Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับยางและ พลาสติก_7-4

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับยางและ พลาสติก_7-4

Published by kully5255, 2020-04-07 09:01:29

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับยางและ พลาสติก_7-4

Search

Read the Text Version

1 ความรู้เบื้องต้น เกยี่ วกบั ยางและ พลาสติก จดั ทาโดย อทุ ยั วรรณ ปาณะศรี

2 ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกบั ยาง

3 ชนิดและคุณสมบตั ิของยางแต่ละ ชนิด • 1 – NR • 6 – NBR, • 2 – SBR NBR/PVC •3– • 7 – AR (ACM) • 8 – FKM EPDM • 9 – SILICONE • 4 – IIR • 5 – CR (Q)

4 NR : Natural Rubber จดุ เด่น จุดด้อย • 1. คุณสมบตั เิ ชงิ ได • 1. ไม่ทนต่อนา้ มัน นามิกซ์ ปิ โตรเลียม • 2. การตอบสนองต่อ • 2. ไม่ทนโอโซน ความยืดหยุ่น • 3. ไม่ทนความร้อน • 3. Tensile • 4. ไม่ทนต่อกรดแก่ strength สูง • 5. ไม่ทนต่อไขมัน, นา้ มัน • 4. ทนต่ออุณหภมู ติ ่า ต่างๆ,จารบี • 5. ความต้านทานต่อ การกดั กร่อน

5 SBR : Styrene Butadiene Rubber จดุ เด่น จุดด้อย • 1. คุณสมบัตเิ ชิงได • 1. ไม่ทนต่อนา้ มัน นามกิ ซ์ ปิ โตรเลียม • 2. การตอบสนองต่อ • 2. ไม่ทนโอโซน ความยืดหย่นุ • 3. ไม่ทนความร้อน • 3. Tensile • 4. ไม่ทนต่อกรดแก่ strength สูง • 5. ไม่ทนต่อไขมัน, นา้ มัน • 4. ทนต่ออุณหภมู ิต่า ต่างๆ,จารบี • 5. ความต้านทานต่อ การกัดกร่ อน

6 EPDM : Ethylene Propylene Diene Monomer จุดเด่น จุดด้อย • 1. ทนต่อโอโซน • 1. ไม่ทนต่อนา้ มัน • 2. ทนความร้อน ปิ โตรเลียม • 3. ทนนา้ • 4. ทนสารเคมี • 2. การยดึ เกาะกับ วัตถุดบิ ชนิดอ่นื ไม่ดี • 5. ทนต่อนา้ มนั เบรค

7 IIR : Isobutylene Isoprene Rubber จุดเด่น จุดด้อย • 1. การซมึ ผ่านของ • 1. ไม่ทนต่อนา้ มัน ก๊าซต่า ปิ โตรเลียม • 2. ไม่นาไฟฟ้า • 2. การตอบสนองต่อ ความยืดหยุ่นไม่ดี • 3. การทนต่อสภาพ อากาศ • 3. การยดึ เกาะกับ วตั ถุดบิ ชนิดอ่นื ไม่ดี • 4. ทนโอโซน • 5. คุณสมบตั ทิ าง กายภาพดี • 6. ดดู ซับ แรงส่ันสะเทอื นได้ดี

8 CR : Chloroprene Rubber จุดเด่น จุดด้อย • 1. การทนต่อสภาพ • 1. ไม่ทนนา้ อากาศ • 2. การต้านทานไฟฟ้าไม่ • 2. การต้านทานการ ดี ตดิ ไฟ • 3. ไม่ทนต่อกรดแก่ • 3. ทนนา้ มนั • 4. ไม่ทนต่อสารเคมี • 4. ทนโอโซน จาพวก Esters • 5. ทนต่อการหกั งอ • 5. ไม่ทนต่อสารเคมี จาพวก Ketones

9 NBR : Acrylonitrile Butadiene Rubber จุดเด่น จุดด้อย • 1. สามารถทนต่อ • 1. ไม่ทนนา้ นา้ มันได้ดี • 2. การต้านทานสภาพ • 2. คุณสมบัตทิ าง อากาศไม่ดี กายภาพดี • 3. ไม่ทนโอโซน • 4. ไม่ทนต่อสารเคมี จาพวก Esters • 5. ไม่ทนต่อสารเคมี จาพวก Ketones

10 NBR/PVC : Acrylonitrile Butadiene / Polyvinyl Chloride Rubber จุดเด่น จุดด้อย • 1. สามารถทนต่อ • 1. ไม่ทนนา้ นา้ มันได้ดี • 2. ไม่ทนต่อสารเคมี • 2. สามารถทนต่อ จาพวก Esters นา้ มนั ทางเลือก เช่น • 3. ไม่ทนต่อสารเคมี Fuel C, E25, จาพวก Ketones Gasohol ได้ดี • 3. ทนโอโซน

11 AR : Acrylic Rubber จุดเด่น จุดด้อย • 1. ไม่ทนนา้ • 1. สามารถทนต่อ • 2. ไม่ทนอุณหภมู ติ ่า นา้ มันได้ดี • 3. Tensile • 2. สามารถทนต่อ strength ต่า สภาพอากาศได้ดี • 4. ไม่ทนแอลกอฮอล์ • 3. ทนโอโซน • 4. ทนอุณหภมู ไิ ด้สูง

12 FKM : Fluoro Rubber จุดเด่น จุดด้อย • 1. สามารถทนต่อ • 1. การยดึ เกาะกบั นา้ มันได้ดที งั้ อุณหภมู ิ วตั ถุดบิ ชนิดอ่นื ไม่ดี สูงและอุณหภมู ติ ่า • 2. ความแขง็ เปล่ียนแปลงท่อี ุณหภมู ิ • 2. สามารถทนต่อ สภาพอากาศได้ดี ต่า • 3. ทนโอโซน • 3. ฉีกขาดง่ายในขณะท่ี • 4. ทนอุณหภมู ไิ ด้สูง ร้ อน • 5. การต้านทานการ • 4. ราคาแพง ตดิ ไฟ

13 Q : Silicone Rubber จุดเด่น จุดด้อย • 1. ไม่นาไฟฟ้า • 1. Tensile strength ต่า • 2. บริสุทธ์ิ • 2. ไม่ทนนา้ มัน • 3. ทนโอโซน • 4. สามารถทน อุณหภมู ิได้ทงั้ อุณหภมู สิ ูงและ อุณหภมู ติ ่า • 5. ทนนา้

14 ความหมายของ Lot no. จากใบ Tag no.3 ตวั อย่าง Lot no. : 17/2/17/1- 18/2/17/2/8 ตวั เลขชุดหน้า : NON PRO ตัวเลขชุดหลัง : PRO ตัวท่ี 1 : วันท่รี ีด PRO ตัวท่ี 1 : วันท่รี ีด NON PRO ตัวท่ี 2 : เดือนท่รี ีด PRO ตัวท่ี 3 : ปี ท่รี ีด PRO ตัวท่ี 2 : เดอื นท่รี ีด NON ตัวท่ี 4 : เลขท่ชี ุดของ PRO PRO ตัวท่ี 5 : เลขท่จี านวนชุดทงั้ หมด ตวั ท่ี 3 : ปี ท่รี ีด NON PRO ท่วี างแผนรีด PRO ตัวท่ี 4 : เลขท่ชี ุดของ NON PRO

15 ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกบั พลาสติก

16 ประเภทของพลาสติก 1. Thermoplastics 2. Thermosetting Plastics

17 ประเภทของพลาสตกิ 1. Thermoplastics เกิดจากกระบวนการ Polymerization โ ค ร ง ส ร้ า ง จ ะ เ ป็ น อ สั ณ ฐ า น (Amorphous) คือโมเลกุลเดี่ยวต่อกัน เป็ นลูกโซ่ยาว พลาสติกชนิ ดนี้จะอ่อน ตวั และสามารถขึน้ รปู ได้เมอ่ื อณุ หภมู ิสงู

18 ตวั อย่าง Thermoplastics 1. Polyethylene (โพลีเอทิลีน) เรียกย่อว่า PE มี ความยืดหยนุ่ ดี มีทงั้ แบบอ่อน และแบบแขง็ ได้แก่ 1. Low Density Polyethylene (LDPE) มีความต้านทานการกดั กรอ่ นดี กนั ความชื้นได้ดี ความ แขง็ แรงตา่ และมีความยืดหย่นุ สงู นิยมใช้ในการผลิต bags, bottles, and liners. 2. High Density Polyethylene (HDPE) เป็นกล่มุ ที่นิยมใช้มากที่สดุ รบั แรงกระแทกได้ดี น้าหนัก เบา ดดู ซบั ความชื้นน้อย มีความแขง็ แรงสงู ไม่เป็นพิษ บรรจอุ าหารได้ 3. Ultra High Molecular Weight Polyethylene (UHMW PE) น้าหนักเบา มีความแขง็ แรงสงู กลึงไสได้เช่นเดียวกบั ไม้ ใช้ในงานเครอ่ื งจกั กลที่ทนต่อการสึกหรอ ต้านทานต่อ แรงขดั สี และการกดั กรอ่ น

19 ตวั อย่าง Thermoplastics (ต่อ) 2. Polyvinyl Chloride เรียกย่อว่า PVC ไม่มีสี ย้อมสีได้ ทนต่อน้ามนั จารบี กรด และด่าง ปกติ PVC จะแขง็ แต่เม่ือผสมสารท่ีทาให้ อ่อนตวั จะฉีดขึ้นรูปและปาดผิวได้ ถ้าเติม สารที่ทาให้อ่อนตวั มากจะกลายเป็ น PVC อ่อน หรอื หนังเทียม Ex. ท่อน้า, แผน่ พลาสติกบาง, แผน่ เสียง, CAP

20 ตวั อย่าง Thermoplastics (ต่อ) 3. Polypropylene เรียกย่อว่า PP มี คุณสมบตั ิคล้ายกบั PEแต่ทนความร้อน ได้สูงกว่า แต่เปราะที่อุณหภูมิต่า ใช้ใน อตุ สาหกรรมบรรจภุ ณั ฑ์ ชิ้นส่วนรถยนต์ ได้จากกระบวนการ polymerization ของ Propylene (C3H6) สญั ลกั ษณ์การนากลบั มาใช้ใหม่

21 ตวั อย่าง Thermoplastics (ต่อ) 4. Acrylonitrile-Butadiene-Stryrene เรียกย่อว่า ABS เหนียว ทนต่อการกระแทกได้ดีความ ต้านแรงดันสูง ใช้ทาใบพัดลม หมวก กนั น็อค อปุ กรณ์สขุ ภณั ฑ์ 5. Polymethylmethacrylate เรียกย่อว่า PMMA หรอื plexiglass ทนแดด ทนต่อ บรรยากาศ แขง็ และเหนียว รอยแตกไม่ แหลมคม จึงนิ ยมนามานาแผ่นแก้ว นิ รภัย ฝาครอบไฟท้าย ไฟเลี้ยวยาน ยนต์

22 ตัวอย่าง Thermoplastics (ต่อ) 6. โพลิสไตรีน (Polystyrene : PS) Polystyrene was discovered in 1839 by Eduard Simon มีลกั ษณะโปรง่ ใส เปราะ ทนต่อกรดและด่าง ไอ น้าและ อากาศซึมผา่ นได้พอควร ใช้ทาชิ้นส่วน อปุ กรณ์ไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนิกส์ เครอื่ งใช้ สานักงาน เป็นต้น

23 ประเภทของพลาสติก 2. Thermosetting Plastics เกิ ดจากการนาโมเลกุลเดี่ยวชนิ ด เดียวกนั หรือต่างชนิ ดมาทาปฎิกิริยา แยกน้าออก ภายใต้ความดันและ อณุ หภมู ิ เรียกว่า ‘Polycondensation’ - แขง็ แรง และคงรปู หลงั จากการเยน็ ตวั - เมื่อได้รบั ความร้อนจะยืดหย่นุ แต่ถ้า สูงเกินไป หรือนานเกินไป จะทาให้ โมเลกลุ ขาดจากกนั และแขง็ เปราะ ไม่ สามารถขนึ้ รปู ได้

24 ตวั อย่าง Thermosetting Plastics 1. Unsaturated Polyester เรียกย่อว่า UP ไม่ มีสี ผิวเป็ นมนั เงา มีทัง้ ท่ียืดหยุ่นได้ และ แขง็ เปราะ Ex. ชิ้นส่วนตวั ถงั รถยนต์ และ ตวั เรือ 2. Epoxy Resin เรียกย่อว่า EP ไม่มีสี และมีสี ออกเหลืองเหมือนน้าผึ้ง แข็งและเหนียว จบั เกาะวสั ดทุ ุกชนิ ด ทนการกดั กร่อนได้ดี มาก Ex. ชิ้นส่วนเครอ่ื งบิน กาว 3. Polyurethane เรียกย่อว่า PUR โปร่งใส สี เหลืองเหนียว และอ่อนเหมือนยาง Ex. โพรี ยลู ีเทนแขง็ ใช้ทาเฟื อง เปลือกรองเพลา โพ รียูลีเทนอ่อนใช้ทา ฟองน้าเฟอรน์ ิ เจอร์ โพ รียลู ีเทนเหลวใช้ทาเคลือบเงา

25 Q&A

26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook