554 and KSX5402. Group II

40 การประชมุ วชิ าการขก้าาวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ ้าาวกฟาา่ รงขแ้าหว่งโชพาดตแิ ลคะรข้งั ทา้ วี่ 4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 40 41 was S7328, P4546 and PAC339. Group III was S6248, DK9955 and CP801. The combining ability and heterotic groups of commercial field corn hybrids can be utilized for development of lines and hybrids with high yield and good agronomic traits. Keywords: Hybrid variety, specific combining ability, general combining ability บทคดั ย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมรรถนะการผสมและจัดกลุ่มเฮตเทอโรซิส ของพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมทางการค้าสาหรับการพัฒนาสายพันธุ์และพันธุ์ลูกผสม ดาเนินการโดยผสมระหว่างพันธุ์ลูกผสมทางการค้า จานวน 10 พันธุ์ ในฤดูต้นฝน ปี 2560 ใช้แผนการผสมแบบ half-diallel โดยไม่มีการสลับพ่อแม่ ได้ลูกผสมจานวน 45 คู่ผสม ปลูกทดสอบผลผลิตของลูกผสมและพนั ธุ์ร่วมทดสอบ จานวน 11 พันธ์ุ ในฤดูต้นฝนและฤดู ปลายฝน ปี 2561 ใน 3 สถานท่ี ได้แก่ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา สถานีวิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร อ.โคกสาโรง จ.ลพบุรี และสถานี วิจัยลพบุรี อ.โคกเจรญิ จ.ลพบรุ ี ใช้แผนการทดลอง Lattice Design จานวน 4 ซ้า ผลการ ทดลองพบว่า พนั ธ์ุท่ีมีสมรรถนะการผสมทัว่ ไปเป็นบวกและแตกต่างทางสถิติ ได้แก่ P4554 KSX5402 และ CP801 คู่ผสมที่คา่ สมรรถนะการผสมเฉพาะเป็นบวกและแตกต่างทางสถติ ิ ไดแ้ ก่ P4546 x PAC559, S6248 x PAC339, P4546 x TS1004, CP801 x PAC559, PAC339 x TS1004, P4546 x KSX5402, P4554 x S6248 และ P4554 x CP801 โดยสามารถจัด กล่มุ เฮตเทอโรซสิ ของพันธุ์ลกู ผสมทางการค้าโดยใช้ลักษณะผลผลติ ได้ 3 กลมุ่ กลุ่มที่ 1 ได้แก่ PAC559 TS1004 P4554 และ KSX5402 กลุ่มที่ 2 ได้แก่ S7328 P4546 และ PAC339 และกลุ่มท่ี 3 ไดแ้ ก่ S6248 DK9955 และ CP801 ซึง่ สมรรถนะการผสมและกลุ่มเฮตเทอโรซิส ของพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมทางการค้าสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาสายพันธุ์และ พนั ธ์ุลูกผสมทใ่ี หผ้ ลผลิตสงู และมีลักษณะทางการเกษตรดีตอ่ ไป คาสาคัญ: พันธุ์ลกู ผสม, สมรรถนะการผสมเฉพาะ, สมรรถนะการผสมทั่วไป

42 การประชมุ วชิ าการขก้าวารโพปดระแชลมุะขวชิา้ วาฟกาา่ รงขแา้หว่งโชพาดตแิ คลระั้งขท้าี่ว4ฟ0่างแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 40 41 การประเมนิ สายพนั ธุ์ขา้ วฟา่ งเมล็ดในไรเ่ กษตรกร ปี 2561-2562 Evaluation of Grain Sorghum Lines on Farmers’ Fields in 2018-2019 อาไพ พรหมณเรศ1* ถวิล นิลพยคั ฆ1์ ปวณี า ทองเหลอื ง1 ณัฐณชิ า สิทธิเดช1 และ ธารงศิลป โพธิสงู 1 Amphai Promnaret1*, Tawil Nilpayak1, Paweena Thongluang1, Nutnicha Sitthidet1 and Thamrongsilpa Pothisoong1 1 ศนู ยว์ จิ ยั ข้าวโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: ijsapr@ku.ac.th ABSTRACT The objectives of this research were to evaluate and select grain sorghum lines for yield potential and adaptability on farmers’ field environments. Sorghum Breeding Program, Kasetsart University had evaluated eight new improved grain sorghum lines at Nakhon Ratchasima, Nakhon Sawan and Kamphaeng Phet provinces, totally three locations per year. The research was conducted during July-December 2018 and 2019, using Randomized Complete Block Design with three replications. The results showed that KGS5906, KGS5907, KGS5908 and KGS5909 gave average grain yield of 811, 776, 772 and 799 kg rai-1, respectively. These grain sorghum lines gave grain yield higher than the average yield, and gave grain yield higher than the average yield of individual location. Therefore, the four new improved grain sorghum lines had potential for grain yield. Keywords: Grain sorghum, evaluation, farmers’ fields

42 การประชุมวิชาการขก้าาวรโพปดระแชลุมะวขิชา้ วากฟาา่ รงขแา้หวง่ โชพาดตแิ คลระงั้ขท้าี่ว4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 40 43 บทคดั ยอ่ งานวจิ ัยนี้มวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ทดสอบและคดั เลือกสายพันธ์ุขา้ วฟ่างเมล็ดท่ีให้ผลผลิต เมล็ดสูงและมีศักยภาพในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมในไร่เกษตรกร โครงการปรับปรุง พนั ธุข์ า้ วฟา่ ง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทดสอบพันธขุ์ ้าวฟ่างเมล็ดทีป่ รบั ปรุงข้ึนมาใหม่ จานวน 8 สายพันธ์ุ ในพ้ืนทจ่ี งั หวดั นครราชสีมา นครสวรรค์ และกาแพงเพชร รวม 3 แหล่ง ปลูกต่อปี ระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึง เดือนธันวาคม ปี 2561 และ 2562 วางแผนการ ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการศึกษาพบว่า ข้าวฟ่างเมล็ดสาย พันธุ์ KGS5906 KGS5907 KGS5908 และ KGS5909 ให้ผลผลิตเมล็ดเฉลี่ยเท่ากับ 811, 776, 772 และ 799 กิโลกรมั /ไร่ ตามลาดบั ซงึ่ ใหผ้ ลผลิตเมล็ดสูงกวา่ ค่าเฉลี่ยท้ังหมด และ ใหผ้ ลผลิตเมลด็ สงู กวา่ คา่ เฉล่ียในทกุ สภาพแวดล้อม แสดงใหเ้ หน็ วา่ ข้าวฟา่ งเมล็ดที่ปรับปรุง พันธข์ุ ้ึนมาใหม่ท้ัง 4 สายพนั ธ์ุ มศี ักยภาพในการใหผ้ ลผลิตเมลด็ คาสาคัญ: ข้าวฟา่ งเมลด็ , การประเมนิ , ไร่เกษตรกร

44 การประชุมวิชาการขก้าวารโพปดระแชลุมะขวชิา้ วาฟกา่ารงขแ้าหว่งโชพาดตแิ คลระัง้ขทา้ ่ีว4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 40 43 การทดสอบพันธขุ์ า้ วโพดหวานลกู ผสมทางการคา้ ปี 2564 Evaluation of Commercial Sweet Corn Hybrids in 2021 ณฐั พร วรธงไชย1* สดใส ช่างสลกั 1 สาราญ ศรชี มพร1 ชฎามาศ จติ ตเ์ ลขา1 ประกายรตั น์ โภคาเดช1 และ พรเทพ แชม่ ช้อย1 Nattaporn Worathongchai1*, Sodsai Changsaluk1, Sumran Srichomporn1, Chadamas Jitlaka1, Prakayrat Phocadate1 and Pornthep Chamchoy1 1 ศูนยว์ จิ ยั ข้าวโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสมี า 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: nattaporn.wora@ku.th ABSTRACT The objective of this research was to evaluate yield potential and agronomic traits of commercial sweet corn single-cross hybrids. Twelve commercial sweet corn hybrids were tested at National Corn and Sorghum Research Center, Pak Chong, Nakhon Ratchasima, from December 2020 to March 2021. Randomized Complete Block Design with three replications were used. The results showed that Wan 1351 gave the highest green ear yield, standard ear yield and yellow ear yield of 3,129, 2,926 and 2,212 kg/rai, respectively. The yields were not significantly different from CN 2, Hi-Brix 33, Songkla 84-1, Insee 2, Hi-Brix 71 and Wan 54. Hi-Brix 3 gave the lowest green ear yield, standard green ear yield and yellow ear yield of 1,239, 1,123 and 834 kg/rai, respectively. Songkla 84-1 gave the highest cut kernel of 46.5%. However, Insee 2 gave the highest sweetness of 16.3 °brix, while CN 2 gave the lowest sweetness of 12.2 °brix. Keywords: Sweet corn, commercial variety, hybrid, yield

44 การประชมุ วิชาการขก้าาวรโพปดระแชลุมะวขชิา้ วากฟาา่ รงขแา้หว่งโชพาดตแิ คลระ้ังขท้าี่ว4ฟ0่างแหง่ ชาติ ครั้งที่ 40 45 บทคดั ย่อ งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพการให้ผลผลิตและลักษณะทางการ เกษตรของข้าวโพดหวานลูกผสมเดี่ยวที่เป็นพันธุ์การค้า โดยทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวาน ลูกผสมทางการคา้ จานวน 12 พันธ์ุ ท่ีศูนยว์ ิจัยข้าวโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ อาเภอปากชอ่ ง จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างเดือนธันวาคม 2563 ถึงมีนาคม 2564 วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการทดลองพบว่า พันธุ์ Wan 1351 ให้ ผลผลิตฝักสดทั้งเปลือก ผลผลิตฝักดีทั้งเปลือก และผลผลิตฝักปอกเปลือกสูงสุด 3,129 2,926 และ 2,212 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ และไม่แตกต่างทางสถิติกับพันธุ์ CN 2, Hi-Brix 33, Songkla 84-1, Insee 2, Hi-Brix 71 และ Wan 54 ส่วนพันธุ์ Sugar Max ให้ ผลผลิตฝักสดทั้งเปลือก ผลผลิตฝักดี และผลผลิตฝักปอกเปลือกต่าสุด 1,239 1,123 และ 834 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ พันธุ์ Songkla 84-1 ให้เปอร์เซ็นต์เฉือนสูงสุด 46.5 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้พันธุ์ Insee 2 ให้ความหวานสูงสุด 16.3 องศาบริกซ์ ส่วนพันธุ์ CN 2 ให้ ความหวานตา่ สุด 12.2 องศาบรกิ ซ์ คาสาคญั : ข้าวโพดหวาน, พันธุ์การคา้ , พนั ธ์ุลกู ผสม, ผลผลติ

46 การประชุมวชิ าการขกา้ าวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ ้าาวกฟาา่รงขแา้ หวง่โพชาดตแิลคะรขงั้ า้ทว่ี ฟ40่างแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 40 45 การคัดเลือกพนั ธ์ุขา้ วโพดหวานลกู ผสมเพอื่ บรโิ ภคฝกั สดในภาคใต้ Selection of Sweet Corn Hybrid Varieties for Fresh Ear Consumption in the Southern Region of Thailand พรอมุ า เซ่งแซ่1* ฉลอง เกดิ ศรี2 สายชล บุญรัศมี1 และ สมศักด์ิ แสงพระจนั ทร์1 Phorn-uma Sengsae1*, Chalong Kirdsri2, Saychon Boonratsamee1 and Somsak Sangprajan1 1 ศูนย์วจิ ัยพชื ไรส่ งขลา สงขลา 90110 2 ศนู ย์วจิ ัยพชื ไรช่ ยั นาท ชยั นาท 17150 1 Songkhla Field Crops Research Center, Songkhla 90110, Thailand 2 Chai Nat Field Crops Research center, Chai Nat 17150, Thailand * Corresponding author: pooh_3017@hotmail.com ABSTRACT Selection of sweet corn hybrid varieties for fresh ear consumption in the southern region of Thailand aimed to select sweet corn hybrid varieties with higher yield than sweet corn hybrid variety Songkhla 84-1 more than 5% and suitable for the environment of southern region. This trial was carried out according to yield trial steps, i.e., preliminary trial, standard trial, and farm trial. The results showed that sweet corn hybrid S18004 was selected as outstanding hybrid which gave average yield with husk of 2,903 kg/rai, average yield without husk of 1,998 kg/rai, and average sweetness of 14.9 brix. The kernel color is yellow. It can be grown in both paddy and upland fields in southern Thailand. However, the satisfaction of sweet corn producers and consumers should be assessed further. Keywords: Preliminary trial, standard trial, farm trial, sweet corn hybrid variety

46 การประชมุ วชิ าการขก้าาวรโพปดระแชลมุะวขชิ้าวากฟาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ คลระ้ังขท้า่ีว4ฟ0่างแห่งชาติ คร้งั ที่ 40 47 บทคัดยอ่ การคัดเลือกพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมเพื่อบริโภคฝักสดในภาคใต้ของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมให้มีผลผลิตสูงกว่าข้าวโพดหวาน ลูกผสมพันธุ์สงขลา 84-1 มากกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ และเหมาะสมต่อสภาพแวดล้อมของพ้นื ท่ี ภาคใต้ โดยดาเนินการตามขั้นตอนการเปรียบเทียบพันธุ์ ได้แก่ การเปรียบเทียบเบื้องต้น การเปรียบเทียบมาตรฐาน และการเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร ผลการทดลองพบว่า สามารถคัดเลือกข้าวโพดหวานลูกผสมดีเด่น S18004 ซึ่งให้ผลผลิตทั้งเปลือกเฉลี่ย 2,903 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตปอกเปลือกเฉลี่ย 1,998 กิโลกรัมต่อไร่ และให้ค่าความหวานเฉล่ีย 14.9 องศาบริกซ์ เมล็ดมสี ีเหลือง โดยสามารถปลูกไดท้ ั้งสภาพพ้ืนท่ีดินนาและพื้นที่ดอนใน พื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย ซึ่งควรได้รับการประเมินความพึงพอใจของเกษตรกรผู้ผลิต และผู้บรโิ ภคขา้ วโพดหวานตอ่ ไป คาสาคญั : การเปรยี บเทยี บเบอื้ งตน้ , การเปรียบเทียบมาตรฐาน, การเปรียบเทยี บในไร่ เกษตรกร, พนั ธ์ุข้าวโพดหวานลกู ผสม

48 การประชมุ วิชาการขกา้ วารโพปดระแชลมุะขวชิ้าวาฟกาา่ รงขแ้าหว่งโชพาดตแิ คลระง้ัขท้าี่ว4ฟ0่างแห่งชาติ ครัง้ ที่ 40 47 การทดสอบพนั ธ์ขุ า้ วโพดขา้ วเหนียวในจังหวดั สงขลา Yield Trial of Waxy Corn Varieties in Songkhla Province สายชล บุญรัศมี1* ฉลอง เกดิ ศรี2 วรรษมน มงคล2 และ พรอมุ า เซง่ แซ่1 Saichon Boonratsamee1*, Chalong Kerdsri2, Wassamon Mongkol2 and Phorn-uma Sengsae1 1 ศนู ย์วจิ ยั พชื ไรส่ งขลา สงขลา 90110 2 ศูนยว์ จิ ัยพชื ไร่ชัยนาท ชยั นาท 17150 1 Songkhla Field Crops Research Center, Songkhla 90110, Thailand 2 Chainat Field Crops Research Center, Chainat 17150, Thailand * Corresponding author: o_oilpalm3@hotmail.com ABSTRACT The objective of this study was to select waxy corn hybrid variety with high yield and good adaptability in Songkhla province, Thailand. Yield trial of waxy corn hybrid varieties was conducted in the rainy season during July- August 2020. Three elite waxy corn hybrids and five commercial hybrid checks from private and public sectors (Sweet Violet, Sweet Wax 254, Violet White 926, Chai Nat 84–1 and Chai Nat 2), were grown in a Randomized Complete Block Design with three replications. The results showed that an elite waxy corn hybrid, CNW1723 had high fresh ear yield. The hybrid gave ear with husk of 1,944 kg/rai and ear without husk of 1,153 kg/rai, with not significant difference from Violet White 926, the highest yield check. The highest yield check gave ear with husk and ear without husk of 2,016 kg/rai and 1,376 kg/rai, respectively. Keywords: Waxy corn, yield trial, hybrid variety

48 การประชมุ วชิ าการขกา้ าวรโพปดระแชลุมะวขชิา้ วากฟาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ คลระัง้ขท้า่ีว4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 40 49 บทคดั ย่อ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมที่ให้ ผลผลิตสูงและสามารถปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมจังหวัดสงขลา ประเทศไทย การ เปรียบเทียบพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนยี วลูกผสมดาเนินการในฤดูฝน เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม พ.ศ. 2563 โดยปลูกทดสอบพันธุ์ขา้ วโพดข้าวเหนยี วพนั ธ์ุดีเด่น จานวน 3 พันธ์ุ รว่ มกบั พันธุ์ เปรียบเทียบซงึ่ เปน็ พันธกุ์ ารคา้ ของภาคเอกชนและภาครัฐ จานวน 5 พนั ธุ์ ได้แก่ สวีทไวโอเล็ท สวีทแว๊กซ์ 254 ไวโอเล็ทไวท์ 926 ชัยนาท 84-1 และ ชัยนาท 2 วางแผนการทดลองแบบ สุ่มสมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการทดลองพบว่า ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสม ดีเด่นพันธุ์ CNW1723 ให้ผลผลิตฝักสดสูง โดยมีผลผลิตฝักสดก่อนปอกเปลือกและหลัง ปอกเปลือกเท่ากับ 1,944 และ 1,153 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ ไม่แตกต่างทางสถิตกับ พันธไ์ุ วโอเล็ทไวท์ 926 ที่ใหผ้ ลผลิตสูงสดุ โดยมผี ลผลติ ฝกั สดกอ่ นปอกเปลือกและหลังปอก เปลือกเท่ากบั 2,106 และ 1,376 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ตามลาดบั คาสาคัญ: ข้าวโพดข้าวเหนียว, การทดสอบพันธุ์, พนั ธุ์ลกู ผสม

50 การประชุมวชิ าการขา้กวาโรพปดรแะลชะุมขว้าชิ วาฟก่าางรแขหา้ ว่งโชพาดตแิ คลระ้งั ขท้า่ี ว4ฟ0่างแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 40 49 ประสทิ ธิภาพการใชไ้ นโตรเจนของขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ลกู ผสมอายุเก็บเก่ยี วสน้ั ในดนิ ชดุ ดนิ สมอทอด Nitrogen Use Efficiency of Early Maturity Hybrid Maize in Samo Thod Soil Series การิตา จงเจอื กลาง1* ศุภกาญจน์ ล้วนมณี2 และ สามคั คี จงฐติ นิ นท์1 Karita Chongchuaklang1*, Suphakarn Luanmanee2 and Samakkee Jongthitinon1 1 ศูนยว์ จิ ัยพชื ไร่นครสวรรค์ นครสวรรค์ 60190 2 กองวจิ ัยพฒั นาปจั จัยการผลิตทางการเกษตร กรมวชิ าการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 1 Nakhon Sawan Field Crops Research Center, Nakhon Sawan 60190, Thailand 2 Agricultural Production Sciences Research and Development Division, Department of Agriculture, Bangkok 10900, Thailand * Corresponding author: c_karita@hotmail.com ABSTRACT The experiment was performed to determine the nitrogen use efficiency of early maturity hybrid maize in Black Clay-Clay Loam Soil, Nakhon Sawan Province in order to provide appropriate information for variety evaluation and nitrogen fertilizer management of maize production in this location. The experiment was conducted in Samo Thod soil series at Nakhon Sawan Field Crops Research Center from May to August 2021. The experimental design was split-plot design with 4 replications. Main plots were fertilizer levels as no nitrogen fertilizer application (0N-10P2O5-5K2O/rai) and nitrogen fertilizer application recommended rates according to soil analysis values (10N-10P2O5- 5K2O/rai). Sub-plots consisted of four early maturity hybrid maize varieties, namely NSX151008, NSX151009, NSX151017 and NSX151034 and Nakhon Sawan 3 and CP888 New (commercial variety) as standard check varieties. The results showed that the yield of hybrid maize varieties which applied nitrogen fertilizers at recommended rates based on soil analysis (10N-10P2O5-5K2O/rai)

50 การประชมุ วชิ าการขก้าาวรโปพรดะแชลุมะวขิชา้ าวกฟาา่ รงขแา้ หวง่โชพาดตแิ ลคะรขงั้ ท้าว่ี 4ฟ0่างแห่งชาติ คร้งั ท่ี 40 51 was significantly higher (P<0.05) than no nitrogen fertilizer application, with an average yield 1,054 and 808 kg/rai, respectively (increased yield by 30 %). The NSX151009 had an average yield of approximately 1,009 kg/rai which did not differ from the yield of CP 888 New, NSX151017 and NSX151034 (993, 956 and 936 kg/rai, respectively). However, NSX151009 had a greater average yield than NSX151008 and Nakhon Sawan 3 (878 and 814 kg/rai, respectively). NSX151009 variety had the highest nitrogen use efficiency with 43.6 kilograms of yield per kilogram of nitrogen. Other maize varieties had nitrogen use efficiency ranging from 11.2-27.4 kilograms of yield per kilogram of nitrogen. Keywords: Hybrid Maize, nitrogen use efficiency, nutrients management บทคดั ยอ่ การศึกษาประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุเก็บเกีย่ ว สั้น ที่ปลูกในกลุ่มดินเหนียว-ร่วนเหนียวสีดา จังหวัดนครสวรรค์ สาหรับเป็นข้อมูลในการ ประเมินพันธุ์ และให้คาแนะนาการจัดการปุ๋ยไนโตรเจนในการผลติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อย่าง เหมาะสมกับพื้นที่ ดาเนินการในชุดดินสมอทอด ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ ระหว่าง พฤษภาคม ถึง สิงหาคม 2564 วางแผนการทดลองแบบ split-plot จานวน 4 ซ้า ปัจจัย หลักเป็นอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ได้แก่ ไม่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน (0N-10P2O5-5K2O ต่อไร่) และ ใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนอัตราแนะนาตามค่าวิเคราะห์ดิน (10N-10P2O5-5K2O ต่อไร่) ปัจจัยรอง ประกอบด้วยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมอายุเก็บเกี่ยวสั้น 4 พันธ์ุ ได้แก่ NSX151008 NSX151009 NSX151017 NSX151034 และพันธุ์เปรียบเทียบ ได้แก่ นครสวรรค์ 3 และ CP 888 New จากผลการทดลองพบว่า การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราแนะนาตามค่า วเิ คราะห์ดิน (10-10-5 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่) ให้ผลผลิตแตกตา่ งกนั ทางสถิติอย่างมี นัยสาคัญกับการไม่ใช้ปุ๋ยไนโตรเจน โดยให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,054 และ 808 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ (ผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 30) พันธ์ุ NSX151009 ให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,009 กิโลกรัม ต่อไร่ ไม่แตกต่างจากพันธุ์ NSX151017 NSX151034 และ CP 888 New ที่ให้ผลผลิต เฉลี่ย 956 936 และ 993 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ แต่พันธุ์ NSX151009 ให้ผลผลิตสูง กว่าพันธุ์ NSX151008 และนครสวรรค์ 3 ที่ให้ผลผลิตเฉลี่ย 878 และ 814 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ พันธ์ุ NSX151009 มปี ระสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนเพื่อสร้างผลผลติ สูงท่ีสุด คือ

52 การประชมุ วชิ าการข้ากวาโรพปดรแะลชะุมขว้าชิ วาฟก่าางรแขห้าว่งโชพาดตแิ คลระง้ั ขท้าี่ ว4ฟ0า่ งแห่งชาติ ครัง้ ที่ 40 51 43.6 กิโลกรัมผลผลิตต่อไนโตรเจน 1 กิโลกรัม ส่วนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์อื่นมีค่า ประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนอยู่ระหว่าง 11.2-27.4 กิโลกรัมผลผลิตต่อไนโตรเจน 1 กิโลกรัม คาสาคัญ: พันธขุ์ ้าวโพดลกู ผสม, ประสทิ ธภิ าพการใชไ้ นโตรเจน, การจดั การธาตุอาหาร

52 การประชมุ วิชาการข้ากวาโพรปดรแะลชะุมขวา้ ิชวาฟกา่ างรแขหา้ ง่ วชโาพตดิ แคลระัง้ ทข่ี้า4ว0ฟา่ งแห่งชาติ คร้ังที่ 40 53 ผลของขนาดเมล็ดพันธ์ุตอ่ ผลผลิตของขา้ วโพดหวานพันธุ์อนิ ทรี 2 Effect of Seed Size on Yield in Sweet Corn, Insee2 Cultivar สาราญ ศรชี มพร1* สดใส ช่างสลัก1 ชฎามาศ จิตตเ์ ลขา1 ณฐั พร วรธงไชย1 ประกายรัตน์ โภคาเดช1 กิตติศกั ดิ์ ศรชี มพร1 และ ยวุ ดี อินจันทน1์ Sumran Srichomporn1*, Sodsai Changsaluk1, Chadamas Jitlaka1, Nattaporn Worathongchai1, Prakayrat Phocadate1, Kittisak Srichomporn1 and Yuwadee Injun1 1 ศูนย์วจิ ัยขา้ วโพดและข้าวฟ่างแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: ijsssc@ku.ac.th ABSTRACT The objective of this study was to determine the effect of seed size on sweet corn yield, insee2. The experiment was performed in farmer's field in Lop Buri, Nakhon Ratchasima and Sara Buri province from December 2020 to April 2021. Experimental design was Randomized Completely Block Design with 3 replications. The treatments were three different seed sizes (small, medium, and large) of sweet corn insee2 variety. The combined analysis of 5 locations showed that the seed size did not affect to green-unhusked ear yield where the small, medium, and large seed size yielded of green-unhusked ear 2,072, 2,186 and 2,204 kg/rai, respectively. The yields of green-unhusked standard ear of small, medium, and large seed size were 1,900, 1,997 and 1,972 kg/rai, respectively. Small seed size yielded 1,406 kg/rai of husked ear, reducing by 14%. Medium and large seed sizes had no effect on husked ear yield (1,507 and 1,634 kg/rai, respectively). Small seed size showed no influence on the sweetness of Insee2 sweet corn variety. Keywords: Seed size, sweet corn, Insee2 variety, yield, farmers field

54 การประชุมวิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ า้ าวกฟา่ารงขแา้ หว่งโชพาดตแิ ลคะรข้งั ทา้ ว่ี 4ฟ0่างแห่งชาติ ครงั้ ที่ 40 53 บทคดั ย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของขนาดเมล็ดพันธุ์ต่อผลผลิตข้าวโพด หวานลูกผสมพันธุ์อินทรี 2 ดาเนินการทดลองจานวน 5 แหล่งปลูก ในจังหวัดลพบุรี นครราชสีมา และสระบุรี ระหว่างเดือนธันวาคม 2563 ถึง เมษายน 2564 วางแผนการ ทดลองแบบสุ่มในบลอคสมบูรณ์ จานวน 3 ซ้า โดยมีปัจจัย คือ ขนาดเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด หวานลกู ผสมพนั ธอุ์ นิ ทรี 2 จานวน 3 ขนาด คือขนาดเลก็ กลาง และใหญ่ ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลร่วมจาก 5 แหล่งปลูก พบว่า ขนาดของเมล็ดพันธุ์ไม่มีผลต่อผลผลิตฝักสดทั้งเปลอื ก ขนาดของเมล็ดพันธุ์ขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ ให้ผลผลิตฝักสดทั้งเปลือกเฉลี่ยเท่ากับ 2,072 2,186 และ 2,204 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ และให้ผลผลิตฝักดีทั้งเปลือกเฉลี่ย เท่ากับ 1,900 1,997 และ 1,972 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ เมล็ดพันธุ์ขนาดเล็กให้ผลผลติ ฝักปอกเปลือก 1,406 กิโลกรัมต่อไร่ ลดลงคิดเป็นร้อยละ 14 เมล็ดพันธุ์ขนาดกลางและ ใหญ่ให้ผลผลิตฝักปอกเปลือกเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน (1,507 และ 1,634 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดบั ) เมลด็ พันธุ์ขนาดเล็กไม่มผี ลต่อความหวานของข้าวโพดหวานพนั ธอุ์ ินทรี 2 คาสาคญั : ขนาดเมล็ดพนั ธ,์ุ ข้าวโพดหวาน, พันธ์ุอินทรี 2, ผลผลิต, ไรเ่ กษตรกร

54 การประชมุ วชิ าการข้ากวาโรพปดรแะลชะุมขวา้ ชิ วาฟกา่ างรแขหา้ ่งวชโพาตดิแคลระ้ังขท้าี่ 4วฟ0า่ งแหง่ ชาติ ครั้งที่ 40 55 ผลของพันธ์แุ ละอัตราปลูกท่ีเหมาะสมตอ่ ผลผลติ สาหรับข้าวโพดหวาน ในจังหวดั นครราชสีมา Effect of Varieties and Appropriate Plant Spacing on Yield of Sweet Corn in Nakhon Ratchasima Province กติ ติศักด์ิ ศรชี มพร1* สมชาย โพธิสาร1 พรเทพ แชม่ ชอ้ ย1 จีรนันท์ แหยมสูงเนิน1 ณรงชัย บญุ ศรี1 ปิยนุช ศรไชย1, สาราญ ศรชี มพร1 และ สดใส ชา่ งสลัก1 Kittisak Srichomporn1*, Somchai Pothisan1, Porntep Chamchoy1, Jeeranan Yhamsoongnern1, Narongchai Boonsri1, Piyanuch Sornchai1, Sumran Srichomporn1 and Sodsai Changsaluk1 1 ศนู ยว์ จิ ัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: fagrkssr@ku.ac.th ABSTRACT This study aims to investigate the effect of variety and appropriate plant spacing on sweet corn yield in Nakhon Ratchasima Province, in order to develop guidelines for enhancing the large ear size potential by more than 70%. The experiment was conducted in three locations of farmer’s field in Nakhon Ratchasima Province from December 2020 to April 2021. The 32 factorial experiment was laid out in Randomized Complete Block Design with three replications which included four sweet corn varieties (KSSC704 KSSC705 Hi-Brix81 and Insee2) and two plant density (8,533 and 6,956 plants/rai). The combined analysis of three locations revealed that Hi-Brix 81 gave the highest green-unhusked ear yield, standard ear yield, and husked ear yield of 3,593 3,516, and 2,482 kg/rai, respectively. KSSC705 gave the highest unhusked to husked ear ratio of 42.2%. Insee2 gave the lowest green-unhusked ear yield, standard ear yield, and husked ear yield of 2,546, 2,454, and 1,632 kg/rai, respectively but gave the highest sweetness of 16.4% Brix. Plant density of

56 การประชุมวิชาการขกา้ วารโพปดระแชลมุะขวชิ้าวาฟกาา่ รงขแ้าหว่งโชพาดตแิ คลระ้งัขทา้ ่ีว4ฟ0า่ งแห่งชาติ คร้งั ที่ 40 55 8,533 plants/rai gave the highest green-unhusked ear yield, standard ear yield, and husked ear yield of 3,193 3,107 and 2,139 kg/rai, respectively. Keywords: Plant spacing, sweet corn, yield, Nakhon Ratchasima บทคดั ย่อ กา รศ ึ กษ าในค รั ้ง นี้ มี วั ตถุ ประสงค ์เพ ื่ อ ทดส อบ ผลของพั นธุ ์แ ละ อั ตราปลูกที่ เหมาะสมสาหรับข้าวโพดหวานในจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งจะเป็นข้อมูลสาหรับการพัฒนา แนวทางเพิ่มศักยภาพการให้ผลผลิตฝักใหญ่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ดาเนินการทดลองในไร่ เกษตรกร เขตพืน้ ทจี่ งั หวดั นครราชสมี า จานวน 3 แหล่งปลูก ระหว่างเดอื นธันวาคม 2563 ถงึ เมษายน 2564 จัดสิ่งทดลองแบบแฟคทอเรียล 32 ในแผนการทดลองแบบสุ่มในบลอค สมบรู ณ์ จานวน 3 ซ้า ปจั จัยที่ 1 คอื พนั ธ์ุ จานวน 4 พนั ธุ์ (KSSC704 KSSC705 Hi-Brix81 และ Insee2) และปจั จัยท่ี 2 คือ อตั ราปลกู จานวน 2 อัตรา (8,533 และ 6,956 ตน้ ต่อไร่) ผลการทดลอง พบว่า ข้าวโพดหวานพันธุ์ Hi-Brix81 ให้ผลผลิตฝักทั้งเปลือก ฝักดีและฝัก ปอกเปลอื กสูงสุด คอื 3,593 3,516 และ 2,482 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ตามลาดับ พนั ธ์ุ KSSC705 ให้อัตราการแลกเน้ือสงู สดุ คือ 42.2 เปอรเ์ ซ็นต์ พนั ธ์ุ Insee2 ใหผ้ ลผลติ ฝกั ทัง้ เปลือก ฝักดี และฝักปอกเปลือกต่าสุด คือ 2,546 2,454 และ 1,632 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ แต่ให้ เปอร์เซ็นต์ความหวานสูงสุด คือ 16.4 เปอร์เซ็นต์ ด้านความหนาแน่นต้น พบว่า ท่ีอัตรา ปลูก 8,533 ต้นต่อไร่ ให้ผลผลิตฝักทั้งเปลือก ฝักดี และฝักปอกเปลือกสูงสุด คือ 3,193 3,107 และ 2,139 กิโลกรมั ต่อไร่ ตามลาดับ คาสาคัญ: อัตราปลูก, ข้าวโพดหวาน, ผลผลิต, จงั หวัดนครราชสมี า

56 การประชุมวิชาการขกา้ าวรโพปดระแชลุมะวขิช้าวากฟาา่ รงขแ้าหว่งโชพาดตแิ คลระ้ังขท้าี่ว4ฟ0่างแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 40 57 ผลของการใชแ้ คลเซียมคาร์บอเนตชนิดแขวนลอยต่อผลผลิตและปรมิ าณธาตุ อาหารในเมล็ดของข้าวโพดเลยี้ งสัตวท์ ่ีปลกู ในชุดดินปากชอ่ ง Effects of Suspended Calcium Carbonate on Yield and Grain Nutrient Content in Corn Field Grown in Pak Chong Soil Series ปวณี า ทองเหลือง1* สดใส ชา่ งสลัก1 ณฐั พร วรธงไชย1 สาราญ ศรชี มพร1 และ ประกายรตั น์ โภคาเดช1 Paweena Thongluang1*, Sodsai Changsalak1, Nattaporn Worathongchai1, Samran Srichomporn1 and Prakayrat Phocadate1 1 ศูนยว์ จิ ัยขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: pikpik20@hotmail.com ABSTRACT In this present study, the effects of suspended calcium carbonate (SCaCO3) on yield enhancement of SW4452 hybrid corn on Pak Chong soil series were determined. The trial was conducted from July to December 2021. The experiment was carried out Randomize Complete Block Design with 3 replications. The treatments consisted of ten methods: 1) without SCaCO3 application; 2) spraying of 1 liter/rai SCaCO3 on corn plants at 3 weeks after planting (WAP); 3) spraying of 2 liter/rai SCaCO3 on corn plants at 3 WAP; 4) spraying of 5 liter/rai SCaCO3 into soil before planting; 5) spraying of 5 liter/rai SCaCO3 into soil before planting spraying of 1 liter/rai SCaCO3 on corn plants at 3 weeks after planting (WAP); 6) spraying of 5 liter/rai SCaCO3 into soil before planting spraying of 2 liter/rai SCaCO3 on corn plants at 3 weeks after planting (WAP); 7) spraying of 10 liter/rai SCaCO3 into soil before planting; 8) spraying of 10 liter/rai SCaCO3 into soil before planting spraying of 1 liter/rai SCaCO3 on corn plants at 3 weeks after planting (WAP); 9) spraying of 10 liter/rai SCaCO3 into soil before planting spraying of 2 liter/rai SCaCO3 on corn plants at 3

58 การประชุมวชิ าการขกา้ วารโพปดระแชลมุะขวชิา้ วาฟกาา่ รงขแ้าหว่งโชพาดตแิ คลระ้ังขทา้ ่ีว4ฟ0่างแห่งชาติ ครงั้ ท่ี 40 57 weeks after planting (WAP); and 10) applying dolomite powder of 500 kg/rai before planting. The results showed that the ninth method gave the highest yield of 2,091 kg/rai, which was 44% greater than the first method. All SCaCO3 treatments produced 6.06% higher protein in corn kernels than the first method. The tenth method yielded the highest protein content of 8.50%. The fourth method resulted in the highest calcium content in corn ear, 0.23 mg/kg. The fat content of corn kernels did not differ significantly between the methods. Keywords: Suspended calcium carbonate, Pak Chong soil series, field corn บทคดั ยอ่ ศึกษาผลของแคลเซียมคาร์บอเนตชนิดแขวนลอย (SCaCO3) ต่อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลูกผสมพันธุ์ SW4452 ในชุดดินปากช่อง ดาเนินการทดลองระหว่างเดือนกรกฎาคมถึง ธันวาคม 2564 วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบลอคสมบูรณ์ จานวน 3 ซ้า มี 10 กรรมวิธี คือ 1) ไม่ใช้ SCaCO3 2) พ่น SCaCO3 ต้นข้าวโพดท่ีอายุ 3 สัปดาห์หลังปลูก (WAP) (1 ลิตร/ไร่) 3) พ่น SCaCO3 ต้นข้าวโพดท่ีอายุ 3 WAP (2 ลิตร/ไร่) 4) พ่น SCaCO3 ลงดิน ก่อนปลูก (5 ลิตร/ไร่) 5) พ่น SCaCO3 ลงดินก่อนปลูก (5 ลิตร/ไร่) และพ่น SCaCO3 ต้น ข้าวโพดเม่ืออายุ 3 WAP (1 ลิตร/ไร่) 6) พน่ SCaCO3 ลงดินก่อนปลูก (5 ลติ ร/ไร่) และพ่น SCaCO3 ต้นข้าวโพดเมื่ออายุ 3 WAP (2 ลิตร/ไร่) 7) พ่น SCaCO3 ลงดินก่อนปลูก (10 ลิตร/ไร่) 8) พ่น SCaCO3 ลงดินก่อนปลูก (10 ลิตร/ไร่) และพ่น SCaCO3 ต้นข้าวโพดเมื่อ อายุ 3 WAP (1 ลิตร/ไร่) 9) พ่น SCaCO3 ลงดินก่อนปลูก (10 ลิตร/ไร่) และพ่น SCaCO3 ต้นข้าวโพดเมื่ออายุ 3 WAP (2 ลิตร/ไร่) และ 10) ใส่โดโลไมท์ อัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ จากผลการทดลอง พบวา่ กรรมวธิ ีท่ี 9 ให้ผลผลิตสงู สุด 2,091 กิโลกรมั ต่อไร่ โดยใหผ้ ลผลติ สูงกว่ากรรมวิธีที่ 1 คิดเป็น 44 เปอร์เซ็นต์ การใส่แคลเซียมคาร์บอเนตทุกกรรมวิธีให้ ปริมาณโปรตีนในเมล็ดข้าวโพดสูงกว่ากรรมวิธีควบคุม 6.06 เปอร์เซ็นต์ โดยกรรมวิธีที่ 10 ให้ปริมาณโปรตนี สงู สุด คือ 8.50 เปอร์เซ็นต์ และกรรมวิธีที่ 4 ให้ปริมาณแคลเซยี มในส่วน ฝกั สูงสุดคือ 0.23 มลิ ลิกรัมต่อกโิ ลกรัม ปรมิ าณไขมนั ในเมลด็ ข้าวโพดไม่มคี วามแตกต่างกัน ทางสถติ ิ คาสาคญั : แคลเซียมคาร์บอเนตชนดิ แขวนลอย, ชดุ ดนิ ปากช่อง, ข้าวโพดเล้ียงสัตว์

58 การประชมุ วิชาการขกา้ าวรโพปดระแชลมุะวขิช้าวากฟาา่ รงขแ้าหว่งโชพาดตแิ คลระัง้ขท้า่ีว4ฟ0่างแหง่ ชาติ ครั้งที่ 40 59 จานวนคร้ังทเ่ี หมาะสมสาหรับการให้ปยุ๋ เคมใี นระบบนา้ หยดสาหรับข้าวโพดหวาน ในดนิ ร่วนเหนียว จงั หวัดชัยนาท The Optimum Fertilization Times in the Drip Irrigation System for Sweet Corn Production in Clay Loam, Chai Nat Province กัญญรัตน์ จาปาทอง1* วิลยั รตั น์ แป้นแกว้ 1 ฉลอง เกดิ ศรี1 เชาวนาท พฤทธิเทพ1 และ ปวณี า ไชยวรรณ์1 Kanyarat Champathong1*, Wilairat Pankaew1, Chalong Kerdsri1, Chaowanart Phruetthithep1 and Paveena Chaiwan1 1 ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไร่ชัยนาท ชยั นาท 17000 1 Chai Nat Field Crops Research Center, Chai Nat 17000, Thailand * Corresponding author: fonku59@hotmail.com ABSTRACT Study of the optimum fertilization times in the drip irrigation system for sweet corn production in clay loam was conducted at Chai Nat Field Crops Research Center, Supphaya Districts, Chai Nat Province in 2022. Randomized Completely Block Design was arranged with 4 replications with consisted of 6 methods: 1) basal application; 2) basal application and one-time drip fertigation; 3) basal application and two-times drip fertigation; 4) basal application and three-times drip fertigation; 5) basal application and four-times drip fertigation; and 6) basal application and five-times drip fertigation. The results revealed that the basal application with drip fertigation had no significantly different in the growth and yield of sweet corn compared to the basal application alone. The plant height and ear height ranged between 197- 219 and 93-106 cm, respectively. Ear yield with and without husk ranged between 2,090-2,354 and 1,666-1,914 kg/rai, respectively. The cost of sweet corn production ranged between 17,015-17,834 baht/rai. The fifth method,

60 การประชุมวชิ าการขก้าวารโพปดระแชลมุะขวชิ้าวาฟกา่ารงขแา้หว่งโชพาดตแิ คลระัง้ขท้า่ีว4ฟ0่างแห่งชาติ ครั้งที่ 40 59 basal application together with four-times drip fertigation, gave the highest profit and Benefit Cost Ration (BCR) of 5,134 baht/rai and 1.29, respectively. Keywords: Sweet corn, drip irrigation, the optimum fertilization times บทคัดยอ่ ศึกษาจานวนครั้งที่เหมาะสมของการให้ปุ๋ยในระบบน้าแบบหยดสาหรับข้าวโพดหวาน พันธุ์สงขลา 84-1 ในดินร่วนเหนียว จังหวัดชยั นาท ปี 2565 ณ แปลงทดลองของศูนย์วิจยั พืชไร่ชัยนาท อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบลอคสมบรู ณ์ จานวน 4 ซ้า 6 กรรมวิธี ได้แก่ 1) ใส่ปุ๋ยเคมีทางดิน 2) ใส่ปุ๋ยเคมีทางดินร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมี ทางระบบน้าหยด 1 ครั้ง 3) ใส่ปุ๋ยเคมีทางดินรว่ มกับใส่ปุ๋ยเคมีทางระบบน้าหยด 2 ครั้ง 4) ใส่ปุ๋ยเคมีทางดินร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีทางระบบน้าหยด 3 ครั้ง 5) ใส่ปุ๋ยเคมีทางดินร่วมกับใส่ ปุ๋ยเคมีทางระบบน้าหยด 4 ครั้ง และ 6) ใส่ปุ๋ยเคมีทางดินร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีทางระบบน้า หยด 5 ครั้ง จากการทดลอง พบว่า วิธีการใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับระบบน้าหยดส่งผลให้การ เจรญิ เติบโตและผลผลิตข้าวโพดหวานไม่แตกต่างกับการใส่ปุ๋ยเคมที างดนิ ความสงู ต้น และ ความสูงฝัก มีค่าอยู่ระหว่าง 197-219 และ 93-106 เซนติเมตร ตามลาดับ ผลผลิตฝักทั้ง เปลือกและผลผลิตฝักปอกเปลือก มีค่าอยู่ระหว่าง 2,090-2,354 และ 1,666-1,914 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ โดยมีต้นทุนการผลิตข้าวโพดหวานอยู่ระหว่าง 17,015-17,834 บาทต่อไร่ ซึ่งกรรมวิธีท่ี 5 ใส่ปุ๋ยเคมีทางดินร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีทางระบบน้าหยด 4 ครั้ง ให้ กาไรและผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์สูงสุด เท่ากับ 5,134 บาทต่อไร่ และ 1.29 ตามลาดับ คาสาคญั : ข้าวโพดหวาน, ระบบนา้ หยด, จานวนคร้งั ท่เี หมาะสมในการใหป้ ยุ๋ เคมี

60 การประชมุ วชิ าการขก้าาวรโปพรดะแชลุมะวขชิ ้าาวกฟาา่รงขแ้าหวโ่งพชาดตแิลคะรข้ัง้าทวี่ ฟ40่างแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 40 61 การทดสอบเทคโนโลยีลดตน้ ทุนการผลิตขา้ วโพดหวานด้วยปุ๋ยชีวภาพ พีจีพีอาร์-วัน ในพน้ื ท่ีจังหวดั สรุ นิ ทร์ Testing of Cost Reduction Technology “Bio–fertilizer PGPR I” in Sweet Corn Production in Surin Province สชุ าติ แก้วกมลจิต1* พีชณิตดา ธารานุกูล2 เบ็ญญาดา จันทร์ดวงศรี1 เกียรตกิ อ้ ง พรมศรธี รรม1 ไพรตั น์ เทียบแกว้ 1 นวลจนั ทร์ ศรีสมบตั ิ3 และ อภชิ าต เมืองซอง1 Suchat Kaewkamonjit1*, Peechanida Tharanugool2, Benyada Chunduangsri1, Kiatkong Prosritarm1, Phairat Thaibkaew1, Nualjan Srisombat3 and Aphichat Muangsong1 1 ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาการเกษตรสรุ นิ ทร์ สุรนิ ทร์ 32000 2 ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการเกษตรโนนสงู นครราสมี า 30160 3 ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการเกษตรยโสธร ยโสธร 35130 1 Surin Agricultural Research and Development Center, Surin 32000, Thailand 2 Nonsung Agricultural Research and Development Center, Nahkon Ratchasima 30160, Thailand 3 Yasotorn Agricultural Research and Development Center, Yasotorn 35130, Thailand ABSTRACT The objectives of this study were to test the efficacy of bio–fertilizer PGPR I for sweet corn production in Suring province and to expand the technology to the target area. The testing program was carried out in farmers' fields in Sangkha District and Lamduan District, Surin Province between October 2018 to September 2020. Eexperiment consisted of two application methods: 1) application of 75% fertilizers according to the soil chemical analysis together with 1 kg/rai of bio-fertilizer PGPR I (testing method) and 2) application of chemical fertilizers according to soil chemical analysis (Farmers method). The local used sweet corn varieties were used. Other general practices were performed according to farmers method. The results showed that the testing method reduced the cost of using chemical fertilizers by 23.16%. It showed an increase in sweet corn yield and the net income by

62 การประชมุ วิชาการขกา้ วารโพปดระแชลมุะขวชิา้ วาฟกา่ารงขแา้หว่งโชพาดตแิ คลระ้งัขทา้ ี่ว4ฟ0่างแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 40 61 11.67 and 5.19%, respectively. The average Benefic to Cost Ratio (BCR) of testing method was 2.38, which was 8.4% greater than the farmers method. The farmer was satisfied with the technology on a good to very good level. Extending technology outcomes to target farmers achieved 8 network farmers in the areas of 8 rai. Technology was transferred to target farmers in the form of training was accomplished through two panel meetings attended by 60 farmers. Keywords: Sweet corn, fertilizer application based on soil analysis, bio- fertilizer PGPR I บทคัดยอ่ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อทดสอบประสิทธิภาพปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-วัน สาหรบั การผลติ ขา้ วโพดหวานในพ้นื ทจ่ี งั หวดั สุรินทร์และขยายผลสเู่ กษตรกรพ้ืนที่เป้าหมาย ดาเนินการทดสอบในแปลงเกษตรกร อาเภอสังขะ และ อาเภอลาดวน จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 ถึง กันยายน 2563 ประกอบด้วย 2 กรรมวิธี คือ 1) ใส่ปุย๋ ตาม ค่าวิเคราะห์ดินอัตรา 75% ของค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์–วัน อัตรา 1 กิโลกรัมต่อไร่ (กรรมวิธีทดสอบ) และ 2) ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (กรรมวิธีเกษตรกร) ใช้ พันธุข์ ้าวโพดหวานพันธุ์การค้าทีเ่ กษตรกรปลกู เปน็ พนั ธุ์ทดสอบ การปฏิบัติดูแลรักษาอื่น ๆ ตามวิธีเกษตรกร ผลการทดสอบ พบว่า กรรมวิธีทดสอบสามารถลดตน้ ทุนการใช้ปุ๋ยเคมีใน การผลิตข้าวโพดได้ร้อยละ 23.16 ให้ผลผลิตน้าหนักฝักสดทั้งเปลือกเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.19 เกษตรกรมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.67 มีผลตอบแทนต่อค่าใช้จ่ายการลงทุน เท่ากับ 2.38 สูงกวา่ กรรมวธิ เี กษตรกรร้อยละ 8.4 เกษตรกรมีความพงึ พอใจต่อเทคโนโลยีในระดับดี ถึงดีมาก ขยายผลเทคโนโลยีสู่เกษตรกรในพื้นที่เป้าหมาย จานวน 8 ราย พื้นที่ 8 ไร่ และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกรในรูปแบบการประชุมเสวนา/การฝึกอบรม จานวน 2 คร้ัง เกษตรกร 60 ราย คาสาคญั : ข้าวโพดหวาน, ปุย๋ ตามค่าวเิ คราะหด์ ิน, ปยุ๋ ชวี ภาพพีจพี อี าร์–วนั

62 การประชมุ วิชาการขก้าาวรโพปดระแชลุมะวขิชา้ วากฟาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ คลระ้ังขทา้ ่ีว4ฟ0่างแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 40 63 เทคโนโลยปี ยุ๋ ชีวภาพ “พีจพี ีอาร์ 1” เพื่อลดตน้ ทุนการผลิต ขา้ วโพดข้าวเหนียวในพืน้ ท่ีจังหวดั นครราชสีมา Bio-Fertilizer Technology “PGPR1” to Reduce the Cost of Waxy Corn Production in the Selected Area of Nakhon Ratchasima Province พชี ณิตดา ธารานุกูล1* ศรีนวล สรุ าษฎร1์ นชิ ตุ า คงฤทธ์ิ1 สมพร มงุ่ จอมกลาง1 และ พรศุลี อศิ รางกลู ณ อยุธยา1 Peechanida Tharanugool1* Srinaun surat1 Nichuta Khongrit1 Somphon Mungchomklang1 and Pornsulee Issarangkool na Ayutthaya1 1 ศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาการเกษตรโนนสงู นครราสมี า 30160 1 Nonsung Agricultural Research and Development Center, Nahkon Ratchasima 30160, Thailand ABSTRACT The objective of this study was to determine whether waxy corn production costs in Nakhon Ratchasima Province might be reduced by using the bio-fertilizer technology \"PGPR1\". The study was conducted during October 2018 to September 2020 at Mungkaseart Sub-district, Kham Sakae Sang District, Nakhon Ratchasima Province. There were two application approaches: 1) chemical fertilizer application with a 25% reduction from the recommended rate based on soil analysis combined with mix biofertilizer “PGPR1” at 0.5 kg per 1 kg waxy corn seed (Testing method); and 2) chemical fertilizer application based on soil analysis (Farmer's method). It was found that the testing method produced a greater average yield and net revenue of than the farmer method. The Testing method gave the yield of 2,199 kg/rai and provided the net revenue of 20,474 baht/rai. Whereas the Farmer's method produced the yield of 1,943 kg/rai and gave the net revenue of 17,597 baht/rai. The Testing method showed an increase in yield and farmer net income by 13.18% and 16.35% respectively. In addition, Testing method showed a reduction in fertilizer cost by 14.04%. The level of farmer

64 การประชมุ วชิ าการขกา้ าวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ ้าาวกฟา่ารงขแา้ หว่งโชพาดตแิ ลคะรขัง้ ทา้ ว่ี 4ฟ0า่ งแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 40 63 satisfaction with the usage of the bio-fertilizer \"PGPR1\" was very satisfied. When compared to waxy corn without biofertilizer \"PGPR1,\" the waxy with corn biofertilizer \"PGPR1\" seems healthier and more drought resistant, which may contribute to an increase in yield and income. Keywords: Cost reduction, waxy corn, bio-fertilizer (PGPR1) บทคัดย่อ การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบเทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตข้าวโพด ข้าวเหนียวด้วยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ดาเนินการทดลอง ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 ถึง เดือนกันยายน 2563 ที่ตาบลเมืองเกษตร อาเภอขาม สะแกแสง จงั หวดั นครราชสมี า ประกอบดว้ ย 2 กรรมวิธี คอื 1) ใส่ปุ๋ยตามคา่ วิเคราะห์ดิน แต่ลดปุ๋ยยูเรียลง 25 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 โดยการคลุกเมล็ดข้าวโพด ข้าวเหนียวอัตรา 500 กรัมต่อเมล็ดข้าวโพดข้าวเหนียวอัตรา 1 กิโลกรัม (กรรมวิธีทดสอบ) และ 2) ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (กรรมวิธีเกษตรกร) ใช้พันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสม พนั ธก์ุ ารคา้ ปอ้ งกนั และกาจัดศัตรูพืชตามคาแนะนากรมวชิ าการเกษตร และการดูแลรักษา อื่น ๆ ปฏิบัติตามกรรมวิธีเกษตรกร จากผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีทดสอบให้ผลผลิต และรายได้สุทธิเฉล่ียมากกว่ากรรมวธิ ีเกษตรกร โดยกรรมวิธที ดสอบให้ผลผลิตเฉล่ีย 2,199 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ มีรายไดส้ ุทธเิ ฉลย่ี 20,474 บาทตอ่ ไร่ และกรรมวิธเี กษตรกรให้ผลผลิตเฉล่ีย 1,943 กโิ ลกรมั ต่อไร่ มีรายได้สทุ ธิเฉลยี่ 17,597 บาทต่อไร่ ดงั นนั้ การใช้ปุ๋ยตามคา่ วเิ คราะห์ ดนิ แต่ลดปุ๋ยยเู รียลง 25 เปอร์เซ็นต์ รว่ มกบั การใชป้ ุ๋ยชีวภาพพีจีพอี าร์ 1 โดยการคลุกเมล็ด ข้าวโพดข้าวเหนียวอัตรา 500 กรัมต่อเมล็ดข้าวโพดข้าวเหนียวอัตรา 1 กิโลกรัม สามารถ ช่วยเพม่ิ ผลผลิตและรายไดส้ ุทธใิ ห้เกษตรกรไดร้ ้อยละ 13.18 และ 16.35 ตามลาดบั รวมท้งั ยังลดตน้ ทุนค่าปยุ๋ เคมีได้รอ้ ยละ 14.04 โดยเกษตรกรมีความพึงพอใจต่อการใช้ปุ๋ยชีวภาพพี จีพีอาร์ 1 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก เนื่องจากส่งผลให้ต้นข้าวโพดแข็งแรง มีผลผลิตและ รายได้เพ่ิมมากข้ึน ขา้ วโพดขา้ วเหนยี วทนแล้งไดด้ ีกวา่ การไมใ่ ช้ปุ๋ยชีวภาพพจี พี ีอาร์ 1 คาสาคญั : การลดตน้ ทนุ , ขา้ วโพดข้าวเหนยี ว, ปุ๋ยชีวภาพ พีจีพอี าร์ 1

64 การประชมุ วชิ าการขกา้ าวรโพปดระแชลมุะวขชิา้ วากฟาา่ รงขแา้หวง่ โชพาดตแิ คลระัง้ขท้าี่ว4ฟ0า่ งแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 40 65 ผลของการใชแ้ คลเซยี มคารบ์ อเนตชนิดแขวนลอยตอ่ ผลผลิตของ ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ทีป่ ลูกในแปลงของเกษตรกร Effect of Suspended Calcium Carbonate Application on Corn Yield Grown in Farmers’ Field สดใส ช่างสลกั 1* สาราญ ศรชี มพร1 ชฎามาศ จติ ต์เลขา1 ปวีณา ทองเหลอื ง1 ประกายรตั น์ โภคาเดช1 สุทัศน์ แปลงกาย2 ก่งิ กานต์ พาณชิ นอก3 และ สเุ มศ ทบั เงนิ 3 Sodsai Changsaluk1*, Sumran Srichomporn1, Chadamas Jitlaka1, Paweena Thongluang1, Prakayrat Phocadate1, Sutat Plangkay2, Kingkan Panichnok3 and Sumet Tabngoen3 1 ศนู ย์วจิ ัยขา้ วโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 2 สถานวี จิ ัยลพบรุ ี คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ลพบุรี 15250 3 สถานวี จิ ัยเขาหนิ ซอ้ น คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ฉะเชิงเทรา 24120 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Lopburi Research Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Lop Buri 15250, Thailand 3 Kaohinson Research Satation, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Chacherngsao 24120, Thailand * Corresponding author: e-mail; ijsssc@ku.ac.th ABSTRACT Calcium carbonate (CaCO3) is a recommended material to improve acidic soils for growing plants. A trial of suspended CaCO3 application to field corn hybrids was conducted on farmer’s field in 6 locations in Sara Buri and Nakhon Ratchasima Provinces during July to December 2021. The objectives of this study were to determine the effect of suspended calcium carbonate on yield of field corn hybrid under acidic soil, and to recommend the good results of the experiment to farmers for further use. Three replications were tested using Randomize Complete Block Design, and the sixth treatment were T1) spraying CaCO3 into soil before planting (5 L/rai), T2) spraying CaCO3 into soil before planting (5 L/rai) and followed by spraying CaCO3 on corn plant (1 L/rai) at 3 weeks after planting (WAP), T3) spraying

66 การประชุมวชิ าการขกา้ วารโพปดระแชลมุะขวชิ้าวาฟกาา่ รงขแา้หวง่ โชพาดตแิ คลระง้ัขท้าี่ว4ฟ0า่ งแห่งชาติ คร้ังท่ี 40 65 CaCO3 into soil before planting (5 L/rai) and followed by CaCO3 spray on corn plant (2 L/rai) at 3 WAP, T4) spraying CaCO3 on corn plant (1 L/rai) at 3 WAP, T5) spraying CaCO3 on corn plant (2 L/rai) at 3 WAP, T6) without calcium carbonate application (control). The combined analysis results from 6 locations showed that the treatment T1-T3, CaCO3 application treatments spray on soil and followed spray on corn plant, gave significantly higher yield than control by 13–23%, yielding in the range of 1,290–1,406 kg/rai. The control treatment gave the lowest yield of 1,143 kg/rai. The grand mean of the experiment was 1,274 kg/rai. Suspended CaCO3 improved soil pH, increasing it from 5.0 to 5.9-6.0. Keywords: Calcium carbonate suspension, soil pH, field corn, farmer’s field บทคดั ย่อ แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นวัสดทุ ี่แนะนาให้ใชป้ รับปรุงดนิ กรดใหเ้ หมาะสม ในการปลูกพืช ดาเนินการทดลองใช้ CaCO3 ชนิดแขวนลอยในแปลงปลูกข้าวโพดของ เกษตรกร จังหวดั สระบุรีและนครราชสีมา จานวน 6 แหลง่ ปลกู ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึง ธันวาคม 2564 เพื่อศึกษาผลของ CaCO3 ชนิดแขวนลอยต่อการเพิ่มผลผลิตของข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ในแปลงปลูกพืชที่ดินมีความเป็นกรด และนาผลการทดลองที่ได้ผลดีแนะนาให้ เกษตรกรใช้ต่อไป วางแผนการทดลองแบบสุ่มสบูรณ์ในบล็อค มี 3 ซ้า 6 กรรมวิธี คือ กรรมวิธีที่ 1 ใส่ CaCO3 ชนิดแขวนลอยพ่นลงดินก่อนปลูก (5 ลิตร/ไร่) กรรมวิธีที่ 2 ใส่ CaCO3 ชนิดแขวนลอยพ่นลงดินก่อนปลกู (5 ลิตร/ไร่) และพ่นข้าวโพดท่ีอายุ 3 สปั ดาห์ (1 ลิตร/ไร)่ กรรมวิธีที่ 3 ใส่ CaCO3 ชนิดแขวนลอยพ่นลงดินก่อนปลกู (5 ลติ ร/ไร่) และพน่ ตน้ ข้าวโพดท่ีอายุ 3 สปั ดาห์ (2 ลิตร/ไร่) กรรมวิธที ่ี 4 ใส่ CaCO3 ชนิดแขวนลอยพ่นข้าวโพดที่ อายุ 3 สัปดาห์ (1 ลิตร/ไร่) กรรมวิธีที่ 5 ใส่ CaCO3 ชนิดแขวนลอยพ่นข้าวโพดที่อายุ 3 สัปดาห์ (2 ลิตร/ไร่) และกรรมวิธีที่ 6 ไม่ใช้ CaCO3 ชนิดแขวนลอย (กรรมวิธีควบคุม) ผล การวิเคราะห์ข้อมูลร่วม 6 แหล่งปลูก พบว่า กรรมวิธีที่ 1 ถึง 3 คือ การใส่ CaCO3 ชนิด แขวนลอยลงดินก่อนปลูกแล้วพ่นที่ต้นข้าวโพด ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงกว่ากรรมวิธีควบคุม ตั้งแต่ 13-23 เปอร์เซ็นต์ โดยให้ผลผลิตอยู่ระหว่าง 1,290–1,406 กิโลกรัมต่อไร่ กรรมวิธี

66 การประชุมวิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ ้าาวกฟาา่รงขแ้าหวโ่งพชาดตแิลคะรข้งั า้ทวี่ ฟ40่างแห่งชาติ ครงั้ ที่ 40 67 ควบคุมให้ผลผลิตต่าสุด คือ 1,143 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ยของแปลงทดลองเท่ากับ 1,274 กิโลกรัม/ไร่ CaCO3 ชนดิ แขวนลอยช่วยปรับค่า pH ดนิ เพมิ่ ขน้ึ จาก 5.5 เป็น 5.7–6.0 คาสาคญั : แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดแขวนลอย, pH ดิน, ข้าวโพดเล้ียงสัตว์, ไร่เกษตรกร

68 การประชมุ วิชาการขา้กวาโรพปดรแะลชะมุ ขว้าชิ วาฟกา่างรแขหา้ ว่งโชพาดตแิ คลระั้งขทา้ ่ี ว4ฟ0่างแห่งชาติ คร้งั ท่ี 40 67 ผลกระทบของสารนิโคซลั ฟูรอนตอ่ ขา้ วโพดหวานลูกผสมพันธ์ุการคา้ Effect of Nicosulfuron to Commercial Sweet Corn Hybrids ประกายรัตน์ โภคาเดช1* สดใส ช่างสลกั 1 สาราญ ศรชี มพร1 ชฎามาศ จิตตเ์ ลขา1 ณัฐพร วรธงไชย1 และ พรเทพ แช่มช้อย1 Prakayrat Phocadate1*, Sodsai Changsaluk1, Sumran Srichomporn1, Chadamas Jitlaka1, Nattaporn Worathongchai1 and Pornthep Chamchoy1 1 ศนู ยว์ จิ ัยขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: prakayrat.ph@ku.ac.th ABSTRACT Nicosulfuron provided effective weed control, however it had negative impacts on some corn hybrids. The objective was to study the effect of nicosulfuron (6% W/V OD) on yield of commercial sweet corn hybrids. The trial was conducted at the National Corn and Sorghum Research Center, Pak Chong district, Nakhon Ratchasima province during December 2020–March 2021. The experiment was laid out in Randomize Complete Block Design with 3 replications. The treatment was the 12 commercial sweet corn hybrids. Nicosulfuron ( 6% W/V OD) was mixed with atrazine ( 90% WG) at the rate of 160+300 g/ rai and the mixed chemical was applied to corn at three weeks after planting. At the experimental field, purple nutsedge (Cyperus rotundus L. ), Itchgrass (Rottboellia cochinchinensis Lour. ), wild poinsettia (Euphorbia heterophylla L. ) and tropical spiderwort (Commelina benghalensis L. ) were the major weeds. The mixed nicosulfuron chemical had no effect on the grain yield of Hi-brix3, Hi-brix33, Hi-brix77, Wan54, Mae Jo84, Songkla84-1, CN2, Siam Ruby Queen, Wan1351, Purple, and Insee2, but it had an effect on Mae Jo 6306, which had no yield and 100% plant injury. Wan1 3 5 1 gave the highest

68 การประชมุ วชิ าการขก้าาวรโพปดระแชลุมะวขชิา้ วากฟาา่ รงขแ้าหวง่ โชพาดตแิ คลระั้งขทา้ ี่ว4ฟ0่างแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 40 69 green unhusked ear yield, standard ear yield and husked ear yield of 2 ,9 6 0 2,778 and 2,084 kg/rai respectively, which was not significantly different from CN2, Hi-Brix71, Hi-Brix33, Songkla84-1, Wan54 and Insee2. Siam Ruby Queen gave the highest cut kernel of 55.4%. Mae Jo84 gave the highest sweetness of 15.9 ๐brix. Keywords: Nicofulfuron, sweet corn, commercial variety, weed บทคัดย่อ นิโคซัลฟูรอนสามารถควบคุมวัชพชื ได้ดีแต่มีผลกระทบต่อผลผลิตในข้าวโพดไร่บาง พันธุ์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอน (nicosulfuron 6% W/V OD) ตอ่ ผลผลติ ของขา้ วโพดหวานลูกผสมพันธุ์การค้าในศนู ยว์ ิจัยขา้ วโพดและขา้ ว ฟ่างแห่งชาติ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ดาเนินการระหว่างเดือนธันวาคม 2563 ถึง มีนาคม 2564 วางแผนการทดลองแบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์ จานวน 3 ซ้า 12 ปัจจัย โดย ปัจจัย คือ พันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์การค้า โดยพ่นนิโคซัลฟูรอนร่วมกับอาทราซีน อัตรา 160 + 300 กรัมต่อไร่ เมื่อข้าวโพดอายุ 3 สัปดาหห์ ลงั ปลูก วัชพืชที่ขึ้นมากในแปลง ได้แก่ แห้วหมู (Cyperus rotundus L.) หญ้าโขย่ง (Rottboellia cochinchinensis L.) ผักยาง (Euphorbia heterophylla L.) และผักปลาบ (Commelina benghalensis L.) ผลการทดลองพบว่า นิโคซัลฟูรอนไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตของพันธุ์การค้า Hi-brix3, Hi- brix3 3 , Hi-brix7 7 , Wan5 4 , Mae Jo8 4 , Songkla8 4 - 1 , CN2 , Siam Ruby Queen, Wan1351, Purple และ Insee2 แต่สารนิโคซัลฟูรอนมีผลกระทบทาให้พันธุ์ Mae Jo 6306 ตาย 100% ไม่มีผลผลิต โดยพันธุ์ Wan1351 ให้ผลผลิตฝักทั้งเปลือก ผลผลิตฝักดี และผลผลิตฝักปอกเปลือกสูงสุด เท่ากับ 2,960, 2,778 และ 2,084 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ แต่ไม่แตกต่างกับพันธุ์ CN2, Hi-Brix71, Hi-Brix33, Songkla84-1, Wan54 และ Insee2 พันธุ์ Siam Ruby Queen ให้เปอร์เซ็นต์เฉือนสูงสุด 55.4 เปอร์เซ็นต์ พันธ์ุ Mae Jo84 ใหค้ วามหวานสูงสดุ 15.9 องศาบริกซ์ คาสาคัญ: นโิ คซลั ฟูรอน, ข้าวโพดหวาน, พนั ธกุ์ ารค้า, วชั พชื

70 การประชมุ วชิ าการข้ากวาโรพปดรแะลชะุมขว้าชิ วาฟก่าางรแขห้าวง่ โชพาดตแิ คลระ้ังขท้า่ี ว4ฟ0า่ งแห่งชาติ ครง้ั ที่ 40 69 การเบียนตามธรรมชาติของแตนเบียนไขแ่ ละชวี วิทยาของ Telenomus remus Nixon (Hymenoptera: Scelionidae) ในหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) Natural Parasitism of Egg Parasitoid and Biology of Telenomus remus Nixon (Hymenoptera: Scelionidae) on Fall Armyworm, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) แสงแข น้าวานิช1* นนั ท์นพนิ จนั ต๊ะอดุ 1 อาไพ พรหมณเรศ1 และ โสภณ อไุ รชื่น2 Saengkhae Nawanich1*, Nannapin Junta-ud1, Amphai Promnaret1 and Sopon Uraichuen2 1 ศูนยว์ จิ ัยขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 2 ภาควิชากีฏวทิ ยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Department of Entomology, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140, Thailand * Corresponding author: ijssan@ku.ac.th ABSTRACT Fall armyworm (FAW), Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) is an invasive insect pest that has become the major insect pest of corn in Thailand. The study of diversity and relation among natural enemies and insect pests is the key fundamental basis of biological control to implement for integrated pest management. Natural enemies, such as egg parasitoid, play an important role in the control of FAW. This study aimed to determine the efficiency of natural parasitism of egg parasitoid, Telenomus remus Nixon (Hymenoptera: Scelionidae) to FAW and its biology under laboratory conditions. The experiment was conducted at National Corn and Sorghum Research Center, Pakchong, Nakhon Ratchasima Province during May 2020 to October 2021. The amount of 264 egg masses of FAW were randomly

70 การประชมุ วิชาการขก้าาวรโปพรดะแชลมุ ะวขชิ ้าาวกฟาา่ รงขแา้ หว่งโชพาดตแิ ลคะรขง้ั ทา้ วี่ 4ฟ0่างแหง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 40 71 sampled for four consecutive days. The result revealed that there were at least two egg parasitoids, T. remus and Trichogramma spp., were found in periodic field surveys and played an essential role in the control of FAW. The incidence of parasitism by T. remus and Trichogramma spp. showed effective parasitism at 45.71±2.77 and 10.20±1.58%, respectively. Biological study of T. remus indicated that development period of the egg parasitoid from egg to adult was 12.48±0.14 days. Individual female gave 146.35±14.45 F1 progeny with a male to female parasitoid ratio of 1:2.74. The longevity of male and female parents was 7.57±0.53 and 9.26±0.38 days, respectively. The result of this study revealed that T. remus has the potential to develop as a biological agent for controlling this devastative agricultural pest. Keywords: Biological control, corn, fall armyworm, natural enemies บทคัดย่อ หนอนกระทขู้ า้ วโพดลายจุด (Fall armyworm: FAW), Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) เป็นแมลงต่างถิ่นระบาดเข้ามาในประเทศไทย และกลายเป็นแมลงศัตรขู า้ วโพดที่สาคญั ในปัจจุบนั การศกึ ษาความหลากหลายและปจั จยั ที่ เกี่ยวข้องกับแมลงศัตรูธรรมชาติและแมลงศัตรูพืชเป็นพื้นฐานของการควบคุมโดยชีววิธีท่ี สามารถนามาใช้เพื่อการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน โดยแมลงศัตรูธรรมชาติ เช่น แตน เบียนไข่ มีบทบาทสาคัญในการควบคุมหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด การทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษาประสิทธิภาพการเบียนตามธรรมชาติและชีววิทยาของแตนเบียนไข่ Telenomus remus Nixon (Hymenoptera: Scelionidae) ของหนอนกระทู้ข้าวโพด ลายจุดในห้องปฏิบัติการ ณ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ อ.ปากช่อง จ. นครราชสีมา ระหว่างเดือนพฤษภาคม 2563 ถึง ตุลาคม 2564 โดยเก็บกลุ่มไข่ของผีเสื้อ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดจากแปลงปลูกข้าวโพดเป็นเวลา 4 วันติดต่อกัน จานวน 264 กลุ่ม จากผลการศึกษาพบแตนเบียนไข่จ านวน 2 ชนิดได้แก่ T. remus และ Trichogramma spp. ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการควบคุมหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด T. remus และ Trichogramma spp. มีประสิทธิภาพในการเบียนไข่ตามธรรมชาติเฉล่ีย 45.71±2.77 และ 10.20±1.58% ตามลาดับ การศึกษาชีววิทยาของแตนเบียนไข่ T.