เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 198 5.3 มกี ารนำนวัตกรรมท่ีเกดิ จากการทดลองการพฒั นามาใช้หรือเผยแพรผ่ ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ กศน.ตำบลคูเตา่ ไดน้ ำผลการทดลองอันเกดิ จากการนำนวตั กรรมการจัดการเรียนการสอนระบบ LMS และการจัดการเรียนการสอนระบบ MOOC โดยใชส้ ่อื โทรศพั ท์ท่ีพฒั นาแลว้ มาทำการเผยแพรผ่ ่าน ช่องทางต่าง ๆ ดงั น้ี ๑. รายงานสรุปผลการดำเนินการใช้นวัตกรรมใหผ้ บู้ ริหารสถานศกึ ษา ๒. รายงานสรุปผลการดำเนนิ งานการใช้นวัตกรรมให้ผบู้ รหิ ารตน้ สังกดั ๓. รายงานสรปุ ผลการดำเนินการผา่ นกล่มุ ไลน์ กศน.อำเภอหาดใหญ่ ๔. รายงานสรุปผลการดำเนนิ การผ่าน facebook โดยสถานะสาธารณะเพื่อประโยชนต์ ่อเพื่อนครู ทส่ี นใจในการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ๕. รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ การผ่านเพจ กศน.ตำบล และ เวปไซด์ กศน.ตำบล
เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 199 5.4 มีการประเมินผลการนำนวัตกรรมไปใช้ กศน.ตำบลคูเตา่ ได้ทำการประเมนิ ผลการนำนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนระบบ Hatyai Nfe Lms และการจัดการเรียนการสอนระบบ MOOC โดยประเมินผลจากครูผู้สอน นักศึกษา ซึง่ ผลจากการนำ นวัตกรรมดังกล่าวไปใช้ ทำให้ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาในภาพรวมท้ังใน กศน.ตำบลคูเต่า และกศน.ตำบล ตา่ งๆ ในสังกดั กศน.อำเภอหาดใหญ่ ในปีการศึกษา 2563 สงู ขน้ึ แบบสรปุ การประเมนิ ความพึงพอใจมีตอ่ ระบบการเรยี นการสอนออนไลน์ HATYAINFE LMS กศน.ตำบลคเู ต่า ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอหาดใหญ่ คำชี้แจง แบบประเมนิ ฉบบั นเี้ ป็นแบบประเมินความพึงพอใจท่มี ีต่อระบบการเรยี นการสอนออนไลน์ HATYAINFE LMS โดยให้ผูต้ อบแบบประเมินคลิกเลือกช่องทต่ี รงกับข้อมลู ความเปน็ จริงและความคิดเหน็ ของท่าน ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม นักศึกษา จำวนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ กศน.ตำบลคูเตา่ 65 100 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละสถานทพ่ี บกลุ่ม
เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 200 สถานะผตู้ อบแบบสอบถาม จำวนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ นักศกึ ษา 65 100 ผู้ปกครอง 0 0 65 100 รวม แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละสถานะผ้ตู อบแบบสอบถาม กำลังศึกษาระดับชัน้ จำวนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 65 100 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวม แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละกำลังศกึ ษาระดับช้นั
เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 201 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อการเรยี นผา่ นบทเรยี นออนไลน์ระบบ Hatyai Nfe Lms ความคิดเห็นตอ่ การเรียนออนไลน์ 5 4 3 2 1 MEAN SD แปลผล อนั ดบั 1.ความพงึ พอใจต่อการใชร้ ะบบการเรยี นออนไลน์ 1.1 ปรมิ าณของเน้ือหาเหมาะสม 20 30 15 0 0 4.08 0.74 มาก 8 กับวัยของผ้เู รียน การอธิบาย ความ นา่ สนใจ 1.2 ภาพ ภาษา ตวั อักษร ทใี่ ช้ใน 21 35 9 0 0 4.18 0.66 มาก 2 เน้ือหา สือ่ และเสียงที่ใช้ 1.3 แบบทดสอบมีความสอดคล้อง 24 28 12 0 1 4.14 0.83 มาก 3 กับบทเรยี น 1.4 ความเหมาะสมของจำนวน 18 32 13 1 1 4.00 0.83 มาก 12 แบบทดสอบในแตล่ ะหน่วยการ เรยี น ความคิดเห็นตอ่ การเรยี นออนไลน์ 5 4 3 2 1 MEAN SD แปลผล อันดบั 1.5 ระบบส่งงานออนไลน์ และ 29 25 11 0 0 4.28 0.74 มาก 1 ขัน้ ตอนในการส่งสะดวกรวดเรว็ ดี 2.การจดั การบทเรียนออนไลน์ 2.1 การใช้งานบทเรียน งา่ ย และ 18 33 13 1 0 4.05 0.74 มาก 9 สะดวก 2.2 บทเรยี นมคี วามน่าสนใจ 21 30 13 1 0 4.09 0.76 มาก 5 2.3 หลงั จากศกึ ษาบทเรียน 21 31 12 1 0 4.11 0.75 มาก 4 ออนไลน์แลว้ มีความรู้ความเขา้ ใจ ไดด้ ว้ ยตนเอง 2.4 สามารถทำงานตามคำส่งั จาก 23 27 13 2 0 4.09 0.82 มาก 5 โจทยบ์ นระบบการเรยี นออนไลนไ์ ด้ 3.การใชง้ านระบบการเรยี นออนไลน์ 3.1 ระบบมคี วามยุง่ ยากซบั ซ้อน 19 31 12 3 0 4.02 0.82 มาก 11 3.2 ระบบเขา้ ใจไม่ซับซ้อนมากนัก 23 28 11 3 0 4.09 0.84 มาก 5 3.3 ระบบสมบรู ณ์เหมาะกับการ 19 31 14 1 0 4.05 0.76 มาก 9 จดั การเรยี นการสอนออนไลน์ เฉล่ยี ในภาพรวม 4.10 0.77 มาก
เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 202 กราฟแสดงร้อยละประเมนิ ความพึงพอใจต่อระบบการเรียนการสอนออนไลน์ HATYAINFE LMS ข้อเสนอแนะ / คำแนะนำ
203 เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แบบประเมนิ การติดตาม การนำไปใชร้ ะบบ HatyaiNFE CARE Smart ONIE ข้อมูลนักศกึ ษารายบคุ คล กศน.อำเภอหาดใหญ่ กศน.ตำบลคเู ต่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอหาดใหญ่ คำชี้แจง แบบตดิ ตามการนำไปใช้ฉบบั น้เี ปน็ แบบตดิ ตามการนำไปใช้ระบบ HatyaiNFE CARE Smart ONIE ขอ้ มูลนักศึกษารายบุคคล กศน.อำเภอหาดใหญ่ โดยใหผ้ ู้ตอบแบบประเมนิ คลิกเลือกช่องที่ตรงกบั ขอ้ มูล ความเปน็ จริงและความคิดเห็นของท่าน ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม นกั ศึกษา จำวนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ กศน.ตำบลคูเต่า 65 100 แผนภูมวิ งกลมแสดงร้อยละสถานท่ีพบกลุ่ม เพศ เพศ จำวนวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ รวม 31 47.7 ชาย 34 52.3 หญิง 65 100
204 เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละ กำลงั ศกึ ษาระดบั ชั้น จำวนวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 54 83.1 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 11 16.9 65 100 รวม แผนภูมวิ งกลมแสดงร้อยละกำลังศึกษาระดบั ชัน้ อายุผตู้ อบแบบสอบถาม จำวนวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ 15 – 25 ปี 47 72.3 15 – 25 ปี 18 27.7 26– 35 ปี 0 0 46 ปขี ึน้ ไป 0 0 65 100 รวม แผนภมู วิ งกลมแสดงร้อยละอายุ
เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 205 ตอนท่ี 2 การประเมินการติดตาม การนำระบบ HatyaiNFE CARE Smart ONIE ข้อมูลนักศกึ ษารายบคุ คล กศน.อำเภอหาดใหญ่ การประเมนิ ผลการนำระบบ การจดั การเรยี นการ ���̅��� SD แปลผล สอนออนไลน์ HATYAINFE LMS ไปใช้ 4.46 0.59 มาก 4.31 0.56 มาก 1. ระบบ HATYAINFE CARE เป็นประโยชนต์ อ่ ���̅��� SD แปลผล นักศึกษา 4.26 0.54 มาก 4.22 0.54 มาก 2. เมอ่ื ตรวจสอบวิชาลงทะเบียนเรยี น นักศกึ ษาจะ ได้ศึกษาวิชาเรียนล่วงหนา้ 4.45 0.56 มาก การประเมินผลการนำระบบ การจัดการเรียนการ 4.57 0.50 มากทีส่ ดุ สอนออนไลน์ HATYAINFE LMS ไปใช้ 3. เมอ่ื ทราบผลการเรียน นักศึกษาจะไดว้ าง แผนการเรยี นรู้ตลอดท้งั หลักสตู รฯ 4. เม่อื ทราบจำนวนกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน นกั ศกึ ษาจะไดว้ างแผนการเข้าร่วมกจิ กรรม กพช. ในแต่ละภาคเรยี น 5. เมอ่ื ทราบวนั ท่ี/เวลา/วิชาท่ีสอบ/สถานทีส่ อบ/ หอ้ งสอบ นักศึกษามีการวางแผนการเขา้ สอบปลาย ภาคเรยี น 6. ครมู ีการกำกบั ติดตาม นักเรียนท่ีมีปญั หาหรอื ไม่ เข้าใจ ในระบบ HATYAINFE CARE ดำเนนิ การ ชว่ ยเหลอื / แกไ้ ข เฉล่ียในภาพรวม 4.38 0.53 มาก
206 เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 การสร้างแบบสอบถาม โดยใชม้ าตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั ตามวธิ ี Likert Scale โดยได้ กำหนดน้ำหนักคะแนนของตัวเลือก 5 ระดบั ตัง้ แต่ 1 – 5 ดงั น้ี มากที่สุด มีค่าคะแนนท่ากับ 5 มาก มีค่าคะแนนท่ากับ 4 ปานกลาง มีค่าคะแนนท่ากับ 3 น้อย มีค่าคะแนนท่ากับ 2 น้อยที่สุด มีค่าคะแนนท่ากับ 1 ค่าเฉล่ียที่คำนวณได้นำมาแปลความหมาย ดังน้ี 4.50-5.00 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด 3.50-4.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับมาก 2.50-3.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.50-2.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับน้อย 1.00-1.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับน้อยท่ีสุด แผนภูมวิ งกลมแสดงร้อยละะติดตามการนำไปใช้ HatyaiNFE CARE Smart ONIE ข้อมูลนกั ศกึ ษารายบุคคล กศน.อำเภอหาดใหญ่
เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 207
208 เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กราฟแสดงขอ้ เสนอแนะ / คำแนะนำ แบบสรปุ ประเมนิ ความพึงพอใจการใช้ระบบ HATYAINFE MOOC กศน.ตำบลคูเต่า ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหาดใหญ่ คำช้แี จง แบบประเมนิ ฉบับนี้เป็นแบบประเมินความพึงพอใจการใชร้ ะบบ HatyaiNfe Mooc โดยใหผ้ ู้ตอบแบบประเมินคลกิ เลือกช่องที่ตรงกับข้อมลู ความเป็นจริงและความคิดเหน็ ของทา่ น ตอนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม คดิ เป็นร้อยละ ๒๗ เพศ ๗๓ 100 เพศ จำนวน (คน) ชาย 10 หญงิ ๒๗ 37 แผนภูมวิ งกลมแสดงร้อยละสถานะผู้ตอบแบบสอบถาม
เอกสารประกอบการคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 209 อายุ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ 21 56.7 อายุ 6 16.2 1๕ – ๒๕ 3 8.1 ๒๖ – ๓๖ 6 16.2 ๓๗ – ๔๗ 1 2.7 ๔๘ – ๕๘ 37 100 ๕๙ – ๖๙ รวม วุฒิการศกึ ษา จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ 1 2.7 วุฒกิ ารศกึ ษา ๘ 21.6 ป.4 1๗ ๔๕.๙ ป.๖ 11 29.7 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 37 100 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวม กราฟแสดงร้อยละระดับการศึกษา
เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 210 อาชีพ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ 11 29.7 อาชพี 10 27 นักศึกษา 12 32.4 เกษตรกร 4 10.8 รับจา้ ง 37 100 ว่างงาน รวม กราฟแสดงรอ้ ยละอาชีพ กราฟแสดงร้อยละประเมินความพึงพอใจการใช้ระบบ HATYAINFE MOOC ส่วนท่ี 2 คำชี้แจง แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ตอน ตอนทืี่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา
เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 211 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 212 ตอนที่ 2 ตารางวิเคราะห์ความพงึ พอใจ แปลผล มาก ความพึงพอใจการใช้ระบบMOOC ���̅��� SD มาก 0.75 มาก ๑. เนือ้ หาตรงตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น 3.86 0.83 มาก 0.89 มาก ๒. เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.03 0.82 มาก 0.79 มาก ๓. เนอ้ื หาปัจจุบันทนั สมยั เขา้ ใจง่าย 4.14 0.71 มาก 0.74 มาก ๔. เน้ือหามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต 4.22 0.81 มาก 0.86 มาก ๕. การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 4.22 0.81 มาก 0.69 มาก ๖. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 4.14 0.79 มาก 0.70 มาก ๗. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.19 0.85 0.78 ๘. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย 4.05 ๙.วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.08 ๑๐. ครมู ีความรูค้ วามสามารถในเรอ่ื งท่ีถา่ ยทอด 4.05 ๑๑. ครูมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สื่อเหมาะสม 4.27 ๑๒. ครเู ปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซักถาม 4.22 ๑๓. สถานที่ วสั ดุ อุปกรณแ์ ละสิง่ อำนวยความสะดวก 4.11 ๑4. การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 4.00 เฉลี่ยในภาพรวม 4.11 ข้อคำถามท่ีคำนวณคา่ เฉลี่ย มากที่สุด มีค่าคะแนนท่ากับ 5 มาก มีค่าคะแนนทา่ กับ 4 ปานกลาง มีค่าคะแนนทา่ กับ 3 น้อย มีค่าคะแนนท่ากับ 2 น้อยท่ีสุด มีคา่ คะแนนท่ากับ 1 ค่าเฉลี่ยท่ีคำนวณไดน้ ำมาแปลความหมาย ดังน้ี 4.50-5.00 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด 3.50-4.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับมาก 2.50-3.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.50-2.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับน้อย 1.00-1.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับน้อยท่สี ุด
เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 213 แบบประเมินความพงึ พอใจหลักสตู รต่อเนอื่ งเชอื่ มโยงการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กบั อาชวี ศึกษา การพฒั นาหลกั สตู ร ประเภทวชิ าหตั ถกรรม สาขาวชิ าศิลปหัตถกรรม ผลิตภํณฑ์จากเชือกกลว้ ย กศน.ตำบลคเู ตา่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอหาดใหญ่ คำชี้แจง แบบประเมนิ ฉบับนี้เป็นแบบประเมนิ ความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ รายวิชาผลิตภัณฑ์จากเชอื กกลว้ ย ทักษะการพฒั นาอาชพี โดยใหผ้ ูต้ อบแบบประเมนิ คลิกเลอื กช่องที่ตรงกับข้อมูลความเป็นจรงิ และความคดิ เห็นของท่าน ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70 เพศ 30 100 เพศ จำวนวน (คน) ชาย 7 หญงิ 3 รวม อายุ อายุ จำวนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ 14 1 10 16 1 10 17 2 20 18 4 40 19 0 0 20 2 20 รวม 100
เอกสารประกอบการคัดเลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 214 วฒุ ิการศกึ ษา จำวนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ วฒุ ิการศึกษา 8 80 2 20 ม.3 ม.ต้น รวม 100 อาชีพ อาชพี จำวนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ ไมร่ ะบุ 1 10 วา่ งงาน 1 10 นักศึกษา 7 70 รบั จ้าง 1 10 รวม 100
เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 215 กราฟแสดงร้อยละประเมนิ ความพึงพอใจ ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 216 ตอนที่ ๓ ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน ตอนที่ ๔ ความพึง่ พอใจด้านการอานวยความสะดวก ตอนที่ 2 ตารางวิเคราะห์ความพงึ พอใจ ���̅��� SD แปลผล พัฒนาหลักสตู รตอ่ เน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กบั อาชีวศกึ ษาการ 3.8 0.32 พัฒนาหลกั สตู ร ประเภทวิชาหตั ถกรรม สาขาวิชาศิลปหตั ถกรรม 4.1 0.32 การจกั รสานเชอื กกล้วย รายวิชา ทกั ษะการพฒั นาอาชพี 4.1 0.57 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตำบลคเู ต่า 3.9 0.32 4 ๑. เนอื้ หาตรงตามความตอ้ งการของผู้เรียน 4.1 0 4.2 0.57 ๒. เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 0.42 ๓. เนื้อหาปจั จุบนั ทันสมยั เข้าใจงา่ ย ๔. เนอื้ หามปี ระโยชนต์ อ่ การนำไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ๕. การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม ๖. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ ๗. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา
217 เอกสารประกอบการคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 พฒั นาหลกั สตู รตอ่ เนื่องเช่อื มโยงการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กบั อาชวี ศึกษาการ ���̅��� SD แปลผล พฒั นาหลักสตู ร ประเภทวิชาหัตถกรรม สาขาวิชาศลิ ปหตั ถกรรม การจักรสานเชือกกล้วย รายวิชา ทักษะการพฒั นาอาชพี 4.2 0.42 4 0.47 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.ตำบลคเู ตา่ 3.9 0.32 4.1 0.32 ๘. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย 4 3.8 0 ๙.วธิ กี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 3.7 0.42 0.35 0.48 ๑๐. ครมู คี วามรูค้ วามสามารถในเร่ืองทถ่ี า่ ยทอด 4 มาก ๑๑. ครมู เี ทคนิคการถ่ายทอดใชส้ อ่ื เหมาะสม ๑๒. ครูเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนร่วมและซักถาม ๑๓. สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อำนวยความสะดวก ๑4. การบริการ การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา เฉลี่ยในภาพรวม ขอ้ คำถามทค่ี ำนวณคา่ เฉลีย่ มากท่ีสุด มีค่าคะแนนท่ากับ 5 มาก มีค่าคะแนนท่ากับ 4 ปานกลาง มีค่าคะแนนท่ากับ 3 น้อย มีค่าคะแนนท่ากับ 2 น้อยท่ีสุด มีค่าคะแนนท่ากับ 1 ค่าเฉลี่ยที่คำนวณได้นำมาแปลความหมาย ดังนี้ 4.50-5.00 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด 3.50-4.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับมาก 2.50-3.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.50-2.49 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับน้อย 1.00-1.49หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับน้อยท่ีสุด
เอกสารประกอบการคัดเลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 218 5.5 มีแนวทางการพัฒนาหรือต่อยอด เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนรู้ที่สอดคล้อง กบั บรบิ ทของขมุ ชน กศน.ตำบลคูเต่า มีแนวทางการพัฒนาหรือต่อยอด เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการ เรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับบริบทของขุมชน นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนระบบ Hatyai Nfe Lms และการจัดการเรียนการสอนระบบ MOOC แล้ว ด้วยการใช้กระบวนการเรียนการสอนที่สร้างบรรยากาศ ห้องเรียนเสมือนจริง โดยการนำสื่อนวัตกรรมทางการศึกษาที่หลากหลาย เช่น Google classroom E- book สื่อนวัตกรรมอื่นที่กำลังมีบทบาทต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชนและสังคมโดยรวม มา จดั การเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การเรียนรู้ผา่ นระบบ Zoom ระบบ Line และ Video Conference ซึ่งการเรียนการสอนลักษณะนี้ เป็นการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกับ คอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้ากับผู้ให้บริการเครือข่ายและผู้ให้บริการเว็บ โดยครูจะออกแบบระบบการเรียน การสอน และสอ่ื ต่างๆไว้ และนำเสนอผ่านเว็บไซต์ประจำวิชา และดำเนินการเรียนไปตามระบบที่ออกแบบ ไว้ ผู้เรียนจะต้องส่งงาน ทำการบ้านตามท่ีได้รับมอบหมายตามกำหนดเวลา ครูก็สามารถติดตามพฤติกรรม การเรียนได้ ผู้เรียนจะเรียนท่ีบ้านหรือท่ีทำงานก็ได้ ไม่ต้องเสียเวลามาท่ีสถานที่พบกลุ่ม ไม่ต้องเสีย ค่าใชจ้ า่ ย กศน.ตำบลคเู ตา่ จะนำสือ่ นวตั กรรมต่าง ๆ เหล่านี้ มาใช้ในการจดั การเรียนการสอนในหลากหลาย รปู แบบตามความเหมาะสม ความพรอ้ มและความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายเพ่ือพัฒนานักศึกษากศน.และ คนในชุมชนให้กา้ วส่โู ลกในศตวรรษท่ี 21 ตอ่ ไป
ภาคผนวก
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลวิธีการปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) ชอ่ื ผลงาน การสง่ เสริมสนบั สนนุ “กลุ่มการจักสานผลติ ภัณฑจ์ ากเชอื กกล้วย”มุ่งสคู่ วามเป็นเลิศ ชื่อเจ้าของผลงาน โดยนางสาวสุรภา ชนิ สกุลเจรญิ ครู กศน.ตำบลคูเตา่ กศน.อำเภอหาดใหญ่ กศน.ตำบลคูเต่า ส่งเสริมกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วยบ้านหัวควาย โดยมีประธานกลุ่ม นางชลดา แสงทอง และสมาชิกในกลมุ่ อาชีพ “การจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วย” เรม่ิ เกดิ จากการที่กลุ่มใน ชุมชนนั้นประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำสวน เลี้ยงสัตว์ และแม่บ้านซึ่งกลุ่มแม่บ้านจึงรวมตัวกันเข้ากลุ่มเพื่อ ดำเนินการสร้างกลุ่มอาชีพขึ้นมา โดย กศน.ตำบลคเู ต่าเข้ามามีส่วนในการช่วยสง่ เสริมการสร้างอาชีพให้แก่กล่มุ โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และวิทยากรภูมิปญั ญามาสอนให้แก่กลุ่ม จัดหาวสั ดุอปุ กรณ์ในการจัดทำกลุม่ อาชีพการ จักสานเชอื กกล้วย ซึง่ เริ่มแรกทำเพื่อต้องการฟ้ืนฟูอาชีพใหก้ ับคนในชุมชน ต่อมาเรม่ิ มีการต่อยอดให้แก่กลุ่มเพ่ือ เพิ่มให้กลุ่มมคี วามเข้มแข็งมากยิ่งขึน้ จึงเริ่มจัดหาวิทยากรที่จะมาสอนและออกแบบผลิตภัณฑใ์ นรูปแบบต่าง ๆ ให้มันหลากหลาย ประจวบกับที่กลุ่มมีความกระตือรือร้นและพยายามเสาะแสวงหาความรู้ในเรื่องแบบใหม่ ๆ มาทำเพิ่มสามารถจัดได้ชำนาญขึ้น และกลุ่มได้มีการจักสานและจัดทำผลิตภัณฑ์มาแต่ดั้งเดิม แต่ปัจจุบันคนรนุ่ เก่าได้ล้มหายตายจากไปแล้ว และมีบางคนที่ยังทำอยู่ พร้อมทั้งได้มีการถ่ายทอดความรู้มาสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน ดังนั้น กศน.ได้เข้ามาส่งเสริมต่อยอดให้คนรุ่นใหม่หันมาสานต่อให้คงอยู่ไว้กับคนในชุมชนชนต่อไป ตั้งแต่ปี 2558 – ปจั จุบัน กศน.ได้เข้ามาสานต่อให้กับคนในชมุ ชน จึงทำใหก้ ลุ่มอาชีพ “การการจักสานผลิตภัณฑ์ บ้าน หวั ควาย” สามารถรบั จักสานและผลติ สนิ ค้าใหก้ ับกลมุ่ เป้าหมาย หรอื ลูกค้าไดม้ ากขน้ึ และสามารถรับผลิตสินค้า ไดช้ ำนาญข้ึน และสามารถจัดทำเป็นอาชีพเสริมได้อีกดว้ ย จนทำให้เกดิ การสร้างงานการสร้างรายได้ ท้งั ยังทำให้ กลุ่มแม่บ้านมีรายได้จากเงินปันผลกลุ่มมาจุนเจือครอบครัว หลังจากนั้นจึงได้เกิดการรวมตัวของชาวบ้านใน ชุมชนที่ต้องการสร้างอาชีพสร้างรายได้ รวมตัวกันขึ้นมาจัดตั้งเป็นกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วยขึ้นมา และได้มีการปรับปรุงและพฒั นาฝีมือเพื่อให้มคี วามพร้อมและเหมาะสมและทันต่อยคุ สมยั เพ่ือที่จะพัฒนาฝีมือให้ ดขี น้ึ ได้เป็นอย่าง 1
วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วยตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการกระจายความรู้และสร้างอาชีพ สร้างรายได้เสริมให้กับสมาชิกและประชาชน ตำบลคเู ต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 3. เพื่อต้องการฟื้นฟู สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการจกั สานผลติ ภัณฑ์จากเชอื กกล้วยตำบลคูเต่า ให้ คงอยูก่ ับคนในชมุ ชน จนถึงรนุ่ ลูก รุน่ หลานต่อไป เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่ ประชาชนตำบลคเู ตา่ และเยาวชนทสี่ นใจในการอนุรักษ์การจักสานผลิตภัณฑ์จาก เชือกกลว้ ย ขน้ั ตอนการดำเนินงาน ส่วนแรก สำรวจ สอบถาม ความเป็นไปได้ในการฟื้นฟูการจักสานผลิตภัณฑ์จักสานจากเชือกกล้วย ร่วมกับภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ผู้นำชุมชน และกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วยเดิมที่เคยทำมาก่อน จัดประชุมร่วมกับ กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานราชการ ภูมิปัญญา และตัวแทนประชาชนกลุ่มเป้าหมายเพื่อปรกึ ษาหารือแนวทางการ ฟื้นฟูให้กล่มุ จักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกลว้ ยให้ยังคงอยู่กับชมุ ชน เมือ่ ไดร้ บั ความเห็นชอบจากการประชุม กศน. ตำบลคูเต่า ได้ดำเนินการสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่สนใจฟื้นฟูการจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือก กล้วย เม่อื ได้รับการตอบรับที่ดี ทาง กศน.ตำบลคูเต่า ไดม้ ีการดำเนินการจัดกลุ่มอาชีพการจักสานผลิตภัณฑ์จาก เชอื กกลว้ ยข้ึนมา โดยเริ่มจาก พ.ศ.2558 ส่วนทส่ี อง พ.ศ.2558 กศน.ตำบลคูเต่าได้ดำเนินการเปิดกลุ่มอาชีพการจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วย เพ่ือ เป็นการดำเนินการร่วมกับภมู ิปญั ญา และประชาชนในตำบล จัดกลุ่มอาชีพระยะส้ัน โดยใช้ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นใน ชุมชนเปน็ วิทยากร ตอ่ มา กศน.ตำบลคเู ต่า ได้ดำเนินการตอ่ ยอดใหก้ ับกลุม่ จักสานผลติ ภณั ฑ์จากเชอื กกล้วยเร่ือย ๆ จนสมาชิกในกลุ่มเกิดความชำนาญในการจัดทำผลิตภัณฑ์ โดยทาง กศน.ตำบลคูเต่าสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่ จำเป็น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำไปพัฒนากระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับการจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วย และ สินคา้ จากเชอื กกลว้ ย พรอ้ มไดต้ ดิ ตามผลการพัฒนากระบวนการผลติ กศน.ตำบลคูเตา่ ได้ส่งเสริมกิจกรรมการจักสานผลิตภัณฑจ์ ากเชอื กกล้วย มุ่งให้เกิดการกระจายความ ด้านการจักสานและการฟื้นฟูการจกั สานผลิตภณั ฑ์จากเชือกกลว้ ยในตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ใหม้ คี วามเฟื่องฟูขน้ึ มาอีกครง้ั เหมือนเมื่อ 20 ปที ่ีผา่ นมา ปี พ.ศ.2561 กศน.ตำบลคูเต่า ได้ดำเนินการร่วมกับพัฒนาชุมชนอำเภอหาดใหญ่ และกลุ่มจักสาน เชือกกล้วย ร่วมประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการผลิตสินค้าของกลุ่มโดยให้กลุ่มได้เห็น ความสำคัญ และพรอ้ มท่ีจะดำเนนิ การกระจายข้อมลู ดังกล่าวไปสคู่ นในหมบู่ ้านของตนเอง 2
ปี พ.ศ.2562 กศน.ตำบลคูเต่า ได้รว่ มประชุมกับภาคเี ครือขา่ ย คณะทมี งานวิจัยจาก วทิ ยาลยั รัตภูมิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั (มทร.) ไดด้ ำเนนิ งานร่วมกันในด้านการศึกษาวิจยั เกยี่ วกับผลิตภณั ฑ์ การจักสานจากเชือกกล้วย ต่อมาไดม้ ีการทำการวิจัยเกี่ยวกบั เครื่องอบเสน้ เชือกกล้วย และผลติ ภัณฑจ์ ากเชือก กลว้ ย โดยการทำเครื่องอบโดยใชแ้ สงอาทติ ย์ หรือ แสงจากแผงโซล่าเซล พร้อมผนวกโดยการใช้พลงั งานไฟฟ้า เพื่อต้องการใหต้ อบโจทยใ์ นช่วงฤดูฝน กล่มุ เปา้ หมายสามารถผลิตสินค้าไดต้ ามปกติ ปี พ.ศ.2564 กศน.ตำบลคเู ตา่ และคณะทีมงานวิจัยจาก วิทยาลัยรตั ภูมิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลศรวี ชิ ยั (มทร.) ไดด้ ำเนินการจัดทำเครอ่ื งอบโดยใช้แสงอาทิตย์ หรือ แสงจากแผงโซลา่ เซล พรอ้ มผนวกโดย การใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ได้สำเร็จ ผลสำเรจ็ 1. เกดิ การบูรณาการความรู้และความรว่ มมือของทุกภาคส่วน 2. เกิดการพัฒนาบุคลากรในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ สามารถทำหน้าที่เป็นผู้สร้างกระบวนการเรียนรู้ ให้กับคนในชมุ ชนและในพ้ืนท่ีอืน่ ๆ ที่สนใจได้ 3. เกดิ การกระจายความรู้ ส่งผลใหเ้ กดิ พื้นทก่ี ารเรยี นรูใ้ นหมู่บา้ น 4. เกดิ การรวมกลุ่ม และการแลกเปล่ียนเรยี นรูร้ ่วมกนั ของคนในตำบล 5. เกดิ ความยงั่ ยืน จากการใชแ้ นวคดิ “การลงแรง และร่วมใจ” 6. เกิดจดุ การเรยี นรใู้ ห้กับชุมชน สถาบนั การศกึ ษาและหนว่ ยงานอน่ื ๆ ที่สนใจ 7. การพัฒนาฝีมอื ทีม่ คี ณุ ภาพสำหรับกลุ่มเปา้ หมาย สามารถสร้างจา่ ยไดเ้ สรมิ และอาชพี เสรมิ ผลการไดย้ อมรับ 1. ทำให้การดำเนนิ งานประสบความสำเรจ็ และย่งั ยืน เนื่องจากเป็นการทำงานท่ีมีการบูรณาการความรู้ และการสร้างกระบวนการทำงานแบบมสี ว่ นร่วมกับหน่วยงานตา่ งๆ ที่เกีย่ วข้องและกล่มุ เป้าหมายในทุกข้นั ตอน 2. ทำให้เกดิ ผูส้ ร้างกระบวนการเรียนร้ใู นชุมชน และในพ้ืนทีอ่ ื่นๆ ทส่ี นใจ 3. ทำใหเ้ หน็ ความสำคญั ของการมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาฝีมือและการพัฒนาความรู้ การเผยแพรแ่ ละการจัดจำหน่าย การจดั จำหน่ายผา่ นเพจผลติ ภัณฑจ์ ักสานเชือกกลว้ ยตำบลคูเต่า Ling : เพจ http://1ab.in/8Ct QR Cold : 3
กจิ กรรมเดน่ ทส่ี ามารถเปน็ แบบอย่างได้ “การจักสานผลติ ภณั ฑ์จากเชอื กกลว้ ย” กลมุ่ อาชพี “ การจกั สานผลติ ภณั ฑจ์ ากเชอื กกลว้ ยตำบลคูเตา่ ” กลุ่มอาชีพ “การจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วย” เริ่มเกิดจากการที่กลุ่มในชุมชนนั้นประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ทำสวน เลี้ยงสัตว์ และแม่บ้านซึ่งกลุ่มแม่บ้านจึงรวมตัวกันเข้ากลุ่มเพื่อดำเนินการสร้างกลุ่มอาชีพ ขึ้นมา โดย กศน.ตำบลคูเต่าเข้ามามีส่วนในการช่วยส่งเสริมการสร้างอาชีพให้แก่กลุ่ม เริ่มต้นจากจัดกลุ่มอาชีพ ให้แก่กลุ่มแม่บ้านจัดหาวิทยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสอนให้แก่กลุ่ม จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำกลุ่ม อาชีพ ซึ่งเริ่มแรกทำเพื่อจัดในชุมชน ต่อมาเริ่มมีการต่อยอดให้แก่กลุ่มเพื่อเพิ่มให้กลุ่มมีความเข้มแข็งมากยิ่งขน้ึ จึงเริ่มจัดหาวิทยากรที่จะมาสอนการจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วยในรูปแบบต่าง ๆ ให้มันหลากหลาย ประจวบกับทก่ี ลุม่ มีความกระตือรือร้นและพยายามเสาะแสวงหาความรใู้ นเรื่องแบบใหม่ ๆ มาทำเพ่ิมสามารถจัด ได้ชำนาญขึ้น และกลุ่มได้รับการส่งเสริมจาก กศน. และได้มีการพัฒนาทำให้กลุ่มอาชีพ “การจักสานผลิตภัณฑ์ จากเชือกกล้วย” สามารถรับออกเดอรสินค้า และเป็นที่ศึกษาดูงานของกลุ่มต่าง ๆ ที่อยู่ต่างจังหวัด และกลุ่มที่ สนใจไดด้ ี และสามารถจัดทำเป็นอาชีพเสรมิ ได้อีกด้วย จนทำใหเ้ กิดการสร้างงานการสร้างรายได้ ทัง้ ยังทำให้กลุ่ม แม่บ้านมีรายได้จากเงินปันผลกลุ่มมาจุนเจือครอบครัว หลังจากนั้นจึงได้เกิดการรวมตัวของชาวบ้านในชุมชนท่ี ตอ้ งการสรา้ งอาชีพสร้างรายได้ รวมตวั กันข้นึ มาจดั ตัง้ เปน็ กลุ่มจักสานผลติ ภัณฑ์จากเชือกกลว้ ยตำบลคูเต่าขึ้นมา และได้มีการปรับปรุงและพัฒนาฝีมือเพื่อให้มีความพร้อมและเหมาะกับยุคสมัย และให้เหมาะกับความต้องการ ของลกู ค้า เพ่ือที่จะพัฒนาฝีมอื ใหด้ ขี ้ึนไดเ้ ป็นอย่างดี จดุ ประสงค์ของการกอ่ ตั้งกลุ่ม ๑. เพือ่ แลกเปล่ียนประสบการณซ์ ่ึงกันและกัน ๒. เพอื่ ลดค่าใชจ้ า่ ยในครวั เรือน ๓. เพอ่ื สร้างอาชพี สร้างรายได้ให้แกก่ ลุ่มแม่บา้ น ๔. เพอ่ื เป็นตัวอย่างให้กับชาวบ้านในหมบู่ า้ น ๕. เพอื่ ใหค้ นในหมูบ่ ้านรู้รักสามัคคี เป็นหน่ึงเดยี วกนั โครงสรา้ งในการทำงาน การรวมกลมุ่ กอ่ ต้ังเป็นกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเชอื กกลว้ ยตำบลคูเต่า สามารถขยายผล และความรู้การทำ ในรูปแบบต่าง ๆ จึงทำให้โครงสร้างของการทำงานนั้นมีการปรับเปลี่ยนซึ่งจากเดิมนั้นมีเพียงไม่กี่คนเท่าทันที่ รวมกลุ่มกันและตั้งใจทำงาน แต่ในปัจจุบันนั้นกลุ่มสามารถรับออเดอร์สินค้าในรูปแบบต่าง ๆ ได้และเริ่มเป็นที่ ยอมรับคนในชุมชน มีการจัดทำสินค้าให้เข้ากับยุคสมัยเพื่อรองรับกับความต้องการของตลาดในชุมชน รวมถึง การรองรับให้เขา้ กับวัย เพศ อายุ ที่สงั่ สินค้า 4
กระบวนการในการดำเนนิ การ ๑. การรวมกลุ่มแมบ่ ้าน ซง่ึ จะใช้เวลาวา่ งมมี กี ารรบั งานแล้วมารวมตัวกันช่วยกันทำเพ่ือที่จะส่งตามรายการที่ มีออเดอรส์ ั่งมา ๒. การพัฒนาฝีมือ ซึ่งกลุ่มจะได้รับการสนับสนุนจาก กศน. และได้ทำการพัฒนาฝีมือจากการศึกษาค้นคว้า และการทดลอง และ กศน.ได้เชิญวิทยาการมาต่อยอดให้ตลอด รวมถึงการเชญิ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นมาเสริมความรู้ ใหแ้ กก่ ลมุ่ ดว้ ย ๓. การสร้างรายไดใ้ ห้กับกลุ่ม ผลผลิตที่ได้จากการรับจัดตามที่มีรายการ ซึ่งชาวบ้านในชมุ ชนนั้นจะให้ความ ร่วมมือและช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี เนอื่ งจากเปน็ ชุมชนท่ีมคี วามต้องการในเรอ่ื งการช่วยเหลือซึ่งกันและกนั ผลหลงั จากการดำเนนิ การ ๑. ด้านการลดรายจ่าย การจัดทำบัญชีกลุ่มเป็นการส่งเสริมให้ชาวบ้านในชุมชนนั้นมองเห็นประโยชน์ของ การทำบัญชีควบคุมทัง้ รายรับ รายจ่าย และกำไร ๒. ด้านการเพิ่มรายได้ ครัวเรือนมีอาชีพเสริม โดยปกติชาวบ้านในชุมชนนั้นจะประกอบอาชีพเกษตรเป็น หลกั ทำให้กลุ่มเกิดรายไดแ้ ก่สมาชกิ ในกลุ่ม ๓. ดา้ นการประหยดั ครวั เรือนมีการออม เห็นชดั จากการท่ีครวั เรือนสมัครเปน็ สมาชิกกลุม่ ออมทรัพย์ของ หมบู่ ้าน คิดเป็น ๑๐๐ % ซงึ่ ได้แก่ ธนาคารชุมชน ออมทรัพย์ชมุ ชน และสถาบันการเงินของหมู่บ้าน ๔. ด้านการเรียนรู้ กลุ่มได้มีการเรียนรู้แบบต่าง ๆ มีการพัฒนาฝีมือ ได้มีการจัดตั้งกลุ่มเชือกกล้วยขึ้น เพื่อ สามารถเปน็ ทศี่ กึ ษาดงู าน และเป็นสถานทที่ ถ่ี า่ ยทอดความร้ใู ห้แกเ่ ยาวชนผู้ทสี่ นใจในการประกอบอาชีพ 5
สว่ นที่ 2 แนวการพฒั นาสู่เสน้ ทางความสำเรจ็ การนำนโยบาย สู่ การปฏบิ ตั ิ เพ่ือมุง่ หวังส่คู วามสำเร็จ ในอดีตตำบลคูเต่าเปน็ ชุมชนที่มีการปลูกตน้ กล้วยตานี (พังลา ภาคใต้) เกือบทุกหลังคาเรือน และคนใน ชุมชนสว่ นใหญจ่ ะนำส่วนของใบนำไปจำหน่ายและใช้ประโยชน์จากใบเป็นส่วนมาก ซง่ึ จะเหลือไว้แต่ลำต้น ที่ทุก คนมองวา่ ไมม่ ปี ระโยชน์นอกจากนำไปทำเป็นอาหารหมู หรอื อาหารของสตั ว์ท่ตี นเองเลี้ยง แตย่ งั มปี ระชาชนบาง กลุ่มได้เล็งเห็นคุณค่าของลำต้น จึงได้มีการรวมกลุ่มแปรรูปวัตถุดิบจากจากต้นกล้วยมาทำเป็นเส้นเชือกกล้วย และริเริ่มนำเชือกกล้วยมาจักสานเป็นรูปทรงต่างๆ ต่อมาสมาชิกในกลุ่มมีอายุมากขึ้น จึงทำให้สมาชิกในกลุ่ม กระจัดกระจาย กลุ่มจักสานเชือกกล้วยเริ่มเลือนลางหายไป ส่งผลทำให้การจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วยซบ เซาลง กศน.ตำบลคูเตา่ ไดเ้ ล็งเห็นคุณคา่ และประโยชน์จากจุดเริ่มตน้ ในอดีตนำมาพฒั นา ฟนื้ ฟู ตอ่ ยอดอีกครั้ง เพ่อื ให้คนในชุมชนได้มอี าชพี มรี ายได้ จากสิ่งท่ที ุกคนมองข้าม กศน.ตำบลคูเต่า ตอ้ งการที่จะอนุรักษณ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่นของตำบลคูเต่า ให้คงอยู่กับรุ่นลูกรุ่นหลานต่อไป จึงมีจัดทำเวทีประชาคมร่วมกับประชาชน ผู้นำ ภูมิ ปญั ญาและหนว่ ยงานทั้งภาครัฐและเอกชน และมีการบรรจกุ ารจักสานผลติ ภัณฑ์จากเชือกกล้วยลงในแผนปฏิบัติ การของ กศน.ตำบลคูเต่า ในปีพุทธศักราช 2556 ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นท่ี กศน.ตำบลคูเต่าได้มีการจัดโครงการฝึกอบรมนักศึกษา กศน.ตำบลคูเต่า และกลมุ่ ประชาชนท่ีมคี วามสนใจในการจกั สานเชือกกล้วย กศน.คูเต่า ได้เชิญภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาให้ความรู้ด้านทฤษฎี ตั้งแต่การดลู ักษณะของลำต้น ขนาด ปริมาณที่ต้องใชใ้ นการผลติ และฝึก ปฏิบัติการจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วยตามรูปทรงที่ได้ออกแบบไว้ ตลอดจนการดูแลรักษาผลิตภัณฑ์ให้มี ความคงทน สวยงาม ทันสมัยในรูปแบบของการเปิดกลุ่มอาชีพระยะสั้น โดยเน้นยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติให้เกิดความสำเร็จ และได้ดำเนินการอบรมต่อยอดเพื่อเพิ่มความชำนาญ และพัฒนาฝีมืออย่างต่อเนื่อง มีผู้อำนวยการ กศน.อำเภอหาดใหญ่ ลงพื้นที่นิเทศติดตาม พบปะพูดคุยกับภูมิ ปัญญา และให้คำแนะนำในการจดั กจิ กรรมเพื่อสืบสาน ตอ่ ยอด ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินอยา่ งสมำ่ เสมอ ภูมิปญั ญาจากชุมชนให้ความรู้ 6
กศน.คูเต่าขับเคล่ือนบรหิ ารงานต่อยอด และพัฒนาการจดั ทำผลิตภัณฑจ์ ากเชือกกลว้ ยให้เปน็ ท่ียอมรบั ต่อหนว่ ยงานอนื่ และองค์กรภายนอก ดงั นี้ ปี 2560 กศน.ตำบลคูเต่าได้ร่วมมือกับทางวิทยาลัยรัตภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย และคณะทีมวิจยั ของมหาวิทยาลยั ร่วมวิจยั เกีย่ วกับพนั ธ์พุ ืชเก่ียวกับต้นกล้วยตานี ในโครงการอนุรักษณ์พันธุ์ พืชของสมเด็จพระเทพ ปี 2561 กศน.ตำบลคูเต่าได้ร่วมมือกับทางวิทยาลัยรัตภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย และคณะทีมวิจัยของมหาวิทยาลัย ร่วมวิจัยเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ในทันกับยุค สมยั ปี 2562 กศน.ตำบลคูเต่าได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยทักษิณ สงขลา คณะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ร่วม จัดทำหลักสูตร MOOC รายวิชาการจักสานเชือกกล้วย โดยเริ่มมีการประชุม วางแผน และศึกษาข้อมูลเพ่ือ นำไปจัดจัดทำหลักสูตร ปี 2563 - 2564 กศน.ตำบลคูเต่าได้ร่วมมือกับทางวทิ ยาลัยรัตภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชยั และคณะทีมวจิ ัยของมหาวิทยาลยั รว่ มวจิ ัยเก่ียวกับเครื่องอบเส้นเชือกกล้วย และผลิตภัณฑ์จากเชือก กล้วยด้วยระบบไฟฟ้า และแสงอาทิตย์ เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนา ยกระดับผลิตภัณฑ์เชือกกล้วยคูเต่าให้มี คณุ ภาพ ลดขนั้ ตอน และระยะเวลาการผลติ คงทนสวยงาม ทันสมยั มากย่ิงข้นึ ปัจจบุ นั กศน.ตำบลคเู ตา่ ได้พฒั นาผลิตภัณฑ์จกั สานจากเชอื กกล้วย และจำหน่ายสนิ ค้าภายใต้แบรนด์ ONIE และนำผลิตภัณฑ์จำหน่าย ณ ห้างเซ็นทรัลเฟสตเิ วลหาดใหญ่ ช้ัน 2 7
จากผลสำเร็จที่เกิดจากความมุ่งมั่นในการพัฒนา ต่อยอดกลุ่มจักสานเชือกกล้วยของ กศน.ตำบลคู เต่า จนเปน็ ทย่ี อมรับและเห็นคุณค่าของผลติ ภัณฑ์เชือกกล้วย จึงมผี ้ขู อเขา้ ศกึ ษาดงู าน ดังน้ี 1. วันที่ 15 สิงหาคม 2562 กลุ่มกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และ องค์การบริหารส่วนตำบลท่า ชะมวงมาศึกษาดูงานการดำเนินงานของกลุ่มจกั สานผลิตภัณฑจ์ ากเชอื กกลว้ ยตำบลคเู ต่า 2. วนั ท่ี 21 ตลุ าคม 2563 นกั ศึกษาจากมหาวทิ ยาลัยทกั ษิณสงขลา มาดูงานกลมุ่ จกั สานผลิตภณั ฑ์ จากเชือกกลว้ ยบา้ นหวั ควาย เพื่อศึกษาเรียนรเู้ ก่ียวกับวธิ ดี ำเนินงานของกลมุ่ 8
3. วนั ท่ี 6 พฤศจิกายน 2563 กศน.ตำบลคูเต่า ภูมิใจท่ีไดต้ อ้ นรับท่านกมล รอดคลา้ ย ท่ีปรกึ ษา รฐั มนตรีช่วยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เยีย่ มกลมุ่ จักสานเชอื กกลว้ ย กศน.ตำบลคเู ตา่ 4. วนั ที่ 23 ธันวาคม 2563 กศน.ตำบลคเู ตา่ ร่วมต้อนรับ นายจารุวฒั น์ เกลย้ี งเกลา พร้อมดว้ ยเหล่า กาชาดจงั หวดั สงขลาในโอกาส เย่ยี มชม กลมุ่ จกั สานผลิตภณั ฑ์เชอื กกลว้ ย กศน.ตำบลคูเต่า ผลสำเรจ็ ของกศน.ตำบลทพ่ี ัฒนาต่อยอดอย่างไม่หยดุ ย้งั ส่งผลใหส้ งั คมยอมรบั คุณภาพและมาตฐาน สินคา้ ผลิตภัณฑ์จากเชอื กกลว้ ย ดงั นี้ 1. รัฐมนตรชี ว่ ยกระทรวงศึกษาธิการ ดร.กนกวรรณ วลิ าวัลย์ ใหค้ วามสนใจผลติ ภณั ฑจ์ ากเชือก กล้วย ซักถามพูดคุยกับภูมิปัญญาและครู กศน.ตำบลคูเต่า ในงานมหกรรมวิชาการ กศน. EXPO 2020 ณ ศูนยก์ ารคา้ เซ็นทรลั เฟสตวิ ลั หาดใหญ่ ในระหวา่ งวนั ท่ี 13-14 สงิ หาคม 2563 9
2. ครูกศน.ตำบลได้รับเชิญให้เข้าร่วมนำเสนอการพัฒนาหลักสูตรเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา “หลักสูตรการจักสานเชือกกล้วย” เพื่อการจัดทำรูปแบบและแนวทางการพัฒนา หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ในระหว่างวันที่ 2-3 กันยายน 2563 ณ สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั สงขลา 3. วนั ท่ี 4 มนี าคม 2564 กศน.ตำบลคูเต่าร่วมกับมหาวิทยาลัยทกั ษิณสงขลา ได้ทำการทดลองการใช้ หลกั สตู ร MOOC ในรายวชิ าการจกั สานเชอื กกล้วย โดยได้ทดลอง กบั นักศึกษา กศน.ตำบลคเู ตา่ จำนวน 14 คน เพ่อื นำผลการทดลองใชไ้ ปปรับและพัฒนาเพ่ิมเตมิ เพื่อให้หลกั สตู รมีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพครบถ้วนสมบูรณ์ ก่อนทีน่ ำไปเผยแพรใ่ หแ้ ก่ประชาชนทว่ั ไปไดเ้ รยี นรอู้ อนไลน์ผา่ นหลักสตู ร MOOC ซ่ึงเปน็ หลกั สูตรทท่ี าง สำนักงาน กศน.จงั หวัดสงขลา ได้ทำ MOU กบั มหาวิทยาลัยทักษิณสงขลา 10
5. ผลิตภัณฑ์จกั สานจากเชอื กกลว้ ย กศน.ตำบลคูเตา่ ไดร้ ับการยอมรบั และไดร้ ับการประกาศเปน็ สินค้า OTOP จากสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสงขลาเมื่อ พ.ศ.2563 มีการจัดจำหน่ายหลายช่องทางทั้งใน เพจ กศน.ตำบลคูเตา่ กล่มุ ไลน์ Facebook และที่ชัน้ 2 ห้างสรรพสินคา้ เซ็นทรลั เฟสติวัลหาดใหญ่ 11
5. กศน.ตำบลคูเต่า ไดร้ ับความอนุเคราะห์เคร่ืองอบเส้นเชือกกล้วย และผลิตภณั ฑจ์ ากเชือกกล้วยด้วย ระบบไฟฟ้า และแสงอาทิตย์ จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยรัตภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรวี ิชยั จดุ ประสงค์เพ่ือนำไปใช้ในการพฒั นา ยกระดับผลิตภณั ฑเ์ ชือกกล้วยคูเต่าให้มีคุณภาพ ลดข้ันตอน และระยะเวลาการผลิต มีความคงทน สวยงาม และทันสมัยมากยิ่งข้นึ 6. กศน.ตำบลคูเต่าได้รบั ความร่วมมอื ชว่ ยเหลอื จากหน่วยงานต้นสงั กัดท้ังในระดับอำเภอ ระดบั จังหวัด และหน่วยงานภาครัฐแลเอกชนจากภายนอกท่ใี หก้ ารส่งเสรมิ สนับสนุนในการจดั กจิ กรรม ตลอดจนภาคเี ครือข่าย และภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นในพน้ื ที่ตำบลคูเต่า ทำให้กศน.ตำบลคเู ต่าได้พัฒนางานทุกดา้ นท้ังด้านการจดั กิจกรรมการ เรยี นการสอน การศึกษาตอ่ เนอ่ื งและการศึกษาตามอัธยาศยั จนเป็นท่ียอมรับ เห็นคณุ ค่า นำมาสกู่ ารไดร้ บั มอบโล่ รางวัล ประกาศนยี บตั รจากหน่วยงานต้นสังกัดและหนว่ ยงานอน่ื ๆ ดังนี้ 12
แนวทางการพัฒนาสู่ความสำเร็จ กศน.ตำบลคูเต่า โดยครู ผู้เรียน คณะกรรมการ กศน.ตำบล อาสาสมัคร กศน.และประชาชนในพื้นที่ ตำบลคูเต่า มีส่วนร่วมในการกำหนดเปา้ ประสงค์ ภายใต้กรอบปรัชญา วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ อตั ลกั ษณ์ ของ กศน. ตำบล โดยมกี ลยุทธก์ ารดำเนินงานจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภายใต้โครงการ/กิจกรรม ที่สอดคล้องกับ ข้อมูลสภาพปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และข้อมูลผลการ ประเมินตนเองในรอบปีที่ผ่านมา ไปใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาในพื้นท่ีตำบลให้มีประสิทธิภาพโดยมีทิศทางการพฒั นา ดงั น้ี 1. ไมห่ ยดุ ยั้งการพัฒนา ผทู้ ีจ่ ะประสบความสำเรจ็ ในหน้าทีก่ ารงานได้จะต้องเป็นคนที่มหี วั ใจของการพัฒนาอยู่เสมอ ไม่วา่ จะเป็น เรื่องบุคลิกลักษณะ พฤติกรรม หรือแม้แต่วิธีการทำงาน โดยต้องเป็นผู้ที่มีการสำรวจและประเมินความสามารถ ของตนเองอยู่ตลอดเวลา คอยตรวจสอบว่าเรามีจุดแข็งและ จุดบกพร่องในด้านใดบ้างและพยายามที่จะหาทางพัฒนาจุดแข็ง และปรบั ปรงุ จุดบกพร่องของตนใหด้ ีขึ้น นอกจากนีย้ ังต้องเป็นคน ที่ไม่ยึดติดกับวิธีการหรือขั้นตอนการทำงานแบบเดิม ๆ โดยควร จะหาเทคนิคและแนวทางใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาการทำงานของ ตนเองให้ดขี ้ึนและมีประสิทธิภาพมากข้ึนอยู่เสมอ 2. คดิ แต่ทางบวก ความคิดทางบวกจะเป็นสิ่งที่ช่วยทำให้คุณมองโลกในแง่ดี มีกำลังใจและพลังที่จะทำงานต่าง ๆ ที่ได้รับ มอบหมายให้ประสบผลสำเร็จ คนที่มีความคิดทางบวกจะเป็นคนที่สนุกและมีความสุขกับงานที่ทำ แสวงหา โอกาสที่จะช่วยเหลือและสนับสนุนผู้อื่นอยู่เสมอ…สำหรับผู้ที่มีความคิดในด้านลบอยู่ตลอดเวลา จะเป็นผู้ท่ี หมกมุ่นอยู่แต่กับปัญหา ชอบโทษตัวเองและคนรอบข้างอยู่เสมอ ขาดความคิดที่จะพัฒนาตนเองและงานที่ทำ… ในทส่ี ดุ ผลงานทไี่ ดร้ บั ยอ่ มขาดประสทิ ธิภาพ 3. มุ่งเน้นความอดทน ความอดทนเป็นพลังของความสำเร็จ…อดทนต่อคำพูด อดทนต่อ พฤติกรรมการดูหมิ่นหรือคำสบประมาท อดทนต่อความเครียดในการทำงาน ขอเพยี งแตใ่ ห้คุณมีความอดทนและอดกล้นั เข้าไว้ แลว้ คุณจะสามารถเผชิญกับ ปญั หาตา่ ง ๆ ไดส้ ำเร็จ 13
4. ความมีนำ้ ใจให้กับทุกๆ คน ชว่ ยเหลือ อยา่ งจรงิ ใจ ด้วยคำพดู หรอื จากความคดิ เห็นต่างๆ ทีพ่ ยายามถ่ายทอดความรู้มาให้เป็นการ แสดงให้เห็นไดเ้ ป็นอยา่ งดี มีน้ำใจดีงามตอ่ ผูอ้ ื่นและผู้ใต้บังคับบัญชา ตัดเรื่องความขึ้งโกรธออกไปจากความรู้สกึ นึกคดิ ของตวั เอง โดยนกึ ถงึ ผอู้ ่ืนอยู่เสมอ 5. การทำงานทท่ี ุม่ เท ให้ความคิดเห็น และช่วยเหลืออย่างเต็มที่ และ แนะนำในทุกๆด้านทุ่มเทให้กับงานจริงๆมีความคิดไม่ หยุดนิ่ง ทุกๆ คนในองค์กรควรเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันในการทำงาน คือให้คิดอยู่เสมอว่า เวลาทำงานไปแล้ว องค์กรจะได้อะไร ดงั นัน้ การทำงานจึงตอ้ งมีการพัฒนาใหด้ ยี ่ิงๆ ข้นึ ไป 6. มนุษยสัมพันธ์ ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่เพื่อน ๆ ที่ทำงานไม่ชอบ ไม่อยากคุยด้วย หรือ เข้ากับเพื่อนในที่ทำงานไม่ได้เลย คงต้องถึงเวลาพิจารณาและ ปรบั ปรุง ทักษะด้าน สัมพันธ์กนั เร่งดว่ นแล้วละคะ อย่ามัวแต่หลอกตัวเองว่า เราดีแล้ว เป็นไปไม่ได้หรอกเพราะถ้าเราดีจริงแล้วเราจะไม่มีเพื่อนเอาเลย หรือคะ มนษุ ยสัมพนั ธ์เป็นเรือ่ งทสี่ ำคัญมาก คณุ ไมม่ ที างประสบความสำเร็จได้ ถ้ามนุษยส์ มั พันธ์คณุ แย่มาก ๆ ต่อใหค้ ณุ เกง่ แคไ่ หนก็ตาม มนษุ ย์เป็น สตั วส์ ังคมและแน่นอนคุณเล่ยี งไม่พ้นท่จี ะตอ้ งตดิ ต่อกับคนอื่น 7. ทมี ทำงานเปน็ ทมี ไดห้ รือเปล่า เคยสงั เกตตวั เองไหมคะว่า คณุ ทำงานเป็น ทีมได้ดีแค่ไหน หรือว่าต้องทำงานคนเดียวถึงจะดี? ในอนาคตการทำงานจะ เน้นบุคคลที่ทำงานเป็นทีมได้ดีมากกว่าคนที่ชอบทำงานคนเดียว คุณทราบ หรือไม่ว่า ต่อไปโลกเราก็จะแคบลงเพราะการพัฒนาในด้านต่าง ๆ มีมากขึ้น การทำงานกต็ อ้ งเป็นทีมมากยิ่งขึ้น เพราะฉะนนั้ ผ้มู ีทักษะในการทำงานเป็นทีม และ เป็นผู้รว่ มทมี ทด่ี ีจะเป็นขอ้ จำเปน็ ในการทำงานทุกท่ี 8. ข้อตกลงในการทำงานระหวา่ งคณุ กนั คนอ่ืน ๆ นกึ ไวเ้ สมอเลยนะคะวา่ อะไรที่คณุ รับปากกับใครก็แล้วแต่ คุณตอ้ งรับ ผดิ ชอบและทำให้ได้ตามที่รับปาก ถา้ ไมไ่ ด้หรอื ว่าล่าช้ากว่าทีเ่ รารบั ปาก คุณต้องแจง้ ล่วงหนา้ ให้แกบ่ ุคคลที่คุณรับปากอยา่ งน้อยสองหรือสามวัน อัน นี้เป็นมารยาทในการทำงานทีด่ ี เพราะฉะนั้นกอ่ นทีค่ ุณจะรับปากใครในเรื่องของการทำงาน คิดให้รอบคอบก่อน นะคะ 9. เป้าหมาย เป้าหมาย และ เป้าหมาย เป็นสิ่งสำคัญ สำหรับการ ทำงาน ถา้ คุณทำงานแบบมีเป้าหมายวา่ งานแต่ละอยา่ งที่อยู่ใน ความรบั ผิดชอบของคุณมแี ผนการเสรจ็ เมื่อไหร่ คุณมีเป้าหมาย ในการทำงานอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ หรือ ท่ีตั้งเป้า ถึง คุณจะทำไม่ได้จริง แต่คุณต้องพยายามเต็มที่แล้วนะ รับรองได้ 14
ว่า หัวหน้าคุณคงมองคุณแบบไม่ธรรมดา และจะเป็นโอกาสที่ดีของคุณในการทำตวั ให้น่าเชื่อถือ แต่ระวังอย่าใช้ เป้าหมายมาพูดและทำไม่เคยได้เลย เพราะจะกลายเป็นการคุยอวดมากกวา่ 10. สรา้ งสรรค์ หัวใจของความสำเร็จทางการทำงาน คอื ความคดิ สร้างสรรค์ อย่าพยายามเป็นคน ใครวา่ อะไร ฉันก็เห็น ด้วยไปเสียทุกอย่าง คุณไม่จำเป็นต้องเถียง หรือ โต้แย้ง ถ้าคุณยังไม่มีข้อมูล หรือ ยังไม่กล้าพูด แต่ คุณต้อง พยายามฝึกสมองของคุณให้คิดในแบบของคุณอยู่เสมอ ทุกการทำงานของคุณ คุณต้องพยายามคิดว่า คุณจะทำ อะไรเพิ่มเติมให้งานที่ทำอยู่ปัจจุบัน ดีข้ึน สะดวกขึ้นกว่าเดิมได้ไหม หลักของการเป็นคนมี ความคิดสร้างสรรค์ง่ายๆ ก็คือ กล้าคิด คิดให้ บ่อย คิดให้มาก และคุณก็จะเป็นคนคิด สรา้ งสรรค์ 15
ส่วนท่ี 3 บทสรุปวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลศิ จากการดำเนินงานการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาอาชีพให้กับ ประชาชนในตำบลคเู ต่า ได้มีการรวมกลุ่มเพือ่ สืบทอดภูมิปัญญาด้านการจักสานเชือกกล้วย จึงได้รับการยอมรับ จากกลุ่มและประชาชนในตำบลคูเต่า รวมถึงหน่วยงานทั้งทางภาครัฐและเอกชน และกลุ่มเครือข่ายที่สนใจใน ด้านการจกั สานเชือกกล้วย โดยมีหนว่ ยงานต่าง ๆ ทข่ี อเข้ามาศึกษาดงู านจากกลุ่มจักสานเชือกกลว้ ย จึงเป็นผล ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้จากขั้นตอนต่าง ๆ ในการดำเนินงานของ “กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วย ตำบลคเู ตา่ ” โดยเนน้ กระบวนการ P – D – C – A P : Plan = วางแผน D : Do = ปฏบิ ตั ติ ามแผน C : Check = ตรวจสอบ / ประเมนิ ผลและนำผลประเมินมาวิเคราะห์ A : Action = ปรับปรงุ แก้ไขดำเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมนิ การนำกระบวนการ PDCA ไปประยุกตใ์ ช้ในการทำแผนเพอื่ ใหส้ อดคล้องกับเปา้ หมายในการประกนั คุณภาพของคณะ Plan (วางแผน) หมายถงึ การวางแผนการดำเนนิ งานอยา่ งรอบคอบ ครอบคลุมถงึ การกำหนดหัวข้อที่ต้องการปรับปรุง เปลย่ี นแปลง ซึง่ รวมถึงการพัฒนาสิง่ ใหม่ๆ การแกป้ ญั หาที่เกดิ ขนึ้ จากการปฏบิ ตั ิงาน อาจประกอบด้วย การ กำหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดำเนนิ งาน Plan การจดั อนั ดบั ความสำคัญของ เปา้ หมาย กำหนดการดำเนินงาน กำหนดระยะเวลาการดำเนนิ งาน กำหนดผรู้ ับผดิ ชอบหรือผู้ดำเนินการและกำหนด งบประมาณทีจ่ ะใช้ การเขียนแผนดังกลา่ วอาจปรบั เปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของลกั ษณะ การดำเนินงาน การวางแผนยังช่วยใหเ้ ราสามารถคาดการณ์สิ่งท่ีเกิดขึน้ ในอนาคต และชว่ ยลดความสูญเสียตา่ งๆท่ีอาจเกดิ ขนึ้ ได้ ฉะนัน้ P เราจะต้องมแี ผน โดยมีการร่วมกันประชมุ จดั ทำแผน สำรวจความตอ้ งการของชุมชน Do (ปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การดำเนนิ การตามแผน อาจประกอบดว้ ย การมีโครงการรองรบั การดำเนนิ การ มกี ลมุ่ หรือ คณะทำงาน ซงึ่ คณะเราก็มกี ารจดั ตั้งกลุม่ เพอ่ื ดำเนินงานตามแผนทไ่ี ด้วางไว้ หรอื ตามแบบเสนอขอจัดต้ังกลุ่ม หลักสตู รพฒั นาอาชีพ ของทาง กศน.ทไ่ี ด้เสนอจดั ไปและจะต้องมวี ิธีการ ดำเนินการ 1. มกี ารกำหนดขน้ั ตอนหรอื วิธกี ารดำเนนิ การหรือไม่ 2. มผี รู้ บั ผดิ ชอบดำเนินการไดต้ ามกำหนดไว้หรอื ไม่ 3. มกี ารประสานงานกับผู้ท่เี กย่ี วข้องมากน้อยเพยี งไร 4. สามารถดำเนนิ การตามระยะเวลาท่ีกำหนดไดห้ รอื ไม่ 5. สามารถดำเนินการได้ตามงบประมาณที่กำหนดไว้หรอื ไม่ 16
Check (ตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน) หมายถึง การประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมนิ โครงสร้างทีร่ องรบั การดำเนนิ การ การ ประเมนิ ขั้นตอนการดำเนนิ งาน และการประเมินผลของ การดำเนนิ งานตามแผนทไี่ ดต้ ้ังไว้ โดยในการประเมนิ ดงั กล่าวสามารถ ทำได้เอง โดยคณะกรรมการท่รี บั ผดิ ชอบแผนการดำเนินงานนั้น ๆ ซ่ึงเป็นลกั ษณะของการ ประเมนิ ตนเอง โดยไม่จำเปน็ ตอ้ งตั้งคณะกรรมการ อีกชดุ มาประเมนิ แผน หรือไม่จำเป็นตอ้ งคดิ เครอ่ื งมือหรอื แบบประเมิน ทย่ี ่งุ ยากซบั ซ้อน 1. ได้มกี ารกำหนดวธิ /ี รูปแบบการประเมินหรือไม่ 2. มีรปู แบบของการประเมินเหมาะสมหรือไม่ 3. ผลของการประเมินตรงกับวตั ถปุ ระสงค์ที่วางไว้หรอื ไม่ 4. ปญั หา/จุดอ่อนท่ีพบในการดำเนนิ การมีหรอื ไม่ 5. ข้อด/ี จุดแข็ง ของการดำเนินการมีหรือไม่ Act (ปรับปรุงแกไ้ ข) 17
กลมุ่ ไดม้ กี ารพฒั นา ปรับปรงุ โดยการบริการ ประชาสัมพันธ์กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วย ผ่านทาง เวปเพจผลิตภัณฑ์จาก เชือกกล้วยบ้านหัวควายตำบลคูเต่า กศน.คูเต่าและผ่าน Facebook ของประธานกลุ่ม นางรัตนา ยางทอง และ การประชาสัมพันธ์ผ่านเฟสบุ๊คของครู กศน.ตำบล ช่ือเฟสบุ๊ค สุรภา ชินสกุลเจริญ และผ่านทางเพจผลิตภัณฑ์ จากเชอื กกลว้ ยตำบลคเู ตา่ กศน.ตำบลคูเต่า รวมถงึ ไดม้ กี ารนำสนิ ค้าออกบ๊ทู เพื่อโชวแ์ ละจำหนา่ ยสินคา้ มกี ารจัดจำหน่ายผา่ นเพจผลติ ภัณฑ์จักสานเชอื กกลว้ ยตำบลคูเตา่ Ling : เพจ http://1ab.in/8Ct QR Cold : มกี ารจดั ทำปา้ ยสำหรับหอ้ ยผลติ ภัณฑบ์ อกวธิ กี ารดแู ลรักษา 18
บทสรุป การส่งเสรมิ สนับสนนุ “กลุม่ การจักสานผลติ ภณั ฑจ์ ากเชอื กกลว้ ย”มุง่ สคู่ วามเปน็ เลศิ การส่งเสรมิ สนับสนุน “กลุม่ การจกั สานผลติ ภัณฑจ์ ากเชือกกล้วย” มุง่ สูค่ วามเปน็ เลศิ Best Practice เป็นวิธีการปฏิบัติงานทีด่ ี ไมวาจะนำไป ปฏิบัติที่ไหน อยางไร ซึ่งผลงานที่ปฏบิ ัตนิ ้นั ได นําไปสูผลสําเร็จ หนวยงานจำเป็นตองมีการ แลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานที่ดีกับหนวยงานยอย และมีการ แลกเปลี่ยนระหว่างหน่วยงานตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ผลสุดท้าย คือ การนํา Best Practice นั้นไปใช จนเปนมาตรฐาน สรปุ Best Practice เปนวิธีการทํางานที่ดีที่สุดในแตละเร่ือง ซึ่งสามารถเกิดขึ้นไดในทุก หน่วยงานจากหลายชองทาง ทั้งตัว ผู้นำและผูรวมงาน ผูมสี วนไดสวนเสีย หรอื ภาวะปญหา และการ รเิ ริ่มสรางสรรคพัฒนาที่มีข้ันตอน เม่ือมีวิธีการ ทํางานที่ดีตองทําผ่านการเล่าเรื่องที่เป็นการทำงานของตนเองมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในลักษณะของการ แลกเปลีย่ นขามสายงาน ขามหนวยงานโดย เกิดข้ึนในระดับบุคคล ระดับกลุมคน และระดบั หน่วยงานย่อย Best Practice ทีไ่ ดควรมีการบันทกึ เขยี นรายงานเพอื่ การศึกษาพัฒนาและเผยแพรไดซ่ึงจะเกิดประโยชนอ์ ยา่ งย่ิง การส่งเสริม สนับสนุน ให้กับกลุ่ม โดยทาง กศน.ตำบลคูเตา่ ได้ดำเนินการต่อยอดความรู้ให้แก่กลุ่มเรือ่ ย ๆ จนทางกลุ่มพัฒนาฝีมือให้ดียิ่งขึน้ เมื่อผ่านประสบการณต์ ่าง ๆ ทางด้านการรับงานจนเป็นที่ยอมรับของคนใน ชุมชน และกลุ่มหน่วยงานตา่ ง ๆ ทาง กศน.ตำบลคูเต่า ได้สนับสนุน ส่งเสริมด้านการตลาด โดยการฝึกอบรมให้ ความรู้ด้านดิจิทัลชุมชน โดยการฝึกทำเวปเพจของกลุ่ม และได้มีการสอนประชาสัมพันธ์สินค้า ผ่าน Facebook และ ไลน์ จึงทำให้เป็นที่รู้จักของลูกค้า มีการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางเฟส ทางไลน์ และจากการเห็นการโพสขาย สนิ ค้าบน Facebook 19
การส่งเสรมิ ใหค้ วามรู้และขยายผลด้วยการเป็นวทิ ยากร การขยายผลและใหค้ วามรู้ดว้ ยการเป็นวทิ ยากร “การจกั สานผลติ ภณั ฑจ์ ากเชอื กกลว้ ย” 20
การออกบแสดงผลงานกลุ่มเชอื กกลว้ ย 21
การพัฒนาผลติ ภัณฑ์ การพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ ก็เพื่อที่จะ “ ขายสินค้าใหม่ในตลาดเดิม ” ด้วนการนำสินค้าหรือ ผลติ ภณั ฑท์ ่ที ำตลาดอย่มู าเป็นเวลานานแล้ว มาปรับปรงุ พัฒนาเสยี ใหม่ ด้วยแนวทางดงั นี้ ผลติ ภัณฑจ์ ักสานเชอื กกลว้ ย ปี พ.ศ.2558 - พ.ศ.2559 22
ผลติ ภณั ฑจ์ กั สานเชอื กกล้วย ปี พ.ศ.2560 23
ผลติ ภัณฑ์จักสานเชือกกล้วย ปี พ.ศ.2561 - 2562 24
ผลติ ภัณฑ์จักสานเชือกกล้วย ปี พ.ศ.2563 - 2564 25
การเผยแพรค่ วามสำเร็จของกล่มุ กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วย ได้เป็นกลุ่มที่มีกลุ่มอาชีพจากจังหวัดภูเก็ตมาศึกษาดูงาน กระบวนการดำเนินงานและกระบวนการจกั สานผลติ ภัณฑจ์ ากเชอื กกล้วย ซ่งึ ได้เผยแพรข่ ัน้ ตอนการต่าง ๆ 1. การไดม้ าซง่ึ เชอื กกล้วย การทำเชอื กกลว้ ย กระบวนการตัดต้นกลว้ ย การกรดี เส้นกล้วย 2. การตากเสน้ เชือกกลว้ ย 26
3. การอบเส้นเชือกกล้วย การอบเชือกกล้วยด้วยกำมถันจะใชก้ ารอบด้วยเตาถา่ น ใส่ถ่านที่ร้อนวางใน ภาชนะที่รองรับถ่านไฟได้ดี แล้วใส่กำมถันลงไปในถ่านที่ร้อนพอประมาณ โดยจะวางเชือกกล้วยที่อบไว้รอบ ๆ โอ่ง และใชฝ้ าปดิ ทิ้งไว้สักระยะแลว้ นำข้นึ มาตากในท่รี ม่ ให้คลายความร้อน 4. การรีดเส้นเชือกกล้วย เพื่อจะนำมาจักสานผลิตภัณฑ์ จะใช้วิธีการรีดด้วยเครื่องรีด หรือใช้ไม้ไผ่ ชว่ ยในการรดี ก็ได้ข้นึ อยกู่ บั ความถนดั และการจะทำสนิ คา้ ประเภทไหน 5. การจกั สานผลิตภณั ฑจ์ ากเชือกกลว้ ย 27
การเผยแพรค่ วามสำเรจ็ ของกลุ่ม กลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วย ดำเนินการโดย กศน.ตำบลคูเต่าดำเนินการส่งเสริม ขยายผล ต่อยอด เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ รายได้ และสร้างอาชีพท่มี ่นั คงให้กับกลุ่มและคนในชมุ ชน จากการดำเนนิ การทางกลุ่ม ไดข้ อจัดตัง้ กลมุ่ เป็นวิสาหกิจชมุ ชน และดำเนนิ การประกวดสนิ คา้ OTOP เมอื่ วันท่ี 1 เดอื นมีนาคม พ.ศ.2564 และได้เข้าร่วมโครงการของ KBO เพื่อพัฒนากลุ่มให้สู่สินค้าที่มีคุณภาพ และทางหน่วยงาน OTOP ได้มีการลง พื้นที่ KBO การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการติดตามผลผู้ประกอบการ OTOP ประเภทของใช้ท่ีกลุ่มอาชีพจักสาน ผลติ ภณั ฑ์จากเชือกกลว้ ย 28
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280