Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมเข้าเล่ม (1)

นวัตกรรมเข้าเล่ม (1)

Published by Jakkapong Amatsombat, 2021-06-12 06:45:22

Description: นวัตกรรมเข้าเล่ม (1)

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ จะพบว่าการศึกษาในปจั จบุ นั ให้ความสาคัญกับการพัฒนาผูเ้ รยี น โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญมากขึ้น มุ่งหวังให้ ผู้เรียนมีพัฒนาการแบบองค์รวม กล่าวคือ ให้เป็นคนดี คนเก่ง คนมีความสุข อีกท้ังสภาพสังคมท่ีมีความเป็น สากลและสลบั ซับซ้อนมากข้ึน ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ฉับพลัน จงึ มเี หตกุ ารณ์ทเี่ ป็นปญั หาเข้ามาเกย่ี วข้องกบั ผเู้ รียนของเราอย่างมากมาย การดาเนินงานแกไ้ ขปัญหาผู้ใชย้ าเสพติด ตาม พ.ร.บ.ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ด้วยหลักการ “ผู้เสพคือผู้ป่วยมิใช่อาชญากร” ต้องได้รับการบาบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางร่างกาย และจิตใจ ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ ด้วยระบบท่ีเหมาะสมมีคุณภาพและได้มาตรฐาน ด้วยกระบวนการท่ี ถูกต้องอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรมสูงสุด ผู้ผ่านการบาบัดแล้วไม่กลับมาเสพซ้า สามารถดาเนนิ ชวี ิตอยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างปกติสุข ดงั น้นั โรงเรยี นศรีกระนวนวิทยาคม จึงไดจ้ ัดตง้ั คลนิ ิกบาบัดยาเสพติดข้ึนในชื่อ คลินิกเสมารักษ์ ซึ่งมี ภารกิจหลักด้านการให้คาปรึกษา และบาบัดรักษานักเรียนที่ใช้สารเสพติด โดยในกิจกรรมการบาบัดน้ันเน้น การทากลุ่มบาบัด รวมท้ังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มผู้รับการบาบัดเอง ด้วยการจัดกิจกรรมจิตสังคม บาบัดข้ึนในโรงเรียน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ซึ่งจะต้อง ไม่ปกปดิ ข้อมูล และไมไ่ ลอ่ อก โรงเรียนศรกี ระนวนวทิ ยาคมเหน็ ถึงความสาคัญของหลักการและกระบวนการของการขับเคลื่อนการ ดาเนนิ งานคลินิกเสมารักษ์ ซึ่งให้บริการ และบาบดั นักเรยี นทใ่ี ช้ยาเสพติดตามมาตรการด้านการรักษา อันจะ เป็นประโยชนใ์ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของนกั เรียนและคนื คนดสี สู่ งั คม ขอขอบคุณบุคคล ภาคีเครือข่ายและหน่วยงาน ที่มีส่วนร่วมในการดาเนินงานคลินิกเสมารักษ์ให้ สาเรจ็ ลลุ ่วง ขอขอบพระคณุ ไว้ ณ โอกาสนี้ กลมุ่ บริหารกจิ การนักเรยี น โรงเรยี นศรีกระนวนวทิ ยาคม

สำรบัญ หน้ำ คานา ๑ สารบัญ ๒ ๖ ๑. ความสาคญั และความเป็นมา ๑๑ ๒. วตั ถุประสงค์ ๑๔ ๓. กระบวนการผลิตผลงานหรอื ขั้นตอนการดาเนนิ งาน (วิธปี ฏิบัตงิ านท่ีเป็นเลิศ) ๑๕ ๔. ผลการดาเนินงาน ผลสมั ฤทธิ์และประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั ๒๐ ๕. ปัจจัยความสาเร็จ ๒๒ ๖. บทเรยี นท่ีไดร้ ับ ๒๓ ๗. การเผยแพร่ และการได้รับการยอมรับ คณะผู้จัดทา ภาคผนวก

๑ วธิ ปี ฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) ชอ่ื ผลงำน “ศรี...เสมารกั ษ์” คืนคนดีสูส่ งั คมดว้ ย SKW Model ผู้จัดทำ โรงเรยี นศรีกระนวนวทิ ยาคม อาเภอกระนวน จังหวดั ขอนแกน่ ” คำสำคญั คลนิ กิ เสมารักษ์,การใหค้ าปรกึ ษา,คัดกรอง,การบาบัดแบบสมคั รใจ,จิตสังคมบาบดั แบบผปู้ ว่ ยนอก ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ (The Matrix Intensive Outpatient Programme) สรุปผลงำนโดยย่อ เป็นการดาเนินงานคลินิกเสมารักษ์ในโรงเรียนโดยความร่วมมือของโรงเรียน ศูนย์คัด กรองผเู้ สพยาเสพติด และศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (คลินิกฟ้าสวย) โดยมีกิจกรรมหลักคือการให้คาปรึกษา และบาบดั ผู้ใช้สารเสพติดทีต่ รวจพบและสมัครใจตามมาตรฐาน สง่ ผลใหน้ กั เรยี นท่ใี ชย้ าเสพตดิ เลิกเสพยาและ ไมห่ ันกลบั ไปเสพอีก สามารถคืนคนดีส่สู ังคม ๑.ควำมสำคัญและควำมเป็นมำ สานักงาน ป.ป.ส. ในฐานะหน่วยงานกลางในการกาหนดยุทธศาสตร์และแผนการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดพ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ ขึ้นโดยได้ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทา แผนหลายครั้ง เพ่ือศึกษาวิเคราะห์นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เก่ียวข้องวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ ภัยคุกคาม เพ่ือกาหนดแนวคิดทิศทาง วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์เป้าหมายยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการงบประมาณ กลไกการดาเนินงาน และตัวช้ีวัดพร้อมทั้งยกร่างแผนยุทธศาสตร์ ด้วยแนวคิดหลักของ แผนยุทธศาสตร์คือ ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และก่อให้เกิด ผลกระทบในทางที่ดีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนแก้ปัญหาในเชิงพ้ืนที่โดยกาหนดเป้าหมายและ แนวทางการดาเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่เก่ียวข้อง ในการร่วมคิด ตัดสินใจ ดาเนนิ การ และประเมินผลแก้ปัญหาแบบองคร์ วมอยา่ งเป็นระบบครบวงจร สร้างความสมดุลของยุทธศาสตร์ ท้ังด้านการลดอุปสงค์และอุปาทานยาเสพติดการและเน้นผลสัมฤทธ์ิเชิงคุณภาพโดยกาหนดมาตรฐานและ ตัวช้ีวดั ผลการดาเนินงานอยา่ งชดั เจนเปน็ รปู ธรรมโดยมีวิสยั ทัศนว์ า่ “สงั คมไทยเข้มแข็งรอดพ้นจากภัยยาเสพ ติดด้วยภูมิคุ้มกัน และมาตรการลด ผู้เสพ ผู้ค้า และความร่วมมือระหว่างประเทศด้านยาเสพติด ให้บรรลุผล ตามพันธกรณี และวสิ ยั ทศั นอ์ าเซยี นภายในปี ๒๕๖๒” แผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ ประกอบด้วย ๘ ยุทธศาสตร์หลกั คือ ๑. ยทุ ธศาสตร์การป้องกันกลุม่ ผมู้ ีโอกาสเขา้ ไปเก่ียวข้องกับยาเสพติด ๒. ยุทธศาสตร์การ ควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด ๓. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาผู้เสพยาเสพติด ๔. ยุทธศาสตร์ความร่วมมือ ระหวา่ งประเทศ ๕.ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งและพัฒนาระบบรองรับการคืนคนดีให้สังคม ๖.ยุทธศาสตร์การสร้าง สภาพแวดล้อมเพ่ือป้องกันปัญหายาเสพติด ๗. ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมภาคประชาชน ๘. ยุทธศาสตร์การ

๒ บริหารจัดการอย่างบูรณาการ รวมท้ังได้กาหนดกลไกในการควบคุม กากับ และขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ ไปสู่แผนปฏิบัติการ เมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๘ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ ให้นามาใช้เป็นกรอบทิศทางการดาเนินงาน เป็นเคร่ืองมือ ในการบริหารจัดการประสาน การปฏิบัติ จัดสรรทรัพยากร และติดตามประเมินผลของทุกหน่วยงาน ท่ี เก่ียวข้องและใหส้ านักงาน ป.ป.ส. ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดประจาปี ให้สอดคล้องรองรับกับแผนยุทธศาสตร์ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เป็นต้นไป (สานัก ยทุ ธศาสตร์,๒๕๖๐) จากการที่สังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และจากสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่รุมเร้าสังคมทุกวัน มี ส่วนผลกั ดันให้เกดิ การใช้ยาเสพติด เพื่อแสวงหาความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ (Mood altering) ตามมา ใน สภาวะท่ีสังคมกดดันบีบค้ันมาก ๆ ทาให้เยาวชนเกิดความยากลาบากในการประคองตัวเองให้อยู่รอดต้อง พยายามด้ินรน แสวงหาแนวทางในการแก้ปัญหาชีวิตแบบเฉพาะหน้า การใช้ยาเสพติด เพ่ือการประกอบ อาชีพบางประเภท เสริมสร้างความสนุกสนานความบันเทิง ความตื่นเต้น ความรู้สึกทางเพศ ดังนั้นปัญหายา เสพตดิ จึงทาให้ปัญหาต่าง ๆ ที่สังคมต้องเผชิญอยู่มีความยุ่งยากซับซ้อนเพิ่มขึ้นอย่างเช่น กลุ่มผู้ติดยาเสพติด จะพยายามทกุ วถิ ที างเพ่ือให้ได้ยาเสพติดมาเสพ จึงก่ออาชญากรรม เพื่อหาเงินมาซ้ือยาเสพติด ผู้ที่ติดยาเสพ ตดิ มโี อกาสอารมณแ์ ปรปรวนกลายเป็นโรคจติ โรคประสาท ซ่ึงสะท้อนภาพปัญหาความเดือดร้อนให้แก่สังคม และอาชญากรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับยาเสพติดให้เห็นอยู่อย่างต่อเนื่องส่งผลต่อความรู้สึกและความ ไมม่ ่นั คงปลอดภัยในการดารงชวี ิตประจาวนั ยาเสพตดิ เป็นปญั หาสาคญั ระดับชาติท่ีรัฐบาลถือเป็นนโยบายท่ีต้องเร่งดาเนินการแก้ไข อย่างจริงจัง ท้ังน้ีเพราะปัญหายาเสพติดมีการแพร่ระบาดในทุกพ้ืนท่ีของประเทศไทย ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดล้อมรวมท้ังการเมืองและความมั่นคง ของชาติ รัฐบาลจงึ ได้กาหนดใหป้ ญั หายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” และมอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการสร้างภมู คิ ้มุ กนั และป้องกันยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา การกาหนดมาตรการป้องกันเด็กและเยาวชนที่ มีความเสี่ยงไม่ให้เข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติด เรียนรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด รู้จักปฏิเสธ หลีกเลี่ยง ยาเสพติดและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เพื่อหลีกเล่ียงการหมกมุ่นมั่วสุมกับยาเสพติดและอบายมุข ตลอดจนดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ที่ไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด จึงได้กาหนดนโยบายให้สถานศึกษา เป็นหน่ึงองค์กรหลักในการดาเนินการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทั้งทางด้านการส่ือสารเทคโนโลยีต่างๆซ่ึงนอกจาก จะส่งผลกระทบกับผู้คนท้ังใน เชิงบวกและในเชิงลบ ก่อให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหารูปแบบ ต่างๆ อันนามาซึ่งปัญหาครอบครัวที่ทาให้เกิดความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด มีการปรับตัวที่ไม่ เหมาะสม หรอื อ่นื ๆ การพฒั นานกั เรียน ให้มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในศตวรรษที่ ๒๑

๓ จากข้อมูลการค้าและแพร่ระบาดของยาเสพติดในจังหวัดขอนแก่นปัจจุบันพบว่ายังมีการลักลอบ นาเข้าจากแหล่งพักยาเสพติดในประเทศเพ่ือนบ้าน (สปป.ลาว) ผ่านมาทางพื้นที่ชายแดน และพักไว้ตาม หมู่บา้ นแนวชายแดน แล้วลักลอบนาเข้ามาในเขตพื้นที่อาเภอเมืองและอาเภอขนาดใหญ่ ได้แก่ ยาบ้า กัญชา สารระเหย และไอซ์ โดยฉพาะอย่างยิ่งอาเภอกระนวน พบการแพร่ระบาดในพื้นที่มากเป็นลาดับท่ี ๒ ผู้เสพ รายใหม่ (มีการใช้ยาเสพตดิ ระยะเวลาไม่เกนิ ๑ ปี) มีอัตราสูงเฉล่ียร้อยละ ๑๐.๓๖ กลุ่มเยาวชนอายุ ๑๕-๒๔ ปี ถือเป็นกลุ่มหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งพบทั้งท่ีอยู่ในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษาโดยกลุ่มนักเรียน ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับประถมศึกษาเป็นสองกลุ่ม ที่มีโอกาสเข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติด มากกว่าคนกลุ่มอ่ืน ซ่ึงน่าเป็นห่วงอย่างมากสาเหตุอาจเป็นเพราะถูกเพ่ือนชักจูงให้ลองเสพอยากรู้อยากลอง ถูกล่อลวง และสาเหตุอีกประการหน่ึงซ่ึงเป็นสาเหตุที่สาคัญของการเสพอบายมุขคือปัญหาครอบครัวโดย พบวา่ ร้อยละ ๘๕ ของเยาวชนที่ติดยาเสพตดิ ของเยาวชนไทยมาจากปัญหาของครอบครัวคือ การขาดความ อบอุ่นในครอบครัวปัญหาพ่อแม่ไม่ได้อยู่ด้วยกันขาดความสนใจเด็ก ซึ่งขาดความรู้ ขาดความย้ังคิด และขาด ภมู ิคุ้มกันเลยหนั ไปหายาเสพติดเพ่อื แกไ้ ขปญั หาต่าง ๆหรอื เป็นเป้าล่อให้กับผู้ไม่ปรารถนาดีซึ่งเป็นภัยร้ายแรง ตอ่ สุขภาพกายและสุขภาพจติ ปัญหาของยาเสพติดในพ้ืนท่ีอาเภอกระนวน ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงทางสังคมท่ีกาลังมีแนวโน้มรุนแรง เพมิ่ ขึน้ ซง่ึ พบจากผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา มีการจับกุมผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในพื้นท่ีอาเภอกระนวนเพิ่ม มากขึ้น และจากผลการจัดทาประชาคมชมุ ชน Re x-ray ของชดุ ปฏิบตั กิ ารระดับตาบล ศูนย์ปฏิบัติการพลัง แผ่นดินเอาชนะยาเสพติดอาเภอกระนวน เพื่อค้นหาผู้เก่ียวข้องกับยาเสพติด ในพ้ืนที่ 9 ตาบล จานวน 98 หมู่บ้าน 12 ชุมชน ระหว่างปี 2556-2560 ของประชาชนในพ้ืนท่ีอาเภอกระนวน ได้พบว่ามี บัญชีรายชื่อผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ได้แก่ ผู้ค้า ผู้เสพ/ผู้ติด และกลุ่มเสี่ยง จานวน 1,654 ราย และได้ นาเข้าสู่กระบวนการบาบัดระบบสมัครใจ ซึ่งพบว่าผู้เข้ารับการบาบัดรักษาส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้เสพรายใหม่ และยังพบว่ามีผู้ค้ารายย่อยในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งกลุ่มผู้ค้าดังกล่าว เป็นผู้ค้าแบบสมัครใจ คือ “ค้าเพื่อ เสพ” และเม่อื แยกตามกลุ่มอายุพบว่าส่วนใหญ่จะเป็นเยาวชน อายุระหว่าง 14-25 ปีโดยส่วนหนึ่งเป็น นักเรียนในระบบโรงเรียนโดยเฉพาะในโรงเรียนมัธยมศึกษา และยังพบว่ามีแนวโน้มของกลุ่มอายุน้อยลงเพ่ิม จานวนมากข้นึ รองลงมาจะเป็นวยั แรงงานในภาคเกษตรกร ทเี่ สพเพื่อต้องการเพิ่มรายได้ในการทางาน เช่น การทางานในสวนยางพารา สาหรับชนิดของยาเสพติดส่วนใหญ่เป็น “ยาบ้า” รองลงมาเป็น “กัญชา” และ สารระเหย ตามลาดับ ปัจจัยสาคัญอีกประการหนึ่ง คือภูมิประเทศของพ้ืนท่ีอาเภอกระนวน เป็นเขตรอยต่อของหลาย จังหวดั เชน่ จงั หวดั กาฬสินธ์ุ จงั หวดั มหาสารคาม จังหวัดอุดรธานี ทาให้ง่ายต่อการขนส่งยาเสพติด อีกท้ัง มีการติดต่อสื่อสารสั่งซื้อทางโทรศัพท์ และการจ่ายเงินโดยการโอนผ่านทางธนาคาร กรอปรกับมีผู้ค้านอก พ้ืนท่ีเป็นผู้เคล่ือนไหว นายามาส่งในพ้ืนท่ี ซึ่งปัญหาดังกล่าวเป็นวิกฤติสาคัญของสังคม ที่ขยายตัวอย่าง รวดเร็ว และมีผลกระทบอย่างกว้างขวาง ท้ังต่อบุคคล ครอบครัว สังคม และความมั่นคงของประเทศชาติ

๔ ซ่ึงการระบาดของยาเสพติด มีการระบาดเข้าสู่ครอบครัวของชุมชน หมู่บ้าน วัด โรงเรียน ตลอดจนองค์กร อ่นื ๆ ในชุมชน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกาลังสาคญั ในการพัฒนาประเทศชาติ จากผลการสารวจปัญหาเยาวชนไทยในสังคมยุค “วัตถุนิยม” แนวโน้มวัยรุ่นมีความเส่ียงในการใช้ สารเสพติดสูงเพิ่มขึ้น ซึ่งจากผลการวิจัย พบว่าปัญหาส่วนใหญ่เริ่มมาจากปัญหาในครอบครัว จานวนคดี ละเมดิ ทางเพศ และคดียาเสพตดิ กม็ แี นวโนม้ สงู ตาม นอกจากนยี้ งั พบอกี ว่าในโรงเรียนต่าง ๆ โดยเฉล่ียมีเด็กท่ี พอ่ แม่แยกทางกนั สูงถึงรอ้ ยละ ๑๕ และเดก็ กลุ่มนี้จะเข้าสู่ปัญหาพฤติกรรมเส่ียงต่าง ๆ สูงกว่าเด็กปกติถึง ๒- ๓ เท่า ท้ังเหล้าบุหรี่ การพนัน ความรุนแรง ตลอดจนพฤติกรรมติดเกมต่าง ๆ นอกจากครอบครัวซึ่งเป็น รากฐานอันมั่นคง ควรให้ความรัก ความอบอุ่น เอาใจใส่ แล้วโรงเรียนควรส่งเสริมให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้ ค้นหาศักยภาพตนเอง และปลูกฝังให้เป็นคนดี ไม่ปล่อยให้เด็กเหล่านั้นต้องเผชิญชีวิตลองผิดลองถูก จน กลายเป็นคนท่ีไร้ค่า การแก้ปัญหาโดยการส่งเสริมคน ให้มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อจรรยาบรรณแล้ว คุณค่า ของการพัฒนารับผิดชอบต่อหน้าท่ีและสังคมจะเกิดขึ้น เพราะยาเสพติดนับเป็นภัยร้ายที่คุกคามและบ่อน ทาลายประเทศชาติ การขจดั ภยั ยาเสพตดิ ให้ได้ผลอย่างยั่งยืนต้องอาศัยการผนึกพลังของทุกภาคส่วน มาร่วม กันสร้างสรรค์สังคมให้เข้มแข็ง เพื่อลูกหลานของเราจะได้ไม่ติดยาเสพติด (กรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข) และเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้ศูนย์อานวยการ พลงั แผน่ ดนิ เอาชนะยาเสพตดิ แห่งชาติ ใหด้ าเนนิ งานตามแผนท่ี ๓ คอื แผนการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยา เสพติดในสถานศึกษา (Potential Demand) โดยให้ทุกสถานศึกษาดาเนินงานตามนโยบายสถานศึกษาน้อม นาศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอยา่ งย่ังยนื โครงการสถานศึกษาสขี าวปลอดยาเสพติด และอบายมขุ ดังน้ันโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม ซ่ึงเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ให้บริการทาง การศึกษากับนักเรียนในเขตอาเภอกระนวน และในเขตพื้นที่รอยต่อของ 4 จังหวัดได้แก่ ๑.จังหวัดขอนแก่น (อ.น้าพอง) ๒.จังหวัดกาฬสินธุ์ (อ. ท่าคันโ อ.ห้วยเม็ก และ อ.หนองกุงศรี) ๓.จังหวัดอุดรธานี และ ๔. จังหวัดมหาสารคาม ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ประกาศให้เป็นเส้นทางลาเลียงยาเสพติดจากประเทศเพื่อนบ้านและเป็น พ้ืนท่ีสีแดง จึงตระหนักถึงความรุนแรงของปัญหา และความสาคัญของนโยบายดังกล่าวเบ้ืองต้นซ่ึงจะทาให้ เกิดความเข้ำใจ เข้ำถึง และสำมำรถพัฒนำนักเรียนได้อย่ำงเต็มศักยภำพ ด้วยการสร้างมาตรการในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ก่อให้เกิดอันตรายทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสุขภาพของผู้เรียนทุกคนภายใต้ความ ร่วมมอื จากทกุ ฝา่ ยท่เี ก่ียวขอ้ ง ซึ่งไดแ้ ก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชนเครือข่าย โดยมีจุดประสงค์ให้นักเรียนทุกคนมีควำมรู้ คู่คุณธรรม ตระหนักรู้ มีความเข้าใจ และ สามารถถ่ายทอดอธิบายเร่ืองโทษภัยของยาเสพติดและอบายมุข และพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ต่อผู้อื่นได้ รวมทงั้ การให้นักเรยี นทกุ คนชว่ ยกันเฝา้ ระวงั และช่วยเหลอื เพือ่ นโดยได้พัฒนารปู แบบนวตั กรรมเพ่ือใช้ในการ ดาเนินงานแก้ปัญหาและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียนด้วยโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และ อบายมุข โดยกา น้อมนาศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาแก้ปัญหายาเสพติด และ อบายมุข อย่างยั่งยืน ด้วยความรัก ความอบอุ่น การดูแล อบรมส่ังสอน และติดตามความประพฤติอย่าง ใกล้ชิดซ่ึงจะทาให้ผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ บิดามารดา ครู ผู้ปกครองเครือข่าย และหน่วยงานท่ีมีส่วน

๕ เกย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยเพือ่ ให้ เข้าใจ เข้าถึง และสามารถพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อปกป้อง คุ้มครอง ดูแล รักษาเยียวยา นักเรียนทุกคนอย่างเสมอภาค เพื่อสร้างคนดี และคนเก่งให้สังคม โดยจัดทาโครงการ สถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข น้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืนตามแนวคิด และหลักการ “๔ ประสาน ๒ ค้า” ซ่ึง ๔ ประสาน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนนักเรียน ๒ ค้า ได้แก่ ตารวจและพระสงฆ์ ซึ่งอยู่ในบริเวณท้องถิ่นและชุมชน และ ๕ มาตรการ ได้แก่ มาตรการป้องกัน มาตรการรักษา มาตรการเฝ้าระวัง มาตรการบริหารจัดการ และกลยุทธ์ ๔ ต้อง ๒ ไม่ คือ ต้องมียทุ ธศาสตร์ ตอ้ งมีแผนงาน ต้องมีระบบข้อมูล ต้องมีเครือข่าย และ ๒ ไม่ คือ ไม่ปกปิดข้อมูล ไม่ไล่ออก เป็นแนวทางการดาเนินงานภายใต้นวัตกรรม “ฮักนะ” (HUGNA Model) “ใส่ใจ พึ่งได้ ไร้อคติ มี วจิ ารณญาณ สานสัมพนั ธ์ ปนั นา้ ใจ ไม่หวังผล มวลชนช่อื นศรทั ธาตน ล้นความดี” จากการดาเนินงานสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุขในมาตรการค้นหาและเฝ้าระวัง เพ่ือคัดกรองค้นหาผเู้ สพผู้ใช้สารเสพติดในโรงเรียน โดยจัดทาโครงการตรวจคัดกรองหาสารเสพติดในปัสสาวะ เมือ่ พบสารเสพติด โรงเรียนจะใช้แบบคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยที่ใช้ยาและสารเสพติดเพื่อรับการบาบัดรักษา กระทรวงสาธารณสุข (บคก. กสธ.) V.2 ซ่ึงจากการคัดกรองจะแบ่งนักเรียนออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มใช้ ให้เขา้ รบั การบาบัดในโรงเรยี น ส่วนกล่มุ เสพ และกลมุ่ เสี่ยง จะได้รับการส่งต่อไปยังศูนย์คัดกรองผู้เสพยาเสพ ตดิ และศนู ย์ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม (คลนิ ิกฟ้าสวย) และหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในการจัดทาคลินิกเสมารักษ์โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมได้จัดทาข้อตกลงความร่วมมือกับ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวนในโรงเรียนข้นึ โดยมกี ิจกรรมหลักในให้คาปรึกษาผู้มีปัญหาด้านยาเสพ ติด และบาบัดผู้ใช้สารเสพติดที่ตรวจพบและสมัครใจเข้ารับการบาบัดตามมาตรฐาน โดยทางโรงเรียนจะจัด ห้องคลินิกท่ีเป็นสัดส่วนของโรงเรียนเพ่ืออานวยความสะดวกแก่การให้บริการของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขท่ี มา ให้บริการรว่ มกบั ครูผู้รบั ผดิ ชอบงานยาเสพติดในโรงเรยี น และชมรมทบู นี ัมเบอร์วัน(เสมารักษ์)ตั้งแต่ปี 2558 จนถงึ ปจั จบุ ัน ๒. จุดประสงค์และเปำ้ หมำยของกำรดำเนนิ งำน ๒.๑ จุดประสงค์ จัดทาคลินิกเสมารักษ์ในโรงเรียนเพ่ือให้คาปรึกษาผู้มีปัญหาด้านยาเสพติด และบาบัดผู้ใช้ สารเสพติดทีต่ รวจพบและสมัครใจบาบัดตามมาตรฐาน ๒.๒ เปำ้ หมำย ๒.๒.๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ ๑) นักเรียนโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการดูใแลช่วยเหลือท้ังในเรื่อง การเรียน สังคม และการดารงชวี ติ ใหป้ ลอดภยั จากยาเสพติด บุหรี่ อบายมขุ และพฤตกิ รรมอันไม่พึงประสงค์ ๒) นักเรียนทุกคนท่ีใช้สารเสพติดได้รับคาปรึกษาปัญหาด้านยาเสพติด และบาบัดตาม มาตรฐาน ๒.๒.๒ เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ

๖ ๑) เพอื่ สง่ เสรมิ ให้มกี ารสร้างกระแสประชาสัมพันธ์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานศกึ ษา ๒) เพ่ือใหม้ ีการจดั กิจกรรมการใหค้ าปรกึ ษา และบาบดั ผูใ้ ช้ยาเสพติดในโรงเรยี น ๓) เพอื่ ให้กลุม่ ผใู้ ชย้ าเสพตดิ ท่เี ป็นนักเรยี นสามารถเข้าถงึ บรกิ ารไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) กระบวนกำรผลติ ผลงำนหรือขน้ั ตอนกำรดำเนินงำน (วธิ ปี ฏบิ ตั งิ ำนทีเ่ ปน็ เลิศ) พระราชปณิธานหรือพระราชกระแสรับส่ังของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ ดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ ๙ เรื่อง การสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง ต้องหาแนวทางสร้างคนดีก่อน แล้วจึงจะ พัฒนาให้เป็นคนเก่ง ครูต้องมีศรัทธาท่ีแรงกล้าเพ่ือทาให้เด็กเป็นคนดีคือ สิ่งท่ีสอนและอบรมผู้เรียนให้มีองค์ ความรู้ มีอุปนิสัยติดตัว(Character Education) ๕ ด้าน คือ ศีลธรรม จริยธรรม มารยาท วินัย และ วัฒนธรรม เพื่อให้คนไทยเป็นผู้มีมารยาท มีวินัย มีความรับผิดชอบในหน้าท่ี และเป็นพลเมืองดีของชาติโดย การศึกษา แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ การสอน และการอบรม ซ่งึ เปรยี บเสมอื นตน้ ไมท้ มี่ ีสว่ นของลาต้นและราก กระทรวงศึกษาธิการวางนโยบายสถานศึกษาน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน ด้านการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยนาโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุขมาใช้ใน การส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อบายมุข และพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ เพ่ือให้ นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจที่เข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะในการดารงชีวิตและรอดพ้นจากวิกฤตท้ังปวง โดยสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐานและกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมกันวางรากฐานการพัฒนาผู้เรียนอย่าง เป็นระบบต่อเนื่องและยั่งยืน เด็กวัยรุ่นอายุระหว่าง ๑๓ – ๑๘ ปี เป็นวัยท่ีต้องการความรัก และการยอมรับ จากคนรอบขา้ ง มคี วามเปน็ ตวั ของตัวเองมากขึ้น มีอสิ ระท่จี ะคดิ ฝัน มีการวางเป้าหมายของชีวิตและพยายาม ฟันฝ่าไปตามท่ีตนเองฝันไว้ ซึ่งสังคมต้องช่วยให้กาลังใจและปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้แก่เด็กวัยนี้ เพื่อจะ ได้บรรลุตามแนวทางที่เด็กแต่ละคนตั้งใจไว้ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้พยายามจัดการศึกษาให้กับเด็กทุกคน ในประเทศ โดยการกาหนดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยให้เหมาะสมกับสภาพการเปล่ียนแปลงของ สังคม โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ และคณุ ธรรม มจี ิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย

๗ อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มคี วามรูแ้ ละทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การ ประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ เรยี นรู้และพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ จากสภาพสังคมในปัจจุบัน ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดได้ทวีความรุนแรงมากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นช่วงวัยแห่งการเรียนรู้ ทดลองและสร้างประสบการณ์ใหม่ ใหแ้ ก่ตนเอง วยั ร่นุ บางกลุ่มสร้างค่านิยมหรือมีความเชื่อท่ีผิด ๆ เกี่ยวกับการเสพยาเสพติดและอบายมุข อาจ พลง้ั พลาด และตกเป็นเหยื่อของยาเสพตดิ และอบายมุข โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมจึงมุ่งพัฒนานักเรียนให้ เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรม จริยธรรม ดาเนินชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวังโดยผ่านกระบวนการทางการศึกษา โดยนอกจากการดาเนินการ สง่ เสริมและสนับสนุนให้นักเรยี นได้เรยี นรูต้ ามหลักสตู รแลว้ การป้องกันและการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาด้านยา เสพติด การท้องก่อนวัยอันควร ติดเกม เล่นการพนัน หนีเรียน ทะเลาะวิวาท รวมทั้งการก่ออาชญากรรม ก็ เป็นอกี ภารกจิ หนึง่ ท่ีสาคัญที่โรงเรยี นพยายามดาเนนิ การแก้ไขปญั หามาอย่างต่อเน่ืองโดยร่วมกันแก้ปัญหากับ ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรศาสนา และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน (ศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยา เสพตดิ กระทรวงศกึ ษาธิการ สานกั สง่ เสริมกิจการศึกษา สป., ๒๕๖๐) สานักงานปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ไดจ้ ดั กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์เน่ืองในวัน ต่อตา้ นยาเสพตดิ โลก ภายใต้คาขวัญวา่ “ทาดเี พ่ือพ่อ สานต่อแก้ปัญหายาเสพติด” โดยมีกรอบแนวคิด “ต้อง ระเบิดจากข้างใน” นั่น คือต้องสร้างความเข้มแข็งให้กับนักเรียน ให้มีสภาพพร้อมท่ีจะรับการพัฒนาโดยใช้ หลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” คือก่อนจะทาอะไรต้องมีความเข้าใจภูมิสังคมของนักเรียน และปัญหาท่ี หลากหลายท้ังทางด้านกายภาพ จารีตประเพณีและวัฒนธรรม โดยระหว่างการดาเนินการน้ันจะต้องทาให้ นักเรียนนั้น “เข้าใจ” การทางานของโรงเรียนด้วย เพราะถ้าเข้าใจเขาแต่ฝ่ายเดียว โดยที่อีกฝ่ายไม่เข้าใจ ประโยชน์คงจะไม่เกิดข้ึนตามท่ีมุ่งหวังไว้ “เข้าถึง”ก็เช่นกัน เมื่อรู้ปัญหาแล้ว เข้าใจแล้วก็ต้องเข้าถึง เพ่ือให้ นาไปสกู่ ารปฏบิ ัติให้ได้ และจะต้องทาอย่างไรก็ตามให้เขาอยากเขา้ ถงึ เราด้วย ดังน้ัน จะเห็นว่าเป็นการส่ือสาร สองทางทั้งไปและกลับ ถ้าสามารถทาสองประการแรกได้สาเร็จ เรื่อง “การพัฒนา” จะทาได้อย่างย่ังยืน เพราะเมอื่ ตา่ งฝา่ ยตา่ งเขา้ ใจกัน ต่างฝา่ ยอยากจะเข้าถึงกนั แล้ว การพัฒนาจะเปน็ การตกลงร่วมกันทั้งสองฝ่าย ท้ังผู้ให้และผู้รับ การลงมือกระทาและหาทางต่อยอดองค์ความรู้เดิมให้ดีขึ้นด้วยองค์ความรู้ใหม่ที่เรียกว่า นวตั กรรม (Innovation) เกดิ วิธคี ดิ ใหม่ (Paradigm) ทีเ่ ปน็ ของตน สามารถเป็นแนวทางให้ผู้อื่นได้เรียนรู้และ ต่อยอดถือว่าเป็นทฤษฎีการพัฒนาสู่ความยั่งยืนที่มีคุณค่ายิ่ง ที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการป้องกันและ แกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ และอบายมขุ เปน็ อย่างดี จากท่ีรัฐบาลได้เห็นความสาคัญของปัญหายาเสพติด โดยได้ประกาศให้การแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็น “วาระแห่งชาติ” และได้เปิดเป็นยุทธศาสตร์ “พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๕” เม่ือ วนั ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๔ ณ ตึกสันติไมตรีทาเนียบรัฐบาล โดยกาหนดให้มีกลยุทธ์ ๗ แผน ๔ ปรับ ๓ หลัก ๖ เร่ง เป็นแผนยุทธศาสตร์การป้องกัน และแก้ไข้ปัญหายาเสพติด อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้ จัดตั้งเป็น “ศูนย์อานวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ (ศพส.)” เพื่อเป็นศูนย์การ ประสานงานและสนับสนุนการปฏิบัตกิ ารในพืน้ ท่ที กุ ระดบั

๘ จงั หวัดขอนแก่น จึงได้กาหนดให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็น “ระเบียบวาระของจังหวัด” และ ได้จัดทาโครงการ “จังหวัดขอนแก่น ไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด” โดยยึดนโยบาย กลยุทธ์ และแนวทาง การดาเนินงานของรัฐบาล และศูนย์อานวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ (ศพส.) ซ่ึงเน้น การดาเนินการ ๓ ด้าน คือ ด้านการป้องกัน ด้านการปราบปราม และด้านการบาบัดรักษา โดย ดาเนินการในทุกกลุ่มเส่ียง และกาหนดให้ทุกอาเภอเร่งรัดดาเนินการตามนโยบายดังกล่าวอย่างจริงจัง และต่อเน่ือง โดยจังหวัดได้จัดตั้ง “ศูนย์อานวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัดขอนแก่น (ศพ ส.จ.ขอนแก่น)” เพ่ือเป็นศูนย์การประสานงานและสนับสนุนการปฏิบัติการในพ้ืนที่ระดับอาเภอ และ เพ่อื ใหก้ ารป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติดในอาเภอกระนวน บังเกิดผลเป็นรูปธรรมอย่างเด่นชัด สนอง นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของจังหวัดขอนแก่น อาเภอกระนวนจึงได้จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการพลัง แผ่นดินเอาชนะยาเสพติดอาเภอกระนวน (ศพส.อ.กระนวน)” ข้ึนเพื่อเป็นศูนย์บริหารจัดการเชิงบูรณา การ ในการอานวยการ เร่งรัด กากับ ติดตาม และประเมินผล การต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด ตาม ๓ ยุทธศาสตรห์ ลัก คอื ยุทธศาสตร์การบาบัดรักษาและฟ้ืนฟสู มรรถภาพ (Demand) ยุทธศาสตร์การปลุก พลังแผ่นดินป้องกันยาเสพติด (Potential Demand) และยุทธศาสตร์การควบคุมตัวยาและสารเคมี (Supply) และไดม้ ีพธิ ีประกาศเจตนารมณ์ “อาเภอกระนวน ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด” เม่ือวันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ภายใต้นโยบาย “การแก้ไขปัญหายาเสพติดแห่งชาติ” “โครงการจังหวัดขอนแก่น ไม่ยุ่งเก่ียวกับยา เสพติด” และเจตนารมณ์ “อาเภอกระนวน ไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด” เครือข่ายบริการสุขภาพอาเภอ กระนวน และโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน ในฐานะฝ่ายท่ีรับผิดชอบ “แผนปฏิบัติการแก้ไข ปัญหาด้านผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (Demand)” จึงได้มีการพัฒนาศักยภาพสถานบริการ เพื่อรับรอง คณุ ภาพสถานบาบัดรักษายาเสพติดสนองนโยบายปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด โดยได้จัดตั้ง เป็น “ศูนย์จาแนกคัดกรอง ผู้เสพยาเสพติดที่สมัครใจ เข้าบาบัด ฟื้นฟูฯ หรือสมัครใจกึ่งบังคับ” พรอ้ มนาเขา้ ส่กู ระบวนการบาบดั รักษา และจดั ตั้ง “ศูนยข์ อ้ มูล ตดิ ตาม และประสานความช่วยเหลือด้าน Demand ระดับอาเภอ” เพ่ือติดตามฟื้นฟูหลังการบาบัด และให้ความช่วยเหลือเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหม้ อี าชีพ และมรี ายได้สามารถดารงชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข อีกท้ังรณรงค์ปลุกจิตสานึกและสร้าง กระแสนิยมการเสรมิ สร้างภมู ิคมุ้ กันทางจิตใจแกเ่ ยาวชน และสังคม เพ่อื ป้องกัน “กลุ่มเส่ียง” มิให้เข้าไป เกย่ี วข้องกบั ยาเสพตดิ (Potential Demand) ตามนโยบายแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (Potential Demand) ตาม พ.ร.บ.ฟ้ืนฟู สมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ด้วยหลักการ “ผู้เสพคือผู้ป่วยมิใช่อาชญากร” ต้องได้รับการ บาบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ ด้วยระบบที่เหมาะสมมี คุณภาพและได้มาตรฐาน ดว้ ยกระบวนการที่ถูกตอ้ งอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรมสูงสุด ผู้ผ่านการบาบัดแล้วไม่กลับมาเสพซ้า สามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข โรงพยาบาลสมเด็จ พระยุพราชกระนวนร่วมกับโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่ จึงได้จัดตั้งคลินิกบาบัดยาเสพติดข้ึนในช่ือ คลินิก เสมารักษ์ จานวน 4 แห่ง คือโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม โรงเรียนหนองโนประชาสรรพ์ โรงเรียนทุ่งใหญ่ รัตนศึกษา และโรงเรียนยางคาพิทยาคม ซึ่งมีภารกิจหลักด้านการบาบัดรักษาและแก้ปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยา

๙ เสพติด โดยในกิจกรรมการบาบัดนั้นเน้นการทากลุ่มบาบัด รวมทั้งการแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในกลุ่มผู้รับ การบาบดั เอง โดยจดั กิจกรรมในโรงเรียน จากนโยบายดังกล่าวโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมได้จัดทาคลินิกเสมารักษ์ ขึ้นในโรงเรียน เพอื่ บาบัดและรกั ษากลุ่มเป้าหมายที่พบสารเสพติด หลังตรวจสารเสพติดในปัสสาวะตามมาตรฐานการบาบัด โดยประยุกต์ใช้การดาเนินงานจิตสังคมบาบัดแบบผู้ป่วยนอกในสถานบริการสาธารณสุข (The Matrix Intensive Outpatient Programme) ซึ่งมีการบาบัดแบบกลุ่มและแบบรายคนท่ีเหมาะสมกับผู้รับบริการ โดยครูที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการบาบัดเบื้องต้นและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานยาเสพติดของ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราชอาเภอกระนวน และเครือข่ายทุกภาคโดยสถานศึกษามีขั้นตอนการดาเนินงาน คือ การจัดตั้ง “คลินิกเสมารักษ์” เป็นสถานที่หนึ่งที่เกิดข้ึนในสถานศึกษาเป็นการย่อขนาดสถานท่ีให้ง่าย และสะดวกต่อนักเรียนกลุ่มเส่ียงที่จะสามารถเข้ามารับการให้คาปรึกษาอย่างเต็มใจ และเพื่อให้การ ประสานงานและการขับเคลื่อนการทางานส่งเสริมความประพฤตินักเรียน มีประสิทธิภาพ และสนอง เจตนารมณ์ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ จึงจัดตั้งคลินิกเสมารักษ์ เป็นหน่วยงานภายในงานกิจการ นักเรียน เพ่ือเป็นศูนย์กลางดูแลแก้ไขปัญหาความประพฤตินักเรียนโดยให้มีอานาจหน้าที่ดังน้ี เฝ้าระวัง สถานการณ์ปัญหาความประพฤตินักเรียน โดยรับแจ้งเหตุ และดาเนินการแก้ไข ส่งเสริม สนับสนุน และ ประสานงานสถานศึกษา ในการป้องกันแก้ไขปัญหาความประพฤติ และคุ้มครองสิทธิของนักเรียน ร่วมกับ องค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการ เครือข่ายองค์กรภาครัฐและเอกชน และหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ประสาน ติดตาม จัดทากรณีศึกษาและบริการให้คาปรึกษาแก่นักเรียนและนักศึกษา ประสาน ตรวจสอบ ดูแลช่วยเหลือ นักเรียน สถานศึกษา ที่ประสบเหตุภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ และสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึง จัดระบบและบรหิ ารจัดการให้เป็นศนู ย์กลางเชอ่ื มโยงเครอื ข่ายการส่งเสริมความประพฤตินักเรียน โดยแต่งต้ัง คณะกรรมการดาเนนิ งาน “คลนิ กิ เสมารักษ”์ และกาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน “คลินิกเสมารักษ์” เพ่ือการ ทางานทเี่ ป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนสุดท้ายของการดาเนินงานบาบัดในสถานศึกษานั้นต้องมีการ รายงานผลการดาเนินงานอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม ซ่ึงการดาเนินการด้านจิตสังคมบาบัดในสถานศึกษา เพือ่ เสริมสร้างพัฒนาการด้านต่าง ๆ ทั้งร่างกาย อารมณ์และสังคมให้แก่ผู้เรียนโดยมีกิจกรรมต่าง ๆ เป็นการ ปรบั สภาพจิต ไมใ่ หม้ ีพฤตกิ รรมไปยงุ่ เก่ียวกบั สารเสพตดิ และอบายมุข

๑๐ กำรดำเนินงำนจิตสังคมบำบัดแบบผู้ป่วยนอกในสถำนบริกำรสำธำรณสุข (The Matrix Intensive Outpatient Programme) เป็นกิจกรรมช่วยเหลือนักเรียนท่ีใช้ยาบ้าซึ่งประยุกต์มาจาก The Matrix Intensive Outpatient Programme ท่ีพัฒนาโดยเจ้าหน้าที่ศูนย์ Matrix ของมหาวิทยาลัย UCLA ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้ บาบัดรักษาผู้ติดยากระตุ้นประสาท และมีผลสัมฤทธ์ิในการรักษา ใช้ต้นทุนน้อย โดยการนาข้อค้นพบใหม่ๆ มาใช้ในการรักษา โดยเน้นว่าการติดยา เป็นภาวะท่ีสมองติดยา ทาให้ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมตนเองได้อัน เน่ืองมาจากการเปลี่ยนสมองทาให้สมองส่วนอยาก (Limbic System) ควบคุมสมองส่วนคิด (Cerebral Context) ดังน้ันกิจกรรมในโปรแกรมจึงเน้นการให้ความรู้เก่ียวกับยาเสพติด การประคับประคองให้ผู้ใช้ยา สามารถเลิกยาได้สาเร็จ โดยอาศัยหลักการของ Cognitive Behavioral Theraphy และการเสริมแรง ทางบวก โดยมงุ่ เน้นใหผ้ ูป้ ่วยเรยี นรทู้ กั ษะต่างๆที่จะช่วยให้สมองส่วนคิดกลับมาควบคุมสมองส่วนอยาก โดย โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมนามาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาผู้ใช้สารเสพติดในสถานศึกษา ด้วยการให้ คาปรกึ ษา บาบัด และสง่ ต่ออยา่ งต่อเนือ่ งและยัง่ ยืนโดยมกี ารดาเนินงานดังน้ี ๓.๑. สุ่มตรวจปัสสำวะหำยำเสพติด โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมมีการตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดภาคเรียนละ 1 ครั้ง อย่างสม่าเสมอ โดยได้รับความอนุเคราะห์ และความร่วมมือของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขจากโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช กระนวน เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขถาพประจาตาบล เจ้าหน้าที่ปกครองอาเภอกระนวน และ เจา้ หน้าทตี่ ารวจจากสถานตี ารวจภธู รกระนวน เพ่ือหาสารเสพติดในตัวนักเรียนในกลมุ่ เส่ยี ง ๓.๒. คดั กรองสำรวจสภำพกำรใช้ยำเสพตดิ หลังจากการตรวจคัดกรองหาสารเสพติดในปัสสาวะ เมื่อพบสารเสพติดโรงเรียนจะใช้แบบคัดกรอง และสง่ ต่อผปู้ ่วยที่ใช้ยาและสารเสพติดเพ่ือรบั การบาบดั รกั ษา กระทรวงสาธารณสขุ (บคก. กสธ.) V.2 ซึ่ ง จากการคัดกรองจะแบ่งนักเรียนออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มใช้ ให้เข้ารับการบาบัดในโรงเรียน ส่วนกลุ่มเสพ และกลุม่ เสยี่ ง จะไดร้ ับการส่งต่อไปยังศูนยค์ ัดกรองผเู้ สพยาเสพตดิ และศนู ยป์ รับเปลี่ยนพฤติกรรม (คลินิกฟ้า สวย) และหนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง

๑๑ ๓.3. จดั ต้งั “คลินิกเสมำรักษ์” (จิตสังคมบำบดั ในสถำนศกึ ษำ) เพอ่ื ดาเนินการด้านจิตสังคมบาบดั ในสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างพฒั นาการด้านตา่ ง ๆ ทั้งร่างกาย อารมณ์และสงั คมใหแ้ กผ่ ู้เรยี นโดยมีกิจกรรมต่าง ๆ เปน็ การปรบั สภาพจติ ไม่ให้มีพฤติกรรมไปยงุ่ เกยี่ วกับสาร เสพตดิ และอบายมุขดงั น้ี 1). ด้ำนสุขภำพอนำมัย โรงเรียนได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัย ได้แก่ จัดการแข่งขัน กีฬาภายในโรงเรียน จัดให้มีลานกีฬา ห้องซ้อมดนตรีส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการเล่น กฬี า ดนตรี ตรวจสุขภาพนกั เรยี นโดยคณะกรรมการสภานักเรียนฝา่ ยอนามยั จัดกิจกรรมตามโครงการ 2) ด้ำนจริยธรรม โรงเรียนได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับนักเรียน ได้แก่ กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม การสวดมนต์ทุกวันพุธและวันศุกร์ กิจกรรมน่ังสมาธิก่อนเข้าเรียน รวมถึง สอดแทรกจริยธรรมในการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 3) ด้ำนสังคม โรงเรียนได้จัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคม ได้แก่ กิจกรรมท่ีจัดให้ นักเรียนทุกคนได้มีท่ีปรึกษา เป็นลักษณะเพื่อนช่วยเพ่ือนพี่ช่วยน้อง ร่วมสนับสนุนโครงการ เช่น โครงการ ผูใ้ หญ่บา้ นนกั เรยี น โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย(สภานักเรียน) โครงการ To Be Number One โครงการ โรงเรยี นปลอดบุหร่ี ฯลฯ เพ่ือเปน็ การปลกู ฝงั ให้นกั เรียนเห็นถงึ พิษภัยของสารเสพติด การปฏิบัติตัวไม่ให้เส่ียง ในเรอื่ งของสารเสพติด ตลอดจนขา่ วสารต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้องกับสารเสพติด จัดบริการแนะแนว กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรม 4) ฝึกอำชพี โรงเรยี นได้จดั กิจกรรมท่สี ่งเสริมอาชีพ ได้แก่ การทาสบู่สมุนไพร การเลี้ยงไก่บ้าน การ ทาไมก้ วาด การทาปลาส้ม การปลูกพชื การปลกู กล้วย ผกั สวนครวั การทอผ้า การสานตะกร้า การไปศึกษาดู งานเกยี่ วกบั การประกอบอาชพี ตา่ ง ๆ การทาบายศรี เป็นต้น ๓.๔. จดั ตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE( เสมำรักษ์) แกนนาชมรม สมาชิก และบคุ ลากรทเ่ี กยี่ วขอ้ งดาเนนิ งานตามข้นั ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. รับแจ้งเหตุและเฝ้าระวังสถานการณ์ปัญหาความประพฤตินักเรียน โดยการรับแจ้งเหตุจากตู้แดง เสมารกั ษ์ ๒. ส่งเสริม สนบั สนุน และประสานงาน ในการป้องกันแก้ไขปัญหาความประพฤติ และคุ้มครองสิทธิ ของนักเรียน ๓. ปฏิบัติงานส่งเสริมและคุ้มครองความประพฤตินักเรียนร่วมกับองค์กรหลักของ กระทรวงศึกษาธิการ เครือข่ายองคก์ รภาครฐั และเอกชน และหน่วยงานอ่นื ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในพ้ืนท่ี ๔. ประสาน ติดตาม จัดทากรณีศึกษาและบริการให้คาปรกึ ษาแก่นักเรยี น ๕. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานการส่งเสริมความประพฤตินักเรียน และนักศึกษาของเครือข่ายศนู ยเ์ สมารักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ ๖. จัดกจิ กรรมจติ รสังคมบาบดั ๗. ประสาน ตรวจสอบ ดูแลช่วยเหลอื นักเรียนและนักศึกษา สถานศึกษา ที่ประสบเหตุภัยพิบัติ ภัย ธรรมชาติ และสถานการณ์ฉุกเฉนิ ๘. ปฏบิ ัตงิ านอืน่ ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย

๑๒ ๓.๕. ดำเนินงำนจิตสังคมบำบัดแบบผู้ป่วยนอกในสถำนบริกำรสำธำรณสุข (The Matrix Intensive Outpatient Program) ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โรงเรียนศรีกระนวนิทยาคมได้ทาการคัดกรองนักเรียนในกลุ่มเส่ียง จานวน 580 คน พบยาบา้ 16 คนเข้ารบั การบาบัดทุกคน มีการบันทึกกิจกรรมการบาบัดรายคนโดยจัดให้มีเอกสาร การบันทึกที่เป็นแนวทางชัดเจน แต่ไม่ได้บันทึกกิจกรรมในระบบข้อมูลบสต.ซึ่งในการบาบัดผู้ใช้สารเสพติด โรงเรียนได้นาระบบจิตสังคมบาบัด (matrix program) ซ่ึงเป็นระบบการบาบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดแบบ ผปู้ ่วยนอก ในรปู แบบ กายจิต สังคม บาบัด เป็นกระบวนการบาบัดรักษาที่เน้นการให้ความรู้ต่าง ๆ ที่จาเป็น สาหรบั ผปู้ ่วยและครอบครวั โดยผ่านกจิ กรรมกล่มุ เพื่อปรับเปลย่ี นพฤติกรรมของผปู้ ่วย จิตสังคมบาบัดแบบผู้ป่วยนอกในสถานบริการสาธารณสุข (The Matrix Intensive Outpatient Program) เป็นกลุ่มกจิ กรรมเพ่ือเรยี นรู้ (Group Learning) มีครูท่ีได้รับการอบรมให้ความรู้เป็นผู้นากลุ่มและ นกั เรยี นท่มี ีพฤติกรรมการใช้ยาเป็นสมาขิกกล่มุ จานวน 8-1๒ คน โดยมีผู้ปกครองเขา้ ร่วมอย่างนอ้ ย ๓ ครั้ง มี การดาเนนิ กิจกรรมดังตอ่ ไปนี้ ๑) โปรแกรมกลุ่มฝึกทักษะการเลิกยาระยะเร่ิมต้นของโปรแกรม (Early Recovery Skill Group) จานวน ๖ ครง้ั ๑.๑ พษิ ภยั จากยาบ้า ๑.๒ ตัวกระต้นุ ภายนอก ๑.๓ ตวั กระตุ้นภายใน ๑.๔ การหยดุ ความคดิ ๑.๔ เส้นทางส่กู ารเลกิ ยา ๑.๖ ลด ละ เลิกพฤติกรรมลอ่ แหลม ๒) โปรแกรมกลุ่มปอ้ งกันการกลบั ไปติดซ้า (Relapse Prevention Group) จานวน ๒ ครัง้ ๒.๑ ความไวว้ างใจ ๒.๒ การใชเ้ วลาวา่ ง ๓). โปรแกรมกลมุ่ ใหค้ วามรู้ครอบครัว (Family Education Group) จานวน ๓ ครงั้ ๓.๑ สัญญาใจ ๓.๒ บทบาทครอบครัว ๓.๓ เป้าหมายชีวิต ๔). โปรแกรมกลมุ่ ทักษะชีวิต (Life Skill Group) จานวน ๕ ครง้ั ได้แก่ ๔.๑ ต้นไมช้ วี ิต ๔.๒ พัฒนาตนเองดา้ นการเรยี น ๔.๓ ทกั ษะการตัดสนิ ใจ ๔.๔ ทักษะการปฏเิ สธ ๔.๕ เพอื่ นเก่าเพือ่ นใหม่ โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมได้นาระบบจิตสังคมบาบัดแบบผู้ป่วยนอกในสถานบริการสาธารณสุข (The Matrix Intensive Outpatient Program) มาประยุกต์ใช้ในโรงเรียนภายใต้นวัตกรรม SKW Model ดงั นี้

๑๓ 1. S: Stronger Together สร้างพลงั ความยงั่ ยืน ๒ .K: Knowledge Gaining เพิ่มพูนความรู้ ๓.W: Win oneself เอาชนะใจตนเอง คลนิ กิ เสมารักษ์โรงเรียนศรกี ระนวนวิทยาคมได้ศึกษาข้อมลู ความรเู้ กยี่ วกับการทาจิตสังคมบาบัดแล้ว นามาประยุกต์สร้างสรรค์กิจกรรมให้กับกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดในโรงเรียนมีการจัดทากิจกรรมอย่างหลากหลาย อนั เปน็ การสรา้ งพลงั อยา่ งยงั่ ยืนจานวนทั้งส้นิ ๑๗ คร้งั โดยไม่ได้กาหนดวนั เวลาทแ่ี น่นอนดงั นี้ ในการจัดทาคลินิกเสมารักษ์ให้ยั่งยืน น้ันจะต้องมุ่งเน้นความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในส่วนของ นกั เรยี นท่ีใชย้ าเสพตดิ ครู ผ้บู ริหาร ตลอดจนเครอื ขา่ ยผูป้ กครองจึงจะทาให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยนื กจิ กรรม “ใครตดิ ยำยกมอื ข้นึ ” จัดขึ้นเพ่ือเชิญชวนให้นักเรียนที่ใช้สารเสพติดและมีความประสงค์จะเลิกยาสมัครเข้าคลินิกด้วย ตนเองดว้ ยตนเอง โดยให้ขอ้ มูลของตนเองและสาเหตุทีท่ าให้เด็กเหลา่ นีใ้ ชย้ าเสพตดิ ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าโรงเรียน ให้ควำมเอำใจใส่กับนักเรียนทุกกลุ่มจนเกิดเป็นควำมไว้เนื้อเชื่อใจ รวมทั้งนักเรียนท่ีใช้สารเสพติดจากการ ตรวจหาสารเสพติดในปัสสาวะ ตามโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข และผู้ปกครอง ทุกคนก็ยนิ ยอมเข้ารบั การบาบดั เพอ่ื คนื คนดสี ู่สังคม กจิ กรรม “สญั ญำใจ” นักเรียนทีหันเข้าหายาเสพติดส่วนนึงเกิดจากการบ่นว่าของบิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย และผู้เลี้ยงดู หรืออาจจะเอาไปเปรียบเทียบกับสมาชิกคนอื่นในครอบครัวหรือเพื่อนๆในวัยเดียวกัน ทาให้เกิดความน้อย เนื้อต่าใจ ขาดความเชื่อม่ันในตนเอง ดังนั้นการสร้างควำมมั่นใจและควำมรักในตนเองให้กับเด็กเหล่านี้คือ การทา “สัญญาใจ” ซ่ึงจะเป็นส่ิงแรกท่ีรับรองว่าเขาจะเปล่ียนตนเองซึ่งเป็นการปรับเปล่ียนพฤติกรรมที่ ได้ผลดี โดยการสรา้ งขอ้ ตกลงร่วมกนั ทาให้เกิดความรว่ มมืออย่างยัง่ ยืน

๑๔ กิจกรรม “ต้นไมแ้ หง่ ชวี ติ ” เป็นกจิ กรรมทีจ่ ัดขนึ้ เพื่อสรา้ งสมั พนั ธภาพซึ่งกันและกนั และเสรมิ สร้างความแขง็ แกร่งในกลุ่มของผู้ใช้ ยาเสพติด ให้สารวจภาวการณ์ติดยาของตนเองทางด้านร่างกาย อารมณ์ อุปนิสัย การเรียน ความสามารถ พเิ ศษ ครอบครัวและสังคมเพื่อให้รับร้ถู ึงความเปล่ียนแปลงตัวเองกอ่ นและหลงั การใช้ยา โดยการเปรียบเทียบ ระหวา่ งภาพลักษณ์ของตนเองทง้ั ในอดตี และในปจั จบุ นั ทาให้นักเรียนรูจ้ ักคณุ คา่ ของตนเอง สาเหตุท่ีนกั เรียนหนั เข้าหายาเสพติดจากโครงการใครตดิ ยายกมือขนึ้ พบว่า นักเรียนเหล่าน้ันคิดว่ายา เสพติดเป็นส่ิงท่ีดี เพราะเขาเชื่อตามคาโฆษณาชวนเช่ือของขบวนการค้ายาบ้านั่นแสดงให้เห็นว่านักเรียน เหลา่ นี้ขาดความเขา้ ใจทแี่ ท้จรงิ ในเรอ่ื งของยาเสพติด ดงั น้ันการให้ความรู้ผา่ นกิจกรรมต่าง ๆจะทาให้นักเรียน เกิดความตระหนกั และความเขา้ ใจท่ถี ูกต้องเกย่ี วกบั พษิ ภยั ของยาเสพตดิ ดว้ ยกจิ กรรมดงั ต่อไปนี้ พษิ ภยั ของยำบำ้ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นรู้จักสาเหตุท่ีชักนาไปสู่การใช้ยาเมื่อพบตัวกระตุ้นต่าง ๆ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นหลังการ ใชย้ า นกั เรียนได้แสดงความร้สู กึ บอกประโยชน์ที่ได้รับจากการทากิจกรรมเพ่ือนาไปค้นหาวิธีที่ใช้ในการหยุด ยาของตนเองเพ่อื นามาอภิปรายรว่ มกบั เพอ่ื น ๆในการทากจิ กรรมคร้งั ต่อไป ตัวกระตุ้นภำยนอก กิจกรรมน้ีจดั ขึ้นเพอื่ ให้นักเรียนรู้จักตัวกระตุ้นต่าง ๆท่ีส่งผลต่อการใช้ยา รู้จักตัวกระตุ้นภายนอกท่ีมี อิทธิพลต่อความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่ทาให้กลับไปเสพยา นักเรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความพยายามหยดุ ยาดว้ ยตนเอง สาเหตทุ ที่ าใหห้ ยดุ ไม่ได้จะมีวิธใี ดท่ีหลีกเลย่ี งตวั กระตุ้นเหลา่ น้ี ตวั กระต้นุ ภำยใน เพ่อื ใหน้ กั เรียนรู้จักตวั กระตนุ้ ภายในและระบุตัวกระตนุ้ ภายในของตนเองได้ มีการอภิปราย แลกเปล่ียนเรยี นรู้ช่วยกันหาข้อสรุปและ อภิปรายเพื่อหากลวธิ ใี นการหลกี เลยี่ ง และเลกิ เสพยา เทคนิคกำรหยุดควำมคิด กิจกรรมนส้ี ร้างขึน้ เพ่ือให้นักเรยี นรู้จกั เทคนิคการหยุดความคิดถงึ ยาบ้า ช่วยกันค้นหาวิธกี ารในการ หยดุ ความคดิ และนาไปทดลองปฏบิ ตั ิแล้วนาผลทไี่ ด้กลบั มารายงานร่วมกันเพือ่ แลกเปลย่ี นเรียนรู้คน้ หาวิธที ี่ เหมาะสมกับตนเอง

๑๕ เสน้ ทำงสู่กำรเลิกยำ กิจกรรมนี้จัดข้ึนเพื่อให้นักเรียนทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ความคิด อารมณ์ และ พฤตกิ รรมในช่วงตา่ ง ๆของการเลิกยาเพ่อื ให้นักเรียนเกิดความตระหนกั วา่ แต่ละชว่ งของการเลิกยาจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างไร รู้จักเส้นทางสกู่ ารเลกิ ยา และแนวทางในการปฏบิ ัตติ ัวให้พน้ ชว่ งวกิ ฤติ การที่จะใหผ้ ู้ใช้ยาเสพติดสามารถเอาชนะใจตนเอง ไม่กลบั ไปเสพยาอีกถือเป็นการชนะท่ีสุดยอดที่สุด น่ันคือการเอาชนะใจตนเอง ซ่ึงเป็นขั้นตอนที่ยากที่สุดเพราะคนที่เสพยาน้ันมักจะไม่ได้รับความไว้วางใจจาก คนรอบข้างและสังคม พวกเขาจะทาอย่างไรท่ีจะชนะคาดูถูก การสบประมาทท้ังคาพูดและการกระทาซ่ึง ครอบครวั จะมบี ทบาทมากในระยะนี้ ดังนัน้ จะเปน็ ระยะท่ี นักเรียน ครู และผู้ปกครองจะต้องร่วมมือกันอย่าง ใกล้ชดิ เพื่อการเลกิ ใชย้ าเสพตดิ อยา่ งถาวร กิจกรรมไวว้ ำงใจ เป็นกิจกรรมที่สรา้ งความตระหนกั ถึงความสาคัญของการสร้างความไว้วางใจทั้งคาพูดและการกระทา ซ่งึ เปน็ สิ่งท่ผี ู้เสพต้องใช้ความอดทน ความตั้งใจ และความต่อเน่ืองเพราะเป็นการยากท่ีจะทาให้ผู้อ่ืนไว้วางใจ และเชื่อว่าหยุดยาไดจ้ รงิ ๆ กจิ กรรมบทบำทครอบครัว เป็นกิจกรรมที่ผู้ปกครองต้องตระหนักถึงบทบาทของตนเองที่ส่งผลต่อการใช้ยาของลูก ซ่ึงบางคร้ัง ผ้ปู กครองเองก็คิดไม่ถึง และร่วมกันหาทางป้องกันซ่ึงในแต่ละครอบครัวก็มีวิธีที่แตกต่างกัน เม่ือได้เปิดใจเข้า หากันก็จะเป็นสัญญาใจท่ีจะประคับประคองบุตรหลานทั้งท่ีใช้และไม่ใช้ซึ่งจะเป็นการป้องกันอย่างยั่งยืนอีก หนึ่งวิธี กจิ กรรมลด ละ เลิกพฤติกรรมล่อแหลม กิจกรรมน้ีสร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมท่ีล่อแหลมของ ตนเองทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับยาเสพตดิ และตระหนักว่าพฤตกิ รรมเหล่าน้ันจะนาไปสู่การใช้ยาซ้าอีกซ่ึงจะเป็นแนวทาง หนึ่งท่ชี ่วยให้นักเรยี นลดละเลิกพฤติกรรมล่อแหลมได้ และเลือกวิธีท่ีนักเรียนจะนาไปทดลองใช้ในการลด ละ เลกิ พฤตกิ รรมเสย่ี งแล้วนามารายงานในครั้งตอ่ ไป

๑๖ กจิ กรรมกำรใชเ้ วลำวำ่ ง กิจกรรมนี้จัดข้ึนเพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญขอการใช้เวลาในชีวิต นักเรียนจะได้สารวจ การใช้เวลาของตนเองในช่วงเวลาก่อนและหลังท่ีเสพยา นอกจากน้ันแล้วนักเรียนยังจะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เก่ียวกับการใช้เวลาอย่างมีประโยชน์และร่วมกิจกรรมนันทนาการกับเพื่อน ๆ และเลือกกิจกรรมที่เหมาะสม ทาให้ไมส่ ามารถเข้าไปยงุ่ เก่ยี วกบั ยาเสพติดไดอ้ ย่างย่ังยนื กิจกรรมพัฒนำตนเองดำ้ นกำรเรยี น เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรับผิดชอบเรื่องการเรียน ช่วยให้นักเรียนสามารถแก้ไข ปัญหาและพัฒนาตนเองได้ดีขึ้นนาไปสู่ความภาคภูมิใจในตนเองเป็นการลดปัจจัยเส่ียงที่จะทาให้นักเรียนหัน กลับไปใช้ยาเสพติดอีก กิจกรรมน้ีนับว่าเป็นปราการด่านสาคัญอีกอันนึงเพราะนักเรียนกลุ่มน้ีจะไม่ค่อยชอบ การเรียนดังน้ันครูท่ีปรึกษากิจกรรมจะต้องแบ่งหน้าท่ีในการติดตามเป็นพ่ีเลี้ยงและประสานงานกับบิดา มารดาของนักเรียน กจิ กรรมทักษะกำรตดั สนิ ใจ กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้ฝึกทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆท่ี ยังไม่มีทางออก ซ่ึงนักเรียนจะต้องใช้ความสามารถในการแก้ปัญหาถึง ๖ ข้ันตอนได้แก่ กาหนดปัญหา กาหนดทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและวิธีการแก้ปัญหา แก้ปัญหา ประเมินผลการแก้ปัญหา ถ้ายังไม่เป็นที่พอใจก็นากลับมา ทาใหม่ทงั้ กระบวนการ มกี ารสุ่มรายงานและนาเสนอท้ังในช่วั โมงกจิ กรรมและช่ัวโมงถดั ไป กิจกรรมทักษะกำรปฏเิ สธ กลุ่มเพ่ือนมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของเด็กวัยรุ่นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนในกลุ่มใช้ ยาเสพติด ดังนั้นจึงเป็นการยากมากที่จะปฏิเสธการชักชวนของเพื่อนทาให้นักเรียนมีความเส่ียงท่ีจะกลับไป เสพยาซ้าอีกถ้าใจไม่แข็งเพียงพอ ดังนั้นถ้านักเรียนได้ฝึกฝนทักษะในการปฏิเสธจนสามารถปฏิเสธเพื่อนท่ีมา ชวนใชย้ าเสพตดิ เขาก็จะหลดุ พ้นวงจรน้ไี ดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ กจิ กรรมเพอ่ื นเก่ำเพอ่ื นใหม่ ในกิจกรรมนี้นักเรียนจะได้รู้จุดเด่น-จุดด้อยของตนเองและคุณสมบัติของเพื่อนท่ีควรคบหรือควร หลีกเลี่ยง นอกจากนนั้ แล้วยงั ได้เรียนรู้วธิ กี ารสรา้ งเพ่ือนใหม่และหลบเล่ียงเพ่ือนในสถานการณ์ต่างๆซึ่งจะทา ใหผ้ ู้เรียนสามารถอยู่ในสงั คมได้อย่างปลอดภยั กิจกรรมเปำ้ หมำยชีวติ กจิ กรรมน้ีเกดิ ขึน้ ได้กต็ ่อเมื่อนักเรยี นผ่านกจิ กรรมทง้ั หมดและสามารถที่จะเลิกเสพยาได้และจะไม่หัน กลับไปหามันอีกทาให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและมีความพร้อมที่จะดาเนินชีวิตต่อไปในสังคมได้อย่าง ปกติสุข ดงั นน้ั เขาจะใชช้ วี ิตอยา่ งมีเป้าหมายมากข้ึนสามารถต้ังเป้าและบรรลุผลสาเร็จได้เป็นอย่างดี ซึ่งถือว่า เข้าสู่เสน้ ชัยในชวี ิตแลว้ ในจดุ หน่ึง

๑๗ กำรประเมินผล กิจกรรมสุดท้ายเป็นกิจกรรมท่ีสาคัญท่ีสุด เพราะเราจะไม่รู้เลยว่ากิจกรรมที่ทาต่อเนื่องกันมาจะ ประสบผลสาเร็จหรือไม่นั่นคือ กิจกรรมประเมินผล กิจกรรมนี้จะดาเนินงานถึง ๓ ครั้งในระยะเวลา 1 เดือน ๔ เดือน และ ๘ เดือน โดยครูที่ผ่านการอบรมและเจ้าหน้าที่ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากศูนย์คัดกรองผู้ เสพยาเสพติด และศูนย์ปรับเปล่ียนพฤติกรรม (คลินิกฟ้าสวย) โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวนโดย แบบติดตามผลกาช่วยเหลือทไ่ี ด้มาตรฐานและการตรวจหาสารเสพตดิ ในปัสสาวะ เมอ่ื นักเรยี นปฏิบัติครบตาม กาหนดนักเรียนจะกลายเป็นนักเรียนปกติ ซึ่งทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อกล่อมเกลาเด็กให้ งดงามดังเช่น กิจกรรมขอขมาแม่ การบรรพชาสามเณร การแข่งขนั กีฬา เปน็ ต้น

๑๘ ๔. ผลดำเนนิ งำน ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ที่ได้รบั จากการจัดตั้งคลินิกเสมารักษ์ โดยใช้จิตสังคมบาบัดแบบผู้ป่วยนอกในสถานบริการ สาธารณสุข (The Matrix Intensive Outpatient Program) ข้ึนมาใช้ในการให้คาปรึกษา และบาบัด นกั เรียนที่ใช้ยาเสพติด ทาให้นักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึงและตรงตามสภาพปัญหา ก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อเด็ก ครอบครัว และสังคม มีทักษะชีวิต (Life Skills) อันเป็นความสามารถ อัน ประกอบด้วยความรู้ เจตคติ และทักษะ ในการท่ีจะจัดการกับความกดดัน ความบีบคั้น ปัญหารอบตัวใน สภาพสังคมปัจจุบัน และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต โดยมีความคิดวิเคราะห์วิจารณ์และ ความคิดสร้างสรรค์เป็นพ้ืนฐานสาคัญ มีความตระหนักรู้ในตน ความเห็นใจผู้อ่ืน ความภูมิใจในตนเอง ความ รับผิดชอบต่อสังคม มีทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ การส่ือสาร การตัดสินใจ แก้ไขปัญหา การจัดการกับ อารมณ์ และความเครียด รู้จักตนและควบคุมตนเอง พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ และเรียนรู้อย่างมี ความสขุ สัมพนั ธภาพระหวา่ ง ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นไปด้วยดีและอบอุ่นทาให้สามารถ พฒั นานักเรียนอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ เปน็ การคืนคนดมี ีคุณภาพให้กบั สงั คมอย่างเป็นรปู ธรรม โดยเราพบวา่ จานวนผู้ใชย้ าเสพตดิ ในโรงเรยี นมจี านวนลดลงอย่างเหน็ ได้ชัดเจน นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงโทษและพิษภัยยาเสพติดมากข้ึนดูได้จากจานวนผู้ตรวจพบ สารเสพติดลดลงอย่างตอ่ เนื่อง การมีส่วนร่วมในการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนมากข้ึนและที่สาคัญผู้บริหาร โรงเรยี นให้ความสาคัญเป็นอยา่ งดีย่ิง นักเรียนแกนนาปฏบิ ตั ิหน้าทใ่ี นคลินิกเสมารักษ์ไดร้ ่วมเปน็ วิทยากรศูนย์ปรับเปล่ียนพฤติกรรมจังหวัด ขอนแก่นติดตอ่ กัน ๓ปซี ้อน ๒๕๕๙-๒๕๖๑ คุณครูวิทยากรประจาคลินิกเสมารักษ์โรงเรียนสีกันนวลวิทยาคมได้รับเกียรติติบัตรยกย่องจาก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพระราชกระนวนร่วมกับท่ีทาการปกครองอาเภอกระนวนให้เป็นผู้มีความ เชี่ยวชาญ ดา้ นการบาบดั รักษายาเสพตดิ โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมไดร้ บั ยกยอ่ งใหเ้ ป็นโรงเรยี นต้นแบบการดาเนินงานด้านการบาบัดรักษา (คลินิกเสมารักษ์) และขยายเครือข่ายไปยังโรงเรียนขยายโอกาสและโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกโรงเรียนใน อาเภอกระนวน และโรงเรียนตา่ งๆ ใน สพม.๒๕

๑๙ ภาพความสาเร็จของนวัตกรรม “ศร.ี ..เสมารักษ์คนื คนดีสสู่ งั คม” ผลกำรแก้ไขปัญหำนักเรยี นกล่มุ เสีย่ งสำรเสพติดคลินกิ เสมำรักษ์ โรงเรยี นศรกี ระนวนวทิ ยำคม ประจำปกี ำรศกึ ษำ 25๕๙ – 2561 จำนวน จำนวนผู้ ปีกำรศกึ ษำ นักเรยี น กำรแกไ้ ขปัญหำ ผ่ำนกำร ร้อยละ ส่งต่อ กลุม่ เสย่ี ง แกไ้ ขปัญหำ ๒๕๕๙ ๑๘ กจิ กรรมบาบดั คลนิ ิกเสมารกั ษ์ ๑๒ ๖๖.๖๖ ๖ จานวน 16 สัปดาห์ ๓ การต้งั ครรภก์ ่อนวัยอันควร ๓ ๑๐๐ (OSCC) 2560 23 กิจกรรมบาบัดคลินิกเสมารกั ษ์ 19 79.16 ๔ จานวน 16 สัปดาห์ ๑ การตง้ั ครรภก์ ่อนวัยอนั ควร ๓ ๑๐๐ (OSCC) 2561 ๑๖ กิจกรรมบาบัดคลินิกเสมารกั ษ์ ๑๔ ๘๗.๕ ๒ จานวน 16 สัปดาห์ ๕. ปจั จยั ควำมสำเร็จ การดาเนินงานคลินิกเสมารักษ์ สามารถดาเนินการสาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์เนื่องด้วย ปจั จัยความสาเรจ็ ดังน้ี ๕.๑. ครูทุกคนเปิดใจและพร้อมปรับเปล่ียนวิธีการดูแลนักเรียนด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์ ต่างๆโดยถือว่าผู้เรยี นมีความสาคญั ที่สุดซึง่ กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งสง่ เสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพมีทัศนคติท่ีดีต่อนกั เรยี นและมคี วามสุขท่จี ะพัฒนานักเรยี นในทุกดา้ น ๕.๒. ผบู้ ริหารให้ความสาคัญกบั การดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ๕.๓. มีภาคีเครือข่ายมีความเข้มแข็งและชุมชนทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือในการ ดาเนินงานเปน็ อย่างดี

๒๐ ๕.๔. มีการติดตามประเมินผลวิเคราะห์และอภิปรายผล มีการนาข้อมูลท่ีได้จากการปฏิบัติ หน้าท่ีมาวิเคราะห์และอภิปรายแลกเปล่ียนประสบการณ์และสรุป วิเคราะห์ อภิปรายผลของการดาเนินงาน และประสบการณต์ ่าง ๆเพ่ือใหม้ แี นวคิดกวา้ งขวางข้นึ ๕.๕. สถานศึกษานาประสบการณ์ และผลการดาเนินงานคลินิกเสมารักษ์ประจาปี ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ และสถานศึกษาท่ีเป็นเครือข่ายมาเป็นฐานข้อมูลในการปรับปรุงพัฒนาวิธีปฏิบัติงานนาไปสู่วิธีปฏิบัติ ทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) ๖. บทเรียนท่ีได้รับ ๖.๑ .โรงเรียนมรี ูปแบบการบาบดั โดยใช้คลนิ กิ เสมารกั ษท์ ีม่ ีประสิทธิภาพ ๖.๒. ผู้รับบริการพึงพอใจการให้คาปรึกษา และบาบัดโดยใช้จิตสังคมบาบัดแบบผู้ป่วยนอกในสถาน บรกิ ารสาธารณสขุ (The Matrix Intensive Outpatient Program) ของคลินิกเสมารักษ์ ๖.๓. ทมี งานผู้ให้บริการเกิดความมั่นใจในการนารูปแบบการทาการทาจติ สงั คมบาบัด ๖.๔. โรงเรยี นควรมกี ารบันทกึ ข้อมลู การบาบดั ให้ครอบคลมุ ๖.๕ .มีเจ้าหน้าท่ีบางส่วนให้ความเห็นว่าเป็นการตีตราเด็กมากเกินไปหรือไม่ท่ีเข้าไปบาบัดใน โรงเรยี น อาจมเี พอื่ นๆหรือคนอน่ื รขู้ อ้ มูลโดยบงั เอิญได้ ๖.๖ การดาเนินงานคลินิกเสมารักษ์ต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายท้ังในโรงเรียนและนอกโรงเรียนต้องมีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการ ดาเนนิ งานใหค้ าปรึกษา และบาบัดผใู้ ช้สารเสพติด เพือ่ คืนคนดที ีม่ คี วามสามารถ อันประกอบด้วยความรู้ เจต คติ และทักษะ ในการที่จะจัดการกับความกดดัน ความบีบคั้น ปัญหารอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบัน และ เตรียมพรอ้ มสาหรบั การปรับตวั ในอนาคตสูส่ ังคม ๖.๘ ควรมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างครูในสถานศึกษา สหวิทยาเขต และโรงเรียนที่มี บริบทใกล้เคียงกนั เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูต้ อ่ ยอดการทาวิจัยในอนาคต ๖.๙. นาไปประยุกต์ใช้เก่ียวกับปัญหาใกล้ตัวในชีวิตประจาวันและชุมชน แล้วต่อยอดด้วย การนาผลท่ไี ด้ไปบริการสงั คม ๗. การเผยแพร่ การได้รบั การยอมรบั และรางวัลทีไ่ ดร้ ับ โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมได้เผยแพร่ผลการดาเนินงานโดยจัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มและเผยแพร่ ทางเว็บไซต์ของโรงเรียน www.skwk.ac.th, สพม.๒๕ แฟนเพจศรีกระนวนวิทยาคม และจัดทาวีดีทัศน์ เผยแพร่ทาง www.youtube.com ช่อง Srikranuan channel การเป็นวิทยากรการป้องกันและบาบัด ยาเสพติด เป็นโรงเรยี นพเ่ี ลี้ยงให้กับโรงเรียนในสหวทิ ยาเขตและโรงเรียนที่มีบริบทใกล้เคียง รวมถึงการศึกษา ดงู านของโรงเรยี นในเครือขา่ ยและโรงเรยี นใกลเ้ คยี ง

๒๑ ภาพการเผยแพร่บนเวป็ ไซต์ของโรงเรียน www.skwk.ac.th ภาพการเผยแพร่บนแฟนเพจศรีกระนวนวทิ ยาคม ภาพการเผยแพร่ข้อมลู ทาง www.youtube.com ชอ่ ง SRIKRANUAN Channel

๒๒ คณะผู้จดั ทำ ท่ปี รกึ ษำ รูปตา่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนศรีกระนวนวทิ ยาคม สร้อยพมิ าย รองผอู้ านวยการ กลุม่ อานวยการ ๑. นายสุรเชษฐ วิโย รองผอู้ านวยการ กล่มุ บรหิ ารกิจการนกั เรยี น ๒. นายวราวธุ แสงสุพนิ รองผูอ้ านวยการ กลุม่ บริหารงานวชิ าการ ๓. นางอญั รินทร์ ๔. นางลกั ษณ์มณี คณะทำงำน ๑. นางสาวิตรี ทัดพินิจ ประธานกรรมการ กรรมการ ๒. นางวรษิ า อธสิ ุมงคล กรรมการ กรรมการ ๓. นางนภัสสร เพชรธนกลุ กรรมการ กรรมการ ๔. นายประจักษ์ ศกั ด์ิคันธภิญโญ กรรมการ กรรมการ ๕. นางสาวอาจารยี า อ่อนสะอาด กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ๖. นายฐนธัช วินทะไชย กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ ๗. นายอสิ ระ โป้คอนสาร ๘. นางสาวจิรัชญา สีสุพฒั น์ ๙. นางสาวกนั ยารตั น์ บุญหลา้ ๑๐. นางปิยพร ศริ ปิ รีชาพันธ์ุ ๑๑.นางมลศรี คาแก้ว ๑๒.นางสาวชลดิ า ชาติมนตรี

ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook