Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา หน้าที่พลเมือง ๕ (ส๒๓๒๓๕)

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา หน้าที่พลเมือง ๕ (ส๒๓๒๓๕)

Published by mahakor.2018, 2021-06-03 10:15:44

Description: เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง ๕ (ส๒๓๒๓๕)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม หน้าที่พลเมือง ๕ (ส๒๓๒๓๕) ม. ๓ พระมหาธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม โรงเรียนวัดเขาเชิงเทียนเทพาราม สังกัด อบจ.ชลบุรี



คำนำ รายวิชาเพมิ่ เติม หนาท่พี ลเมอื ง เปนนโยบายของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (คสช.) ที่สง เสริมให เดก็ และเยาวชนในชาติไดม คี วามรูความเขา ใจในเร่ืองประวตั ิศาสตร ความเปน ไทย รกั ชาติ ศาสนา และเทดิ ทนู สถาบัน พระมหากษัตริย และเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความปรองดอง สมานฉันท เพื่อสันติสุขในสังคมไทย และกำหนดคานิยมหลัก ๑๒ ประการ เพื่อสรางคนไทยที่เขมแข็งนําไปสูการ สรา งสรรคป ระเทศไทยใหเ ขม แขง็ เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาเพิ่มเติม หนาที่ พลเมือง ๕ (ส๒๓๒๓๕) ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๓ รวบรวมขึ้นตรงตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อใหนักเรียนไดรับสาระความรูตามที่หลักสูตรกำหนด โดยมุงหวังใหใชเอกสารประกอบการเรียนนี้ เปนแหลงการ เรียนรูสำหรับอานเพิ่มเติมจากการเรียนรูภายในชั้นเรียน รวมไปถึงเปนแหลงสืบคนขอมูลเบื้องตนที่นอกเหนือจาก แบบเรยี นที่ทางสถานศกึ ษากำหนด หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ จะชวยอำนวยความสะดวกแกนักเรียน ใหไดรับสาระ ความรู เห็นคุณคา และตระหนักถึงความสำคัญในการเรียนรูวิชาประวัติศาสตร แลวนำมาประยุกตใชไดอยางเปน ระบบ บรรลจุ ุดหมายของหลกั สตู รอยางแทจ ริง หากเอกสารประกอบการเรียนเลม น้ี มขี อ ผดิ พลาดประการ ผรู วบรวม ขออภยั มา ณ ทีน่ ้ี และขอใหแ จง แกผ รู วบรวม เพือ่ ปรบั ปรงุ เนือ้ หาสาระใหส มบรู ณถ ูกตองตอไป พระมหาธรี พิสิษฐ จนทฺ สาโร ผูรวบรวม กฏุ ิลือกติ ตินนั ท วัดเขาเชิงเทียนเทพาราม ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔



สารบัญ ก ข มาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ช้วี ดั ค คำอธบิ ายรายวิชา โครงสรา งรายวชิ า ๑ ๑ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ ความเปน ไทย “สังคมแมแ บบ” ๒ มารยาทไทย ๖ ๑. มารยาทในการแสดงความเคารพ ๙ ๒. มารยาทในการสนทนา ๑๑ ๓. มารยาทในการแตงกาย ๑๖ ๔. การมีสมั มาคารวะ ๑๖ ความเอื้อเฟอเผ่ือแผและเสยี สละตอ สงั คม ๑๗ ๑. ความเอื้อเฟอเผ่อื แผ ๒๒ ๒. ความเสยี สละ เอกสารอา งองิ ๒๓ ๒๓ หนว ยการเรยี นรูท่ี ๒ วิถีไทย ๒๖ ๑. ขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทย ๓๑ ๒. ศลิ ปวฒั นธรรมไทย ๔๓ ๓. ภมู ปิ ญ ญาไทย เอกสารอางองิ ๔๕ ๔๕ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๓ ชาติ ศาสน กษตั ริย ๕๓ ๑. การรักชาติ ศาสน กษตั รยิ  ๒. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ๕๕ บรมนาถบพิตร ๖๔ ๓. หลกั การทรงงาน เอกสารอางอิง



จดุ เนน และผลการเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๕ จุดเนนท่ี ๑ ความเปน ไทย ๑. มสี วนรวม แนะนำผอู ่ืนใหอ นรุ กั ษ และยกยอ งผูมมี ารยาทไทย ๒. แสดงออก แนะนำผอู ่นื และมสี วนรว มในกจิ กรรมเก่ยี วกบั ความเอื้อเฟอเผือ่ แผ และเสียสละ ๓. เห็นคุณคา อนุรักษ สืบสาน และประยุกตขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิ ปญญาไทย จุดเนนท่ี ๒ รกั ชาติ ยดึ มัน่ ในศาสนา และเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตริย ๔. เปน แบบอยา งและมสี ว นรว มในการจดั กจิ กรรมท่ีแสดงออกถึงความรักชาติ ยดึ ม่ันในศาสนา และ เทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษตั ริย ๕. ประยกุ ตแ ละเผยแพรพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จุดเนนที่ ๓ ความเปน พลเมอื งดีในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข ๖. ปฏบิ ัติตนเปน พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย ๗. มสี ว นรวมและรับผดิ ชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอ มลู ตรวจสอบการทำหนาที่ของบุคคลเพ่ือ ใชป ระกอบการตดั สินใจ จดุ เนนท่ี ๔ ความปรองดอง สมานฉันท ๘. เห็นคุณคา ของการอยูรว มกันในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกอยางสันติ และพึ่งพาซึ่งกนั และกัน ๙. มสี วนรว มและเสนอแนวทางการแกปญหาความขัดแยงโดยสนั ติวธิ ี จุดเนน ที่ ๕ ความมวี ินยั ในตนเอง ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปนผูม วี นิ ยั ในตนเอง ก

คำอธิบายรายวชิ าเพ่มิ เตมิ รายวชิ า หนา ทพี่ ลเมอื ง ๕ รหัสวชิ า ส๒๓๒๓๕ กลมุ สาระการเรียนรู สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๐.๕ หนวยกิต เวลา ๒๐ ชั่วโมง ศึกษามีสวนรวม แนะนำผอู ืน่ ใหอ นรุ กั ษ และยกยองผมู ีมารยาทไทยในเรือ่ งการแสดงความเคารพ การสนทนา การแตงกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออก แนะนำผูอื่น และมีสวนรวมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟอเผื่อแผและ เสยี สละตอ สังคม เห็นคุณคา อนรุ ักษ สืบสานและประยุกตขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญา ไทย ปฏิบัติตนเปนผมู ีวนิ ยั ในตนเอง ในเรอ่ื งความซือ่ สัตยส ุจริต ขยันหมัน่ เพียร อดทน ใฝห าความรู ตัง้ ใจปฏิบัติหนาท่ี และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเองปฏิบัติตนเปนแบบอยาง และมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมที่แสดงออก ถงึ ความรกั ชาติ ยดึ มน่ั ในศาสนา และเทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตริย ประยุกตและเผยแพรพระบรมราโชวาทใน เร่ือง การเสียสละ ความซื่อสัตย หลักการทรงงานในเรื่องศึกษาขอมูลอยางเปนระบบ แกปญหาที่จุดเล็ก ปฏิบัติตนเปนผูมี วินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตยสุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝหาความรู และตั้งใจปฏิบัติหนาที่ และมีความรู ความเขาใจตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใชกระบวนการกลุม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ กระบวนการ แกปญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู กระบวนการสรางความตระหนัก กระบวนการสรางคานิยม กระบวนการ สรา งเจตคติและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพือ่ ใหผ เู รยี นมีลักษณะท่ีดีของคนไทย ภาคภูมใิ จในความเปนไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีสวนรวมทางการเมืองการปกครอง อยูรวมกับผูอื่นอยางสันติ จัดการความขัดแยงดวยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง และปฏิบตั ิตนใหด ำเนนิ ชีวิตไดอ ยา งสมดุล อยา งยั่งยืน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรู ๑. มสี ว นรวม แนะนำผอู ื่นใหอ นุรกั ษ และยกยอ งผูมมี ารยาทไทย ๒. แสดงออก แนะนำผอู ่ืน และมสี วนรว มในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟอเผอื่ แผ และเสียสละ ๓. เหน็ คุณคา อนรุ ักษ สบื สวน และประยุกตข นบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทย ๔. เปนแบบอยางและมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนาและเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย ๕. ประยุกตและเผยแพรพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวม ๕ ผลการเรียนรู ข

โครงสรางรายวชิ าเพิ่มเติม รายวิชา หนา ท่ีพลเมอื ง ๕ รหัสวชิ า ส๒๓๒๓๕ กลมุ สาระการเรียนรู สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๐.๕ หนว ยกิต เวลา ๒๐ ชวั่ โมง หนว ย ช่ือหนวยการเรียนรู ผลการเรียนรู เวลา นำ้ หนักคะแนน ท่ี (ช่ัวโมง) ขอ ๑ - ๒ ๓๐ ๑ ความเปน ไทย “สังคมแมแบบ” ขอ ๓ ๕ ๓๕ ๕ ๓๕ ๒ วถิ ีไทย ขอ ๔ - ๕ ๑๐ ๑๐๐ ๒๐ ๓ ชาติ ศาสน กษตั ริย รวมท้ังสิ้น ค



หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความเปน็ ไทย “สงั คมแมแ่ บบ” ๑ หนวยการเรียนรูท่ี ๑ ความเปน ไทย “สงั คมแมแบบ” ผลการเรยี นรู ๑. มสี ว นรว ม แนะนำผอู น่ื ใหอ นรุ ักษ และยกยองผมู ีมารยาทไทย ๒. แสดงออก แนะนำผูอ่ืน และมีสวนรว มในกิจกรรมเกี่ยวกับความเออ้ื เฟอเผื่อแผ และเสยี สละ สังคมไทย มีที่มาจากสังคมชนบทเปนพื้นฐาน จากชุมชนแบบที่มีจิตใจโอบออมอารี ชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน และกัน รักสงบ รกั ความอสิ ระ ออนนอมถอมตน ทำใหคนไทยมีไมตรีตอผูอน่ื จนไดร ับสมญานามวา “สยามเมืองย้ิม” ซึ่งชาวตางชาติตางชื่นชมในความมีน้ำใจไมตรีของคนไทย แมสังคมไทยจะเปลี่ยนแปลงไป ไดรับความเจริญสมัยใหม มีผูคนหลากหลายเชื้อชาติปะปนอยูในสังคมเปนจำนวนมาก จึงเกิดความหลากหลายทางดานวัฒนธรรมที่เขามามี บทบาทตอความคิดและพฤติกรรมของเด็กไทยมากย่ิงขึ้นโดยเฉพาะเรือ่ งมารยาท อาทิเชน การแตงกาย การใชภาษา ประเพณี กริ ยิ าทา ทางมารยาทและการแสดงออกทางสังคม แตม ารยาททงั้ หลายเหลา น้ัน ท่เี ปนระเบยี บแบบแผนอันดี งามของสังคมไทย ซึ่งรับสืบทอดกันมาจากรุนสูรุนก็ยังคงหลงเหลืออยู จึงถือเปนเอกลักษณเฉพาะของไทย เปน อัตลักษณที่หาใครเสมอเหมือนไดไม ดังนั้น สังคมไทยแตกตางจากสังคมของชนชาติอื่นอยางชัดเจน และควรธำรง รักษา สืบทอด และสงตอใหแกลูกหลานสืบไป โดยถือเปนหนาท่ีหลัก เพื่อมิใหเอกลกั ษณ และอัตลักษณอันดีงามของ สังคมไทยตองสญู หายไป มารยาทไทย มารยาทไทย (Thai Etiquette) คือ กิริยา วาจาตาง ๆ เชน การยืน การเดิน การนั่ง การนอน การรับของสงของ การทำความเคารพ การแสดงกิริยาอาการ การรับประทานอาหาร การใหและรับบริการ การทักทาย การสนทนา การใชค ำพูด การฟง การใชเ ครือ่ งมอื สื่อสาร รวมท้ังการประพฤติปฏบิ ัติในพธิ ีการตาง ๆ ท่ีสภุ าพเรยี บรอ ย ท่ีบุคคลพึง ปฏิบัติในสังคม โดยมีระเบียบแบบแผนอันเหมาะสมตามกาลเทศะ และถือเปนเอกลักษณสำคัญของคนไทย ซึ่ง มารยาทไทยทกี่ ำหนดข้นึ ไวเปนแนวทางประพฤตปิ ฏบิ ัติของกระทรวงวัฒนธรรม ดังน้ี ๑. การแสดงความเคารพ ๒. การยนื ๓. การเดิน ๔. การนงั่ ๕. การนอน ๖. การรับของและสง ของ ๗. การแสดงกริ ยิ าอาการ รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าท่ีพลเมือง ๕ พระมหาธรี พิสิษฐ์ จนฺทสาโร

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ความเป็นไทย “สังคมแมแ่ บบ” ๒ ๘. การรบั ประทานอาหาร ๙. การใหและรบั บรกิ าร ๑๐. การทกั ทาย ๑๑. การสนทนา ๑๒. การใชค ำพูด ๑๓. การฟง ๑๔. การใชเ ครื่องมือสื่อสาร ๑๕. การประพฤติปฏิบัติในพธิ กี ารตา ง ๆ มารยาทไทย ที่นักเรียนควรศึกษาเปนสำคัญในระดับชั้นนี้ เพื่อรักษา และปฏิบัติไดอยางถูกตองเหมาะสม มี ๔ เร่อื ง ไดแก ๑. มารยาทในการแสดงความเคารพ ๒. มารยาทในการสนทนา ๓. มารยาทในการแตงกาย ๔. การมีสัมมาคารวะ ๑. มารยาทในการแสดงความเคารพ การแสดงความเคารพ เปนมารยาทที่สำคัญของคนไทยอันดับแรก ซึ่งมีหลายลักษณะ เชน การประนมมือ การไหว การกราบ การคำนับ การถวายความเคารพ การที่จะแสดงความเคารพในลักษณะใดนั้น ตองพิจารณาผูที่จะ รับความเคารพดว ยวาอยใู นฐานะเชน ใด หรอื ในโอกาสใด แลว จงึ แสดงความเคารพใหถ ูกตองและเหมาะสม การแสดง ความเคารพ แบงไดดงั นี้ ๑.๑ การไหว การไหว เปน การแสดงความเคารพ โดยการประนมมือ แลวยก มือทั้งสองข้ึนจรดใบหนา ใหเห็นวาเปน การแสดง ความเคารพอยาง สูง การไหวแบบไทย แบงออกเปน ๓ ระดับ ตามระดับของบุคคล ไดแก ระดับที่ ๑ การไหวพระ ไดแก การไหวพระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ รวมทั้งปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน ที่เกี่ยวกับ พระพทุ ธศาสนา ในกรณีท่ไี มสามารถกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ได ใหป ระนมมอื แลว ยกมือทั้งสองขึ้นพรอมกับคอมศรี ษะลงใหหัว แมม อื จรดระหวา งค้วิ ปลายนิ้วแนบสวนบนของหนาผาก ระดับที่ ๒ การไหวผูมีพระคุณและผูอาวุโส โดยประนม มือ แลวยกมืองทั้งสองขึ้นพรอมกับคอมศีรษะลงใหหัวแมมือจรด ปลายจมกู ปลายนิว้ แนบระหวา งค้วิ รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ท่พี ลเมือง ๕ พระมหาธรี พสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ความเปน็ ไทย “สังคมแมแ่ บบ” ๓ ระดับที่ ๓ การไหวบ คุ คลทั่วไป ทเ่ี คารพนบั ถือ หรอื ผูมีอาวุโสสงู กวาเลก็ นอย โดยประนมมือ แลวยกมืองทั้ง สองขึ้นพรอ มกบั คอ มศรี ษะลงใหห ัวแมมือจรดปลายคาง ปลายนิ้วแนบปลายจมูก ๑.๒ การกราบ ๑.๒.๑ การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ เปนการใชอวัยวะทั้ง ๕ คือ หนาผาก ซึ่งเปนตัวแทนของสวนบน ของรา งกาย มือและขอศอกท้ัง ๒ เปน ตัวแทนสวนกลางของรางกาย เขาทั้ง ๒ ซงึ่ เปน ตัวแทนสวนลางของรางกายจรด พืน้ การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ มี ๓ จงั หวะ คอื จงั หวะท่ี ๑ (อญั ชลี) ยกมือข้ึนในทา ประนมมอื จงั หวะท่ี ๒ (วันทา) ยกมือขึน้ ไหวต ามระดับท่ี ๑ ของการไหวพระ จงั หวะที่ ๓ (อภิวาท) ทอดมือทั้งสองลงพรอม ๆ กัน ใหม อื และแขนทัง้ สองขา งราบกบั พื้น โดยผูชาย ใหศอกท้งั สองวางตอ จากเขาทง้ั สอง สว นผูหญงิ ใหท อดศอกคอมเขาทั้งสองของตน ทำสามจังหวะใหครบ ๓ ครั้ง แลวยกมือขึ้นไหวในทาไหวพระ แลววางมือคว่ำลงบนหนาขา ในทา เตรยี มกราบ จากนนั้ ใหเปลยี่ นอิริยาบถตามความเหมาะสม ๑) ๒) ทาเตรียม จงั หวะที่ ๑ อญั ชลี ๓) ๔) จงั หวะท่ี ๒ วันทา จังหวะท่ี ๓ อภิวาท ๑.๒.๒ การกราบผูใหญ, ผูอาวุโส, ผูที่เราเคารพ หรือ ผูมีพระคุณ เปนการแสดงถึงความนอบนอมถอมตน และยงั เปนมารยาทที่สืบทอดกันมา และเชื่อกันวาเปน สิรมิ งคลแกช วี ิต ๑) การกราบผูใหญ ผูกราบทั้งชายและหญิงนั่งพับเพียบทอดมือทั้งสองขางลงพรอมกันใหแขนทั้งสองครอม เขาทอ่ี ยดู า นลา งเพียงเขาเดียว มอื ประนมตั้งกบั พื้นไมแ บมือ รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าท่พี ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ษิ ฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความเปน็ ไทย “สงั คมแม่แบบ” ๔ ๒) คอมตัวลงใหหนาผากแตะสวนบนของมือที่ประนม ในขณะกราบไมกระดกนิ้วมือขึ้นรับหนาผาก กราบเพียงคร้ัง เดียว จากนั้นใหเปลี่ยนอิริยาบถโดยการนั่งสำรวมประสานมือ และเดนิ เขา ถอยหลงั พอประมาณแลว ลกุ ข้ึนจากไป สวนการกราบศพบุคคลทั่วไป สามารถปฏิบัติไดเชนเดียวกับการ กราบผูใหญ ไมแบมือ จำนวน ๑ ครั้ง สวนการกราบศพพระสงฆ จะกราบ ดวยเบญจางคประดิษฐสามครั้งก็ได สำหรับนาคกราบลาบวช หรือจะ กราบบิดามารดาตอนรับผา ไตรใชแบบเบญจางคประดิษฐ ๓ คร้งั ก็ได ๑.๓ การคำนับ การคำนับ เปนการแสดงเคารพแบบสากล ใน กรณีที่ไมไหวหรือกราบ ใหยืนตัวตรง สนเทาชิดกัน ปลายเทาแยกหางกันเล็กนอย มือปลอยไวขางลำตัว ปลายนิ้วกลางแตะตะเข็บกางเกงหรือกระโปรงดา นขาง คอมชวงไหลและศีรษะลงเล็กนอย แลวเงยหนาขึ้นใน ทาตรง การคำนับนี้ สวนมากเปนการปฏิบัติของผูชาย แตผูหญิงใหใชปฏิบัติได ก็ตอเมื่อแตงเครื่องแบบและ ไมไดสวมหมวก ๑.๔ การแสดงความเคารพพระมหากษตั รยิ  ๔.๑ การถวายบังคม เปนการถวายความเคารพพระมหากษัตริยและพระบรมราชินีตามประเพณีไทยตั้งแต สมัยโบราณจนถงึ ปจจบุ ัน กระทำไดท ั้งหญงิ และชาย มวี ิธปี ฏบิ ัตแิ บบเดยี วกัน รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หน้าท่พี ลเมือง ๕ พระมหาธรี พิสิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑ ความเป็นไทย “สงั คมแมแ่ บบ” ๕ ทาเตรียม นง่ั คุกเขา ปลายเทาทั้งสองตั้งลงยันพน้ื นัง่ ทบั ลงบนสนเทา สำหรับชายใหแ ยกเขาหางประมาณ ๑ คืบของตน สำหรับหญิงใหแยกเขาเล็กนอยพองาม ตั้งตัวตรง ยกอกขึ้น อยาหอไหลหรือยกไหล วางมือทั้งสองคว่ำลง บนหนา ขาทง้ั สองขาง นิว้ มอื ทุกนว้ิ แนบชดิ สนิทกนั การถวายบังคมมือ ๔ จังหวะ คอื จงั หวะที่ ๑ ยกมือขึ้นประณมตรงระดับทรวงอก ใหป ลายน้วิ ต้ังตรงระดับปลายคาง จังหวะที่ ๒ ทอดแขนพรอมมือที่ประณมหันไปขางหนา ใหปลายมือต่ำลงแตไมหอย ปลายนิ้วมืออยูระหวาง ระดบั ทอ ง โนม ตัวลงตามมือเลก็ นอย จังหวะที่ ๓ วาดมือขึ้นจรดหนาผาก ใหหัวแมมืออยูกลางหนา ผาก ลำตัวเฉพาะเหนือสะเอวขึ้นไปเอนไปขาง หลัง ชายเอนมากกวาหญิง เงยหนาใหอยูระดับ ๔๕ องศา แตไมถงึ กบั หงายหนา ใหตาอยูระดบั นิว้ หัวแมมอื ระดบั ของ ลำตวั ในขณะท่ีมืออยรู ะดบั จรดหนาผาก จะตอ งเอนเล็กนอม แตไมใชเอนจนหงาย หรือแหงนแตคอ ทาเอนน้ีลำตัวจะ โคงดว ยเล็กนอย ศอกจะกางออก จังหวะท่ี ๔ ลดมือลงพรอมกับโนมตวั ไปขา งหนา วาดแขนและมือลงในระดับชว งเขา (หนาทอง) ปลายมือต่ำ ยกปลายมือขึน้ ในทาประณม ปลายมอื ตงั้ ขึ้น พรอมกับเล่ือนมือข้นึ สูงระดับอก และยกตวั ข้ึนตรง ทำเชนน้ีจนครบ ๓ คร้ัง แลวลดมือลงในระดับอก เบนปลายนวิ้ จากทรวงอกลงแบบอัญชลแี ลว จงึ ปลอ ยมือวาง ที่หนาขาตามเดิม แลว เปลยี่ นจากทานัง่ เปนทาหมอบ ๔.๒ การหมอบกราบ ใหแสดงความเคารพ พระมหากษัตริย รวมถึงพระบรมวงศานุวงศ ในโอกาสที่เขาเฝา โดยใหนั่งพับเพยี บเก็บปลายเทา แลวจงึ หมอบลงใหศอกท้ังสอง ขางถึงพื้นครอมเขาอยูดานลางเพียงเขาเดียว มือประสานกัน เมื่อจะกราบ ใหประนมมือกมศีรษะลง หนาผากแตะสวนบน ของมือที่ประนม เมื่อกราบแลว นั่งในทาหมอบเฝาอีกครั้งหนึ่ง แลว ทรงตัวนง่ั ในทาพบั เพยี บตามเดิม รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ ความเปน็ ไทย “สงั คมแมแ่ บบ” ๖ ๔.๓ การถวายความเคารพแบบสากล ใชกับพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ ผูชาย ใหถวายคำนับ สว นผูหญงิ มวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิ ๒ แบบ ไดแ ก ๑) แบบสากลนิยม ใหยืนตรง หันหนาไปทางพระองค ทาน วาดเทาขางใดขางหนึ่งไป ขางหลังเล็กนอยตามถนัด พรอม กบั ยอ ตัวลง ลำตัวตรง หนา ตรง สายตาทอดลง ปลอ ยแขนท้ังสอง ขางแนบลำตัว แลวยืนตรง ๒) แบบพระราชนิยม ใหยืนตรง หันหนาไป ทางพระองคทาน วาดเทาขางใดขางหนึ่งไปขางหลัง เล็กนอยตามถนัด พรอมกับยอตัวลง ขณะที่วาดเทา ให ยกมือทั้งสองขางขึ้นวางประสานกันบนขาหนา เหนือเขา คอมตัวเล็กนอย ทอดสายตาลง เสร็จแลวยืนขึ้นใน ลักษณะเดิม การมสี วนรวมในการอนรุ ักษการแสดงความเคารพ ๑. ศึกษาใหรูและเขาใจถึงคุณคาของการแสดงความเคารพ โอกาสที่จะแสดงความเคารพ ตลอดจนวิธีท่ี ถกู ตอ งเหมาะสม ตามระดับบคุ คล และกาลเทศะ ๒. นำไปปฏิบัตใิ นชีวติ ประจำวนั ฝก และปฏบิ ัตใิ หถ กู ตอ งจนเกดิ ความชำนาญ ๓. รวมกลุม หรอื จดั เปนชมรมอนรุ ักษก ารแสดงความเคารพข้นึ ในสถานศึกษา ๔. จัดกิจกรรมที่สงเสริมการแสดงความเคารพขึ้นในรูปแบบตาง ๆ เชน รณรงคใหความสำคัญตอการแสดง ความเคารพ ดวยการติดปายประกาศเชิญชวน ภาพโปสเตอรแสดงการแสดงความเคารพที่ถูกตอง จัดประกวด การแสดงความเคารพ เชญิ วทิ ยากรมาบรรยาย และสาธติ การแสดงความเคารพทีถ่ กู ตอ ง ๒. มารยาทในการสนทนา การสนทนา การพดู กบั ผอู ่ืน หรือการสนทนากันในสังคมมคี วามสำคัญมาก การสนทนานี้ เปน การพูดกับผูอ่ืน ซึ่งแตกตางไปจากการพูดคนเดียว คือ การสนทนายอมมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ขอมูลตาง ๆ มีการพูดระหวาง บุคคล อาจมากกวาสองคน ดังน้ัน มารยาทในการสนทนา นกั เรียนพงึ ปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ ๑. ควรใชค ำพดู ท่สี ุภาพออ นนอ ม รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พสิ ษิ ฐ์ จนทฺ สาโร

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ความเปน็ ไทย “สังคมแมแ่ บบ” ๗ ๒. ในการพูดถึงบุคคลอื่น ๆ ไมควรหยิบยกเอาความบกพรองเสียหายของบุคคลนั้น ๆ ขึ้นมาวิพากษวิจารณ โดยการดูถูกดแู คลน หรอื เยาะเยย เสียดสผี นู ้นั ๓. ไมพูดไรส าระ หรือพดู เพอ เจอ จนจับใจความไมไ ด ๔. ไมพ ูดสอดแทรกขณะที่มกี ารสนทนาเปนกลุมน้ัน ๕. ไมพ ดู เสียงดังในสถานท่ีตอ งการความเงียบสงบ ๖. ไมกลาวถงึ ส่ิงสกปรกพงึ รงั เกียจในทามกลางประชุมชน ๗. ไมพูดเปรียบเปรยเคาะแคะสตรกี ลางประชุม ๘. ไมก ลาวถงึ ส่ิงควรปดบงั ทา มกลางประชุมชน ๙. ไมข อแยกผหู นึ่งมาจากผใู ด เพอ่ื จะพาไปพูดจาความลบั กัน ๑๐. ไมก ลา วถึงความชั่วราย อันเปน ความลบั เฉพาะบคุ คลในท่ีแจง ๑๑. ไมเก็บเอาความลบั ของผูหน่งึ มาเท่ียวพดู แกผูอ่นื ๑๒. ไมพูดสับปลับ กลบั กลอก ตลบตะแลง ๑๓. ไมรับวาจาสง ๆ โดยไมไดเห็นวาการจะเปนไปไดหรอื ไม ดังนั้น ตองใครครวญใหแนแกใจกอน จึงรับคำ หรอื จึงปฏิญญา ไมใชทำแตส กั วา พูดโพลงโดยไมไดค ำนงึ ใหแ นชัดวา จะทำไดหรือไม ๑๔. เมือ่ ตนทำพลาดพล้ังสิ่งใด แกบ ุคคลผใู ด ควรกลาวขอโทษเสมอ ๑๕. เม่ือผูใดไดแสดงคุณตอตนอยา งไร ควรกลา วขอบคุณเสมอ ๑๖. ไมก ลาวสรรเสรญิ รูปกายบคุ คลแกต ัวเขาเอง ๑๗. ไมท กั ถึงการรายโดยพลงุ โพลง ใหเขาตกใจ ๑๘. ไมท ักถึงสง่ิ อนั นา อายนากระดากโดยเปดเผย ๑๙. ไมเอาสิ่งทีน่ า จะอาย จะกระดากมาเลา ใหแ ขกฟง ๒๐. ไมกลา วถึงการอัปมงคลในเวลามงคล ๒๑. ไมใ ชวาจาอันขม ข่ี ๒๒. ไมส นทนาแตเ รอื่ งตนฝายเดียว จนคนอนื่ ไมมชี องจะสนทนาเร่ืองอ่ืนได ๒๓. ไมน ำธุระตนเขากลาวแทรกในเวลาธรุ ะอื่นของเขาใหชุลมนุ ๒๔. ไมก ลาววาจาติเตียนของท่ีเขาหยบิ ยกใหวา ไมด หี รอื ไมพอ ๒๕. ไมใ ชว าจาอนั โออ วดตนและลบหลผู ูอนื่ ๒๖. ไมเอาการในบา นของผูใ ดมาแสดงในท่ีแจง ๒๗. ไมใชค ำสบถตดิ ปาก ๒๘. ไมใ ชถอยคำมสุ า ๒๙. ไมน นิ ทาวารา ยกันและกัน ๓๐. ไมพ ูดสอเสียดยุยงใหเ ขาแตกราวกัน ๓๑. ไมเปน ผูสอพลอประจบประแจง ๓๒. ไมแ ชง ชกั ใหร า ยผูใด รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ที่พลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพิสษิ ฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ ความเป็นไทย “สงั คมแม่แบบ” ๘ สวนการใชคำพูด แบงเปนการพูดแบบทางการหรือแบบกึ่งทางการ อาจพูดอยูในบุคคล ๒ บุคคล หรือเปน กลมุ การพูด ผูพ ูดอาจพูดคนเดียวได โดยมผี ูฟ ง กลุมใหญฟ ง อยู ซ่ึงกฎระเบยี บตาง ๆ ในการพดู น้ัน ขึน้ อยูก ับกาลเทศะ และตอ งรวมกับมารยาทการแตงกาย การใชถ อยคำ ทา ทีประกอบการพดู น้ำเสยี ง ฯลฯ ประกอบดวย ผพู ูดควรระมดั ระวงั ในการพดู ดังน้ี ๑. ใชคำทักทายผูฟงใหถูกตอง เหมาะสมตามสถานภาพผูฟง เชน สวัสดี / เรียน , กราบเรียน / ขอประทาน กราบเรยี น ๒. ใชคำพูดทแี่ สดงถงึ ความมีมารยาทอยเู สมอ เชน ขอโทษ ขอบใจ ขอบคุณ ๓. ใชค ำพดู ที่สภุ าพ ใหเ กยี รติผฟู ง ไมใ ชเ สยี งดุดนั หยาบคาย ๔. ไมพ ูดยกตนขม ทาน คยุ โออ วดวา ตนเหนือกวาผอู ื่น ๕. ไมชิงพดู แยงพดู กอนคนอ่ืน หรอื ผกู ขาดการพดู เพียงคนเดยี ว ๖. ไมพ ดู ยดื ยาว นอกประเดน็ พดู วกวนซ้ำซากนา เบ่ือ ๗. ไมพ ดู เสียงหวน ๆ สั้น ๆ ตามอารมณ ๘. ไมพูดหยาบคาย ใชคำไมเ หมาะสม ๙. ไมโ ตเ ถยี ง คดั คา นอยา งไมมเี หตผุ ล ๒.๑ มารยาทในการแนะนำใหรจู กั กัน ๑. แนะนำผูชายใหร จู ักผหู ญิง หากมอี าวโุ สเทา เทียมกนั ๒. แนะนำผอู าวโุ สนอ ยกวา ใหรูจักผูอ าวโุ สมากกวา ๓. แนะนำผูมตี ำแหนงนอ ยกวา ใหร ูจ ักผมู ีตำแหนงสงู กวา ๔. แนะนำผูมีอายุ ยศ ตำแหนงเสมอกนั จะแนะนำใครกอ นก็ได แตถ าเปนผหู ญงิ กับผูชายตอ งแนะนำผูชายให รูจกั ผหู ญิง เมื่อแนะนำใหรูจักกัน ผูอาวุโสนอยกวา ตองแสดงความเคารพดวยการไหว สวนผูอาวุโสมากกวา จะตอง รับไหว หรอื คอ มศรี ษะ เพือ่ รับการแสดงความเคารพนั้น ๒.๒ มารยาทในการสนทนาผา นทางโทรศัพท ๑. ควรพูดเฉพาะเร่อื งทจี่ ำเปน และไมใ ชเ วลานานเกนิ สมควร ๒. ไมควรพูดคุยโทรศัพทในเวลาเรียน ขณะขับรถ ขณะรับประทานอาหาร ขณะเขาหองน้ำ หรืออยูรวมกับ บคุ คลอน่ื ๓. กรณีที่ผูอาวุโสนอยกวาโทรศัพทไปหาผูใหญ ตองคำนึงถึงเวลาที่เหมาะสม ควรใชถอยคำสุภาพ น้ำเสียง นุมนวล นา ฟง ๔. เมอื่ รบั โทรศัพท ควนเรม่ิ ตนทักทายดวยคำวา “สวสั ด”ี ครับ/คะ ๕. ถา ตอ งการจบบทสนทนาทางโทรศัพท ควรใชวธิ ีการบอกอยางนมุ นวล และสภุ าพ รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าทพ่ี ลเมือง ๕ พระมหาธรี พิสิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ ความเป็นไทย “สงั คมแม่แบบ” ๙ ๒.๓ มารยาทในการสนทนาผานเครอื ขา ยอินเทอรเ น็ต การสนทนาบนเครือขายอินเทอรฺเน็ต ดวยการพิมพขอความ การสงภาพ เพื่อการสนทนาที่ถูกตองเหมาะสม ควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้ ๑. พมิ พข อ ความดว ยภาษาท่ีสภุ าพ ไมใชภาษาวบิ ตั ิ ๒. ไมสนทนาหรอื สงภาพ (โพสต) เรื่องเปนความลับ เรื่องสวนตัว เรื่องที่ทำใหบ ุคคลอื่นเสียหาย เรื่องที่สราง ความขดั แยง เปนตน ๓. ไมส นทนานานเกินไป เพราะอาจรบกวนเวลาสวนตวั ของผอู น่ื ๔. สงขอความขณะที่คสู นทนาอยูในสถานะออนไลน ๕. กอ นสงไฟลข อ มลู หรือรูปภาพควรแจง ใหผ ตู ิดตอทราบกอน การมีสวนรว มในการอนรุ ักษมารยาทในการสนทนา การอนุรกั ษแ ละเผยแพรมารยาทในการสนทนาในระดบั ของนักเรยี น ควรปฏบิ ัติ ดังน้ี ๑. ปฏิบัติตนใหเปน แบบอยา งในการเปนผมู ีมารยาทในการสนทนาท่ีดี ๒. ไมใ ชค ำหยาบ คำวิบัติ คำแสลง คำทไี่ มส ุภาพ คำพูดสอ เสียด ดหู มน่ิ เหยียดหยาม ๓. แสดงกริ ยิ าวาจาทาทางท่นี มุ นวล สภุ าพ ออนนอม มีสัมมาคารวะ ๔. ไมใชคำพูด ขอความที่ผิดเพี้ยนไปจากภาษาไทย หรือภาษาวิบัติ ในการสนทนาผานระบบอินเทอรเน็ต และการสนทนาทว่ั ไป ๕. ระลกึ เสมอวา การสนทนาของนักเรยี นนน้ั เปน การใชภ าษาไทย ซึง่ เปน เอกลกั ษณข องชาติ การสนทนากัน ตอ งใชภ าษาใหถกู ตองชัดเจน ทัง้ ตวั ควบกล้ำ ตัว ร ตัว ล ใหส มกบั ทเ่ี กดิ มาเปนคนไทย ๓. มารยาทในการแตงกาย การแตงกาย หมายถึง การตกแตงรางกายดวยเสื้อผา และเครื่องประดับทุกประเภท ตั้งแตศีรษะจรดเทา การแตงกายของคนไทยนั้น มีวิวัฒนาการต้ังแตอดีต มาจนถึงปจจุบัน ซึ่งการแตงกายที่ดีจะชวยสรางความประทับใจ ใหเกิดแกผูพบเห็น เพราะการแตงกายที่ดีนัน้ เปนสิ่งแรกท่ีจะสรางความพอใจ ความสนใจ ความเชือ่ ถือ ความศรัทธา และความไววางใจได ความสำคัญของการแตง กาย มีดงั น้ี ๑. ชวยบงบอกถึงอุปนสิ ัยของผูแตง ๒. ชว ยบอกถึงระดบั การศกึ ษา ๓. ชว ยบอกถงึ ฐานะความเปน อยู ๔. ชว ยบอกถงึ เชือ้ ชาตแิ ละวัฒนธรรมประจำชาติ หลักสำคญั ของการแตงกาย มีดังนี้ ๑. ถูกตองตามกาลเทศะ ๒. มีความสะอาด ๓. มีความสุภาพเรยี บรอ ย รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าทพี่ ลเมือง ๕ พระมหาธรี พิสิษฐ์ จนฺทสาโร

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ความเปน็ ไทย “สังคมแม่แบบ” ๑๐ ๔. มคี วามเหมาะสมกับวยั ๕. มคี วามเหมาะสมกบั รูปรา ง ๖. มคี วามเหมาะสมกบั ฐานะและความเปนอยู ๗. มีความประหยัด ๓.๑ หลักการทว่ั ไปสำหรับการแตง กาย ๑) ถกู กาลเทศะ ควรแตงกายใหเหมาะกับสถานทีท่ ่ีจะไป และในโอกาสตาง ๆ เหมาะสมกบั ความนิยม เชน - สถานที่ราชการ ควรใสสีสภุ าพ เรียบรอย รองเทาเปน รองเทาหุมสน รองเทา และกระเปาควรเปนสีท่ีเขากัน ไมค วรสวมเสื้อปลอยชายออกนอกกระโปรง กางเกง กลัดกระดมุ ทุกเมด็ ไมค วรสวมรองเทา แตะ - งานแตงงาน งานเลี้ยงตอนรับ งานเตนรำ งานวันเกิด ซึ่งเปนงานรื่นเริง งานมงคล ควรสวมเส้ือผาท่ีหรูหรา เลก็ นอย รองเทาหมุ สน หรอื สวมสูท (สำหรบั ทานผชู าย) - งานศพ สำหรับผูหญิง ควรสวมเสื้อคอปดสีดำ สีขาวดำ รองเทาหุมสน ไมสวมเครื่องประดับมากเกินไป ไม ใสเครื่องประดับที่มีสีสัน สวนผูชาย ควรสวมชุดสีเขมหรือสูท รองทาคัทชู ถาสวมชุดสากลจะติดแขนทุก ที่ขางซาย เหนือศอก - งานบุญ ไมค วรสวมกางเกงรดั รปู หรือกระโปรงส้นั หรือควรแตง กายใหสุภาพ - เมอื่ ไปพบผใู หญ ควรแตงกายใหส ุภาพไมสวมแวน ตาดำ - เมื่อไปเขาเฝาฯ ในงานพระราชพิธี รัฐพิธี หรืองานสโมสรสันนิบาต ตองแตงตามหมายกำหนด คำสั่ง หรือ แตงตามระเบียบที่วางไว ซึ่งอาจเปนเครื่องแบบปกติ หรือเครื่องแบบเต็มยศ เครื่องยศประดับเครื่องราชอิสรยาภรณ สวมสายสะพาย หรือเครอ่ื งราชอสิ รยาภรณ (สำหรับเคร่ืองแบบปกต)ิ ๒) ความสะอาดเรียบรอย ควรรักษาความสะอาด ซักรีดใหเรียบรอยเสมอ เพราะความสะอาด เปนสิ่งที่ทำ ใหเกดิ ความงาม และชวยสรา งความเชื่อถอื ไววางใจใหก ับตัวเอง ๓) สวมเสอื้ ผา ทพ่ี อดกี บั รางกาย ไมคบั หรือหลวมจนเกนิ ไป จนดเู ปนทีข่ บขนั หรือไมนามอง ๔) ควรเลือกสีและแบบของเสื้อใหเหมาะสมกับวัย รูปราง เพศ สีผิว เชน สีชมพูสด สำหรับคนผิว ขาว สะอาด สชี มพูอมสม เหมาะกบั คนผิวสีการะเกด คนผอม ตอ งใชส อี อนเยน็ ตา อยา เลือกผาทเี่ นื้อเนยี นเปน มนั จะ ทำใหมองดูผอมมาก แตค วรเลือกผาชนิดเนื้อแข็ง เม่ือตดั เยบ็ เปน เน้ือผาแลว จะมองดเู ปนคนมีเนื้อหนังข้ึน สำหรับคน อวน ใหใชผาลวดลายดอกพราว เดน สสี ดสวย จะทำใหมองไมเห็นความอว น คนผิวสคี ล้ำ ควรเลอื กสีชมพู สีเหลือง สี ฟา ถาเปน ดอกก็ควรออกลวดลาย สเี หลือง สีฟา สีชมพู สีสม สเี ปลอื กขา วโพด อยาเลอื กใชสเี ขม ประเภทออกน้ำตาล แก เทาแก น้ำเงินแก มาสวม เพราะจะทำใหผิวดำคล้ำมากขึ้น ผิวสีขาวจัด ควรเลือกสีผาน้ำตาลออน สีเขียวหมน สี ชมพูอมสปี ูน สเี หลอื งอมสีสม สีสม อมสนี ้ำตาล สเี ลือดหมู ควรหลกี เลยี่ งใชส ีออน ชมพู สเี หลอื งออ น เพราะจำทำใหสี ผวิ ซีดยิ่งข้ึน แตค วรใชสีเขม ๆ จะทำใหมองนา ชวนพศิ ข้ึน การเลือกสีเส้อื ผา มาสวมใสใ หเดนสะดุดตา และสีของเสื้อผา กลมกลืนกับสีของผิวนั้น เปนการแสดงออกซึ่งรสนิยมอันดีงามของผูส วมใส ดังนั้น กอนที่จะตกลงใจตัดเสื้อผาไวสวม ใส จะตองพิจารณาเทียบดูกับผิวเนื้อของเรากอน ถาตกลงใจวาจะใชสีใด ก็จะกลาแตงวางตัวใหเหมาะสมดวย ซึ่งจะ ชว ยใหคณุ แจมใสและเปนสขุ ใจสวยงามขึ้น แตถ าจะถอื วาพอใจของคนเสียอยางก็จงเลือกแตงตามใจเถิด แตไ มพ น สีที่ กลา วมาขา งตน รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าทพี่ ลเมือง ๕ พระมหาธรี พสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ ความเป็นไทย “สังคมแม่แบบ” ๑๑ ๕) ควรสวมรองเทาใหเหมาะสมกับโอกาสตาง ๆ เชน รองเทาแตะ ใหสวมในบาน รองเทารัดสน หรือ รองเทาหุมสน ใหส วมเพอื่ ออกไปทำงาน หรอื สวมออกไปในที่ชุมชน ๓.๒ การเลือกเครอ่ื งแตงกายโดยทวั่ ไป การเลือกเครื่องแตงกายทั้งชายและหญงิ ไมค วรสวมใสเ คร่อื งประดับมากเกินไป ๑) ผชู าย : ควรมีนาิกา เนคไท เข็มกลดั เนคไท แหวนแบบเรยี บ ๆ แหวนรนุ แวน กนั แดด ๒) ผหู ญิง : ควรมสี รอ ยคอ สรอ ยขอ มือ นากิ า แหวนทอง แหวนเพชรแบบเรยี บ ๆ กำไล ตางหู การมสี ว นรวมในการอนรุ กั ษม ารยาทในการแตงกาย ในปจจุบัน การแตงกายแบบสมัยนิยมมีอิทธิพลตอเยาวชน จนทำใหหลงลืมวัฒนธรรมการแตงกายแบบไทย และอาจสงผลใหม ารยาทการแตงกายแบบไทยเลือนหายไป เพอ่ื ใหน ักเรยี นไดมีสวนรวมในการอนุรักษการแตงกาย ท้ัง ในเรื่องของเอกลักษณไทย และความมีระเบยี บวินยั ในการแตง กาย ควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ ๑. ตระหนักถึงคณุ คา ของการแตงกายแบบไทย ในฐานะทีเ่ ปนเอกลักษณช าติ ๒. แตง กายถูกตอ งตามระเบยี บแบบแผนของโรงเรียนและสงั คม ๓. เปนแบบอยา งท่ดี ีดวยการแตง เครอื่ งแบบนักเรียนใหถูกตอง ๔. สรางส่ือสารสนเทศ เพื่อรณรงคใหมคี วามตระหนักถึงการแตงกายตามระเบียบแบบแผนของโรงเรียนและ ของสงั คม ๕. จัดกิจกรรมสงเสริมความมีวินัยในการแตง กาย การอนุรักษมารยาทในการแตงกาย และการแสดงผลงาน การอนรุ ักษก ารแตงกายแบบไทย ๔. การมสี ัมมาคารวะ สัมมาคารวะ หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงถึงการใชกาย วาจา และใจ ตอบุคคลอื่นอยางสุภาพและ ออ นนอม การจัดการศึกษาใหผูเรียนเปนมนุษยทีส่ มบูรณ จำเปนตอ งมีการพัฒนาผูเ รียนใหเปนผูท่ีมีการพัฒนาการทั้ง ดานปญญา จิตใจ ราง กาย และสังคม การแสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่ดีที่เปนพฤติกรรมเชิงบวก มีหลายคุณลักษณะ ดวยกัน ที่จะทำใหเด็กสามารถดำรงชีวิตอยูใ นสงั คมไดอยางมีความสุข การมีสมั มาคารวะ เปน พฤติกรรมที่พึงประสงค ที่ควรสงเสริมเพื่อใหเกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน เพราะการปลูกฝงนี้จะทำใหเด็กเปนที่รักและตองการของสังคม และ สามารถดำรงชีวติ ในสังคมไดอยา งมีความสขุ และสามารถทีจ่ ะเตบิ โตขนึ้ เปนผใู หญท ีด่ ีมคี ณุ ภาพไดใ นสงั คม ๔.๑ ลกั ษณะของการมสี มั มาคารวะ ตวั บง ชค้ี ุณลักษณะวามสี ัมมาคารวะ คือ การใชว าจาสภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะ การไมพูดแทรกขณะผูอ่ืน พูด การแตงกายสุภาพเหมาะสมกับสถานที่ การแสดงกิริยาออนนอมตอบุคคลอื่นไดเหมาะสมกับสถานะ ความถึง พรอมดวยความเคารพนับถือ ยกยอง เทิดทูน บูชา และปฏิบัติตามคำสั่งสอน ที่บงบอกของคุณลักษณะ พฤติกรรมที่ แสดงออกมาจากกิริยาทาทาง ทางกาย ทางวาจา โดยมีใจเปนตัวกำหนดสั่งการสั่งงานของลักษณะกิริยาทาทางที่ ออกมาทางกายและทางวาจา เชน การกราบไหว การอภิวาท การทำความเคารพ การลุกขึ้นรับ รวมถึงกิริยาทาทาง อื่นๆ เชน การยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม และการกระ ทำ เปนตน เหลานี้เรียกวา กิริยาทางกาย การใชสำนวนเสียง รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หน้าทีพ่ ลเมือง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ ความเป็นไทย “สังคมแมแ่ บบ” ๑๒ ภาษา ถูกตอ งไพเราะออนหวาน ฟง แลว เพราะหู นา ชืน่ ชมยนิ ดี ถกู ตองตามกาลเวลาหรือกาลเทศะ เปนระเบียบมีวินัย เหลาน้เี รียกวา กิริยาทางวาจา สว นสงิ่ ท่คี ิดวางแผนไวล วงหนากอนโดยบุคคลอ่ืนไมส ามารถมองเห็นได เปนสิ่งท่ีรูดวย ตนเอง แตบุคคลอื่นอาจสามารถรูไดดวยการสังเกตลักษณะอาการรูปรางสันทัดสัณฐานภายนอก และพรอมที่จะสั่ง บังคับกิรยิ าทีบ่ งออกจากภายนอก เพือ่ ทีจ่ ะปฏบิ ัติการกระทำทางกายและการกระ ทำทางวาจา เหลาน้เี รยี กวา อาการ จากใจ หรือมโนกรรม คือ ใจเปนผูสั่งการกระทำออกมา หรือเปนลักษณะที่แสดงออกของบุคคลที่มี กายออนนอม วาจาออ นหวาน และจิตใจออนโยน หรือลกั ษณะของผูท่ีมี ศีล สมาธิ และปญญา รวมถงึ การแสดงกิริยามารยาทอยาง อ่ืน ดวยความต้งั ใจ ไมม ีความแข็งกระดางกระเดอ่ื ง ไมใชค ำพดู ที่ไมสภุ าพและไมเหมาะสมกบั กาลเวลา บุคคล สถานที่ และคำส่งั สอน ๔.๒ ความสำคัญของการมีสัมมาคารวะ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่หลั่งไหลเขามาในวิถีชีวิตคนไทยอยางรวดเร็วนั้น ทำใหสภาพ สงิ่ แวดลอ มในสังคมปจ จบุ ันเกดิ การเปลยี่ นแปลงไปอยางเหน็ ไดช ดั รวมทัง้ ดา นความเจรญิ ทางดานวัตถุ โดยไมคำนึงถึง คุณธรรม วัฒนธรรม และหลักการปฏิบัติที่ดีงามของไทย ในการปฏิบัติตามจริยธรรมทางสังคมนั้น มีเปาหมาย คือ การมีคุณธรรม จริยธรรมทแ่ี สดงออกถงึ การไดรับการอบรมทดี่ ี การมสี มั มาคารวะ ความเคารพ หรือมารยาทนั้น มุงท่ี การปฏิบัติทางกายและทางวาจาเปนที่สำคัญ เพราะสองสิ่งนี้มองเห็นไดงาย สัมผัสไดงาย มารยาทและการวางตัวท่ี เหมาะสม จึงเปนปราการดานแรกที่แสดงใหเห็นถึงความเปนผูผานการอบรมฝกตนมาดี มีคุณสมบัติของผูดี มีวัฒนธรรมอันเจริญ นอกจากนี้ยังเปนการแสดงความเปนผูมีความเคารพ ออนนอม สงผลใหเกิดความเคารพในส่ิง ควรเคารพ และใหเ กียรติส่งิ ท่ีไมไดนับถอื อีกดวย ๔.๓ การปฏบิ ัติตนของผูม ีสัมมาคารวะ การปฏิบัติตนมีสมั มาคารวะ สามารถแสดงออกไดท างกาย ทางวาจา และทางใจ ดังนี้ ๔.๓.๑ การมีสมั มาคารวะทางกาย เปนการพฤติกรรมท่พี งึ ประสงค ในสถานการณต า ง ๆ เชน ๑) แสดงความเคารพบุคคลตางๆ ไดอยา งเหมาะสมกับกาลเทศะ ๒) มีกริ ยิ ามารยาทสุภาพ ออนนอ ม ๓) ปฏบิ ัตติ อ บคุ คลตางๆ ดวยความสุภาพ ๔.๓.๒ การมสี ัมมาคารวะทางวาจา เปน การใชว าจาท่สี ภุ าพออนโยน เหมาะสมตามกาลเทศะ เชน ๑) ใชค ำสุภาพ ไมส อ เสยี ด ดุดนั กระโชกโฮกฮาก ๒) พูดแตความสัตยจรงิ ไมโ กหก ๓) ใชภ าษาท่ีเหมาะสมแกสถานะของแตล ะบคุ คล ๔.๓.๓ การมสี ัมมาคารวะทางใจ เปน ความรูส ึกนกึ คดิ ในจิตใจที่มตี อ บคุ คลรอบขาง เชน ๑) การคดิ ถึงดานดขี องบคุ คลอน่ื ๒) การรสู ึกเคารพบคุ คลที่วัยสูงกวาตน ๓) การสำนกึ ในบุญคณุ คน รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๕ พระมหาธรี พสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ ความเปน็ ไทย “สังคมแม่แบบ” ๑๓ การมีสว นรวมในการปฏิบัติตนเปนผมู สี มั มาคารวะ นักเรียนสามารถนำความรูที่ไดจากการศึกษา ไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน ทั้งเรื่องมารยาทในการแสดง ความเคารพ การสนทนา การแตงกาย ลวนเปนองคป ระกอบของการมสี มั มาคาระวะ ซึ่งสามารถปฏิบัตไิ ดทกุ ที่ ดงั นี้ ๑. ทโ่ี รงเรียน ๑) ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน เชน แตง กายถกู ตอ ง เปนตน ๒) ใชกริ ยิ าวาจาที่สภุ าพกับเพอื่ น ๆ ฝก กลาวคำวาขอบคณุ และขอโทษใหติดเปนนสิ ยั ๓) ไมค ุยเลนหรือทำงานอืน่ ขณะครูกำลังสอน ๒. ท่ีบา น ๑) แสดงความเคารพตอ พอ แม ญาตผิ ูใหญอ ยา งสม่ำเสมอ ๒) ใชก ิรยิ าวาจาทส่ี ุภาพออ นโยน พูดจาดวยใบหนาท่ยี ิ้มแยม ๓) เมอ่ื เกดิ ขดั แยง หรือมีความคิดเห็นทไ่ี มต รงกัน ควรใชว ิธีรับฟง เหตผุ ลและคอ ย ๆ อธิบายใหฟ ง กจิ กรรมท่ี ๑ ใหนักเรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตอ ไปน้ี ๑. ฝก ปฏิบตั ิมารยาทไทย ๒. นกั เรียนรว มกนั วิจารณการปฏิบัติของเพอ่ื น และใหคำแนะนำการปฏบิ ตั ิท่ีถกู ตองสวยงาม การแสดงความเคารพ เกณฑการใหคะแนน ขอ วิจารณ/แนะนำ ๒๑๐ ๑. การไหว ระดับตาง ๆ ............ ............ ............ ................................................................ ๒. การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ............ ............ ............ ................................................................ ๓. การหมอบกราบ ............ ............ ............ ................................................................ ๔. การถวายบงั คม ............ ............ ............ ................................................................ ๕. การถวายความเคารพแบบสากล ............ ............ ............ ................................................................ และแบบพระราชนยิ ม ............ ............ ............ ................................................................ รวมคะแนน กจิ กรรมท่ี ๒ ใหน ักเรียนอา นบทกลอนตอ ไปน้ี แลวตอบคำถาม “ถึงบางพูดพูดดเี ปนศรศี กั ด์ิ มีคนรกั รสถอยอรอ ยจิต แมพดู ช่วั ตวั ตายทำลายมติ ร จะชอบผิดในมนษุ ยเ พราะพูดจา” นิราศภเู ขาทอง สุนทรภู รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าที่พลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ ความเปน็ ไทย “สังคมแม่แบบ” ๑๔ ๑. บทกลอนน้ี ใหข อคิดอะไร .................................................................................................................................................................................... ๒. คำวา “พูดด”ี ไดแกอ ะไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๓. คำวา “รสถอ ยอรอ ยยจิต” หมายถงึ อยางไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๔. คำวา “พดู ชัว่ ” ไดแกอ ะไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๕. นกั เรียนคิดวา คำพดู มีความสำคัญหรือไม จงใหเหตุผละ และยกตัวอยา ง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... กิจกรรมท่ี ๓ ใหน ักเรียนดภู าพตอไปนี้ แลวตอบคำถาม ถา ...ตอ งไปวัด นักเรยี นจะแตง กายอยา งไร นกั เรียนคดิ วา...เหตุผลทีน่ กั เรียนตอ งแตง กายดวย ชุดนกั เรยี น เพราะอะไร รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ความเป็นไทย “สงั คมแม่แบบ” ๑๕ กจิ กรรมท่ี ๔ ใหน ักเรยี นดูภาพตอไปนี้ แลว ระบุวธิ ีการปฏิบตั ิตนเปนผูม ีสัมมาคารวะทง้ั ทางกาย วาจา และใจ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ ความเปน็ ไทย “สังคมแม่แบบ” ๑๖ ความเอ้ือเฟอ เผอื่ แผแ ละเสียสละตอสังคม สังคมไทยเปนสังคมที่มีประวัติความเปนมาสืบทอดตอกันมาเนิ่นนาน มีลักษณะหลายประการที่เปนของ ตัวเองอยางเหน็ ไดช ัด เชน การเคารพผูมอี าวุโส ความเกรงอกเกรงใจกัน ความเอื้อเฟอ เผ่ือแผ ฯลฯ นักเรียนพงึ ศึกษา วา อะไรเปนสวนสำคัญที่หลอหลอมนิสัยของคนไทยไหมีลักษณะดังกลาว สิ่งที่หลอหลอมอุปนิสัยของคนไทยในดาน คณุ ธรรมจรยิ ธรรม อาจพิจารณาในดา นกวาง ๆ ได ๓ ประการ ดังน้ี ๑. จรยิ ธรรมตามหลกั คำสัง่ สอนของพระพทุ ธศาสนา ๒. สภาพการดำเนินชวี ติ ของคนไทยในอดตี ๓. สภาพการดำเนินชวี ิตของคนไทยในปจจบุ ัน ๑. ความเอือ้ เฟอ เผ่อื แผ ความเอื้อเฟอเผื่อแผยอมเกิดจากจิตใจที่มีความรัก ความเมตตา และความโอบออมอารี แลวปฏิบัติตอผูอ่ืน อยางเกื้อกูล ซึ่งในการดำเนินชีวิตของเรานั้น ควรมีความเอื้อเฟอเผื่อแผแกคนรอบขางไมวาจะเปนคนในครอบครัว โรงเรียน หรอื ชุมชนกต็ าม ๑.๑ ลกั ษณะของผทู มี่ คี วามเอ้ือเฟอ เผื่อแผ ๑) เปนคนมีน้ำใจ มักใหความชวยเหลือผูที่ไดรับความเดือดรอนอยูเสมอ โดยการชวยเหลอื จะทำอยางเตม็ กำลงั ที่ตนเองสามารถชว ยได และไมห วงั ผลตอบแทนใดๆ ๒) คำนงึ ถึงผลประโยชนสว นรวม เปน ผทู ี่ถือเอาประโยชนของสวนรวมเปน ที่ตง้ั ไมกระทำสิ่งใด ๆ ทเี่ ปน การ ฉกฉวยผลประโยชนใ หกบั ตนเอง ไมเอารัดเอาเปรียบผูอ่ืนได ๓) มีความปราณี ปฏิบัติตอผูอื่นดวยความจริงใจ มีไมตรีที่ดีตอคนรอบขางเสมอ ไมดูหมื่นเหยียดหยามผูอน่ื แตใ หค วามเคารพในศักดิศ์ รีของความเปน มนุษยและสทิ ธเิ สรีภาพของทกุ คนอยา งเทาเทียมกัน ๔) ไมคิดรายตอผูอื่น คิดและปฏิบัติตอผูอื่นดวยความเมตตา มองโลกในแงดี ไมกระทำในสิ่งที่สรางความ เดอื ดรอ นหรอื เสยี มเสียตอ ผูอ่ืน ๑.๒ การปฏบิ ตั ิตนเปนผมู คี วามเออื้ เฟอเผื่อแผ การปฏิบัติตนเปน ผเู ออื้ เฟอเผอ่ื แผ สามารถปฏบิ ัตไิ ดท ุกท่ที กุ เวลา ดังนี้ ๑.๒.๑ ความเอื้อเฟอเผ่ือแผแ ผในครอบครัว เชน ๑) ไมสรางความเดือดรอนหรอื กอ ปญหาตางๆใหเกิดในครอบครัว ๒) ชว ยเหลืองานบา นตา ง ๆ ตามกำลังทไี่ ด ๓) ใชเงินอยางประหยัด เพื่อชวยลดคา ใชจ าย ๔) มคี วามหวงใจตอสมาชกิ ครอบครวั ทุกคน ๕) รจู ักแบงปน ใหค วามชวยเหลือยามครอบครัวประสบปญหา ๑.๒.๒ ความเอ้อื เฟอ เผื่อแผในโรงเรยี น เชน ๑) เช่อื ฟงคำสงั สอนของคณุ ครูและใหความเคารพนับถือ รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หน้าทีพ่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ ความเปน็ ไทย “สังคมแม่แบบ” ๑๗ ๒) แบง ปนขนม อาหาร หรือสิง่ ของตาง ๆ ใหเ พือ่ น ๓) ชว ยแบง เบาภาระครู อาจารย เชน ชว ยถือของ ๔) ใหความรกั ความเปนมติ รตอ เพอื่ นในโรงเรยี น ๕) มีสว นรวมในการชวยงานกิจกรรมของโรงเรยี น เชน งานกีฬาสี จัดนทิ รรศการ งานไหวค รู เปนตน ๑.๒.๓ ความเออ้ื เฟอเผ่ือแผใ นชุมชนและสงั คม เชน ๑) มไี มตรีจิตตอเพื่อนบาน รวมถงึ คนในชมุ ชนเดียวกนั ๒) มคี วามเอ้ืออาทร และหวังดตี อคนในชมุ ชน ๓) ดูแลรักษาสาธารณสมบัตสิ ว นรว มของคนในชุมชนและสังคม ๔) มนี ้ำใจ คอยชว ยเหลือผูอ ่นื ท่ไี ดรับความเดอื ดรอ น ๕) แบง ปน อาหาร วตั ถสุ งิ่ ของ เครื่องใชตา งๆ ใหแกเพอ่ื นบานและคนมในชุมชน ๑.๓ หลกั เบือ้ งตน ในการแสดงความเออ้ื เฟอ เผ่อื แผ สามารถปฏิบตั ิไดห ลากหลายแนวทาง ดงั นี้ ๑. รจู กั เอาใจเขามาใสใจเรา ดวยการปฏิบตั ิตอผอู น่ื เหมอื นท่ตี องการใหผอู ่ืนปฏิบตั ิตอ ตนเอง ๒. รูจักใหมากกวารับ โดยการแสดงน้ำใจตอคนรอบขางทุกครั้งที่มีโอกาส เชน มองเงินหรือสิ่งของที่จำเปน ใหแกผยู ากไร ชว ยครูถอื ของ ชวยสอนการบา นใหเ พอื่ น เปน ตน ๓. รูจักเคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอื่น โดยการปดกั้นความคิดหรือการกระทำในทางที่ถูกตองเหมาะสมของ ผูอน่ื และไมเบียดเบียนกนั ๔. มจี ติ ใจโอบออมอารี ๕. มีความปรารถนาดีและจรงิ ใจตอ ผูอื่นเสมอ ๖. มีความหวงใยคนรอบขางอยเู สมอมีน้ำใจ ชวยเหลือผอู ่ืนโดยไมห วงั ผลตอบแทน การแนะนำผอู ่ืนใหม ีสวนรวมใหมีสว นรวมแสดงออกในการเออ้ื เฟอ เผ่ือแผ เราสามารถแนะนำและสงเสรมิ ผอู นื่ ใหปฏิบตั ิตนเปนผมู ีความเอ้อื เฟอเผือ่ แผได ดงั นี้ ๑. ปฏิบัตติ นเปน ผมู ีความเอ้ือเฟอ เผื่อแผผอู ื่นเสมอ เพื่อเปนตัวอยา งที่ดใี หผ ูอื่น ๒. อธิบายความสำคญั ของความเอื้อเฟอเผือ่ แผและผลดีท่ีเกิดกับสังคมสวนรวม เมื่อเรามคี วามเออ้ื เฟอเผ่ือแผ ตอผูอน่ื ๓. แนะนำแนวทางการปฏบิ ัติตนเปน ผมู ีความเอื้อเฟอ เผ่อื แผโดยบอกวิธกี ารปฏบิ ัตทิ ี่ถกู ตองใหผูอื่นไดทราบ ๔. ยกเวน ตวั อยางบคุ คลทมี่ ีความเอือ้ เฟอเผ่อื แผ นำมาบอกเลา ใหคนท่วั ไปไดร บั ทราบ ๕. ชกั ชวนบุคคลรอบขา งใหเขา ไปมสี วนรวมในกิจกรรมท่เี อื้อเฟอเผอ่ื แผตอ สังคม ๒. ความเสยี สละ ความเสยี สละ เปนคณุ ธรรมขนั้ พ้นื ฐานของผูท่ีอยรู วมกันในสงั คม ทุกคนในสังคมตองมนี ำ้ ใจ เสียสละ แบงปน ใหแกกัน ไมมีจิตใจคับแคบ เห็นแกตัว ความเสียสละจึงเปนคุณธรรมเครื่องผูกมิตรไมตรี ยึดเหนี่ยวจิตใจไว เปน เครอ่ื งมือสรา งลกั ษณะนิสัยใหเ ปนคนทีเ่ ห็นแกประโยชนส ุขสว นรวม มากกวา ประโยชนส ขุ สวนตัว รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าท่พี ลเมือง ๕ พระมหาธรี พิสิษฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ ความเปน็ ไทย “สงั คมแม่แบบ” ๑๘ คนที่อยูรวมกันในสังคมจะเกิดความสงบสุขได ควรจะมีคุณธรรม คือ ความเสียสละ หมายถึง เสียสละ ความสขุ สวนตัวเพื่อความสขุ สวนรวม เพราะถา ตางคนตางเห็นแกตัว ไมเห็นแกค นอน่ื แลว สว นรวมกจ็ ะเดอื ดรอน เม่ือ สว นรวมเกิดความเดือดรอนเสียแลว ความสขุ ความสงบจะเกิดขน้ึ ไดอยางไร การเสียสละจึงเปนคณุ ธรรมสำคัญอยางหนึ่งในสังคม เริ่มตั้งแตครอบครัวอันเปนหนว ยเล็กๆ ของสังคม ตอง เสียสละความสุขสวนตัวใหแ กกนั เสยี สละทรัพยสนิ ทหี่ ามาไดด ว ยความเหน่อื ยยากลำบากใหแกกนั ท้ังในยามปกติและ คราวจำเปน ๒.๑ ลักษณะของผทู ่ีมีความเสียสละ ผูทถ่ี ือไดว า มคี วามเสยี สละมีลกั ษณะ ดงั น้ี ๑) ไมเห็นแกตวั ไมมีความละโมบโลภมาก รูจักแบงปนเพื่อชวยเหลือผูที่ตกทกุ ขไดย ากโดยเสียสละกำลังกาย กำลังทรพั ย หรอื องคความรู ๒) เห็นแกประโยชนสวนรวม การกระทำสิ่งตาง ๆ เพื่อชวยเหลือสังคม ไมถือเอาประโยชนสวนตนเปนที่ต้ัง ไมนำผลประโยชนสว นรวมมากกวาสว นตน ๓) ไมเอารัดเอาเปรยี บ มีจิตใจกวางขวาง เปนผูใหม ากกวาผูรับ ชวยเหลอื ผูอ่ืนโดยไมคำนึงถึงความไดเ ปรยี บ หรอื เสียเปรยี บ ๔) ยอมเสียสละความสุขของตนเอง ชวยเหลือผูอื่นโดยไมยอทอตอความลำบากหรืออุปสรรคตาง ๆ โดย คำนึงถงึ ความสขุ ของสังคมสวนรวมเปน หลัก ๕) เปน ผูใหอยา งแทจ ริง รูจกั ใหผ ูอ ื่น โดยไมหวังผลตอบแทน หรอื ผลประโยชนใ ดๆ ๒.๒ การปฏิบตั ติ นเปน ผูมคี วามเสยี สละ ๒.๒.๑ การเสียลสละและทรพั ยส นิ ๑) บรจิ าควัสดุ อปุ กรณ เพอื่ สรางโรงเรียนในถิ่นทรุ กนั ดาร ๒) บรจิ าคอาหาร ขนม เครอ่ื งดมื่ แกเ ดก็ กำพรา ๓) บรจิ าคเงนิ ทำบุญเพ่อื บูรณะวัด ๔) บริจาคเครือ่ งนงุ หม แกผ ูประสบภยั หนาว ๒.๒.๒ การเสียสละและแรงกาย ๑) ซอ มแซมสาธารณสมบัตภิ ายในชุมชน ๒) ปลูกตนไมเพื่อใหรมเงาแกสถานทส่ี าธารณะ ๓) ชว ยขนยายสงิ่ ของเมื่อมสี ถานการณฉ กุ เฉนิ เชน น้ำทวม ไฟไหม แผนดนิ ไหว หรอื อุบตั ิภยั ตาง ๆ ๔) เก็บขยะ ทำความสะอาดถนน และปรบั ภมู ิทัศนภ ายในชุมชน ๒.๒.๓ การเสียสละความรู สตปิ ญญา และจิตใจ ๑) ใหคำปรกึ ษาแกผูทม่ี ปี ญ หาดา นตาง ๆ ๒) ใหก ำลังผทู กี่ ำลงั ประสบภาวะเดอื ดรอ น ๓) แนะนำขอคิดที่เปน ประโยชนต อ การดำเนนิ ชีวิตใหผอู น่ื ๔) เตอื นสตใิ หขอ คิดผทู กี่ ำลังะกระทำในสิง่ ทผี่ ดิ รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ความเป็นไทย “สงั คมแมแ่ บบ” ๑๙ ๕) ถา ยทอดความรู ความถนัดของตนเองใหผ อู น่ื นำไปใชประโยชน การแนะนำผอู น่ื ใหม สี ว นรวมในการเสยี สละ เราควรแนะนำผูอ น่ื ใหป ฏิบตั ิตนเปนผูมคี วามเสยี สละ โดยวธิ ี ดงั น้ี ๑. เปนผูมีความเสียสละอยูเสมอ เราควรปฏิบัติตนเปนผูเสยี สละจนเปนนิสัย เพื่อใหผูอื่นเห็นเปนแบบอยาง และนำไปปฏบิ ตั ิไดอ ยา งถูกตอง เพ่ือใหเ กดิ เครอื ขาย เปน สงั คมแหงการเสียสละ ๒. อธิบายความสำคัญของการเสียสละ บอกคุณคาและผลดีที่เกิดจากการปฏิบัติตนเปนผูมีความเสียสละให คนทว่ั ไปไดร ับทราบ และชกั ชวนใหผอู ่ืนปฏิบตั ติ นเพื่อเสยี สละแกสงั คมอยเู สมอ ๓. เผยแพรความรูเรื่องการเสียสละ คนควาขอมูลเกี่ยวกับการเสียสละ เชน กรณีตัวอยางบุคคลที่เสียสละ ชวยเหลือผูอนื่ ในหนงั สอื พมิ พ วทิ ยุ โทรทัศน หรอื อนิ เทอรเ น็ตแลว นำมาเลาใหผูอ่ืนฟง ๔. เขารวมในกิจกรรมที่เปนการเสียสละ มีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ที่ชวยสงเสริมการเสียสละตอผูอื่นอยู เสมอ และชกั ชวนคนรอบขา งใหเขารว มในกจิ กรรมดวย การที่เราปฏิบัติตนเปนผูที่มีความเอื้อเฟอเผื่อแผและเสียสละตอสังคม ยอมสงผลดีทั้งตอตัวเราเองและผูอ่ืน ผลที่เกิดขึ้นกับตัวเรา คือ เกิดความภาคภูมิใจในตนเองและผูอื่น คือ ผูที่มีความเดือดรอนไดรับการชวยเหลืออยาง เหมาะสม นอกจากนี้ยังชวยใหส ังคมสวนรวมมีความสงบเรียบรอย เปนสังคมเห็นการแบงปน ชวยเหลือซงกันและกนั สามารถดำเนินชวี ติ อยูไ ดอยา งมคี วามสุข กจิ กรรมที่ ๕ ใหนกั เรยี นอานบทความตอไปน้ี แลว ตอบคำถาม “ชีวิตเกิดมาตอ งใหบางหนา อยา เอาแตรับนะลกู ” ยายย้ิม จันทรพ ร ยายย้ิม จนั ทรพ ร หญิงรา งเล็ก หลังงมุ ใบหนาเปอ นรอยย้ิมสมช่ือ อาศัยใน บานไมที่เกือบเสร็จทามกลางปาเขา จ.พิษณุโลกอยูลำพังอยางเดียวดาย หางไกลผูคนและเงยี บสงัด เมื่อ ๒๐ ป กอน ยายมีบานอยูที่อำเภอพรหมพริ าม พรอมลูกหลาน ตอนนั้นลูกชายคนเล็กตั้งใจจะมาบุกเบิกทำมาหากินบริเวณที่ อยูปจจุบัน แตดวยปจจัยหลายอยาง ทั้งความไกล ไขปา และความลำบาก สง ผลใหลูกชายของยาย เลอื กทจ่ี ะไปขบั รถแท็กซใี่ น กทม.และไมว า ดวยเหตุผล ใดๆ ไมว าจะเปน เรือ่ งการไมอยากเปน ภาระลกู หลานหรอื อ่ืน ๆ ยายย้ิมจึงตัดสนิ คร้ังสำคัญ อาศยั อยูท่ีบานในปา ผืนนั้น เปนตนมาลูกหลาน ขอรอ งใหยายกลับมาอยบู าน รวมถงึ การใหผ ูใหญท่ีนับถือไปชวยพูดแตยายก็ไม กลับ ลูกหลานจึงไดแตมาเยี่ยมยายเปนระยะ รวมถึงการนำเสื้อผา ผาหม ขาวสารอาหารแหง มาใหย าย ตลอดระยะเวลา ๒๐ ปที่ผานมาทามกลางขุนเขา ยายไมมีนาิกา แตทุกเวลาลวนมีคุณคา การมีชีวิตอยูของ ยายหมดไปกับการปลูกตนไม ทำฝายเลก็ ๆ ทีย่ ายไดอ าศัยในยามหนา แลงและยังเปนสายธารหลอเลี้ยงบรรดาสัตว รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ท่ีพลเมือง ๕ พระมหาธรี พสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ความเปน็ ไทย “สงั คมแมแ่ บบ” ๒๐ และตนไมบนผืนแผนดินนี้ และตั้งใจถวายในหลวงกิจวัตรประจำวันตื่นแตเชา จุดธูปไหวพระ เก็บมุง กระยองกระแยงมาจุดฟน หุงขาวตักขา วสุกแรกเกบ็ ไว ตกั ขาวกนิ กับนำ้ พริก หรือ ปลาแหง ทเี่ กบ็ ไว ลงมากวาดลาน บาน ซกั ผา หาบน้ำท่ีลำหว ย ออกไปหาฟนหาไมม าไว กอ นจะคดขา วใสกลอง น้ำพริก ใสยาม สวมทขี่ าดวิ่น ใชพรา แทนไมเทาเวลาเดิน ขา มหวย ขามหนอง เขา ไปในปาลกึ ผา นฝายเล็กๆ หรอื คันนาท่ยี ายทำไว ๑๑ ฝาย เปน คันดินท่ี ยายใช \"จอบกับใจ\" คอย ๆ ขุดขึ้นมา กลายเปนแองน้ำเล็กๆกักเก็บน้ำ พอใหสัตวเล็กไดมาอาศัย ตนไมชุมชื่น ระหวา งนัน้ กเ็ อาขาวมาโปรยใหส ตั วในแอง ดินกัน ทำคนั ดนิ น้เี สรจ็ กเ็ ขาไปลึกเร่อื ย ๆ ที่ละฝาย ทีละฝาย เวลาแตล ะ วันผา นไปเทาไหรไ มรู เหนื่อยก็พกั แลว ก็เดินกลบั บา น ชีวติ ยาย เปน ไปอยางเรยี บงาย ทุก ๆ วนั พระ ยายจะเดนิ ลงมาจากเขาดว ยระยะทางเกือบ ๘ กิโลเมตร บวกกับ วัยชราของยาย จึงทำใหยายใชเวลาในการเดินทางกวา ๓ ชั่วโมง แตก็ไมไดทำใหศรัทธาของยายเสื่อมถอยลงการ เลือกทางเดินชีวิตของยายใชวายายจะไมมีทางเลือก ยายเลือกใชชีวิตเพียงลำพัง และใชชีวิตอยางโดดเดี่ยวอยางมี ความสขุ พิธกี ร : ขา วสารอาหารแหงเอามาจากไหน ยายยม้ิ : ลกู หลานเขา เอามาให เขาเอามาใหก ็ตองกิน เขาจะไดบ ญุ และกต็ องกินอยา งประหยัดๆ ไมฟ ุมเฟอ ย พธิ ีกร : เคยอดไหม ยายย้ิม : เคยอดขาวประมาณ ๗ วนั เพราะน้ำทว ม ออกไปไหนไมได อาศยั กลว ยกับมะพราวขูดประทงั ไป พธิ กี ร : ฝนตกเปย กไหม ยายยิม้ : กห็ ลบ ๆ เอา ไมล ำบาก อยาคดิ วามันลำบาก พิธกี ร : เสื้อผา ขาดแลวยงั ใสอ ยู ยายยิ้ม : ลกู หลานเขาเอามาให ใสไวเ ขาจะไดบญุ พธิ ีกร : ลูกหลานอยากใหไ ปอยดู วยกัน ยายย้มิ : ไมใ ชว าจะไมพ่งึ แตใหห มดคา กอนคอ ยพึง่ ปว ยไมสบายไมม แี รงคอยพง่ึ เขา พธิ ีกร : ทำฝายไปใหใคร ยายยิ้ม : ใหในหลวงพระราชินี ทานเปนถึงเจาแผนดินยังทำงาน เราก็ตองทำใหทานบาง..สวนส่ิงที่ทำในหลวง ไมเหน็ ผีสางเทวดาก็เหน็ พิธีกร : ทำดว ยจอบอันเดียวเหรอ ยายย้ิม : ยายย้ิม..ใช “จอบกับใจ” ทำไปเรื่อย ๆ ทำมายส่ี บิ กวาปแลว พธิ ีกร : ทำไปเทาไหร ยายย้มิ : ๑๑ แลว อยากทำถึง ๑๔ แตไมรวู าเร่ยี วแรงจะมแี คไหน ไมอ ยากทำถงึ อายุรอ ยป กลัวทำไมไหว พิธกี ร : ไดป ระโยชนอะไรจากฝาย ยายยม้ิ : ในหลวงบอกมฝี ายมนี ้ำ มปี า มีปลาเล็กเปน อาหารนกอกี ที รวมถงึ ไดใ ชย ามหนาแลง พิธีกร : กลัวลม ไหมเวลาเดนิ ไปไหน ยายยม้ิ : กลัวแตก ็ตองทำ ทำแลว มคี วามสขุ พิธกี ร : เหนือ่ ยไหมท่ที ำมา ยายยม้ิ : เหน่อื ย แตท ำแลว มคี วามสุข รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ที่พลเมือง ๕ พระมหาธรี พสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ความเป็นไทย “สังคมแมแ่ บบ” ๒๑ พธิ กี ร : ยายยังขาดอะไรอีกในชวี ติ ยายย้มิ : ยายยิ้มสมกับช่ือ แลวตอบอยา งภาคภมู ิใจวา ขาดความทกุ ข ๑. การกระทำของยายยมิ้ จันทรพร แสดงถึงวาเขามีคณุ ธรรมในดา น.............................................................................. ......................................................................................................................................................................................... ๒. การกระทำของยายย้มิ จันทรพ ร ทำใหนักเรยี นรูส ึก................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๓. การกระทำของยายย้ิม จนั ทรพ รสงผลอยางไร ตอตนเอง ตอครอบครวั ตอสังคม ๔. นักเรียนจะนำแบบอยางท่ีดีของยายยิ้ม จันทรพ รมาปฏิบตั ิ ดงั น้ี ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๕. ถา ทุกคนในสังคม ปฏบิ ตั ิเชน เดยี วกับยายย้มิ จันทรพ ร จะสงผลอยา งไรบา ง ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ที่พลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พิสษิ ฐ์ จนฺทสาโร

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ ความเป็นไทย “สงั คมแม่แบบ” ๒๒ เอกสารอา งองิ กรมสงเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๕๓). มารยาทไทย (พิมพครั้งที่ ๔). กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุม สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จำกัด. กรมสงเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๖๒). มารยาทไทย มารยาทในสังคม (พิมพครั้งที่ ๑). กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพอ งคก ารสงเคราะหท หารผานศึก. กฤชกร เพชรนอก. (๒๕๕๔). มารยาทไทย (พมิ พค รัง้ ที่ ๑). กรุงเทพฯ: สำนักพมิ พ สกายบคุ ส. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (๒๕๓๘). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท (พิมพครั้งที่ ๘). กรุงเทพฯ: บริษทั สหธรรมกิ จำกดั . พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (๒๕๓๘). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลธรรม (พิมพครั้งที่ ๘). กรุงเทพฯ: บริษทั สหธรรมกิ จำกดั . พันธกร อุทธิตสาร. (๒๕๕๙). มารยาทไทยการแตงกาย. สืบคน ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔, จาก https://sites.google.com/ a/thoengwit.ac.th/reiyn-ru-kab-khru-ben/maryath-thiy-reuxng-kar-snthna พันธกร อุทธิตสาร. (๒๕๕๙). ความเอื้อเฟอเผื่อแผและเสียสละตอสังคม. สืบคน ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔, จาก https://sites.google.com/a/thoengwit.ac.th/reiyn-ru-kab-khru-ben/khwam-xeux-feux-pheux-phae-laea- seiy-sla-tx-sangkhm รัชชากร ฉ่ำมณี. (๒๕๖๐). มารยาทไทย. สืบคน ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔, จาก https://sites.google.com/a/sapit.ac.th/ oat/hnathi-phlmeuxng-m-3/hnathi-phlmeuxng-m-3-pheim รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าท่ีพลเมือง ๕ พระมหาธีรพิสษิ ฐ์ จนฺทสาโร

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒ วิถไี ทย ๒๓ หนว ยการเรยี นรูท่ี ๒ วถิ ไี ทย ผลการเรียนรู ๓. เห็นคุณคา อนุรกั ษ สืบสวนและประยุกตข นบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภมู ปิ ญ ญาไทย ขนมธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย เปนสมบัติของชาติที่บรรพบุรุษที่สั่งสมไวมา ตั้งแตอดีต เปนสิ่งที่สะทอนถึงความคิด ความเชื่อ องคความรูและวิถีชีวิตที่ดีงามของคนไทย จนเราเรียกทั้งหมดนี้วา เปน “วิถีไทย” ซึ่งไมสามารถแยกออกจากชีวิตประจำวันได ฉะนั้น เราคนไทย จึงตองมีความรัก ความหวงแหน ใน ขนมธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ญาไทย โดยรว มกนั อนรุ กั ษ สบื สานใหค งอยูตอ ไป ๑. ขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทย ขนมธรรมเนยี ม เปน แบบแผนที่คนในสังคมสรางข้ึน และยดึ ถอื นำมาปฏบิ ตั ิในชวี ติ ประจำวันเพราะเช่ือวาเปน สิ่งที่ดีงาม สวนประเพณีจะมีลักษณะที่เปนแบบแผนที่คนนำมาปฏิบัติ โดยมักจะมีความเกี่ยวเนื่องกับความเชื่อทาง ศาสนา ดังนั้น ขนมธรรมเนียมประเพณีไทยจึงเปนระเบียบแบบแผนที่คนไทยถือวาเปนสิ่งที่ดีงามแลวนำมาประพฤติ ในชวี ิตประจำวนั จนกลายเปนวถิ ีไทยทเี่ ปนเอกลักษณ ความหมายของขนบธรรมเนียมประเพณี คำวา “ขนบธรรมเนียมประเพณี” หมายถึง พฤติกรรมของมนุษยที่เลือกปฏิบัติตามคานิยม ในทางที่ดีงาม และเปนที่ประสงคของคนสวนใหญ โดยปฏิบัติสืบทอดกันเรื่อยมาจนกลายเปนความเชื่อวาเปนสิ่งจำเปนและสำคัญ จะตองปฏิบัติตาม ขนบธรรมเนียมประเพณีแตละสังคมแตกตางกันไป หากสังคมใดอยูใกลชิดกัน ขนบธรรมเนียม ประเพณยี อมคลายคลงึ กันได เพราะมกี ารไปมาหาสูกนั ทำใหข นบธรรมเนียมประเพณเี ลื่อนไหลกนั ได ซ่ึงยังถือเปนบอ เกดิ ของวัฒนธรรมอกี ดว ย ประเภทของขนบธรรมเนียมประเพณี ขนบธรรมเนียมประเพณี เราอาจแบงออกเปน ๓ ประเภท ไดแก ๑. จารีตประเพณี หรือกฎศีลธรรม (Mores) หมายถึง สิ่งที่สังคมใดสังคมหนึ่งยึดถือและปฏิบัติสืบกันมา อยางตอเนื่องและม่ันคง เปนเรื่องของความถูกผิด มีเรื่องของศีลธรรมเขารวมกัน ใครฝาฝนหรือเฉยเมยถือวาเปน การ ละเมิดกฎสังคม ผิดประเพณีสังคม จารีตประเพณีหรือกฎศีลธรรมของแตละสังคมยอมไมเหมือนกันสังคมไทยเห็นวา การมีความสมั พันธท างเพศกอนแตงงานเปน การผิดจารตี ประเพณี แตชาวสวเี ดน เหน็ วา เปนเรอื่ งธรรมดา ดังนัน้ จารตี ประเพณีเปน เรอ่ื งของแตละสงั คม จะใชคานยิ มของสังคมหนึง่ ไปตัดสนิ สงั คมอ่นื ไมได รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าทพี่ ลเมือง ๕ พระมหาธรี พิสษิ ฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ วิถไี ทย ๒๔ ๒. ขนบธรรมเนียม หรือสถาบัน เปนระเบียบแบบแผนที่สังคมไดกำหนดไวแลวปฏิบัติสบื กันมา คือรูกันเอง ไมไดเปนระเบียบแบบแผนไววาควรประพฤติปฏิบัติกันอยางไร มักใชคำวา สถาบัน มาแทนขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งคนในสังคมมีความพอใจเปนท่ีปฏิบัติสืบตอกันมา มีขอกำหนดบังคับเอาไว เชน สถาบันการศึกษามีครู ผูเรียน เจาหนาที่ มีระเบียบ การรับสมัครเขาเรียน การสอบไล ประเพณีเกี่ยวกับการเกิด การบวช การแตงงาน การตาย มี กฎเกณฑข องประเพณีวางไว แตอาจเปลี่ยนแปลงไดเม่อื จำเปน ๓. ธรรมเนียมประเพณี หรือประเพณีนิยม (Convention) เปนแนวทางการปฏิบัติในการดำเนิน ชวี ิตประจำวนั ทปี่ ฏบิ ัติกันมาจนเคยชิน แตต อ งไมขัดแยงกัน เปน เรอ่ื งของทุกคนควรทำแมมผี ฝู าฝนหรือทำผิด ก็ไมถือ วาเปนเรื่องสำคัญ แตอาจถูกตำหนิไดวา ไมมีมารยาท ไมรูจักกาลเทศะ เชน การแตงกาย การรับประทานอาหาร การดืม่ นำ้ จากแกว ลักษณะของขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทย การศึกษารายละเอียดของขนบธรรมเนียมประเพณี จะแยกเปน ๒ ประเภท คือ ขนบธรรมเนียมประเพณี เกีย่ วกับชวี ิต และขนบธรรมเนยี มประเพณเี กี่ยวกบั เทศกาล ๑. ขนบธรรมเนียมประเพณสี วนบคุ คล หรอื เกี่ยวกับชวี ิต เปนขนบธรรมเนยี มประเพณเี ก่ยี วกบั การสงเสริม ความเปนสิริมงคลแกชีวิต ตั้งแตเกิดจนตาย ไดแก ประเพณีการเกิด การบวช การแตงงาน การตาย การทำบุญใน โอกาสตาง ๆ ๑.๑ ประเพณีการเกิด เปนเรื่องสังคมไทยใหความสำคัญ แลวแตความเชื่อของบุคคลหรือสังคม ท่ี ตนอยู ซึ่งแตเดิมคนเชื่อในสิ่งลึกลับ พิธีกรรมจึงมตี ัง้ แตต ั้งครรภจนกระท่ังคลอด เพื่อปองกันภัยอันตรายจาก ทารก เชน ทำขวั ญเดอื น โกนผมไฟ พธิ ลี งอู ตงั้ ชือ่ ปเู ปลเด็ก โกนจกุ (ถา ไวจ กุ ) เปน ตน ๑.๒ ประเพณีการบวช ถือเปนสิ่งที่อบรมสั่งสอนใหเปนคนดี ตลอดจนทดแทนบุญคุณพอแม ผูให กำเนิด ตัวผบู วชเองกม็ โี อกาสไดศึกษาธรรมวนิ ยั - การบรรพชา คอื การบวชเณร ตอ งเปนเด็กชายทม่ี ีอายตุ ้งั แต ๗ ขวบข้ึนไป - การอุปสมบท คอื การบวชพระ ชายที่บวชตองมอี ายคุ รบ ๒๐ ปบรบิ ูรณ ๑.๓ ประเพณกี ารแตงงาน เกิดขน้ึ ภายหลังผชู ายบวชเรยี นแลว เพราะถอื วา ไดรบั การอบรมมาดีแลว เม่ือเลือกหาหญงิ ตามสมควรแกฐ านะ ฝา ยชายก็ใหผใู หญไ ปสขู อฝา ยหญิง ขน้ั ตอนตาง ๆ ก็เปน การหาฤกษหา ยาม พิธีหมั้น พิธีแหขันหมาก การรดน้ำประสาทพร การทำบุญเลี้ยงพระ พิธีสงตัวเจาสาว เปนตน การประกอบพธิ ตี า ง ๆ ก็เพอ่ื ความเปน มงคลใหช วี ติ สมรสอยกู ันอยางมีความสขุ ๑.๔ ประเพณีการเผาศพ ตามคตขิ องพระพทุ ธศาสนา ถอื วารางกายมนุษยประกอบดว ยธาตุ ๔ คอื - ดิน (เนอื้ หนัง กระดกู ) - น้ำ (เลอื ด เหงอ่ื น้ำลาย) - ลม (อากาศหายใจเขา -ออก) - ไฟ (ความรอนความอบอนุ ในตัวเรา) รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ วถิ ไี ทย ๒๕ ดังน้ัน เมอ่ื สน้ิ ชวี ติ แลว สังขารทเ่ี หลอื จงึ ไมม ีประโยชนอันใด การเผาเสยี จงึ เปนสงิ่ ดี ผูที่อยูเบื้องหลัง ไมห วงใย โดยมากมกั เกบ็ ศพไวท ำบุญใหท านชวั่ คราว เพือ่ บรรเทาความโศกเศรา โดยปกติมักทำการเผา ๑๐๐ วนั แลว เพราะไดท ำบุญใหทานครบถวนตามท่คี วรแลว ๒. ขนบธรรมเนียมประเพณเี ก่ียวกับสังคม หรอื เกี่ยวกับสว นรวม เปนประเพณที ่ปี ระชาขนสวนใหญในสังคม ถือปฏิบัติ ไดแก ประเพณีทำบุญขึ้นบานใหม ประเพณีสงกรานต ประเพณีวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน ขนบธรรมเนียมประเพณีสว นรวมท่ีคนไทยสว นมากยงั นิยมปฏิบัติกัน เชน ๒.๑ ประเพณีสงกรานต เปนประเพณีที่กำเนิดมาจากประเทศอินเดีย เปนประเพณีเฉลิมฉลองการ เริ่มตนปใหม ประเทศไทยเราใชกนั มาตั้งแตสมัยสุโขทัยเปนราชธานี วันที่เริ่มตนปใหม คือวันที่ ๑๓ เมษายน ของทกุ ปถ อื ปฏิบัตจิ นถึงป พ.ศ. ๒๔๘๓ รัฐบาลจงึ ไดก ำหนดใหว นั ท่ี ๑ มกราคม เปนวันปใ หม ในวนั สงกรานต จะมกี ารทำบญุ ตักบาตร ปลอ ยนก ปลอ ยปลา สรงนำ้ พระพทุ ธรปู พระสงฆ รดน้ำดำหัวผใู หญ การเลน สาดน้ำ กัน การเลน กฬี าพน้ื เมอื ง ปจ จุบนั ยังเปนประเพณีนิยมเพือ่ ความบันเทิงสนกุ สนานไดเ ยี่ยมพอแม ญาตพิ ่นี อ ง ๒.๒ ประเพณีเขาพรรษา สืบเนื่องจากอินเดียสมัยโบราณกำหนดใหพระสงฆที่จาริกไปยังสถานท่ี ตางๆ กลับมายังสำนักของอาจารยในฤดูฝน เพราะลำบากแกการจาริก ทั้งยังไดทบทวนความรู อุบาสก อุบาสิกา ไดทำบุญถวายผาอาบน้ำฝน ถวายตนเทียน เพื่อใหพระสงฆใชในพรรษา ชาวไทยถือนิยมปฏิบัติ การเขาพรรษาแรก คือ ปุรมิ พรรษา เริ่มต้งั แตแ รม ๑ ค่ำ เดอื น ๘ จนถงึ ข้ึน ๑๕ คำ่ เดือน ๑๑ ๒.๓ ประเพณีทอดกฐิน ทอดกฐินเมื่อออกพรรษาแลว จะมีประเพณีถวายผากฐินแกพระสงฆ เพื่อ ผลัดเปลีย่ นกับชุดเดิม ซึ่งถือปฏิบัติกันมาตั้งแตสมัยสุโขทยั การทอดกฐิน เริ่มตั้งแต วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ จนถงึ กลางเดือน ๑๒ รวมเวลา ๑ เดือนเทาน้นั ความสำคัญของขนบธรรมเนียมประเพณไี ทย วัฒนธรรมประเพณีของชาติ ลว นแสดงใหเห็นความคดิ ความเชื่อ ทีส่ ะทอนถงึ วิธกี ารดำเนินชีวติ ความเปนมา ความสำคัญ ซึ่งลวนเปนสวนหนึ่งของอารยธรรมไทย ดังนั้น ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยจึงมีความสำคัญพอสรุปได ดงั นี้ ๑. ความเปนสิริมงคล ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยนั้น ลวนเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาและพราหมณ พธิ ีกรรมตาง ๆ ทป่ี ฏบิ ัตสิ ืบทอดกันมาน้ัน เปน ความเชอื่ เรื่องของความเปนมงคลแกช ีวิต ๒. ความสามคั คี ความเสยี สละ ขนบธรรมเนยี มประเพณเี ปน เครื่องฝกจิตใจใหร ูจกั เปน ผูเ สยี สละจะเห็นไดจาก งานบุญตาง ๆ มักเกิดการรวมมือ รวมแรง รวมใจกัน เชน พิธีขนทรายเขาวัด การกอเจดียทราย ทำใหเกิดความรัก ความสามคั คี ๓. การมีสัมมาคารวะ ถือเปนขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอยางหนึ่ง ที่มุงแสดงออกถึงซึ่งความนอมนอม ออ นโยน ความมีมารยาทที่ดี ๔. ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ชวยทำใหคนไทยอยูในกรอบท่ีดีงาม ถือวาเปนเครื่องกำหนดพฤติกรรม ไดอยา งหนึ่ง ๕. ขนบธรรมเนียมประเพณีในแตละทองถ่ิน ถึงแมวาจะแตกตางกัน แตทุกคนก็มีความรูส กึ วาทกุ คน เปนคน ไทย มคี วามเปนชาติเดียวกนั และสามารถแบง ออกถงึ ความเปน มาของชาติได รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ วถิ ไี ทย ๒๖ การอนรุ ักษและสืบสานขนมธรรมเนียมประเพณีไทย ๑. ปฏิบัติตนตามขนมธรรมเนียมไทยท่ดี ีงามอยา งถูกตอง ๒. อธบิ ายความสำคญั ของขนมธรรมเนียมประเพณีไทยใหผูอ น่ื ไดท ราบ และชว ยกนั อนุรักษสืบสานตอ ไป ๓. เผยแพร ประชาสัมพนั ธขอมูลเกย่ี วกบั การอนุรักษ สืบสานขนมธรรมเนียมประเพณไี ทยใหช ายตา งชาติ ๔. เขา รว มในงานประเพณไี ทยอยเู สมอ รวมถงึ การชักชวนผอู ืน่ ใหมาเขารวมดว ย ๕. มีสว นรวมในกิจกรรมตา งๆ ท่เี ปนการอนุรกั ษ สบื สานขนมธรรมเนียมประเพณีไทย ขนมธรรมเนียมประเพณีไทยเปนสิ่งที่ดีงามปฏิบัติสืบทอดมายาวนาน ดังนั้น คนไทยทุกคนจึงควรรวมกัน อนุรักษ สืบสาน และเผยแพรในสิ่งที่ดีงามเหลานี้อยูคูกับสังคมไทยตอไป ถึงแมวาในปจจุบันจะมีการหลั่งไหลเขามา ของวัฒนธรรมตางชาติทามกลางความเจริญทางดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร จึงเปนหนาท่ีของคนไทยทีจ่ ะเลือกรับ คัดกรอง นำมาใชใ นสงั คมไทย โดยยังคงรักษาประเพณีทดี่ งี ามของไทยไว ๒. ศิลปวัฒนธรรมไทย ศิลปวัฒนธรรมไทย เกิดจากความคิด ความเชื่อ รวมถึงองคความรูตางๆ ของคนไทยที่ผานการสรางสรรคขึ้ร เพื่อนำมาใชไดอยางเหมาะสมกับการดำเนินชีวิตของคนไทยซึ่งครอบคลุมในหลายดาน ไมวาจะเปน การประกอบ อาชพี อปุ กรณ เครื่องมือ เครอ่ื งใช อาหาร เคร่อื งแตงกาย ศิลปะ การแสดง ลวนเปนเอกลกั ษณและสะทอนวิถีไทยได เปนอยา งดี ความหมายของวฒั นธรรม โดยปกติ คำวา วัฒนธรรมมคี วามหมายสองทาง คอื ความหมายทหี่ นึง่ วัฒนธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนเหตุให เจรญิ เปนความหมายท่ีมาจากคำสองคำ คือ “วัฒน” กบั “ธรรม” คำวา วัฒน หรือ พฒั น หมายถึง ความเจริญ สวน คำวา ธรรม หมายถึง คุณความดี ความชอบ ดังนั้น วัฒนธรรม จึงหมายถึง ธรรมแหงความเจริญ ความหมายที่สอง วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่ไมมีเองทางธรรมชาติ แตเปนสิ่งที่สังคมหรือคนในสวนรวมมคี วามตองการและจำเปน ที่ตอง ผลิตหรอื สรางใหมีข้ึน แลว ถายทอดใหอ นุชนรุน หลังดว ยการสัง่ สอนและเรียนรูแลว สืบ ๆ ตอกนั มาเปน ประเพณี วัฒนธรรมในความหมายที่หนึ่งนั้น เปนความหมายสามัญที่คนทั่วไปใชกันในความหมายของพฤติกรรมและ ขนบธรรมเนยี มประเพณีทดี่ ีวาม เปนส่ิงทไ่ี ดรับการปรุงแตง ใหดีแลว หรอื สิ่งที่ไดร ับการยกยองเปนเวลานานแลว และ เปนสิ่งเชิดชูเกียรติ ชื่อเสียง เพราะไดรับการพัฒนาจนกลายมาเปนรูปลักษณที่สูงเดน ตัวอยางเชน ขนบธรรมเนียม ประเพณที ่ีสำคัญ ภมู ิปญญา คา นิยมที่ผคู นยกยอง กิริยามารยาทในสงั คม สถาปต ยกรรม ภาษาและวรรณคดี เปนตน วัฒนธรรมดังกลา ว จงึ จำเปน ตอ งรวมกันอนรุ กั ษ และสงวนรกั ษาไวเ พือ่ ใหเปนมรดกของสงั คมสบื ไป วฒั นธรรมในความหมายทส่ี อง เปน ความหมายทน่ี ักสงั คมวิทยา และนักสังคมศาสตรไดใหไว โดยกำหนดใหมี ความหมายครอบคลุมกิจกรรมท่ีกวางขวางกวา กลาวคือ วัฒนธรรมเปน ทุกสิ่งที่มนุษยส รางข้ึนมา เชน ภาษา การทำ เครื่องมืออุตสาหกรรม ศิลปะ กฎหมาย ศาสนา การปกครอง และศีลธรรม เปนตน กับรวมถึงอุปกรณท่ีเปนวัตถุหรือ สิ่งประดิษฐ ซึ่งแสดงรูปแบบแหงผลสัมฤทธิทางวัฒนธรรมและทำใหลักษณะวัฒนธรรมทางปญญาสามารถสงผลให เปน ประโยชนใชส อยได เชน อาคาร เครอ่ื งมือ เคร่ืองจกั รกล เครอ่ื งมือส่ือสาร ศลิ ปวัตถุ เปนตน รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ที่พลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพิสิษฐ์ จนทฺ สาโร

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ วถิ ไี ทย ๒๗ ดังนั้น วัฒนธรรมจึงเปนทุกส่ิงที่เรียนรูและรับการถายทอดมาจากการติดตอสัมพันธระหวางกันอันรวมถึง ภาษา ธรรมเนียมประเพณี และสถาบันทางสังคม หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ เปนแบบอยางของพฤติกรรมทั้งหลายที่ ไดมาทางสังคม และถายทอดกันไปทางสังคมโดยอาศัยสัญลักษณ วัฒนธรรม จึงเปนลักษณะเดน และเปนสากล สำหรบั สังคมมนุษย ซึง่ ไมม ใี นสง่ิ มชี วี ิตอ่นื นอกจากมนุษย ลักษณะของวัฒนธรรม ลักษณะสำคญั ของวัฒนธรรมมีดงั น้ี ๑. วัฒนธรรมที่มนุษยสรางขึ้น มนุษยสรางวัฒนธรรมขึ้น เพื่อตอบสนองความตองการของสังคม เชน การสรางอาคารบานเรือน คอมพิวเตอร ภาพยนตร เปน ตน หรอื ดดั แปลงแตง เติมส่งิ ทเ่ี ปนธรรมชาติใหมีรูปลักษณใหม เชน การตดั แตง ตน ไมใ หเ ปนรูปรา งตาง ๆ การแตง แตม สสี ันของหนา ตาใหด ูสดใส สวยงาม เปน ตน วัฒนธรรมที่สรางขึ้นมีทั้งวัฒนธรรมที่เราสามารถมองเห็นและจับตองได เชน อาหาร โตะ เสื้อผา หรือที่เรา เรยี กวา วัฒนธรรมประเภทวตั ถุ และวฒั นธรรมทม่ี องไมเห็น เชน คา นยิ ม ทัศนคติ ความรู ความเช่อื สถาบันทางสงั คม และโครงสรางทางสงั คม ตลอดจนภูมิปญ ญา เปน ตน ๒. วัฒนธรรมที่เกิดจากการเรียนรู ในอดีตกาลที่เปนยุคแรกเริ่มของการกำเนิดมนุษยนั้น มนุษยเปนผูสราง วัฒนธรรมขึ้น ในกาลตอมาจนถึงปจจุบัน วัฒนธรรมกลับเปนสิ่งสรางความเปนมนุษยโดยเด็กจะตองไดรับการอบรม เลี้ยงดูและขัดเกลาทางสังคมจากพอแม ญาติพี่นอง ครูอาจารย และจากตำราตาง ๆ เมื่อเด็กไดเรียนรูสิ่งตาง ๆ รอบตวั และความรูพนื้ ฐานจนถงึ ระดับหนง่ึ แลว กจ็ ะปรับปรงุ พัฒนาและคิดประดิษฐเปนวัฒนธรรมใหม ๆ ข้นึ มาใช ๓. วัฒนธรรมเปนสิ่งที่สมาชิกของสังคมยอมรับ มีสวนรวมและนำไปใช การสรางวัฒนธรรมใดขึ้นมา หาก คนในสังคมไมย อมรบั และไมม สี ว นรว ม จะไมถ อื วา เปนวฒั นธรรม ๔. วัฒนธรรมเปนสิ่งที่สั่งสมและถายทอดใหแกอนุชนรุนหลัง ภายหลังที่มีการสรางวัฒนธรรมและทำการ พัฒนาขนึ้ มา ก็จะมีการสั่งสมกลายเปนองคความรูของสังคม และมีการถายทอดไปยังอนชุ นรุนหลังตอไปเรื่อย ๆ หาก วัฒนธรรมนั้นไมไดรบั การสงตอ ไปใหส มาชริ นุ หลงั จะทำใหวัฒนธรรมนั้นสูญหายไป ๕. วฒั นธรรมมกี ารเปลี่ยนแปลงอยเู สมอ โดยจะเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลาเพ่ือใหส อดคลองกับธรรมชาติ รอบขางและความจองการของสมาชิกในสงั คม วัฒนธรรมบางอยางเปลี่ยนแปลงไปอนั เปน ผลมาจากการแพรก ระจาย และการยืมวัฒนธรรมอื่นเขามา เชน เทคโนโลยีระบบการศึกษา ระบบการเมืองการปกครอง เครื่องแตงกาย เปนตน ในการรบั วัฒนธรรมอ่ืนเขามาใชในสังคมคนเองน้นั กอใหเกิดการปรบั ตวั ใหเขากับวัฒนธรรมหรือการสังสรรคระหวาง วฒั นธรรมอ่ืนกบั วฒั นธรรมดัง้ เดมิ ทำใหเ กิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมขึน้ ได ลักษณะของวัฒนธรรมที่กลาวมาทั้งหมดนี้เปนลักษณะเดนของวัฒนธรรม ทำใหเราสามารถทำความเขาใจ ความหมายของวฒั นธรรมไดด ียิ่งขนึ้ ประเภทของวฒั นธรรม นักวชิ าการแบงวฒั นธรรมออกเปนประเภทตาง ๆ ตามเปาหมายและลกั ษณะ ดงั น้ี ๑. การจดั ประเภทตามลักษณะทีม่ องเห็นหรือสมั ผสั ได แบง ออกเปน รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๕ พระมหาธีรพิสษิ ฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ วถิ ไี ทย ๒๘ ๑.๑ วัฒนธรรมทางวัตถุ เปนวัฒนธรรมที่สามารถมองเห็น สัมผัสได เชน หนังสือ แวนตา รถยนต โทรทัศน เปน ตน ๑.๒ วัฒนธรรมทางอวัตถุ เปน วฒั นธรรมที่มองไมเห็น เปนมโนภาพ เชน คานิยม มารยาท ปรัชญา บรรทัดฐาน สถาบันทางสงั คม ความเช่ือ เปน ตน ๒. การจดั ประเภทตามเน้อื หา แบงออกได ดังน้ี ๒.๑ คติธรรม ไดแก วัฒนธรรมทางศีลธรรมและทางจิตใจ อันเปนคติหรือหลักการดำเนินชีวิต เชน ความเมตตากรณุ า ความกตญั กู ตเวที เปนตน ๒.๒ วัตถุธรรม ไดแก วัฒนธรรมทางวัตถุ หมายถึง วัตถุทางศิลปกรรม เชน เจดีย บานเรือน เครื่อง แตงกาย ถนนหนทาง และสิ่งประกอบความเปนอยูทุกชนิด รวมถึงเครื่องอุปโภคทั้งหลาย ซึ่งถือวาเปน วฒั นธรรมทางวตั ถุทง้ั ส้ิน ๒.๓ เนติธรรม ไดแก วัฒนธรรมทางกฎหมาย หรือขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีความสำคัญเสมอ ดวยกฎหมาย กลาวคือ บางอยางแมไมมีกฎหมายหาม แตถาใครปฏิบัติก็เปนที่รังเกียจของสังคม เปนที่อับ อายขายหนา เพราะถือกันวาไมด ไี มเหมาะสมหรอื ที่เราเรยี กวา จารีต นน่ั เอง ๒.๔ สหธรรม ไดแก วัฒนธรรมทางสังคม เปนวัฒนธรรมในการติดตอเกี่ยวของกับกลุมชน เชน มารยาทในการเขาหาผูใหญ มารยาทในโตะอาหาร มารยาทในการเขา สังคม เปน ตน อยางไรก็ตามไมวาวัฒนธรรมจะจำแนกออกเปนประเภทตาง ๆ ตามแนวการจัดแบงออกเปนประเภท แตส่ิง สำคัญ ก็คือวัฒนธรรมเปนสิ่งที่คนสรางขึ้นโดยผานสัญลักษณ ซึ่งมีทั้งวัฒนธรรมที่เรามองเห็นหรือสัมผัสได และ วฒั นธรรมทเี่ รามองไมเ หน็ แตไดรับการสรา งข้นึ เพื่อใชต อบสนองความตองการของมนุษย ความสำคัญของวฒั นธรรม ดังที่ไดกลาวไวในตอนตนแลววา “วัฒนธรรมคือทุกสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อใชตอบสนองความตองการ” คำ กลาวนี้ เปนคำกลาวที่ครอบคลุมลักษณะ ประเภท ความสำคัญของวัฒนธรรมไปพรอม ๆ กัน จึงอาจจะเปนการยาก ในการมองภาพวฒั นธรรมในแงคุณประโยชนอยางเปนรปู ธรรม ดงั นน้ั จะขอกลา วถึงความสำคัญของวฒั นธรรมเปนขอ ๆ ดงั นี้ ๑. เพื่อใชประโยชนต อการดำรงชีวิต กลา วคือ ๑.๑ เปนเปาหมายหรือวัตถุประสงคในการดำรงชีวิต ในแงนี้วัฒนธรรมเปนอุดมการณ คานิยม ทัศนคติและจุดหมายปลายทางของชีวิตที่คนในสังคมประสงคที่จะดำเนินชีวิตใหบรรลุผลที่ตั้งไว เพราะ วฒั นธรรมจะเปนตัวแบบท่ีกำหนดวา สิ่งใดเปน ส่ิงทดี่ ีงามเหมาะสม เปน สง่ิ ท่ปี รารถนาท่ีจะใหบังเกิดขึ้น ซึ่งจะ กลายเปน จุดหมายที่บุคคลพึงบรรลถุ งึ และเปน ส่งิ เหมาะสมในการใชนำทางในการดำเนินชีวิต ๑.๒ เปนตัวกำหนดความสัมพันธหรือพฤติกรรมของมนุษย โดยผานทาง1กระบวนการขัดเกลาทาง สังคม เพอ่ื ใหเรียนรรู ะเบยี บทางสังคม สถานภาพ และบทบาท สถาบนั และโครงสรา งทางสังคม ๑.๓ เปนตัวควบคุมสังคม การควบคุมทางสังคมเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่เปนตัวกำหนด เฉพาะเจาะจงถึงการแสดงออกของบุคคลในสงั คม หรอื ท่ีเรียกวา “บรรทดั ฐานทางสังคม” ซ่ึงกำหนดแนวทาง ของความประพฤตขิ องคนในสงั คม รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พิสิษฐ์ จนฺทสาโร

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ วถิ ไี ทย ๒๙ ๑.๔ เปนสิ่งของเครื่องใชทกุ ประเภทเพื่อตอบสนองความตองการทางดานรางกายและจิตใจ ในแงน้ี เปน วฒั นธรรมทเ่ี ปนวัตถุ เชน อาหาร เสื้อผา บา นเรือน ยารักษาโรค ศลิ ปกรรม ภาพวาด ตลอดจนเครอ่ื งจกั ร คอมพวิ เตอร เปน ตน ๒. วัฒนธรรมทำหนาที่หลอหลอมบุคลิกภาพใหกับสมาชิกของสังคม ใหมีลักษณะเปนแบบใดแบบหน่ึง แมวาบุคลิกภาพจะเปนผลมาจากปจจัยทางชีวภาพบางสวนก็ตาม แตการอาศัยอยูรวมกับคนอื่นภายใตกฎระเบียบ สังคมเดียวกัน ทำใหคนมีบุคลิกภาพโนมเอียงไปกับกลุมที่อาศัยอยูรวมกัน เชน เด็กที่อยูในครอบครัวที่เปนโจร จะมี บุคลิกภาพแตกตางจากเด็กที่อยูในครอบครัวที่ประกอบอาชีพสุจริต บุคลิกภาพดังกลาวจะแสดงออกในรูปนามธรรม เชน ความเชื่อ ความสนใจ ทัศนคติ ความรู ความคิดสรางสรรค และสิ่งที่มองเห็น เชน การแตงตัว กิริยาทาทาง เปน ตน ๓. วัฒนธรรมกอใหเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน กอใหเกิดความเปนปกแผน ทั้งนี้หากสมาชิกของ สังคมมีลักษณะคลายคลึงกัน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะกอใหเกิดความผูกพัน สามารถพึ่งพาอาศัยกันและกัน มี จิตสำนึกรูสึกเปนพวกเดียวกัน ตลอดจนรวมกันอนุรักษ และสืบสานวัฒนธรรมของตนใหอยูรอดและพัฒนากาวหนา ตอไป ดังนั้น จะเห็นไดวา มนุษยกับวัฒนธรรมเปนสิ่งที่ไมสามารถแยกออกจากกันได เพราะตองควบคูกันไป วัฒนธรรมจะเปนสิง่ ที่ตอบสนองและสรางเสริมใหมนุษยอ ยใู นสงั คมอยา งเปน ปกติสุข คณุ คา ของวฒั นธรรม วัฒนธรรมเปน ส่งิ ทมี่ นุษยสรางขึน้ และไดรับการพฒั นาอยา งตอเนื่องจนเปน ระบบเพ่ือใหสอดคลองกับสภาพ ภูมิศาสตร สภาพทางสังคม และสามารถตอบสนองความตองการของคนในสังคมไดอยางเปนระบ ซึ่งระบบของ วฒั นธรรมประกอบดวย ๓ ระบบที่เชือ่ มโยงกนั ดังนี้ ๑. ระบบคุณคา หมายถึง ศีลธรรมของสวนรวมของสังคม และจิตวิญญาณของความเปนมนุษยที่สรางสรรค มักแสดงออกในรูปความคิดที่ใหความสำคัญกับความเปนธรรม ความอุดมสมบูรณ และความยั่งยืนของสังคมและ ธรรมชาติบนพ้ืนฐานของการเคารพสว นรวม และเพื่อมนษุ ยด ว ยกันเอง ๒. ระบบภูมิปญญา เปนระบบที่ครอบคลุมวิธีคิดของสังคม เปนการจัดการความสัมพันธทางสังคม และ ความสัมพันธระหวางสังคมกบั ธรรมชาติส่ิงแวดลอ ม ซึ่งปรากฏในรูปของกระบวนการเรียนรู การสรางสรรค การผลิต ใหมแ ละการถา ยทอดความรผู า นองคกรทางสังคมทองถิ่นเพ่ือปรบั ตัวตอการเปล่ียนแปลงของสภาวะแวดลอ ม ๓. ระบบอดุ มการณอำนาจ หมายถงึ ศักดศิ์ รแี ละสทิ ธคิ วามเปนมนษุ ยทีจ่ ะเสริมสรางความม่นั ใจ และอำนาจ ใหกับคนในชมุ ชน เพื่อเปนพลังในการเรยี นรู สรางสรรค ผลิตใหม และถายทอดใหเปนไปตามหลักการของศีลธรรมที่ เคารพความเปนมนุษย ความเปนธรรม และความยั่งยืนของธรรมชาติ เพื่อรักษาความเปนอิสระของสังคมตนเอง เมื่อ ตองเผชิญหนากับการครอบงำจากภายนอก ดวยเหตุนี้ สังคมทุกสังคม จึงมีวัฒนธรรมที่คนในสังคมนั้น ๆ ยกยองวา เปนสิ่งทม่ี ีคณุ คา เปนภูมิปญ ญา และเปน ระบบอดุ มการณของสังคม อนั สงผลใหส งั คมอยูรว มกันอยางมั่นคงเต็มเปยม ไปดวยศักดิ์ศรีและความเคารพในสังคมตนเอง ดังนั้น เราตองยอมรับวาทุกสังคมมีวัฒนธรรมของตนเอง ไมควรแสดง การดูถูกเหยียดหยามวัฒนธรรมของสังคมอื่น ในทางตรงกันขามก็ตองไมดูถูกวัฒนธรรมของสังคมตนองหรือยกยอง วฒั นธรรมจากสงั คมอนื่ วาดกี วา เหนือกวา และนายกยองกวาวัฒนธรรมของตนเอง เพราะการกระทำเชน นีเ้ ปน เสมือน รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พิสษิ ฐ์ จนทฺ สาโร

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ วถิ ไี ทย ๓๐ การลดศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของสังคมตนเอง ยอมจะไมเกิดความเจริญงอกงามใด ๆ แกตนเองและสังคมของตนเลย นอกจากน้ี การเปรียบเทียบวัฒนธรรมของแตละสังคมวาสูงต่ำ ดีเลวกวากัน เปนสิ่งที่ไมพึงกระทำ เพราะแตละ วัฒนธรรมก็มีหนา ที่เปนแบบฉบับเฉพาะของแตส ังคม ความแตกตา งระหวา งวฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมในภูมภิ าค ประเทศไทยอยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งเปนถิ่นท่ีอยูข องชนกลุม ใหญ ๆ ตามภาษาพูด ราว ๑๑ กลุม ซึ่งไดแก ชาวไทยที่พูดภาษาไทยกลาง ไทยใต ไทยอีสาน ไทยเหนือ ไทยมุสลิม (ภาคใต) ไทยจีน ไทยมุสลิม (กรงุ เทพฯ) ไทยมาเลย เขมรและกยุ ชาวเขาเผาตา ง ๆ มอญ และชนอพยพอนื่ ๆ เชน เวยี ดนาม อินเดยี พมา เปนตน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดทรงจัดการปกครองแบบรวมอำนาจเขาสูสวนกลางโดย กำหนดใหภาษาไทยเปนภาษากลาง และเผยแพรขนบธรรมเนียมประเพณีของพระนครออกไปยังภูมิภาคตาง ๆ ทั่ว ประเทศ ทำใหเกิดมีวัฒนธรรมหลักของไทยขึน้ แตในขณะเดียวกันก็ยกยองและอนุรักษวัฒนธรรมทองถิ่นเชนกัน นับ แตนั้นเปนตนมาจนถึงปจจุบัน สังคมไทยมีความเปนปกแผนและมีวัฒนธรรมหลักที่เปนเอกลักษณของประเทศท่ี เดนชัดทำใหส ามารถแยกแยะความแตกตางระหวา งวัฒนธรรมไทย กับวฒั นธรรมพมา วัฒนธรรมลาว วฒั นธรรมเขมร และวฒั นธรรมของชนในภูมภิ าคอ่นื ของเอเชียและของโลกไดอยางชัดเจน เราจงึ เรยี กกนั วา “วฒั นธรรมไทย” อยางไร ก็ตามเนือ่ งจากสังคมไทยเปนทรี่ วมของชนหลายเผาพันธุและมกี ารยกยองวัฒนธรรมของแตล ะกลุมแตล ะทองถ่ินอยาง จริงจังตลอดมา ทำใหมีวัฒนธรรมทองถิ่นหรือวัฒนธรรมในภูมิภาค มีปรากฏยางเดนชัด และไดรับการอนุรักษ สงเสริม สบื สาน และถา ยทอดมาตราบเทาทุกวนั นี้ วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทยเปนวัฒนธรรมแกน หรือวัฒนธรรมหลักของประเทศ ไดหลอหลอมใหคนไทยทุกหมูเหลาทุก ภูมิภาคเปนหนึ่งเดียว และนำมาปฏิบัติใชเปนวิถีชีวิตที่คนทั้งชาติตางภูมิใจ และเปนสิ่งยึดเหนี่ยวใหเกิดความ สมานฉันทของพลเมือง พื้นฐานวัฒนธรรมไทยมาจากส่ิงตอไปน้ี ๑. การมพี ระมหากษตั ริยเปน ประมขุ สถาบนั พระมหากษัตริยไดเ กิดข้นึ อยคู วบคกู ับสงั คมไทยมาเปนเวลาชา นานนับตั้งแตเริม่ ตนเปนชาติไทย พระมหากษัตริยเปนศูนยรวมจติ ใจของคนท้ังชาติทีพ่ สกนิกรทุกหมูเ หลาแซซอง ให ความเคารพนับถอื และเปน ทยี่ ึดเหน่ียวของคนท้ังประเทศ ชนทุกเผา พันธทุ ่อี าศยั อยใู นราชอาณาจักรไทยไดอยูรวมกัน สมัครสมานสามัคคีและรวมเปนหนึ่งเดียว ก็เพรามีพระมหากษัตริยเปนประมุ พระราชกรณียกิจและขัตติยประเพณี ดานตา ง ๆ ลวนเกย่ี วขอ งกับการดำเนินชวี ิตของคนไทยอยา งแนนแฟน ๒. พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเปนศาสนาหลักของชาติไทย โดยรัฐใหความอุปถัมภและคุมครอง พระพุทธศาสนาไดกำหนดคา นิยม ความเชื่อ แนวความคดิ และบรรทัดฐานทางสังคมของชนชาติไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาจะไดรับการยกยองและปฏิบัติตาม ทำใหวิถีชีวิตของคนไทยผูกพันกับ พระพทุ ธศาสนาอยา งแนนแฟน อยางไรก็ตาม รัฐไดส ง เสริมความเขาใจอันดีกบั ศาสนิกชนคนไทยท่ีนับถือศาสนาอื่น คือ ศาสนาครสิ ต ศาสนา อิสลาม และศาสนาอื่น ๆ เชนกัน อีกทั้งไดสนับสนุนใหนำหลักธรรมของทุกศาสนาใชเพื่อเสริมสรางคุณธรรมและ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หน้าท่พี ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ วถิ ไี ทย ๓๑ ๓. ภาษาไทย ภาษาไทยกลางเปนภาษาประจำชาติที่คนไทยทั่วประเทศสามารถพูดเขาใจและเขียนอานได ภาษาไทยกลางจึงเปนตัวเชื่อมโยงใหคนในชาติติดตอสื่อสาร และสรางความผูกพันตอกัน ทำใหคนไทยสามารถทำ ความเขา ใจวัฒนธรรมหลกั ปละวัฒนธรรมของภูมิภาคตา ง ๆ ไดดี ๔. อาชพี เกษตรกรรม ประเทศไทยเปน ประเทศเกษตรกรรมท่ีมีความอุดมสมบูรณมากทส่ี ุดประเทศหน่ึงของ ภูมิภาคมาชานานแลว ประชากรสว นใหญอาศยั อยูในชนบทและมีชวี ิตความเปนอยูผูกพันกับพืน้ ดิน ทองทุงและไรน า ประเพณีและวัฒนธรรมสวนใหญจึงมีพื้นฐานมาจากการเกษตรและการมีชีวิตอยูในชนบท อันเปนรากฐานแหงภูมิ ปญญาทุกดานของวิถีชีวิต แมในปจจุบันที่ประชากรบางสวนจะอพยพเขามาอาศัยอยูในเมือง และประอบอาชีพ ทางดานอุตสาหกรรมและการบริการ แตความผกู พันกบั ชนบทและอาชีพเกษตรกรรม ซ่ึงรวมไปถึงการประมงและการ เลยี้ งสตั วย งั ฝงอยูอยางแนนแฟน การอนุรักษและสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมไทย ๑. ศกึ ษาคนควา ขอ มลู เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทย จากแหลง ขอ มลู ตางๆ อยูเสมอ ๒. อธบิ ายความสำคัญของศลิ ปวัฒนธรรมไทยใหคนทัว่ ไปรบั ทราบ เพือ่ เกิดความหวงแหน ภาคภูมิใจ ๓. ใหความสนใจเขารวมกิจกรรมหรืองานแสดงตา งๆ ที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทย และชักชวนคนรอบขาง ใหเขารว มดว ยเสมอ ๔. ชักชวนใหบุคคลรอบขางเพื่อการมีสวนรวมจัดกิจกรรมตางๆ ที่ชวยสงเสริมการอนุรักษและสืบสาน ศลิ ปวฒั นธรรมไทย ๓. ภูมปิ ญญาไทย ภูมิปญญา ตรงกับศัพทภาษาอังกฤษวา Wisdom หมายถึง ความรู ความสามารถ ทักษะความเชื่อ และ ศักยภาพในการแกปญหาของมนุษยที่สืบทอดกันมาจากอดีตถึงปจจุบันอยางไมขาดสายและเชื่อมโยงกันทั้งระบบทุก สาขา ภูมปิ ญญาไทย หมายถึง ความรู ความสามารถ ทกั ษะและเทคนิคการตัดสนิ ใจ ผลิตผลงานของบุคคล อันเกิด จากการสะสมองค-ความรูทุกดา นทผ่ี า นกระบวนการสืบทอด พฒั นาปรับปรุง และเลือกสรรมาแลวเปน อยา งดีสามารถ แกไ ขปญหา และพัฒนาวิถีชีวติ ของคนไทยไดอยางเหมาะสมกบั ยุคสมัย ภูมิปญญาทองถิ่น หรือภูมิปญญาชาวบานหมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่ชาวบานคดิ ขึ้นไดเองและนำมาใชใ นการ แกปญหา เปนเทคนิควิธี เปนองคความรูของชาวบาน ทั้งทางกวางและทางลึกที่ชาวบานคิดเอง ทำเอง โดยอาศัย ศกั ยภาพท่ีมีอยูแกปญ หาการดำเนินชีวติ ในทองถ่ินไดอยางเหมาะสมกับยคุ สมัยความเหมือนกันของภูมปิ ญญาไทยและ ภูมิปญญาทองถิ่น คือ เปนองคความรู และเทคนิคที่นำมาใชในการแกปญหาและการตัดสินใจ ซึ่งไดสืบทอดและ เช่ือมโยงมาอยา งตอ เน่ืองตั้งแตอดตี ถึงปจ จุบัน ความตางกันของภูมิปญญาไทยและภูมิปญญาทองถิ่น คือ ภูมิปญญาไทย เปนองคความรูและความสามารถ โดยสวนรวม เปน ทย่ี อมรบั ในระดับชาติ สวน ภมู ิปญญาทอ งถ่ินเปนองคความรูและความสามารถในระดับทองถิ่นซ่ึงมี ขอบเขตจำกดั ในแตล ะทอ งถนิ่ เชน ภาษาไทยเปนภูมปิ ญญาไทย ในขณะที่ภาษาอีสานเปนภูมปิ ญญาทอ งถ่ิน เปน ตน รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ วถิ ไี ทย ๓๒ ผูทรงภูมิปญ ญาไทย หมายถึง บุคคลผูเปนเจาของภูมปิ ญญา หรือเปนผูนำภูมิปญญาตางๆมาใชประโยชนจ น ประสบความสำเร็จ มีผลงานดีเดนเปนที่ยอมรับและไดรับการยกยองในฐานะเปนผูเชี่ยวชาญ สามารถเผยแพรและ ถา ยทอดเช่ือมโยงคณุ คาของภมู ิปญ ญาในแตล ะสาขาน้ันๆ ใหแ พรหลายไปอยางกวางขวาง ปราชญชาวบาน หมายถึง บุคคลผูเปนเจาของภูมิปญญาชาวบาน และนำภูมิปญญามาใชประโยชนในการ ดำรงชีวติ จนประสบผลสำเร็จสามารถถายทอดเชอ่ื มโยงคุณคา ของอดตี กบั ปจจบุ นั ไดอยา งเหมาะสม ความเหมอื นกันระหวา งผทู รงภมู ิปญญาไทยกับปราชญชาวบา นคอื บทบาทและภารกิจในการนำภมู ิปญญาไป ใชแกปญหา และการถายทอดเพื่อใหเกิดความเชื่อมโยงจากอดีตถึงปจจุบัน สวนความแตกตางกันนั้นขึ้นอยูกับระดบั ภูมิปญ ญาท่ีจะนำไปแกปญหาและถายทอดกลาวคือ ผทู รงภมู ิปญญาไทยยอมมคี วามสามารถหรือภารกิจในการนำภูมิ ปญญาระดับชาติไปแกป ญ หา หรือถา ยทอด หรอื ผลิตผลงานใหมๆ ท่ีมคี ุณคาตอประเทศชาตโิ ดยสวนรวม สว นปราชญ ชาวบานมีความสามารถหรือภารกิจในการนำภูมิปญญาชาวบาน หรือภูมิปญญาทองถิ่นไปแกปญหาหรือถายทอดใน ทองถิน่ อยางไรก็ตาม ภูมิปญญาไทย และ ภูมิปญญาทองถิ่น ยอมมีความสัมพันธและเชื่อมโยงกัน เพราะภูมิปญญา ทอ งถ่นิ นัน้ ถอื วา เปน ฐานหลักแหงภูมปิ ญญาไทยเปรียบเหมอื นฐานเจดยี  ประเภทของภมู ปิ ญ ญาไทย ภูมปิ ญญาไทย แบงออกเปน ๒ ระดบั ไดแ ก ๑. ภูมิปญญาระดับชาติ เปนภูมิปญญาที่พัฒนาสังคมไทยใหรอดพนจากวิกฤตการณตาง ๆ ในอดีต เชน การกอบกูเอกราชโดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และการเสียแผนดินบางสวนของประเทศไทย ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยหู วั เปน ตน ๒. ภูมิปญญาทองถิ่น หรือภูมิปญญาชาวบาน คือ สิ่งที่แสดงความรู ความคิด และการกระทำของบรรพ บรุ ษุ เพอ่ื ดำรงชวี ติ อยา งมีความสขุ ลกั ษณะของภูมิปญญาไทย ลักษณะของภมู ิปญ ญาไทย มดี งั นี้ ๑. ภูมิปญญาไทย เปนเรื่องใชความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill) ความเชื่อ (Belief) และพฤติกรรม (Behavior) ๒. ภูมิปญญาไทย แสดงถึงความสัมพันธระหวางคนกับคน คนกับธรรมชาติสิ่งแวดลอมและคนกับสิ่งเหนือ ธรรมชาติ ๓. ภูมิปญญาไทย เปนองครวมหรือกจิ กรรมทกุ อยางในวิถีชวี ติ ๔. ภูมิปญญาไทย เปนเรื่องของการแกไขปญหา การจัดการ การปรับตัว การเรียนรู เพื่อคงวามอยูรอดของ บุคคล ชุมชน และสงั คม ๕. ภูมปิ ญญา เปน แกนหลกั หรือกระบวนทัศนใ นการมองชวี ติ เปน พื้นความรใู นเร่ืองตา ง ๆ ๖. ภูมิปญ ญาไทยมีลักษณะเฉพาะหรอื มเี อกลักษณในตวั เอง ๗. ภูมิปญ ญาไทยมีการเปลย่ี นแปลง เพอ่ื การปรับสมดุลในพฒั นาการทางสังคมตลอดเวลา รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๕ พระมหาธรี พิสิษฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ วถิ ไี ทย ๓๓ คณุ สมบัตขิ องผูทรงภมู ปิ ญ ญาไทย ผทู รงภมู ปิ ญ ญาไทยเปน ผูมคี ุณสมบัตติ ามท่ีกำหนดไว อยา งนอยดงั ตอ ไปน้ี ๑. เปนคนดีมีคุณธรรม มีความรูความสามารถในวิชาชีพตางๆ มีผลงานดานการพัฒนาทองถิ่นของตน และ ไดรับการยอมรับจากบุคคลทั่วไปอยางกวางขวาง ทั้งยังเปนผูที่ใชหลักธรรมคำสอนทางศาสนาของตนเปนเครื่องยึด เหน่ียวในการดำรงวิถชี วี ิตโดยตลอด ๒. เปนผูคงแกเรียนและหมัน่ ศึกษาหาความรูอยูเสมอ ผูทรงภูมิปญญาจะเปนผูที่หมั่นศึกษา แสวงหาความรู เพ่มิ เติมอยเู สมอไมหยุดน่ิงเรียนรูท้ังในระบบและนอกระบบ เปน ผูลงมือทำโดยทดลองทำตามท่ีเรียนมา อีกทั้งลองผิด ลองถูก หรือสอบถามจากผูรูอ ื่น ๆ จนประสบความสำเรจ็ เปนผูเชีย่ วชาญซึง่ โดดเดนเปน เอกลกั ษณในแตละดานอยาง ชดั เจน เปน ทย่ี อมรบั การเปลีย่ นแปลงความรใู หม ๆ ท่ีเหมาะสมนำมาปรบั ปรุงรับใชชุมชนและสงั คมอยูเสมอ ๓. เปน ผนู ำของทองถ่ิน ผูทรงภมู ปิ ญ ญาสวนใหญจะเปนผูทีส่ ังคมในแตล ะทองถ่ินยอมรับใหเปนผูนำ ทั้งผูนำ ที่ไดรับการแตงตั้งจากทางราชการ และผูนำตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถเปนผูนำของทองถิ่นและชวยเหลือผูอื่นไดเปน อยางดี ๔. เปนผูท ่ีสนใจปญหาของทองถิ่น ผูท รงภมู ิปญ ญาลวนเปนผทู ่ีสนใจปญหาของทองถ่นิ เอาใจใส ศึกษาปญหา หาทางแกไข และชวยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกลเคียงอยางไมยอทอ จนประสบความสำเร็จเปนท่ี ยอมรบั ของสมาชกิ และบคุ คลทว่ั ไป ๕. เปนผขู ยนั หม่นั เพียร ผทู รงภมู ิปญญาเปนผูขยนั หม่ันเพยี ร ลงมอื ทำงานและผลิตผลงานอยูเสมอ ปรับปรุง และพัฒนาผลงานใหม ีคุณภาพมากข้นึ อีกท้ังมงุ ทำงานของตนอยา งตอเน่ือง ๖. เปนนักปกครองและประสานประโยชนของทองถิ่น ผูทรงภูมปิ ญญานอกจากเปน ผูท ีป่ ระพฤติตนเปน คนดี จนเปนที่ยอมรบั นับถือจากบุคคลท่ัวไปแลว ผลงานที่ทานทำยงั ถือวามีคุณคา จึงเปนผูท่ีมีทั้ง “ครองตน ครองคนและ ครองงาน” เปนผูประสานประโยชนใ หบุคคลเกิดความรกั ความเขาใจความเห็นใจและมีความสามัคคีกัน ซึ่งจะทำให ทอ งถน่ิ หรือสงั คมมคี วามเจริญ มีคุณภาพชีวิตสงู ขึน้ กวา เดิม ๗. มีความสามารถในการถายทอดความรูเปนเลศิ เมอื่ ผูทรงภมู ิปญญามีความรู ความ สามารถ และประสบการณเ ปนเลิศ มีผลงานทเี่ ปน ประโยชนตอผูอน่ื และบุคคลทวั่ ไป ทงั้ ชาวบา นนกั วิชาการ นักเรียน นสิ ติ /นักศึกษา โดยอาจเขา ไปศึกษาหาความรู หรอื เชิญทา นเหลา นนั้ ไปเปน ผูถา ยทอดความรไู ด ๘. เปนผูมีคูครองหรือบริวารดี ผูทรงภูมิปญญา ถาเปนคฤหัสถจะพบวา ลวนมีคูครองที่ดีที่คอยสนับสนุน ชวยเหลอื ใหกำลงั ใจ ใหค วามรวมมือในงานท่ีทา นทำ ชว ยใหผ ลิตผลงานทม่ี ีคณุ คา ถา เปน นกั บวช ไมวาจะเปนศาสนา ใดตองมบี ริวารทดี่ ี จึงจะสามารถผลติ ผลงานทมี่ คี ุณคาทางศาสนาได ๙. เปนผูมีปญญารอบรูและเชีย่ วชาญจนไดรับการยกยองวาเปนปราชญ ผูทรงภูมิปญญา ตองเปนผูมีปญญา รอบรูและเชี่ยวชาญรวมทั้งสรางสรรคผลงานพิเศษใหมๆ ที่เปนประโยชนตอสังคมและมนุษยชาติอยางตอเนื่องอยู เสมอ รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พสิ ษิ ฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ วิถไี ทย ๓๔ การเกดิ ภูมปิ ญญา ภมู ปิ ญ ญาไทยมีกระบวนการเกดิ ท่ีเกิดจากการสบื ทอด ถา ยทอดองคความรูท่ีมีอยูเดิมในชุมชนทองถ่ินตาง ๆ แลวพัฒนาเลือกสรรและปรับปรุงองคความรูเหลานั้น จนเกิดทักษะและความชำนาญ ที่สามารถแกไขปญหา และ พัฒนาชีวติ ไดอยางเหมาะสมกับยุคสมัย แลวเกิดองคความรูใ หมๆ ที่เหมาะสมและสบื ทอดพัฒนาตอไปอยางไมส ้นิ สุด เชน ภาษาไทย แพทยแ ผนไทย เปน ตน ลักษณะความสมั พันธข องภูมปิ ญญาไทย ภมู ิปญ ญาไทยสามารถสะทอ นออกมาใน ๓ ลักษณะท่สี ัมพันธใกลช ดิ กนั คอื ๑. ความสมั พนั ธอ ยางใกลช ิดกันระหวา งคนกับโลก ส่งิ แวดลอ ม สตั ว พืช แลธรรมชาติ ๒. ความสัมพนั ธข องคนกบั คนอ่ืนๆ ทอี่ ยรู ว มกนั ในสงั คม หรือในชมุ ชน ๓. ความสมั พันธร ะหวางคนกับสงิ่ ศักดสิ์ ิทธ์สิ ่ิงเหนอื ธรรมชาติ ตลอดท้งั ส่งิ ท่ีไมส ามารถสมั ผัสไดท งั้ หลาย ทั้ง ๓ ลักษณะนี้ คือ สามมิติของเรื่องเดียวกนั หมายถึง ชีวิตชมุ ชนสะทอนออกมาถึงภมู ิปญญาในการดำเนนิ ชีวิตอยางมีเอกภาพเหมือนสามมุมของรูปสามเหลี่ยม ภูมิปญญาจึงเปนรากฐานในการดำเนินชีวิตของคนไทย ซ่ึง สามารถแสดงใหเห็นไดอยา งชัดเจนโดยแผนภาพดังนี้ ลักษณะภมู ปิ ญญาทเี่ กิดจากความสัมพันธร ะหวางคนกบั ธรรมชาตสิ ิ่งแวดลอม จะแสดงออกมาในลักษณะภูมิ ปญญาในการดำเนินวิถชี วี ิตขั้นพื้นฐานดานปจจัยสี่ ซึ่งประกอบดวย อาหาร เครื่องนุงหมที่อยูอาศัย และยารักษาโรค ตลอดท้ังการประกอบอาชีพตางๆ เปนตน ภูมิปญญาที่เกิดจากความสัมพันธระหวางคนกับคนอื่นในสังคม จะแสดงออกมาในลักษณะจารีต ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและนันทนาการ ภาษาและวรรณกรรม ตลอดทง้ั การส่อื สารตางๆ เปนตน ภูมิปญญาที่เกิดจากความสัมพันธระหวางคนกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สิ่งเหนือธรรมชาติจะแสดงออกมาในลักษณะ ของส่งิ ศกั ดสิ์ ิทธิ์ ศาสนา ความเช่ือตางๆ เปนตน สาขาภูมปิ ญญาไทย การกำหนดสาขาภูมิปญญาไทย ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคและหลักเกณฑตาง ๆ โดยภาพรวมภูมิปญญาไทย สามารถแบงไดเ ปน ๑๐ สาขา ดังน้ี ๑. สาขาเกษตร ๒. สาขาอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม ๓. สาขาแพทยแผนไทย ๔. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม ๕. สาขาภาษาและวรรณกรรม ๖. สาขาศิลปกรรม ๗. ศาสนาและประเพณี ๘. สาขาการจดั การองคกร รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าท่ีพลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพิสษิ ฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ วถิ ไี ทย ๓๕ ๙. สาขาสวสั ดกิ าร ๑๐. สาขากองทนุ และธรุ กิจชุมชน ความสำคัญของภมู ิปญ ญาไทย คุณคาของภูมิปญญาไทยสืบทอดมาอยางตอเนื่องจากบรรพบุรุษที่ไดสรางความเปนปกแผนมั่นคงใหชาติ บานเมือง มีการดำรงชีวิตที่อยูอยางรมเย็นเปนสุข ทำใหคนในชาติเกิดความรักและความภาคภูมิใจ เพื่อสืบสานไปสู อนาคต สรปุ ความสำคญั ไดด ังนี้ ๑. สรางชาติใหเปนปกแผนมั่นคง พระมหากษัตริยไทยทรงใชภูมิปญญาในการสรางชาติ สรางความเปน ปกแผนของประเทศ ตง้ั แตส มยั สุโขทยั จนถงึ ปจ จุบนั ๒. สรา งความภาคภูมใิ จ และเกียรติภมู ศิ กั ดิ์ศรขี องความเปนไทย - มวยไทย มีช่ือเสียงไปทว่ั โลก ปจ จบุ ันมีคายมวยอยูในหลายประเทศทว่ั โลก - ภาษาและวรรณกรรม ประเทศไทยมีภาษาพดู และภาษาเขียนเปนของตนเอง วรรณกรรมเปนท่รี ูจ ัก มีการแปลเปนภาษาตางประเทศ สุนทรภูเปนนักปราชญทางวรรณกรรมบุคคลหนึ่งที่ไดรับการยกยองจาก องคการศึกษาวิทยาศาสตรแ ละวฒั นธรรมแหงประชาชาติื (ยเู นสโก) เปน กวเี อกของโลก - อาหารไทย เปนอาหารที่ชาวตางชาติชื่นชอบและรูจักกันแพรหลาย อาทิเชน ตมยำกุง ตมขาไก เปนตน -สมุนไพรไทย เปนที่รูจักและยอมรับจากนานาประเทศ จนบาง ประเทศนำสมุนไพรไทยไปจดเปน ลิขสทิ ธ์ขิ องตนเอง ๓. การนำหลักธรรมมาประยุกตใชกบั วิถีชีวติ อยางเหมาะสม ทำใหรจู กั พง่ึ พาอาศยั กนั ใหอภยั กัน ๔. การนำธรรมชาติมาใชใ นการดำรงชีวติ เชน อาหารไทย มักเปน อาาหาร หวาน มนั มกี ะทิเปน สวนประกอบ หากรับประทานมากก็จะทำใหเกิดทองอืดได ดังนั้น จึงมีการนำพืชสมุนไพร เชน ตะไคร ใบมะกูดมาใส เพื่อชวย แกปญหาดงั กลาว ๕. การพฒั นาชีวติ ใหเหมาะสมกับยคุ สมยั การอนรุ กั ษแ ละสบื สานภูมปิ ญ ญาไทย ๑. สนใจศกึ ษาภมู ปิ ญญาไทยดา นตา ง ๆ จากแหลง ขอมลู ที่หลากหลาย อาจไปดภู มู ปิ ญญาในทอ งถ่นิ ตาง ๆ ๒. อธบิ ายคณุ คา ความสำคัญของภูมิปญ ญาไทย และแสดงความภาคภูมิใจใหคนทั่วไปไดร ับทราบ เพื่อใหเกิด การสืบสานและอนรุ ักษภ มู ปิ ญ ญาไทยรวมกนั ๓. เผยแพรข อมลู ภมู ิปญ ญาไทยดว ยวธิ ีตาง ๆ เชน จัดนทิ รรศการ เผยแพรขอมลู ผา นเวบ็ ไซต ๔. ชกั ชวนผอู ืน่ ใหเ ขา รว มในกิจกรรมเพอ่ื สง เสรมิ ดา นการอนรุ กั ษ และสืบสานภูมิปญ ญาไทย รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ที่พลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พิสษิ ฐ์ จนฺทสาโร

กิจกรรมที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ วถิ ไี ทย ๓๖ ใหน กั เรยี นอา นบทประพันธตอไปนี้ แลวตอบคำถาม ในโลกน้ีมีอะไรเปน็ ไทยแท้ ของไทยแน่นน้ั หรอื คือภาษา ทั้งคนมคี นจนแต่ตน้ มา ใชภ้ าษาไทยทวั่ ทุกตวั คน เดก็ ตะโกนกึก้องรอ้ งเรียกแม่ เรม่ิ ใช้คำไทยแท้มาแต่ตน้ ไม่มีต่างภาษามาปะปน ทกุ ทุกคนก็สุขสบายใจ แม่อยากให้ลูกรักได้พักผ่อน กไ็ กวเปลใหน้ อนจนหลบั ใหล สำเนยี งกล่อมรา่ ยรอ้ งทำนองไทย ตดิ หแู ตส่ มัยโบราณมา พอโตขึ้นส่งเจ้าเข้าโรงเรยี น ได้เริม่ อ่านเร่ิมเขยี นเรียนภาษา ภาษาไทยน้ันได้พฒั นา เปน็ ภาษาขีดเขียนให้เรยี นกัน บ้างชอบอ่านถอ้ ยคำทำนองเสนาะ ภาษาไทยไพเราะไม่แปรผนั มเี สยี งวรรณยกุ ต์ทุกทกุ ชนั้ ขับรอ้ งกันไดง้ า่ ยคลา้ ยดนตรี ฉะนั้นหรือจะไม่ให้รักเจา้ ภาษาไทยของเรามีศักดศิ์ รี เกิดเป็นไทยคนหน่ึงเราจงึ มี ของดีดชี อ่ื ว่า “ภาษาไทย” หม่อมหลวงปนิ่ มาลากลุ ๑. คำประพนั ธข างตน เปน คำประพันธประเภทใด ใครเปน ผนู ิพนธ................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๒. จากบทประพันธ มสี ่งิ ใดบางที่เปนวัฒนธรรมไทย........................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๓. นักเรยี นจะอนุรกั ษว ัฒนธรรมตามบทประพนั ธขา งตน อยางไร..................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๔. ใหนกั เรยี นแตง คำประพนั ธ เรอ่ื ง “ศิลปวัฒนธรรมท่นี า สนใจ” จำนวน ๒ บท ดว ยคำประพันธแ บบใดแบบหนงึ่ จาก ก. กลอนสุภาพ ข. กาพยานี ๑๑ ค. โคลงสี่สุภาพ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หน้าทพี่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พิสิษฐ์ จนทฺ สาโร

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ วถิ ไี ทย ๓๗ กจิ กรรมที่ ๒ ใหน ักเรียนเสนอแนวทางการอนรุ ักษข นบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรม และ ภมู ปิ ญญาไทย และวเิ คราะหผลทีเ่ กิดขน้ึ แนวทางการอนุรกั ษขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรม และภมู ปิ ญญาไทย ถาปฏบิ ัตติ าม จะไดรบั ผลดังน้ี ถา ไมป ฏบิ ตั ิตาม จะไดรับผลดงั นี้ รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๕ พระมหาธรี พสิ ษิ ฐ์ จนทฺ สาโร

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ วถิ ไี ทย ๓๘ กิจกรรมท่ี ๓ จากที่นักเรียนไดศึกษา เรื่อง ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญา ไทย มาแลว ใหนกั เรยี นตอบคำถามตอไปน้ใี หสมบูรณ ๑. ลกั ษณะของขนบธรรมเนียมประเพณที ่เี หน็ ไดชดั เจน ไดแ กอะไรบา ง ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๒. ใหน ักเรยี นยกตวั อยางขนบธรรมเนยี มประเพณใี นภาคตาง ๆ มาดู ภาคเหนอื ภาคใต้ ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ตก ๓. นกั เรยี นจะมีวธิ ีการประยกุ ตใ ชข นบธรรมเนียมประเพณีไทยในชีวติ ประจำวนั เชนไร ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๔. นักเรยี นคิดวา วฒั นธรรมมีความเกีย่ วขอ งกับชวี ติ ประจำวนั ของนกั เรียนหรอื ไม เพราะอะไร ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๕. จงยกตัวอยางวัฒนธรรมทเ่ี กี่ยวของในชีวติ ประจำวันของนกั เรียนมาดู ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๖. จงยกตัวอยางศิลปวัฒนธรรมในภาคตา ง ๆ มาดู พรอ มบอกชือ่ จังหวดั ดว ย ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... รายวชิ า ส๒๓๒๓๕ หนา้ ที่พลเมอื ง ๕ พระมหาธรี พสิ ษิ ฐ์ จนฺทสาโร

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ วถิ ไี ทย ๓๙ ๗. นกั เรยี นคิดวา ภูมปิ ญญาไทย มีคณุ คา ตอชีวิตประจำวันอยางไรบาง ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ๘. จงยกตัวอยา งภมู ิปญญาไทยในสาขาตา ง ๆ มาพอเขา ใจ สาขาของภูมปิ ญ ญาไทย ตวั อยาง ๑. สาขาเกษตร ๒. สาขาอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม ๓. สาขาแพทยแ ผนไทย ๔. สาขาการจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม ๕. สาขาภาษาและวรรณกรรม ๖. สาขาศลิ ปกรรม ๗. ศาสนาและประเพณี ๘. สาขาการจัดการองคกร ๙. สาขาสวัสดกิ าร ๑๐. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพิสิษฐ์ จนทฺ สาโร

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ วิถไี ทย ๔๐ กจิ กรรมกลมุ่ ๑. ใหน้ ักเรยี นจับกลุม่ กลมุ่ ละเท่า ๆ กัน จำนวน ๖ กลุ่ม แลว้ จบั สลากเลอื กหวั ข้อ ก. ขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถิ่นท่ีน่าสนใจ ข. ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิน่ ที่สนใจ ค. ภมู ปิ ัญญาในทอ้ งถ่นิ ที่สนใจ ๒. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ไปสบื ค้น ๑) ความเปน็ มา ๒) วธิ กี าร/กระบวนการ/ลกั ษณะ ๓) ผลที่ได้/ประโยชนท์ เ่ี กดิ แกส่ ังคม ๔) วิธสี ง่ เสริม อนุรักษ์ สืบสาน ๕) รปู ภาพประกอบ ๓. ใหจ้ ัดทำเป็นสื่อนำเสนอตามทแี่ ตล่ ะกลุ่มถนัด เชน่ สมุดทำมือฉบบั มนิ ิ แผ่นพับ บอรด์ หรอื สอ่ื ประสม เป็นตน้ โดยเนน้ หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ๔. บันทึกกระบวนการทำงานกลุม่ ตามแบบทกี่ ำหนดให้ ๕. นำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียนกลุม่ ละ ๑๕ นาที และตอบคำถาม จากครูและเพ่ือนักเรยี น ๕ นาที ๖. การประเมนิ ผล ๑) ประเมินให้คะแนนโดยครูผู้สอน ๒) ประเมินใหค้ ะแนนโดยเพื่อนนกั เรยี น ๗. จดั แสดงผลงานนักเรยี น (ถา้ ม)ี รายวิชา ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๕ พระมหาธีรพสิ ษิ ฐ์ จนฺทสาโร