Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการเสริมสร้างการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019

โครงการเสริมสร้างการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019

Published by kruhoneyj, 2021-09-08 06:38:32

Description: โครงการเสริมสร้างการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019
(กศน.ตำบลหนองตำลึง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี)

Search

Read the Text Version

( เอกสารทางวชิ าการ เลขท่ี /2564) สรปุ ผลการดาเนนิ งาน โครงการสง่ เสรมิ การปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรนา2019 หลกั สตู รการปอ้ งกนั ไวรสั โคโรนา2019ปีงบประมาณ2564 ปงี บประมาณ 2564 (ไตรมาส 3) วันท่ี 16 มิถุนายน 2564 ณ บา้ นเลขท่ี 3 หมู่ 7 ตาบลหนองตาลงึ อาเภอพานทอง จงั หวดั ชลบรุ ี ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอพานทอง สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ชลบรุ ี สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ การจัดการกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้แก่ประชาชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยพานทอง ได้ให้ความสาคัญและมอบหมาย กศน.ตาบลหนองตาลึง โครงการ ส่งเสริมการป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 หลักสูตรการป้องกันไวรัสโคโรน่า 2019 ให้แก่ประชาชน ตาบลหนองตาลึง วันท่ี 16 มิถุนายน 2564 บ้านเลขที่ 3 หมู่ที่ 7 ตาบลหนองตาลึง อาเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี มีผเู้ ข้าร่วมโครงการเป็นประชาชน จานวน 17 คน ดงั นั้นทางคณะทางาน ได้จดั โครงการดงั กล่าว ใหก้ บั ประชาชนตาบลหนองตาลงึ เสรจ็ ส้ินเป็น ที่เรยี บรอ้ ยแลว้ ซึง่ รายละเอียดผลการดาเนินงานตา่ ง ๆ ตลอดจนปัญหาอุปสรรค ในการดาเนินงาน เพื่อรวบรวมกระบวนการดาเนนิ งาน ผลท่ไี ดน้ าไปใช้ ตลอดจนการพฒั นาเพอื่ ใหส้ อดคล้องกับสภาพวิถี ชวี ิต และการตอบสนองความต้องการของผเู้ ขา้ รบั โครงการ ท้ายคือการนาไปใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งแท้จริง และสามารถแนะนาผู้อ่นื ได้ให้เกดิ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้ังน้ี คณะทางานทกุ ทา่ นตอ้ งขอขอบคุณ กศน.อาเภอพานทอง และผเู้ กี่ยวข้องให้คาปรกึ ษา แนะนาการจดั โครงการ หากมขี อ้ บกพร่อง ผูจ้ ัดทาต้องขออภัยมา ณ ทีน่ ้ี และจะปรบั ปรงุ ให้ดีย่ิงข้ึนใน โอกาสตอ่ ไป คณะทางาน

สำรบญั หนา้ บทท่ี 1 2 1 บทนา 2 หลกั การและเหตผุ ล 2 วตั ถปุ ระสงค์ 2 เปา้ หมาย ผลลัพธ์ 3 ตวั ชว้ี ดั ผลสาเร็จของโครงการ 5 11 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานทีเ่ ก่ียวข้อง 11 ยทุ ธศาสตร์และจุดเนน้ การดาเนนิ งาน นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน. 13 กรอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ 13 เอกสารงานเก่ยี วข้อง 14 14 3 วธิ กี ารดาเนินงาน 14 ประชมุ ปรึกษาหารอื การจัดโครงการ 15 แต่งตั้งคณะทางาน 20 ประสานงานเครือขา่ ยทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ดาเนินการตามแผนงาน สรุปผลและรายงาน 4 ผลการดาเนินงานและการวิเคราะห์ข้อมลู 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ บรรณานกุ รม

สำรบัญตำรำง หน้า ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม 25 ตารางท่ี 2 แสดงคา่ ร้อยละผตู้ อบแบบสอบถาม 26 ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยจาแนกตามอาชพี 26 ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ โครงการ ฯ 27

1 บทที่ 1 บทนำ หลกั กำรและเหตุผล ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 รอบท่ี 2 ใน หลายจังหวัดท่ัวประเทศ จากรายงานของศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 หรือ ศบค. ณ วันท่ี 6 มกราคม 2564 ยอดรวมผู้ติดเช้ือสะสม จานวน 9331 ราย รักษาหายแล้ว 4418 ราย ผู้ป่วยยืนยันท่ี เสียชีวิต 66 ราย ทาให้มีการประกาศมาตรการควบคุมแบบบูรณาการ เป็น 3 พ้ืนท่ี ได้แก่ พื้นที่ ควบคมุ สงู สดุ 28 จังหวัด พื้นท่ีควบคุม 11 จงั หวัด พน้ื ท่เี ฝา้ ระวังสูง 38 จังหวดั จากขอ้ มลู การรายงาน เห็นได้ชัดว่าสถานการณ์การระบาดในประเทศไทยมีความจาเป็นต้องเฝ้าระวัง ป้องกันและต้อง ดาเนินการอย่างต่อเนื่องตามหลักการควบคุมป้องกันโรค ที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด ดังน้ันการ เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จาเป็นต้องสร้างความรู้ ความตระหนักใน การปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เช่น การเว้นระยะห่างทางสังคม การสวมและใช้หน้ากากอนามัยอย่างถูก วิธี การมีและใช้สบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ในการล้างมือเพ่ือฆ่าเชื้อโรคที่อาจมาจากการสัมผัส การทา ความสะอาดพนื้ ที่การใหบ้ ริการหรือพ้นื ท่ีท่ีมคี นอยรู่ วมกัน ทากจิ กรรมรว่ มกันเป็นระยะเวลานาน โดย มีกระบวนการให้ความรู้ คาแนะนาต่อกลุ่มเป้าหมาย การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชน ในเขตพื้นท่ี ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา กศน.ตาบล ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ชุมชน และบริการสาธารณต่าง ๆ เขตในพื้นท่ีความ รับผิดชอบของตาบลหนองตาลึง เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน บุคลากรและประชาชนที่ เข้ามาใช้บริการของ กศน.จึงต้องมีมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา2019 ด้วยมาตรการต่าง ๆ เช่น การสวมหน้ากากอนามัย การใช้เจลแอลกอฮอล์ การล้างมือ การสแกนอุณภูมิก่อนเข้าใช้บริการท่ี กศน. การทาความสะอาดสถานที่ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ และ อุปกรณ์เคร่ืองเล่น จากเหตุผลข้างต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพานทอง ได้ เล็งเห็นความสาคัญของการจัดกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต จึงได้จัด โครงการส่งเสริมการป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 หลักสูตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการดูแลสุขภาพ เพื่อการป้องกันตนเอง จากโรคไวรัสโคโรนา 2019 รวมทงั้ สามารถนาไปไดร้ บั ไปเผยแพรใ่ ห้กบั ผอู้ น่ื ได้พฒั นาครอบครัว ชมุ ชน และสงั คมให้มีความเขม้ แข็งและยงั่ ยืน

2 วัตถุประสงค์ 1 เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการมีความรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 2 เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มโครงการสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน และสามารถนาความรู้ ท่ีไดร้ ับไปเผยแพร่ให้กับผ้อู ่นื ได้ เปำ้ หมำย เชิงปรมิ ำณ ประชาชนทัว่ ไป จานวน 17 คน เชงิ คุณภำพ ประชาชนท่เี ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องได้รบั ความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั การดูแลสขุ ภาพ เพ่อื การปอ้ งกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา่ 2019 สามารถนาความรทู้ ี่ได้รบั ไปเผยแพร่ใหก้ บั ผู้อ่นื ได้พฒั นาครอบครัว ชุมชน และสังคมให้มีความเขม้ แขง็ และยั่งยนื ผลลัพธ์ ประชาชนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ รอ้ ยละ 80 สามารถนาความรู้ ความเข้าใจตระหนกั และดแู ล สขุ ภาพสามารถป้องกันโรคระบาดจากเชือ้ ไวรสั เกดิ ทกั ษะในการใช้แอลกอฮอล์อยา่ งถูกวิธี ดัชนีตัวชวี้ ดั ผลสำเร็จของโครงกำร 1 ตัวชี้วัดผลผลติ (Outputs) - มผี ูเ้ ข้ารว่ มโครงการฯ ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเป้าหมาย - ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯมีความพงึ พอใจในระดับดีข้ึนไปไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 2 ตวั ช้ีวัดผลลพั ธ์ (Outcomes) - ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการฯไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 20 สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ - ผูเ้ ข้าร่วมโครงการฯสามารถไปขยายผลได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของเปา้ หมาย

3 บทที่ 2 เอกสำรกำรศึกษำและรำยงำนทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในการจดั ทารายงานโครงการส่งเสริมการปอ้ งกัน โรคไวรสั โคโรนา 2019 ผ้จู ดั ทาโครงการ ไดท้ าการค้นคว้าเนื้อหาเอกสารการศึกษาและงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง ดงั นี้ 1. ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. กรอบการจดั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชวี ติ 3. เอกสารที่เกีย่ วข้อง 1. ยุทธศำสตรแ์ ละจดุ เน้นกำรดำเนนิ งำน สำนักงำน กศน.ประจำปงี บประมำณ 2564 วิสยั ทัศน์ คนไทยไดร้ ับโอกาสการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ อยา่ งมีคณุ ภาพ สามารถดารงชีวิตท่ี เหมาะสมกบั ช่วงวยั สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมที ักษะที่จาเปน็ ในโลก ศตวรรษท่ี 21 บทบำทหน้ำที่ กกกกกก สานักงาน กศน. มบี ทบาทหนา้ ที่ตามบทบัญญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551 1. เป็นหนว่ ยงานกลางในการดาเนินการ สง่ เสรมิ สนบั สนุน และประสานงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และรับผดิ ชอบงานธรุ การของคณะกรรมการ* 2. จัดทาข้อเสนอแนะ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยตอ่ คณะกรรมการสง่ เสรมิ สนับสนนุ และประสานความร่วมมือการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3. สง่ เสริม สนับสนนุ และดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัยการพฒั นาหลักสูตร และนวัตกรรมทางการศึกษา บุคลากร และระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และดาเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี น การเทยี บโอนความรู้และ ประสบการณ์และการเทยี บระดับการศกึ ษา

4 5. สง่ เสรมิ สนับสนุน และประสานงานให้บุคคล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และองคก์ รอน่ื รวมตัวกนั เป็นภาคเี ครือข่ายเพื่อเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งในการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 6. จัดทาขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับการใช้ประโยชนเ์ ครอื ข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สถานวี ิทยุโทรทศั นเ์ พ่ือการศึกษา วิทยชุ มุ ชน ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษา ห้องสมดุ ประชาชน พิพิธภัณฑ์ศูนย์การเรยี นชุมชนและแหลง่ การเรยี นรอู้ ืน่ เพ่ือส่งเสริมการเรยี นรู้และการพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ อยา่ งต่อเน่ืองของประชาชน 7. ดาเนนิ การเก่ยี วกบั การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนนิ งานการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 8. ปฏบิ ตั งิ านอ่ืนใดตามพระราชบัญญตั นิ หี้ รือกฎหมายอ่นื ทบ่ี ัญญตั ใิ หเ้ ปน็ อานาจหน้าที่ของ สานกั งานหรือตามท่รี ฐั มนตรีมอบหมาย เป้ำประสงค์ กกกกกก 1. ประชาชนผูด้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทัง้ ประชาชนทัว่ ไปได้รับ โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเนอื่ งและ การศึกษาตามอัธยาศัยทม่ี ีคุณภาพ อยา่ งเท่าเทยี มและท่ัวถงึ เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความ ตอ้ งการของแต่ละกลุม่ เป้าหมาย กกกกกก 2. ประชาชนไดร้ บั การยกระดับการศกึ ษา สร้างเสรมิ และปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม และ ความเปน็ พลเมืองอันนาไปสู่การยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตและเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ให้ชุมชนเพอ่ื พฒั นา ไปสู่ความมนั่ คงและย่ังยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และส่ิงแวดลอ้ ม กกกกกก 3. ประชาชนไดร้ บั โอกาสในการเรยี นร้แู ละมเี จตคติทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห์ และประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั รวมทัง้ แก้ปญั หาและพัฒนาคณุ ภาพ ชีวิตไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ กกกกกก 4. ประชาชนได้รับการสรา้ งและสง่ เสรมิ ให้มีนสิ ัยรกั การอา่ นเพ่ือการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง กกกกกก 5. ชุมชนและภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคส่วน รว่ มจดั ส่งเสริม และสนบั สนุนการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทั้งการขับเคลื่อนกจิ กรรมการเรียนรู้ของชมุ ชน กกกกกก 6. หนว่ ยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยดี ิจทิ ัล มาใชใ้ น การยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรียนรู้และเพมิ่ โอกาสการเรียนรู้ให้กับประชาชน กกกกกก 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสอื่ และการจดั กระบวนการเรยี นรเู้ พื่อแก้ปัญหาและ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ทต่ี อบสนองกับการเปลย่ี นแปลงบรบิ ทด้านเศรษฐกจิ สังคม การเมือง วฒั นธรรม

5 ประวตั ศิ าสตร์ และสงิ่ แวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชน และชมุ ชนในรูปแบบท่ี หลากหลาย กกกกกก 8. บคุ ลากรของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการ ปฏบิ ัตงิ านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อย่างมีประสิทธิภาพ กกกกกก 9. หนว่ ยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล นโยบำยและจดุ เน้นกำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน 1.ยทุ ธศำสตร์ด้ำนควำมมนั่ คง 1.1 ส่งเสริมกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้ำงวินัย กำรมีจิตอำสำ และ อดุ มกำรณ์ ควำมยดึ ม่นั ในสถำบันหลกั ของชำติ 1) เสรมิ สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจทีถ่ กู ตอ้ งในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข มคี วามเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อน่ื ยอมรับความแตกต่าง และหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ รวมทงั้ สงั คมพหวุ ฒั นธรรม 2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และ อุดมการณ์ความยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ รวมท้ังการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และ กิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรมใหก้ ับบุคลากรใน องคก์ ร 1.2 ร่วมขับเคล่ือนกำรพัฒนำประเทศตำมโครงกำรไทยนิยม ยั่งยืน โดยบูรณาการ ขับเคลื่อนการทางานตามแนวทางประชารัฐ ดาเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นที่ทั้งในระดับตาบล หมู่บ้าน โดยใช้ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน ระดับตาบลเป็นแกน หลัก และสนบั สนนุ กลไกการขับเคลื่อนในพ้ืนที่ทกุ ระดับตง้ั แตจ่ ังหวดั อาเภอ ตาบล และหม่บู า้ น 1.3 พัฒนำกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยในเขตพัฒนำพิเศษ เฉพำะกิจจังหวัดชำยแดนภำคใต้ และพน้ื ที่ชำยแดน 1) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีความ สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสงั คม วฒั นธรรม และพนื้ ท่ี เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปญั หาและพัฒนาพน้ื ท่ี 2) เร่งจัดทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยท่ีชัดเจนสาหรับหน่วยงานและ สถานศกึ ษารวมทง้ั บุคลากรท่ปี ฏิบัติงานในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้ โดย บูรณาการแผนและปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั หนว่ ยงานความมน่ั คงในพน้ื ท่ี

6 3) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบ ต่างๆท่ีหลากหลายตรงกับความต้องการของผู้เรียน อาทิ การเพิ่มพูนประสบการณ์ การเปิดโลกทัศน์ การยดึ ม่ันในหลกั คณุ ธรรมและสถาบนั หลกั ของชาติ 4) สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะที่สูงขึ้น เพ่ือให้ สามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 1.4 สง่ เสรมิ กำรจัดกระบวนกำรเรียนรทู้ ่ตี อบสนองกับกำรเปล่ยี นแปลงบริบทด้ำนสังคม กำรเมอื ง รวมทัง้ ความต้องการของประชาชน และชุมชนในรปู แบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคดิ เป็น วิเคราะห์ได้ตัดสินใจภายใต้ข้อมูลท่ีถูกต้อง เช่น ความรู้เรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ /การเลอื กตงั้ 2. ยทุ ธศำสตรด์ ำ้ นกำรพัฒนำกำลังคน กำรวิจัย และนวตั กรรมเพื่อสรำ้ งขดี ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ของประเทศ 2.1 ขบั เคล่อื นกำรดำเนินงำนภำยใต้แผนพฒั นำกำรศกึ ษำระดบั ภำค 1) สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับบุคลากรของสานักงาน กศน. เก่ียวกับการดาเนินงาน ภายใตแ้ ผนพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค เพอ่ื รว่ มขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค 2) เร่งจัดทายุทธศาสตร์และแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสานักงาน กศน. ให้ สอดคล้องกับแผนพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค 2.2 พัฒนำกำลงั คนให้มที กั ษะควำมเข้ำใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือให้ สามารถ ใช้Social Media และ Application ต่างๆ ในการพัฒนารปู แบบการจดั การเรยี นการสอน 2) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจทิ ัล เพ่ือให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจ และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน รวมทั้งสรา้ งรายได้ให้กับตนเอง ได้ 3) พัฒนาทักษะและส่งเสริมให้ประชาชนประกอบธุรกิจการค้าออนไลน์ (พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์)มีการใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชีพที่ สูงข้นึ ให้กับประชาชนเพือ่ ร่วมขบั เคลื่อนเศรษฐกิจดิจทิ ัล 2.3 พัฒนำทักษะภำษำอังกฤษเพื่อกำรส่ือสำรให้กับประชำชนเพื่อรองรับกำรพัฒนำ ประเทศ 1) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็น รูปธรรมโดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทง้ั ในภาคธรุ กจิ การบริการ และการท่องเท่ียว

7 2) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social Media และ Application ตา่ งๆ เพื่อพัฒนารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ ของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 3) พัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพ่ือส่งเสริมการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร และการพฒั นาอาชพี 3. ยทุ ธศำสตรด์ ำ้ นกำรพฒั นำและเสรมิ สร้ำงศักยภำพคนใหม้ ีคุณภำพ กกกกกกกก3.1 เร่งรดั ดำเนนิ กำรจัดกำรศกึ ษำอำชีพเพอ่ื ยกระดบั ทักษะอำชพี ของประชำชนส่ฝู ีมือ แรงงำน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ต้องการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริง โดยให้เน้นหลักสูตรการศึกษา อาชีพชา่ งพื้นฐาน โดยประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอนด้านอาชีพ เช่น การเรยี นผ่าน Youtube การเรียนผ่านFacebook Live ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เปน็ ต้น รวมถึงสนบั สนนุ ให้เกิดระบบการผลติ ท่ี ครบวงจร และเปิดพื้นท่สี ว่ นราชการเปน็ ที่แสดง สนิ คา้ ของชุมชนเพอื่ เปน็ การสรา้ งรายได้ใหก้ ับชมุ ชน 2) บูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาฝีมือแรงงานกับสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาผ่านศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่วประเทศ เพ่ือมุ่ง พัฒนาทักษะของประชาชนโดยใช้ประโยชน์จากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพื้นที่ และ ดาเนินการเชิงรุกเพ่ือเสริมจดุ เด่นในระดับภาคในการเป็นฐานการผลิตและการบริการท่ีสาคัญ รวมถึง มุ่งเน้นสร้างโอกาสในการสร้างรายได้ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานท้ัง ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ 3) พัฒนากลุ่มอาชีพพ้ืนฐานท่ีรองรับพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ทสี่ ามารถพฒั นาศกั ยภาพไปสรู่ ะดับฝีมือแรงงาน โดยศึกษาต่อในสถาบนั การอาชีวศึกษา 3.2 ส่งเสรมิ ให้ประชำชนใช้เทคโนโลยีในกำรสรำ้ งมูลคำ่ เพ่มิ ใหก้ ับสนิ คำ้ การทาชอ่ งทาง เผยแพร่และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวสิ าหกิจชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร และสนับสนุนการจาหนา่ ย สินค้าและผลิตภัณฑ์ผ่านศูนย์จาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพอื่ จาหน่ายสนิ คา้ ออนไลน์ระดับตาบล 3.3 ส่งเสริมกำรพัฒนำสุขภำวะของประชำชนทุกวัย โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจ การ สนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะ และสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุม โรค ให้กับประชาชนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะในพื้นท่ีห่างไกล พื้นที่ชายแดน และชายแดนภาคใต้ โดย

8 ประสานงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และเจ้าหน้าท่ี อสม. ในการให้ความรู้เก่ียวกับ การดูแลสุขภาวะอนามัยให้กับประชาชน รวมทั้งผลิตชุดความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพ่ือใช้ ประกอบการเรียนรู้ในหลกั สตู รการศึกษาของ กศน. 3.4 เพ่ิมอัตรำกำรอำ่ นของประชำชน โดยการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นในรปู แบบต่างๆ เช่น อาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน หอ้ งสมุดประชาชน บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน หอ้ งสมดุ เคลือ่ นท่ี ผลกั ดนั ให้ เกิดห้องสมุด สู่การเป็นห้องสมุดเสมือนจริงต้นแบบ เพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับ อ่านคล่อง เข้าใจ ความคิด วิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทัน เหตุการณ์ รวมทง้ั นาความรู้ท่ไี ด้รบั ไปใช้ปฏิบตั ิจริงในชีวิตประจาวนั 3.5 เตรียมควำมพร้อมกำรเขำ้ สสู่ งั คมผสู้ งู อำยทุ ีเ่ หมำะสมและมคี ุณภำพ 1) ส่งเสริมการจดั กิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนกั ถึงการเตรียมพร้อม เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมท้ังเรียนรู้และมีส่วน ร่วมในการดูแลรบั ผิดชอบผสู้ งู อายใุ นครอบครวั และชุมชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรสู้ าหรับประชาชนในการเตรียมความ พร้อมเข้าสู่วยั สงู อายุท่เี หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพ กายและสขุ ภาพจติ และ รู้จกั ใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ ภูมปิ ญั ญาของผ้สู ูงอายุ และให้มีสว่ นร่วมในกิจกรรมด้านตา่ งๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชพี กฬี า ศาสนา และวฒั นธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับ หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ในทุกระดบั 3.6 พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยใช้กระบวนการ “สะเตม็ ศึกษา” (STEM Education) 4. ยทุ ธศำสตร์ดำ้ นกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ กกกก 4.1 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย เพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และยกระดับการรู้หนังสือของ ประชาชน 1) สง่ เสรมิ การรูภ้ าษาไทยใหก้ บั ประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อ ประโยชน์ในการใช้ชวี ิตประจาวันได้

9 2) เรง่ จัดการศกึ ษาเพอ่ื เพ่ิมอัตราการรหู้ นังสือ และคงสภาพการร้หู นังสือ ให้ประชาชน สามารถอ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้สื่อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพพื้นที่และ กลุ่มเป้าหมาย 3) ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือใน รูปแบบต่างๆ รวมทั้งพัฒนาให้ประชาชนมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นเครื่องมือในการ เรยี นรู้ตลอดชีวติ ของประชาชน 4.2 เพ่มิ โอกาสทางการศึกษาให้กับประชากรวยั เรียนทีอ่ ยู่นอกระบบการศกึ ษา 1) เรง่ ดาเนนิ การหาตวั ตนของประชากรวัยเรยี นที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้กลับเข้า สู่ระบบการศึกษา โดยใช้กลวิธี “เคาะประตูบ้าน รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น” โดยประสานกับสานักงาน ศกึ ษาธิการจงั หวัด เพ่อื ดาเนินการตรวจสอบขอ้ มลู ทะเบียนราษฎร์เทยี บกับข้อมลู การลงทะเบยี นเรียน ของทุกหน่วยงาน ค้นหาผู้ที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาเป็นรายบุคคล และรวบรวมจัดทาเป็น ฐานขอ้ มลู และลงพนื้ ทตี่ ดิ ตามหาตัวตนของกล่มุ เป้าหมายหาสาเหตุของการไม่เข้าเรียน และสอบถาม ความต้องการในการศึกษาต่อ พร้อมทั้งจาแนกข้อมูลตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความ ต้องการในการศึกษาต่อ และส่งต่อกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้รับการศึกษาต่อตามความต้องการของ กลุม่ เปา้ หมายได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 2) ติดตามผลของกลมุ่ เปา้ หมายประชากรวัยเรียนท่อี ยู่นอกระบบการศึกษาทไ่ี ด้รับการ จัดหาทีเ่ รยี น และทงั้ จดั ทาฐานข้อมลู ผู้สาเรจ็ การศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย รวมท้งั พฒั นาระบบเพอื่ การ ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการช่วยเหลือให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตาม ตง้ั แตก่ ารเขา้ ศกึ ษาตอ่ จนจบการศกึ ษา 4.3 ส่งเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหน่วยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4.4 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดต้นแบบเมืองแห่งการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องให้กับประชาชนในชุมชน โดยกาหนดพื้นที่นาร่องที่ผ่านมาตรฐานเทียบวัด (Benchmark) ของสานักงาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบรบิ ทของพ้นื ท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผูร้ บั บริการ

10 4.6 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ให้มีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระการ เรียนรู้ที่หลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนรูใ้ ห้กับกลุ่มเปา้ หมาย ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4.7 สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหาร จัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ เช่น ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน ( Massive Open Online Courses :MOOCs) ค อ ม พ ิ ว เ ต อ ร ์ ช ่ ว ย ส อ น ( Computer Assisted Instruction : CAI) 4.8 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมาย พิเศษอื่นๆ เช่น ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ให้จบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน สามารถนาความร้ทู ี่ไดร้ ับไปพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเน่ือง 5. ยุทธศำสตรด์ ำ้ นสง่ เสรมิ และจัดกำรศึกษำเพือ่ เสรมิ สร้ำงคุณภำพชวี ิตทเ่ี ป็น มติ รกบั สิ่งแวดล้อม กกกกกก 5.1. สง่ เสริมให้มกี ำรใหค้ วำมรกู้ ับประชำชนเกีย่ วกับการปอ้ งกันผลกระทบและปรบั ตวั ต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติ กกกกกก 5.2. สร้ำงควำมตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรสร้ำงสังคมสีเขียว การกาจัดขยะและ มลพิษในเขตชุมชน กกกกกก 5.3. ส่งเสริมให้หน่วยงำนและสถำนศึกษำใช้พลังงำนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรวมท้ังลด การใช้ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม 6. ยทุ ธศำสตรด์ ำ้ นกำรพัฒนำประสิทธภิ ำพระบบบริหำรจดั กำร กกกกกก 6.1 พัฒนำระบบฐำนข้อมูลสำรสนเทศดำนกำรศึกษำเพื่อกำรบริหำรจัดกำรอย่ำงเป็น ระบบ และเชอ่ื มโยงกับระบบฐานขอ้ มลู กลางของกระทรวงศึกษาธิการ 6.2 ส่งเสริมกำรพัฒนำบุคลำกรทุกระดับอย่ำงต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตาม มาตรฐานตาแหน่ง ใหต้ รงกบั สายงาน ความชานาญ และความตอ้ งการของบุคลากร 6.3 ส่งเสริมควำมเข้ำใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีกำรให้ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกร ทำงกำรศกึ ษำ ตำแหนง่ ครู มีวทิ ยฐำนะและเลื่อนวิทยฐำนะ (ว21/2560)

11 2. กรอบกำรจดั กิจกรรมเพ่อื พัฒนำทักษะชวี ิต ให้กับกลมุ่ เป้าหมาย โดยเฉพาะคนพกิ าร ผ้สู งู อายุ ที่สอดคลอ้ งกับความต้องการจาเป็นของ แตล่ ะบคุ คล และมุ่งเน้นใหก้ ลุ่มเป้าหมายท่ีทกั ษะการดารงชีวติ ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พ่ึงพา ตนเองได้ มคี วามรู้ความสามรถในการบริหารจดั การชวี ิตของตนเองให้อยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆท่เี กดิ ขนึ้ ในชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และเตรียมพรอ้ ม สาหรบั การปรับตวั ใหท้ นั ต่อการเปลยี่ นแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยสี มัยใหม่ในอนาคต โดย จดั กิจกรรมท่ีมเี นื้อหาสาคัญต่างๆ เช่น สขุ ภาพกายและจติ การป้องกนั ภัยยาเสพตดิ เพศศกึ ษา คณุ ธรรมและคา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ ความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ นิ ผ่านการศกึ ษารปู แบบต่างๆ อาทิ คา่ ยพัฒนาทักษะชวี ิต การจดั ตั้งชมรม/ชุมนุม การส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษตา่ งๆ 3. เอกสำรงำนท่เี กยี่ วขอ้ ง องค์ความรู้เกี่ยวกบั เช้อื ไวรัสโคโรนา่ (Coronaviruses) 1. เชอ้ื กอ่ โรค : เชือ้ ไวรสั โคโรนา่ (CoVs) เป็นไวรสั ชนดิ อาร์เอ็นเอสายเด่ยี ว (single stranded RNA virus) ในFamily Coronaviridae มีรายงานการพบเช้ือมาตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1965 โดยสามารถ ติดเชื้อได้ทั้งในคนและสัตว์ เช่น หนู ไก่ วัว ควาย สุนัข แมว กระต่าย และสุกร ประกอบด้วยชนิดย่อย หลายชนิดและทาใหม้ ีอาการแสดงในระบบต่างๆ เช่น ระบบทางเดินหายใจ (รวมถึงโรคทางเดินหายใจ เฉยี บพลนั รุนแรง หรือซาร์ส; SARSCoV) ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบประสาท หรือระบบอ่ืนๆ 2. ระบาดวิทยาของเชื้อ : เชื้อไวรัสโคโรน่า (CoVs) พบได้ทั่วโลก โดยในเขตอบอุ่น (temperate climates) มักพบเชื้อโคโรนาไวรัสในช่วงฤดูหนาวและฤดูใบไม้ผลิ การติดเชื้อโคโรนา ไวรัสอาจทาให้เกิดอาการในระบบทางเดินหายใจส่วนบนได้ถึงร้อยละ 35 และสัดส่วนของโรคไข้หวัดที่ เกดิ จากเช้อื โคโรนาไวรสั อาจสงู ถึงร้อยละ 15อาจ การติดเชื้อพบไดใ้ นทกุ ลุ่มอายุ แตพ่ บมากในเด็ก อาจ พบมกี ารติดเชื้อซา้ ได้ เนือ่ งจากระดับภมู ิคุ้มกันจะลดลงอยา่ งรวดเรว็ ภายหลงั การติดเชื้อ สาหรับการติด เช้ือทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส (SARS CoV) พบการระบาดปี พ.ศ. 2546 โดยพบเริ่ม จากประเทศจีนแล้วแพร่กระจายไปท่ัวโลกพบรายงานผู้ป่วยโรคซาร์สท้ังสิ้นมากกว่า 8, 000 ราย และ เสยี ชวี ติ มากกว่า 750 ราย 3. ลักษณะโรค : การตดิ เชื้อไวรัสโคโรน่าในระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Coronaviruses) อาจทาให้เกิด อาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ มีน้ามูก เจ็บคอ ไอ โดยในทารกที่มีอาการรุนแรง อาจมีลักษณะของ ปอดอักเสบ (Pneumonia) หรือ หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis) ในเด็กโตอาจมีอาการของหอบ หืด(Asthma) ส่วนในผู้ใหญ่ อาจพบลักษณะปอดอักเสบ (Pneumonia) หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronicbronchitis) หรือการกลบั เปน็ ซ้าของโรคหอบหืดได้ และอาจทาให้เกิดอาการรุนแรงได้มากใน

12 ผู้สูงอายุหรือผู้ท่ีภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยพบการติดเช้ือแบบไม่แสดงอาการได้ในทุกอายุ และหากแสดง อาการมักพบร่วมกับการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจอื่นๆ เช่น Rhinovirus, Adenovirus หรือเชื้อ อนื่ ๆ การติดเช้ือทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส ( Severe Acute Respiratory Syndrome;SAR CoV) จะพบมีอาการไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย หรืออาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ แล้วมี อาการไอ และหอบเหนือ่ ยอย่างรวดเร็ว ซ่งึ อัตราตายจะสูงขึน้ ในผู้ปว่ ยสงู อายุ หรือมโี รคประจาตัว การติดเชื้อโคโรน่าไวรัสในระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Coronaviruses) มักพบ บอ่ ยในเดก็ แรกเกดิ และทารกอายนุ อ้ ยกวา่ 1 ปี หรืออาจพบในผู้ใหญ่ทีม่ ภี ูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยพบเช้ือ ได้แม้ผปู้ ว่ ยไม่แสดงอาการ และไม่มฤี ดกู าลการเกดิ โรคทีแ่ น่นอน 4. ระยะฟักตัวของโรค โดยเฉล่ียประมาณ 2 วัน (อาจมีระยะฟักตัวนานถึง 3 – 4 วัน) สาหรับโรคซาร์สอาจใช้ระยะ ฟกั ตวั 4 – 7 วนั (อาจนานถงึ 10 – 14 วนั ) 5. วธิ กี ารแพรโ่ รค : แพรก่ ระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) กบั สารคดั หลัง่ จากทางเดินหายใจ หรือ แพร่กระจายเช้อื จากฝอยละอองนา้ มูก น้าลาย (Droplet) จากผู้ป่วยที่มีเช้ือโดยการ ไอ หรอื จาม 6. การป้องกัน : - ออกกาลังกายสนา่ เสมอและพกั ผ่อนใหเ้ พยี งพอ - รับประทานอาหารที่มปี ระโยชนแ์ ละครบ 5 หมู่ - ไม่คลกุ คลใี กล้ชดิ กบั ผูป้ ว่ ย - แนะนาให้ผปู้ ว่ ยใส่หนา้ กากอนามยั ปิดปากปิดจมูกเวลา ไอ หรอื จาม - ควรล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้าและสบู่ โดยเฉพาะเม่ือสัมผัสกับสารคัดหล่ังจากผู้ป่วย ก่อน รบั ประทานอาหาร และหลังขบั ถ่าย - ควรหลีกเล่ียงการเข้าไปในพื้นที่แออัด หรือท่ีชุมชนสาธารณะท่ีมีคนอยู่เป็นจานวนมาก เพื่อ ลดความเสย่ี งในการตดิ โรค

บทท่ี 3 วิธกี ำรดำเนินงำน กศน.ตาบลหนองตาลึง สงั กัดศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ พานทอง ได้เล็งเหน็ จึงจัดโครงการสง่ เสริมกรป้องกนั โรคไวรัสโคโรนา 2019 หลกั สตู รการป้องกนั โรค ไวรัสโรคโรนา 2019 ใหก้ บั ประชาชน โดยมีข้ันตอนดงั นี้ 1. ประชุมปรกึ ษาหารอื การจดั โครงการฯ กศน.อาเภอพานทอง 2. แตง่ ตั้งคณะทางาน 3. ประสานงาน/เครือขา่ ยที่เกี่ยวขอ้ ง 4. ดาเนนิ งานตามแผน 5. วดั ผล/ประเมนิ ผล/สรปุ ผลและรายงาน 1. ประชมุ ปรกึ ษำหำรือกำรจดั โครงกำรฯ กศน.อำเภอพำนทอง กศน.ตาบลหนองตาลงึ ไดว้ างแผนประชมุ ปรกึ ษาหารือเพื่อหาแนวทางในการดาเนนิ งาน และกาหนดวตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกัน 2. แตง่ ตัง้ คณะทำงำน จดั ทาคาส่ังแต่งต้ังคณะทางานโครงการเพื่อมอบหมอบหมายหนา้ ที่ในการทางานใหช้ ดั เจน เชน่ 2.1 คณะกรรมการที่ปรึกษา/อานวยการ มหี นา้ ที่อานวยความสะดวก และใหค้ าปรึกษา แก้ไขปญั หาทเ่ี กิดขน้ึ 2.2 คณะกรรมการฝา่ ยจดั สถานท่ี มหี นา้ ที่ จัดโต๊ะ เกา้ อี้ เวทีการดาเนนิ งานใหเ้ รยี บร้อย 2.3 คณะกรรมการฝ่ายบนั ทึกภาพและประชาสัมพันธ์ มีหน้าทบี่ ันทึกภาพกิจกรรมตลอด โครงการ และประชาสัมพนั ธ์กิจกรรมใหส้ าธารณชนได้ทราบ 2.4 คณะกรรมการฝา่ ยรบั ลงทะเบยี นและประเมินผลหน้าท่ีจดั ทาหลักฐานการลงทะเบียน ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ และรวบรวมการประเมนิ ผล และรายงานผลการดาเนินการ 3. ประสำนงำน/เครือขำ่ ยท่เี กีย่ วข้อง ประสานงานกับผู้เข้าร่วมโครงการ วทิ ยากร และคณะครู เช่น ประสานเรื่องสถานทใี่ ช้ทา กิจกรรม รปู แบบการจดั กจิ กรรมโครงการ วนั เวลา สถานท่ี รายละเอยี ดการเขา้ รว่ มกจิ กรรม พรอ้ ม ท้งั ประชาสมั พนั ธก์ ารจัดกจิ กรรม

14 4. ดำเนินกำรตำมแผนงำน โครงการส่งเสรมิ การป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 ในวนั ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 - 12.00 น. ณ บ้านเลขที่ 3 หมู่ 7 ตาบลหนองตาลึง อาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี มี ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ จานวน 17 คน จัดกจิ กรรมโดยใช้กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5. สรุปผลและรำยงำน โครงการสง่ เสริมการป้องกนั โรคไวรสั โคโรนา 2019 ให้แก่ประชาชน ณ อาคารพูลทรัพย์ ประชากศน.ตาบลหนองตาลงึ ณ บ้านเลขที่ 3 หมู่ 7 ตาบลหนองตาลงึ อาเภอพานทอง จังหวดั ชลบรุ ี มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ จานวน 17 คน จดั กิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างการเรยี นรู้ คือโดยกาหนดค่าลาดบั ความสาคญั ของการประเมนิ ผลออกเปน็ 5 ระดบั ดังน้ี มากทีส่ ดุ ให้คะแนน 5 มาก ใหค้ ะแนน 4 ปานกลาง ให้คะแนน 3 นอ้ ย ให้คะแนน 2 น้อยทีส่ ดุ ใหค้ ะแนน 1 ในการแปลผล ผู้จัดทาได้ใช้เกณฑ์การพิจารณาจากคะแนนเฉลีย่ ตามแนวคิดของ บุญชม ศรสี ะอาด และบญุ สง่ นวิ แก้ว (2535, หนา้ 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา่ ดมี าก 3.51-4.50 หมายความว่า ดี 2.51-3.50 หมายความว่า ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา่ น้อย 1.00-1.50 หมายความว่า ตอ้ งปรับปรุง ประชาชน จะตอ้ งกรอกข้อมลู ตามแบบสอบถาม เพือ่ นาไปใช้ในการประเมนิ ผลของการจัด กิจกรรมดังกลา่ ว และจะไดน้ าไปเปน็ ข้อมูล ปรบั ปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชใ้ นการจดั ทาแผนการ ดาเนนิ การในปตี ่อไป

บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำนและกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล โครงการส่งเสริมการป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 ในการจัดโครงการเรียนรู้และ หลีกเล่ียงเพ่ือป้องกันตนเองจากเช้ือไวรัสโคโรน่า ในวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ณ บ้านเลขท่ี 3 หมู่ 7 ตาบลหนองตาลึง อาเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี มผี ู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 17 คน ซง่ึ ได้ สรุปผลจากแบบสอบถามและนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งได้สรุปผลจากแบบสอบถามและ นาเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากผู้เขา้ รว่ มโครงการ จานวน 17 คน ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัวผู้ตอบแบบถามของผู้เข้าร่วมท่ีตอบแบบสอบถามได้นามาจาแนก ตามเพศ อายุ และอาชีพ ผู้จัดทาได้นาเสนอจาแนกตามข้อมูลดังกล่าว ดังปรากฏตามตารางที่ 1 ดงั ต่อไปน้ี ตำรำงที่ 1 แสดงคำ่ รอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมเพศ เพศ ชาย หญงิ ความคดิ เห็น จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ โครงการสง่ เสรมิ การป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 3 17.65 14 82.35 จากตารางที่ 1 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการส่งเสริมการปอ้ งกนั โรค ไวรสั โคโรนา 2019 ในการจดั ทาเคร่ืองมือประเมิน เป็นชาย 3 คน คิดเป็นร้อยละ 17.65 เปน็ หญงิ 14 คดิ เป็นร้อยละ 82.35 ตำรำงท่ี 2 แสดงค่ำร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมอำยุ อายุ ตา่ กว่า 20 ปี 20 - 29 ปี 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 50 - 59 ปี 60 ปี ขนึ้ ไป ความคดิ เหน็ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ โครงการสง่ เสริม การป้องกัน โรค - - - - - - 1 5.88 6 35.29 10 58.82 ไวรัสโคโรนา 2019

16 จากตารางท่ี 2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการ ป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 ช่วงอายุ 40-49 ปี จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5.88 ช่วงอายุ 50-59 ปี จานวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35.29 ในชว่ งอายุ 60 ปีขน้ึ ปี มจี านวนสูงสุด จานวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 58.82 ตำรำงท่ี 3 แสดงคำ่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถำม โดยจำแนกตำมอำชพี ประเภท เกษตรกร พนักงานรฐั วสิ าหกจิ แมบ่ ้าน รับจ้าง อืน่ ๆ(วา่ งงาน) จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ความคิดเหน็ โครงการสง่ เสริมการ 2 11.76 - - 6 35.29 9 52.94 -- ป้องกัน โรคไวรสั โค โรนา 2019 จากตารางท่ี 3 แสดงวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามของผเู้ ข้าร่วมผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการ ส่งเสรมิ การปอ้ งกนั โรคไวรัสโคโรนา 2019 มีอาชพี เกษตรกร จานวน 2 คนคิดเปน็ ร้อยละ 11.76, อาชีพแม่บา้ นจานวน 6 คนคิดเปน็ ร้อยละ 35.29 , และ อาชีพรับจ้าง จานวน 9 คนคิดเปน็ รอ้ ยละ 52.94 ตอนท่ี 2 ข้อมูลเก่ียวกบั ความคดิ เห็นของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการฯ แบบสอบถามทง้ั หมด ดัง ปรากฏในตารางท่ี 4

17 N = 17 เน้ือหาโครงการสง่ เสรมิ การปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโรนา 2019 X̄ S.D. อนั ดบั ที่ ระดบั ผลการประเมนิ ควำมพงึ พอใจดำ้ นเนอื้ หำ 1.เนอื้ หาตรงตามความต้องการ 4.24 0.70 3 ดี 2.เน้ือหาเพยี งพอต่อความตอ้ งการ 4.43 0.68 4 ดี 3.เนอ้ื หาปจั จุบันทนั สมยั 4.24 0.83 1 ดี 4. เน้อื หามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนา 4.48 0.75 2 ดี คุณภาพชีวิต ควำมพงึ พอใจด้ำนกระบวนกำรจดั กจิ กรรม 5.การเตรียมความพร้อมก่อนจดั กิจกรรม 4.24 0.77 2 ดี 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั 4.33 0.66 5 ดี วัตถปุ ระสงค์ 7. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.48 0.75 3 ดี 8. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย 4.38 0.74 4 ดี 9. วธิ ีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั การ 4.24 0.83 1 ดี อบรม ควำมพึงพอใจต่อวิทยำกร 10.วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องท่ี 4.38 0.67 3 ดี ถา่ ยทอด 11.วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 4.33 0.80 2 ดี 12.วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นร่วมและซกั ถาม 4.14 0.85 1 ดี

18 N = 17 เน้ือหาโครงการสง่ เสรมิ การปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโรนา 2019 X̄ S.D. อนั ดับ ระดับผลการ ที่ ประเมิน ควำมพงึ พอใจดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก 4.38 13. สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความ 0.67 4 ดี 4.43 สะดวก 0.75 2 ดี 14. การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กิดการ 4.43 4.24 0.75 2 ดี เหมาะสม 4.34 0.77 1 ดี 15. การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา 16. ความพงึ พอใจในภาพรวมของผูร้ ับการอบรม ค่าเฉลี่ย ตำรำงที่ 4 ผลการประเมนิ โครงการส่งเสริมการป้องกัน โรคไวรสั โคโรนา 2019 จากตาราง 4 พบว่า 1.1 ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 ในการจัดทาเคร่ืองมือประเมิน เป็นชาย 3 คน คิดเป็นร้อยละ 17.65 เป็น หญิง 14 คิดเป็นร้อยละ 82.35 ซ่ึงมีช่วงอายุ 40-49 ปี จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5.88 ช่วงอายุ 50-59 ปี จานวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 35.29 ในชว่ งอายุ 60 ปีข้นึ ปี มจี านวนสงู สุด จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 58.82 และมีอาชีพเกษตรกร จานวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 11.76, อาชีพแม่บ้าน จานวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 35.29 , และ อาชพี รับจา้ ง จานวน 9 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.94 ตามลาดับ 1.2 ข้อมูลเก่ียวกับความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมในโครงการส่งเสริมการป้องกัน โรค ไวรัสโคโรนา 2019 มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ ดี (x=̄ 4.34 ) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ พบว่า ดำ้ นควำมพงึ พอใจดำ้ นเน้อื หำ ลาดับที่ 1 เน้ือหาปจั จบุ นั ทนั สมยั (x̄=4.24 ) ลาดบั ที่ 2 เน้ือหามีประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวิต (x̄=4.48) ลาดบั ที่ 3 เน้ือหาเพียงพอตอ่ ความต้องการ (x̄=4.24) ลาดับที่ 4 เน้อื หาตรงตามความตอ้ งการ (x=̄ 4.43)

19 ด้ำนควำมพึงพอใจดำ้ นกระบวนกำรจดั กจิ กรรม ลาดบั ที่ 1 วธิ ีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั การอบรม (x̄=4.24 ) ลาดบั ที่ 2 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา (x=̄ 4.24 ) ลาดับท่ี 3 การเตรยี มความพรอ้ มก่อนจดั กจิ กรรม (x̄=4.48) ลาดบั ท่ี 4 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย (x̄=4.38) ลาดบั ที่ 5 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ (x̄=.4.33) ดำ้ นควำมพงึ พอใจตอ่ วทิ ยำกร ลาดบั ท่ี 1 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มสี ่วนร่วมและซักถาม (x=̄ 4.14) ลาดบั ที่ 2 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ื่อเหมาะสม (x=̄ 4.33 ) ลาดบั ที่ 3 วทิ ยากรมีความร้คู วามสามารถในเรื่องทีถ่ า่ ยทอด (x̄=4.38 ) ดา้ นความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก ลาดบั ท่ี 1 สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก (x=̄ 4.24) ลาดับท่ี 2 การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา (x̄=4.43) ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู้ ับการอบรม (x̄=4.43) ลาดบั ที่ 4 การสอ่ื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเหมาะสม (x=̄ 4.38) โดยเฉลยี่ แลว้ ผ้เู ข้ารบั การอบรมในโครงการสง่ เสริมการปอ้ งกัน โรคไวรสั โคโรนา 2019 อยใู่ นระดบั ดี (X̄ = 4.34)

บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รำยผล และขอ้ เสนอแนะ จากโครงการสง่ เสรมิ การป้องกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 ในวันท่ี 16 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 - 12.00 น. บา้ นเลขที่ 3 หมู่ 7 ตาบลหนองตาลงึ อาเภอพานทอง จงั หวัดชลบรุ ี มี ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการเป็นประชาชน จานวน 17 คน จดั กจิ กรรมโดยใช้การบรรยายและปฏบิ ัติ ท้งั นขี้ อ สรุปและอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะดังนี้ ผลท่ีปรำกฏ การจัดทาโครงการส่งเสริมการปอ้ งกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 ซงึ่ ไดส้ รุปผลจาก แบบสอบถามและนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู จากผู้เรียน จานวน 17 ชดุ ตลอดระยะเวลาทร่ี บั การอบรม โดยมีการซักถามพูดคุยตอบโต้ อาจารย์ผู้สอนอย่างสนใจ ในด้านต่างๆ คอื ควำมพงึ พอใจด้ำนเนื้อหำ - เน้ือหาตรงตามความต้องการ - เน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ - เนื้อหาปัจจุบันทนั สมยั - เนอื้ หามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ควำมพึงพอใจดำ้ นกระบวนกำรจัดกจิ กรรม - การเตรยี มความพร้อมก่อนจดั กจิ กรรม - การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ - การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา - การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย - วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั การอบรม ควำมพึงพอใจตอ่ วทิ ยำกร - วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่อื งทถ่ี ่ายทอด - วิทยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สื่อเหมาะสม - วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซักถาม ควำมพงึ พอใจดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก

21 - สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก - การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเหมาะสม - การบริการ การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา - ความพงึ พอใจในภาพรวมของผู้รบั การอบรม สรุปผลกำรดำเนนิ งำน ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการส่งเสริมการปอ้ งกัน โรคไวรัสโคโรนา 2019 เพ่อื ให้ประชาชนสามารถ ดูแลสุขภาพและแกป้ ัญหาดา้ นสขุ ภาพด้วยตนเอง มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับดี คดิ เป็น 4.34 ปญั หำและอุปสรรค - ขอ้ เสนอแนะ -

บรรณำนกุ รม สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแหง่ ประเทศไทย. 2563. “องค์ความรู้เกี่ยวกบั เช้อื ไวรสั โคโรน่า (Coronaviruses)” [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา https://www.pidst.or.th/A215.html (2 กรกฎาคม 2563).

ทป่ี รึกษำ คณะผูจ้ ดั ทำ นางสาวสมใจ เกิดพูลผล ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอพานทอง นางสาวอาภรณ์ ศรีแสงทอง ครชู านาญการ นายกฤษชัย ใจกล้า ครู คศ.1 นางสาวระพีพร วงคม์ น ครูผชู้ ่วย คณะทำงำน ครูอาสาสมัคร กศน. ครู กศน.ตาบล นางพวงออ เจริญแพทย์ นางสาวปองทิพ โกสยิ ะพันธ์ ผรู้ วบรวม เรียบเรยี น และจัดพมิ พ์ นางสาวปองทิพ โกสยิ ะพนั ธ์ ครู กศน.ตาบล

ภาคผนวก












































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook