Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน วิชา ประวัติศาสตร์ (ส23102) ม.3

เอกสารประกอบการเรียน วิชา ประวัติศาสตร์ (ส23102) ม.3

Published by mahakor.2018, 2021-05-27 09:03:27

Description: เอกสารประกอบการเรียน วิชา ประวัติศาสตร์ (ส23102) ม.3
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม เกิดปญ หาผลเสยี หายรา ยแรงของเศรษฐกิจแบบฟองสบู ๑) คา ของเงินบาทเริ่มตกต่ำ แตร ฐั ก็พยายามรักษาคา เงินบาทสงู กวา ความเปน จรงิ ๒) สมยั พลเอกเชาวลิต ยงใจยทุ ธ เงินคงคลังทเ่ี คยมสี งู ถงึ ๔ หมนื่ ลา นดอลลารส หรฐั รอยหรอลงเพราะรัฐบาล นำไปพยุงคาของเงินบาท จนเหลือเพียง ๘๐๐ ลานดอลลารสหรัฐ จนทำใหตางประเทศไมมั่นใจเศรษฐกิจไทย มีการ ถอนการลงทุน ธุรกิจตางๆ หยุดชะงัก โรงงานอุตสาหกรรมปดกิจการหลายแหง ประชาชนตกงาน เกิดภาวะเงินเฟอ สูงขึ้นเรื่อย ๆ จนรัฐบาลตองปลอยใหคาเงินบาทลอยตัวและขอความชวยเหลือจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) โดยขอกูเงินมาชวยพยุงภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำแย เรียกวา “เศรษฐกิจยุค IMF” ประชาชนเจึงรียกรองให พลเอก เชาวลิต ยงใจยุทธ ลาออก ๓) หลังจากพลเอกเชาวลิต ยงใจยุทธ ลาออก นายชวน หลีกภัย เขามารับหนาที่แทน สามารถแกปญหา เศรษฐกิจไดในระดับหนึ่ง แตไทยก็ยังเปนหนี้ IMF และใชหนี้ตอไปใน ป พ.ศ. ๒๕๔๒ เศรษฐกิจไทยเริ่มกระเตื้องขึ้น เล็กนอ ย ๙. แผนพฒั นาเศรษฐกิจแหง ชาติ ฉบับท่ี ๑๐ : ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙ เนน การนำปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน แนวทางในการพฒั นาและบริหารประเทศ ควบคูไปกับการพัฒนา ที่ยึดคนเปนศูนยกลาง เพื่อพัฒนาสังคมที่เขม แข็ง วางรากฐานการพัฒนาประเทศใหเขมเเข็งขึ้น สามารถพึ่งตนเองได อยางรูเทาทันโลก แกปญหาความยากจน โดยการเพิ่มศักยภาพและโอกาสใหคนไทยสามรถพึ่งพาตนเองได อีกทั้งมี การใชดุลยภาพ ๓ ดานอีกดวย คือ สังคมคุณภาพ สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู และสังคมที่สมานฉันทเอื้อ อาทรตอกัน ๑๐. แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐ : ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ เนนการพฒั นาใหอยูรวมกันอยางรมเยน็ เปนสุข ภายใตแ นวทางการปฏิบัตติ นตามเศรษฐกิจพอเพียง โดยการ พัฒนาใหคนมีคุณภาพพรอมคุณธรรม เพิ่มศักยภาพชุมชนใหสามารถพึ่งพาตนเองได สงเสริมใหเศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพและสรางความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ คุณภาพสิ่งแวดลอม และ พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศใหเกิดธรรมาภิบาลภายใตระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข ๑๑. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ แหงชาติ ฉบบั ที่ ๑๑ : ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ เนนการพัฒนาประเทศ ภายใตวิสัยทัศน “ประเทศมีความมั่นคงเปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการ เปลี่ยนแปลง” เปนแผนพัฒนาฯที่สืบเนื่องมาจากแผนพัฒนาฉบับที่ ๘ - ๑๐ คือ ยังคงยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในการพัฒนาและบริหารประเทศ ซึ่งควบคูไปกับการพัฒนาที่ยดึ คนเปนศนู ยก ลาง สรางความเปนธรรม และ เกดิ ความเสมอภาค ลดความเหลือ่ มล้ำทางเศรษฐกจิ สังคม และภมู คิ มุ กนั จากวกิ ฤตการณ เพอ่ื ใหทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมอดุ มสมบรู ณอยางย่งั ยืน จากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ ขา งตน ท้งั หมดน้ี เปน แผนท่ีสรางขนึ้ มาเพือ่ พัฒนาระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ ซง่ึ จะ เห็นไดวาในทุกๆฉบับ จะเปนการแกปญหาของระบบเศรษฐกิจ ณ ขณะนั้น และเปนการแกปญหาที่เกิดจาก แผนพัฒนาฯฉบับกอนหนา ดังเชน ปญหาการเหล่ือมล้ำทางเศรษฐกิจยงั คงมีอยู ซึ่งสืบเนื่องมาจากอดีตจนถงึ ปจจบุ นั จะเห็นไดวา แทบทุกแผนพัฒนาเศรษฐกิจก็จะเนนการเเกปญหาในเรื่องนี้อยูอยางคอยเปนคอยไป เปนตน ดังน้ัน ๙๑

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม วิธีการเดียวที่เราจะสามารถชวยเหลือใหประเทศของเราสามารถพัฒนาไดอยางที่ตองการ เราก็ตองปฏิบัติตามแผนฯ น้นั ๆ และมสี ว นรวมในการใหความรว มมือในการพฒั นาประเทศของไมว าจะเปน รัฐบาล หรอื อยา งไรก็ตาม ๗. สงั คมและวฒั นธรรมสมัยรัตนโกสนิ ทรย ุคประชาธปิ ไตยจนถึงปจ จบุ ัน ๗.๑ การเปลี่ยนแปลงดานประเพณวี ฒั นธรรม ๑) ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ แลวไดมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณที ส่ี ำคัญ ดังน้คี อื - ยกเลกิ พระราชพิธีถอื นำ้ พระพพิ ฒั นสัตยา แตมาเร่มิ ข้ึนอกี ในรชั กาลปจ จุบัน - ใหข าราชการนงุ กางเกงขายาวแทนนุงผา มว งโจงกระเบน ๒) นโยบายสรางชาตทิ างวฒั นธรรมของหลวงพบิ ลู สงคราม กอ ใหเ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางวฒั นธรรม ดังนี้คือ - เปลยี่ นช่อื ประเทศจาก “สยาม” มาเปน “ไทย” ใน พ.ศ. ๒๔๘๒ - ยกเลิกบรรดาศักดิ์ขาราชการพลเรือน เชน เจาพระยา พระยา พระหลวง ขุน หมื่น พัน (เมื่อนาย ควง อภัยวงศ เปนนายกรัฐมนตรีไดยกเลิกคำประกาศของจอมพล ป. พิบูลสงคราม แลวคืนบรรดาศักดิ์ให ขา ราชการดังเดมิ ใน พ.ศ. ๒๔๘๘ - ต้งั สภาวฒั นธรรมแหงชาติขึน้ ใน พ.ศ. ๒๔๘๕ - ประกาศรัฐนิยมตาง ๆ ถึง ๑๒ ฉบับ เพื่อใหประชาชนปฏิบัติตาม เชน ใหใชชอนสอมแทนการ เปบขาวดวยมือ ไมสงเสียงอื้อฉาวบนสะพาน สวมหมวก เสื้อนอก กางเกงขายาว นุงกระโปรง สวมรองเทา เลกิ กนิ หมาก ยกยอ งฐานะสตรใี หทดั เทยี มกับชาย - เปลี่ยนแปลงการนบั วันขน้ึ ปใหม จากวนั ท่ี ๑ เมษายน เปนวนั ท่ี ๑ มกราคม - ปรับปรุงตัวอักษรไทยใหม โดยตัดสระออก ๕ ตัว พยัญชนะออก ๑๓ ตัว คงเหลือพยัญชนะเพียง ๔๔ ตวั ตวั ทต่ี ดั คือตวั ท่ีมีเสียงซ้ำกนั จงึ ทำใหการเขยี นเปล่ียนไปดวย เชน กระทรวง เขยี นเปน กระซวง, ฤทธ์ิ เขยี นเปน รทิ ธิ์, ให เขียนเปน ไห, ทหาร เขียนเปน ทหาน เปนตน - ใหใชเลขสากล (อารบกิ ) แทน เลขไทย ๓) ในสมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต (๒๕๐๒ - ๒๕๐๖) ไดมกี ารฟนฟูขนบธรรมเนยี มประเพณีท่ีสำคัญของชาติ ดงั ตอไปนี้ - พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา จัดใหมีพิธีเสด็จพระราชดำเนินตรวจงานสวนสนามของ นายทหารมหาดเล็กรักษาพระองค และตกแตงโคมไฟตามสถานที่ราชการและบานเรือน และกำหนดใหวันน้ี คอื ๕ ธันวาคม เปนวันชาตไิ ทย แทนวันท่ี ๒๔ มิถุนายน - พระราชพธิ มี งคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ ใน พ.ศ. ๒๕๐๓ เปน ตนมา - พระราชพธิ เี สด็จพระราชดำเนนิ ทอดผา กฐินโดยกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค - พระราชพิธีเสด็จพระราชดำเนนิ โดยกระบวนพยุหายาตราทางสถลมารค ๔) ในสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร (๒๕๐๖ - ๒๕๑๖) ไดมีการฟนฟขู นบธรรมเนยี มประเพณีที่สำคัญของชาติ ดงั นี้ ๙๒

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม - พระราชพธิ ีรัชดาภิเษก ในวโรกาสที่รชั กาลที่ ๙ ครองราชยครบ ๒๕ ป ในป พ.ศ. ๒๕๑๔ - พระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฏราชกุมาร ในวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ นับเปนคร้งั ท่ี ๓ ในประวตั ศิ าสตรไ ทย ๕) ในสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. ๒๕๒๓ - ๒๕๓๑) ไดมีการฟนฟูขนบธรรมเนียม ประเพณที ส่ี ำคญั ของชาติ ดงั นีค้ อื - การสมโภชนกรงุ รตั นโกสินทรค รบรอบ ๒๐๐ ป ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ - การเฉลมิ ฉลองการครองราชยค รบ ๖๐ พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร ใน พ.ศ. ๒๕๓๐ - พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก เปนพระมหากษัตริยที่ครองราชยนานที่สุดของชาติไทย เมื่อ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ ๗.๒ โครงสรางทางสังคมไทยในปจ จุบัน ๑) พระมหากษัตริย ทรงเปนประมุขของประเทศภายใตรัฐธรรมนูญตามระบบการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตย พระองคม ีสถานภาพทางสงั คม คือ ทรงเปน ศนู ยรวมความจงรกั ภักดีและศูนยรวมจติ ใจของคนท้ังชาติ ๒) ขาราชการ เปนบุคคลที่รับราชการในตำแหนงตาง ๆ มีบทบาทสำคัญในการบริหารประเทศพัฒนาไปใน ทิศทางที่รฐั บาลวางนโยบายไว ๓) กลมุ นายทุน คือ เอกชนผูลงทนุ ทำธุรกจิ ตาง ๆ ๔) กลุมปญญาชน คือ ชนชั้นกลาง เปนผูมีการศึกษาและมีฐานะปานกลาง คนกลุมนี้เกิดจากการปฏิรูป การศกึ ษาทีเ่ ร่ิมมาตัง้ แตร ชั กาลที่ ๕ ๕) กลมุ เกษตรกร คอื ประชากรสวนใหญของประเทศ ประกอบอาชีพทำนา ทำไรในชนบท ๖) กลมุ กรรมกร คือ ผูประกอบอาชพี รบั จา งทำงานทง้ั หลาย ๗.๓ วรรณกรรมและศลิ ปกรรม ๑) หลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ รปู แบบวรรณกรรมทไี่ ดร บั ความนิยมมากในสังคมไทย คือ นวนยิ าย เร่ืองสน้ั และสารคดี ๒) นวนยิ ายเริม่ มีการเปลี่ยนแปลงการเลียนแบบตะวันตก มาเปนแนวคดิ ของตนเองมากขึ้น และมิไดมุงความ ไพเราะงดงามอยางเดยี ว แตม งุ ถงึ คุณคาแกชวี ิตดว ย ๓) นักเขียนมีชื่อในระยะแรก ไดแก ศรีบูรพา ยาขอบ แมอนงค ดอกไมสด สดกูรมะโรหิต ศรีรัตน สถาปนวัฒน ฯลฯ ๔) สถาปตยกรรม มักนยิ มสรา งตัวอาคารแบบตะวนั ตก แตห ลงั คาทรงไทย ๙๓

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๗.๔ การศึกษาหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง ๑) รัชกาลที่ ๗ เห็นความสำคัญของการศึกษาโดยไมตัดทอนรายจายดานการศึกษาเลย ถึงแมจะประสบ ปญ หาทางเศรษฐกจิ อยา งหนักกต็ าม ๒) หลัก ๖ ประการของคณะราษฎร ก็มีการกำหนดการพัฒนาการศึกษา โดยริเริ่ม วางแผนการศึกษา แหง ชาติ จดั ใหม กี ารศึกษาอยา งเต็มท่ีแกร าษฎร ๓) ในป พ.ศ. ๒๔๗๗ จัดตั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นับเปนมหาวิทยาลัยแหงที่ ๒ ของไทย ตรงกับสมัย รัชกาลท่ี ๗ ๔) สมัยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต จัดต้งั สภาการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๓ ขยายการศกึ ษาภาคบังคับ จาก ๔ ป เปน ๗ ป ๕) ในป พ.ศ. ๒๕๒๐ ลดการศึกษาภาคบังคับ จาก ๗ ป เหลือ ๖ ป (ป.๑ - ป.๖) และเพิ่มระดับมัธยมศึกษา จาก ๕ ป เปน ๖ ป (ม.๑ - ม.๖) ๖) ในปพ .ศ. ๒๕๔๖ การศึกษาภาคบงั คบั เพิ่มขน้ึ จาก ๖ ป เปน ๙ ป (จบ ม.๓) ๗) ในปพ.ศ. ๒๕๑๔ รฐั บาลจัดตง้ั มหาวิทยาลัยเปด คือ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง ๘) ในปพ .ศ. ๒๕๒๑ รัฐบาลจดั ตง้ั มหาวทิ ยาลัยเปด แหง ท่ี ๒ คอื มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช ๙) สงเสริมใหเอกชนจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค ปจจุบันมีจำนวนมากหลายแหง เชน ในภาคเหนือ มมี หาวิทยาลัยพายพั ทจี่ งั หวดั เชียงใหม ๑๐) มหาวิทยาลัยของรัฐบาลที่ตั้งขึ้นในภาคเหนือเพิ่มเติมที่ จังหวัดเชียงรายคือ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ตง้ั ขึ้นเพื่อเทิดพระเกยี รติแดสมเด็จยา (สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี) ๘. ความสัมพนั ธกบั ตา งประเทศสมัยรตั นโกสินทรยุคประชาธิปไตยจนถึงปจจุบนั ๘.๑ ความสัมพันธระหวางประเทศของไทยสมัยสงครามโลก ๘.๑.๑ ประเทศไทยกบั สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ สงครามโลกครั้งที่ ๒ เกิดขึ้นระหวาง พ.ศ. ๒๔๘๒ - ๒๔๘๘ ทำใหเกิดความเสียหายแกมนุษยชาติอยาง มากมาย ทั้งทางดานเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม สาเหตุของสงครามครั้งนี้ตอเนื่องมาจากสาเหตุของสงครามโลก ครั้งที่ ๑ เนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ ๑ ไมสามารถแกปญหาที่เคยมีมาแตเดิมใหหมดไปได และการทำงานของ สันนิบาตชาติขาดประสิทธภิ าพ ไมสามารถแกไขความขดั แยงการพิพากกนั ได สำหรับสงครามโลกครั้งที่ ๒ นี้ ประเทศ ไทยเขาไปมีบทบาทมากกวาสงครามโลกครั้งที่ ๑ ความเสียหายที่ไทยไดรับเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ แลว ประเทศไทยยังนับวานอยมาก สาเหตุสำคัญที่กอ ใหเ กิดสงครามโลกคร้ังที่ ๒ ๑) สนธสิ ัญญาแวรซ ายส เปนผลสืบเนื่องมาจากผลของสงครามโลกครั้งที่ ๑ ทำใหเ ยอรมนีไมพอใจในเงื่อนไข ของสนธิสัญญานี้ เยอรมนตี อ งเสียดินแดนในยุโรปไปเปน จำนวนมาก รวมท้งั คาปฏิมาสงครามอ่ืน ๆ อีก ทำใหภาระใน ๙๔

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ประเทศยุงยากทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สนธิสัญญาฉบับนี้ลงโทษเยอรมนีอยางไมเปนธรรม เปนเหตุให เยอรมนคี ดิ แกแ คนโดยการกอ นสงครามข้ึน ๒) ปญหาเศรษฐกิจ หลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ และระหวาง พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๗๕ ไดเกิดภาวะเศรษฐกิจ ตกต่ำทั่วโลก ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ เริม่ ในสหรัฐอเมริกากอ น และไดขยายตัวกวางขวางขึ้น ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให คนวางงานเพิ่มมากขึ้น มีการตั้งกำแพงภาษี เพื่อกันสินคาตางประเทศและทำใหลัทธิเผด็จการฟนตัวอยางรวดเร็ว เพราะสามารถแกปญ หาไดร วดเรว็ โดยอาศยั ความรนุ แรงและเฉียบขาด ๓) ความไมรว มมอื กนั ของประเทศมหาอำนาจ ประเทศสหรฐั อเมรกิ ามีนโยบายอยโู ดดเดย่ี ว โดยไมย ุงเกี่ยวกับ ประเทศใดๆ ในยุโรป (ตามวาทะมอนโร) อังกฤษและฝรั่งเศสตางก็แกไขปญหาภายในประเทศของตน ซึ่งขณะนี้ เยอรมนไี มพอใจฝรั่งเศสอยูและทาทีข่ ององั กฤษทผ่ี อนปรนใหเยอรมนี แตก็ไมอาจทำใหเ ยอรมนีลดความกาวราวลงได ฝรง่ั เศสเองก็หวาดระแวงจากเยอรมนีอยูมาก แตจ ะทำการขัดขวางก็ยงั ไมพรอ มเพราะขาดการสนับสนุนจากอังกฤษ ๔) ความแตกตางของลัทธิการปกครอง ประเทศสวนใหญในยุโรปมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย แต เนื่องจากความไมมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ ทำใหหลายประเทศหันไปใชระบบ การปกครองแบบเผด็จการและคอมมิวนิสต เชน ประเทศเยอรมนีและประเทศอิตาลี หันไปใชการปกครองแบบเผดจ็ การจงึ เปนพนั ธมิตรกัน และมีแนวคดิ ตอตา นสหภาพโซเวียต ซึง่ มกี ารปกครองแบบคอมมิวนิสต ๕) ความลมเหลวของสันนิบาตชาติ องคการสันนิบาตชาติ ไดเกิดขึ้นระหวางสงครามโลกคร้ังที่ ๑ โดยมี สหรัฐอเมริกาเปนผูนำ องคการนี้ตั้งขึ้นมาเพื่อรักษาสันติภาพของโลก แตในทางปฏิบัติจริง ๆ แลว สันนิบาตชาติ ทำงานไมไดผลหลายประการ เชน กรณีญี่ปุนรุกรานจีน อิตาลีโจมตีบิสซิเนีย ครั้นสงครามกลางเมืองเกิดขึ้นในสเปน ประเทศมหาอำนาจก็เขา ไปยุงเกี่ยวและทายท่สี ุดฮิตเลอรไดสงกำลังเขายึดครองดินแดนตา งๆ คอื ออสเตรีย และเชโก สะโลวะเกีย โดยไมมีประเทศใดตอตานอยางจริงจัง ในที่สุดเยอรมนจี ึงใชก ำลังโปแลนด ทำใหฝายตะวันตกไมยอมอีก ตอไป สงครามโลกคร้งั ที่ ๒ จึงเกิดขน้ึ ใน พ.ศ. ๒๔๘๒ ประเทศท่ีรว มสงคราม ประเทศทีเ่ ขารว มสงครามโลกครั้งที่ ๒ แบง เปน ๒ ฝา ย คอื ๑) ฝา ยอกั ษะ มปี ระเทศท่ีสำคญั คือ เยอรมนี อติ าลี และญ่ปี นุ ๒) ฝายสัมพันธมิตร มีประเทศที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน เปน ตน การเขา รว มสงครามโลกครั้งท่ี ๒ ของไทย ขณะที่สงครามกำลังดำเนินอยูในยุโรป ประเทศไทยไดพยายามไมเกี่ยวของกับเหตุการณที่เกิดขึ้น โดยรักษา ความเปนกลาง แตเมื่อสงครามไดขยายตัวเขามาในอินโดจีน หลังจากฝรั่งเศสยอมแพเยอรมนี ไทยมีความเห็นวา ฝรั่งเศสนาจะคืนดินแดนที่แบงจากไทยไปและเสนอใหมีการปกเขตแดนกันใหม แตก็ไมสามารถตกลงกันไดและยัง ละเมดิ พรมแดนไทยเพ่ิมมากข้นึ ทำใหเ กดิ สงครามระหวางไทยกบั ฝร่งั เศสเม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๓ ไทยสามารถยดึ ดินแดนคน ไดหลายแหง และกอนที่สงครามครั้งนี้จะยุติญี่ปุนไดเขามาไกลเกลี่ย โดยฝรั่งเศสยอมคืนดินแดนที่ไทยเสียไปตาม สนธสิ ัญญา พ.ศ. ๒๔๔๙ (ปจจุบนั คอื ลาวและกมั พชู า) ใหแกไทย ๙๕

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม แตแลวในวันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ญี่ปุนไดบุกโจมตีประเทศไทยตามจุดตาง ๆ ซึ่งเปนจังหวัดที่อยูตาม ชายฝง ทะเล ไดแก จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ สรุ าษฎรธ านี สงขลา และบางปู จังหวดั สมทุ รปราการ ฝา ยประเทศไทยได พยายามตอ ตา นแตก ส็ กู ำลงั ทัพของญ่ปี นุ ไมได ไทยจึงตองยินยอมใหกองทพั ญ่ปี นุ ผา นประเทศไทย ซ่ึงขณะนัน้ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม และสหรัฐอเมริกา การประกาศสงครามของประเทศไทยในครั้งนี้ คือ ประเทศไทยประกาศ สงครามกับอังกฤษ และสหรัฐอเมริกา การประกาศสงครามของประเทศไทยครั้งนี้ มีคนไทยหลายกลุมทั้งภายในและ ภายนอกประเทศไมเห็นดวย ภายในประเทศมีนายปรีดี พนมยงค เปนหัวหนา สวนในตางประเทศตางมี ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เอกอคั รราชทูตไทยประจำสหรฐั อเมริกา เปนหัวหนา กลมุ บคุ คลดงั กลา วไดจัดต้ังขบวนการตอตานใตดินซึ่งมี ชื่อเรียกวา “ขบวนการเสรีไทย” ทำการตอตานญี่ปุนและใหความรวมมือกับสัมพันธมิตร เพื่อปลดปลอยประเทศให พนจากการยึดครองของญี่ปนุ ผลของสงครามท่ีไทยเขารว มสงครามโลกครัง้ ท่ี ๒ การเขา รวมสงครามโลกครั้งท่ี ๒ ทำใหไทยตองคนื ดนิ แดนท่ีไดมาในระหวางสงคราม ซงึ่ ไทยไดทำสนธิสัญญา กับญี่ปุน คือ คืน ดินแดนกลันตัน ตรังการู ไทรบุรี ปะลิส เชียงตุง และเมืองพานใหกับอังกฤษ คือดินแดนลานชาง เสยี มราฐ พระตะบอง และจำปาศักด์ิใหแกฝ รั่งเศส หลงั จากสงครามสงบแลว องั กฤษและฝร่ังเศส ไดร วมประเทศไทย อยใู นฐานะประเทศแพสงคราม สวนสหรัฐอเมรกิ ายอมรับการประกาศสงครามของไทยเม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๕ วาเปนโมฆะ และไมไดเรยี กรองใหไทยชดใชคา เสียหายอยา งใด เพราะถือวา รัฐบาลท่ีประกาศสงครามตกอยูใตอ ำนาจบังคบั ญป่ี นุ ตอจากนน้ั ประเทศไทยไดสมัครเขาเปน สมาชกิ ขององคการสหประชาชาติ โดยจะตอ งไดรับการสนับสนุนจาก คณะมนตรีความมั่นคงท้ัง ๕ ประเทศ คอื สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และจีน ในตอนแรกประเทศ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต และจีน มีทีทาวาจะคัดคานการสมัครเขาเปนสมาชิกสหประชาชาติของไทย รัฐบาลไทยจึง ตองทำความตกลงกับประเทศทั้ง ๓ นี้ หลังจากนั้นประเทศไทยไดเ ขาเปนสมาชกิ องคการสหประชาชาติเมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ นับเปนสมาชิกอันดับที่ ๕๕ และรัฐบาลไทยทุกคณะไดสนับสนุนการดำเนินงานขององคการ สหประชาชาติ ตลอดจนใหความรวมมือชวยเหลือและเขารวมโครงการตาง ๆ ของสหประชาชาติเสมอมา เชน การ ประกาศปฏญิ ญาสากลวาดว ยลิทธิมนุษยชน การสงเสรมิ ฐานะขอคนงานเด็กและสตรี การรว มมือในการกอสรางเข่ือน นำ้ งึมในประเทศลาว การประกาศยกเลิกการจำหนายฝนในประเทศไทย ฯลฯ ในปจจุบันจะเห็นไดวามีสำนักงานใหญ หลายสำนักงานขององคการสหประชาชาติตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร เชน สำนักงานคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและ สังคมภาคพื้นเอเชียและแปซิฟก สำนักงานภูมิภาคของโครงการพัฒนาสหประชาชาติ กองทุนสงเคราะหเด็กและ องคการศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ ละวัฒนธรรม ผลประโยชนทไ่ี ทยไดร บั จากองคการสหประชาชาติ ประโยชนท่ปี ระเทศไทยไดร บั จากองคก ารสหประชาชาตแิ ละองคก ารชำนญั พเิ ศษตา ง ๆ สว นใหญจะเนน หนัก ในดานเศรษฐกิจและวิชาการ ซึ่งจะเปนไปในรูปการใหทุนแกคนไทยไปรับการศึกษาอบรม การสงผูเชี่ยวชาญมา ปฏิบัติงานตามโครงการตางๆ และการใหวัสดุอุปกรณตามโครงการตางๆ ในดานการพัฒนาประเทศจำนวนมาก เชน โครงการในการปรับปรุงการศึกษาระดับตางๆ โครงการขาว การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดยอม การปรับปรุงสวนยาง โครงการสงเคราะหแมและเด็ก การควบคุมปราบปรามโรคมาลาเรีย คุดทะราด ฯลฯ นอกจากนี้องคการสหประชาชาติ ๙๖

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ยังเปนศนู ยกลางรว มมือระหวางชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อรวมมอื กันแกไขปญ หาตาง ๆ เชน โครงการเข่อื น อเนกประสงคซ ่งึ จะไดป ระโยชนทั้งดานการชลประทาน พลงั งานไฟฟา การควบคมุ อุทกภัย เปนตน ๘.๑.๒ สมยั สงครามเยน็ จนถงึ ปจจุบัน ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง โลกไดตกอยูในสภาวะสงครามเย็น ซึ่งเปนสงครามอุดมการณทาง การเมืองและการปกครองระหวางกลุมประเทศในโลกเสรีประชาธิปไตยและกลุมประเทศคอมมิวนิสต ซึ่งตางฝายก็ แขงขันกันขยายอิทธิพลไปยังทวีปตาง ๆ ดังนั้น ลักษณะความสัมพันธระหวางประเทศของไทยในชวงนี้ จึงใชการผูก มิตรไมตรีกับประเทศโลกเสรีตาง ๆ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา ขณะเดียวกันก็ตอตานคอมมิวนิสตอยางเปดเผย โดยเฉพาะกับสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐประชาชนจีน และเวียดนาม ดังเชน การสงทหารไทยไปเขารวมรบกับ สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรในสงครามเวียดนาม แตตอมาเมื่อสหรัฐอเมริกาหวนกลับไปสรางความสัมพันธอันดีกับ สาธารณรฐั ประชาชนจนี ดงั น้นั ไทยจงึ ไดเปล่ียนแปลงลักษณะความสัมพันธร ะหวา งประเทศเสียใหม ดวยการผูกมิตร ไมตรีกับประเทศคอมมิวนิสต เชน การที่ไทยใหการับรองประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนแทนสาธารณรัฐจีน (ไตหวัน) หรือใหการรับรองรัฐบาลคอมมิวนิสตเขมรแดงของนายเขียว สัมพัน ที่เขายึดกรุงพนมเปญใน พ.ศ. ๒๕๑๘ เปน ตน ขณะเดียวกันก็อาศยั พงึ่ พาสหรัฐอเมริกาท้งั ทางดา นการทหาร เศรษฐกิจ และวิทยาการเทคโนโลยี จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามเย็น ไทยไดมุงพัฒนาประเทศดวยการรวมมือกับประเทศเพื่อนบานและนานา ประเทศ ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ดังเชน ไทยไดรวมกับสมาชิกกลุมอาเซียนทำขอตกลงเรื่อง การจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (Asian Free Trade Area – AFTA) เพื่อสงเสริมการคาระหวางกนั ในกลุมเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ และใน พ.ศ. ๒๕๓๗ ไทยไดเขาเปนสมาชิกขององคการการคาโลก (World Trade Organization – WTO) รวมทั้งมีสวนรวมในการรักษาสันติภาพในติมอรตะวันออกและอิรักในนามขององคการ สหประชาชาตริ วมกบั ประเทศสมาชกิ อนื่ ๆ ดว ย เปน ตน ๘.๒ ความสัมพันธข องประเทศไทยกับนานประเทศ ๘.๒.๑ ความสัมพันธก บั ประเทศเพ่อื นบา น ประเทศไทย มีความสัมพันธกับประเทศใกลเคียงอยางแนนแฟน โดยเฉพาะประเทศที่มีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ ม ไดแก ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และฟลิปปนส ทั้ง ๕ ประเทศนี้ ไดรวมมือกันจัดตั้งสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือสมาคมอาเซียน( Association of Southeast Asian Nation : ASEAN) ซึ่งมีวัตถุประสงค คือ รวมมือกันพัฒนาเศรษฐกิจและสนับสนุนนโยบายเปน กลาง ไมผูกพันกับคายหรือฝายใด สำหรับกลุมประเทศเพื่อนบานที่เปนสังคมนิยม ประเทศไทยก็ไดพยายามรักษา ความสมั พันธอ ันดี ทง้ั น้เี พ่อื หลกี เลี่ยงปญ หาตาง ๆ ระหวา งประเทศ และ พ.ศ. ๒๕๒๗ บรูไนไดเขารวมเปน สมาชิกของ กลมุ อาเซยี นอีกประเทศหนึ่ง ๙๗

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๘.๒.๒ ความสมั พันธก บั กลมุ ประเทศตะวนั ตก ประเทศไทย มีความสัมพันธกับกลุมประเทศตะวันตกหลายดาน เชน โครงการรวมมือทางดานวิชาการ เพื่อ การพัฒนาประเทศ และเพื่อเผยแพรวัฒนธรรม ใหเปนที่รูจักกันมากขึ้นในตางประเทศ สวนดานเศรษฐกิจ ประเทศ ไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจกับกลุมประเทศเหลานี้เปนเวลานาน ไทยสงสินคาหลายชนิดไปขายในประเทศยุโรป ตะวนั ตก และประเทศสหรัฐอเมริกา เชน ขา วโพด มนั สำปะหลงั ดีบุก นำ้ ตาล ยางพารา สำหรบั สินคา สวนใหญ ทไ่ี ทย สั่งซื้อจากประเทศตะวันตกและสหรัฐอเมริกา ไดแก สินคาประเภทเครื่องจักร และสินคาประเภทกึ่งสำเร็จรูปเพ่ือ นำมาปอนโรงงานในประเทศ นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีบทบาทผูกพันกับองคการคาระหวางประเทศบางแหง ซึ่ง จดั ตัง้ ข้นึ โดยกลุมประเทศตะวนั ตก เชน คณะมนตรดี ีบุกระหวางประเทศ (International Tin Council) และองคการ น้ำตาลระหวา งประเทศ (International Agreement) ๘.๒.๓ ความสมั พนั ธก บั กลมุ ประเทศสังคมนยิ ม ประเทศไทย มีความสัมพันธทางเศรษฐกิจกับประเทศสงั คมนิยมไมมากนักที่มาติดตอคาขายกันในระยะหลงั เทานั้น แตปจจุบันประเทศไทยสนใจทีจ่ ะใหมีความรวมมือในดานวิทยาการตาง ๆ กับประเทศสังคมนยิ มมากขึ้น เชน ไดมีขอตกลงรวมกับประเทศโรมาเนีย ในอันที่จะรวมมือกันในดานวิทยาศาสตร วิทยาการและวิชาการ นอกจากนี้ยัง ไดมีการเสริมสรางความสัมพันธอันดีกับประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีการแลกเปลี่ยนทางดานวิชาการและ วัฒนธรรม เชน ไดสงนาฏศิลปมาแสดงในประเทศไทยหลายครั้งตั้งแต พ.ศ. ๒๕๑๕ และนำเอาโบราณวัตถุที่มีคามา แสดงใหคนไทยไดชม และใน พ.ศ. ๒๕๑๘ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรไี ทยสมัยนั้น ไดไปเยือนสาธารณรฐั ประชาชนจนี อีกดวย สำหรับประเทศสหภาพโซเวียตก็ไดมีความรวมมือกับไทยทางดานวัฒนธรรมเชน กัน เชน การสง คณะบัลเลยม าแสดงในประเทศไทย เปน ตน ๙๘

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม แหลง อางอิง คณะทำงานเฉพาะกจิ การจัดทำหนงั สือประวัติศาสตรกรุงรัตนโกสนิ ทร. ประวตั ศิ าสตรกรงุ รตั นโกสินทร. กรงุ เทพฯ : อมั รินทรการพิมพ, ๒๕๒๕. ณรงค พว งพิศ และคณะ.หนงั สือเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ประวัตศิ าสตร ม.๓ ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๓. พมิ พคร้ังท่ี ๖. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทศั น, ม.ป.ป. ดนัย ไชยโยธา. ประวตั ิศาสตรไทย : ยคุ กรงุ ธนบรุ ถี งึ กรงุ รัตนโกสินทร. กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๕๐. ดนยั ไชยโยธาและศิรพิ ร ดาบเพชร. ประวัติศาสตรม .๑. กรงุ เทพฯ: อักษรเจริญทัศน, ๒๕๕๓. ดร.ประเสริฐ วิทยารัฐ และคณะ. หนงั สือเรียน ส๓๐๖ ประเทศของเรา๔ สมบูรณแบบ. กรงุ เทพฯ : วฒั นาพานชิ , ๒๕๔๒. ประยทุ ธ สทิ ธิพันธ. ประวตั ิศาสตรประพาสตนของพระพุทธเจาหลวง. กรุงเทพฯ : สรา งสรรคบคุ , ๒๕๕๒. ปยนาถ บุนนาค. ประวัตศิ าสตรไทยสมยั ใหม (ตัง้ แตการทำสนธิสัญญาเบาวริง ถงึ เหตุกาณ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๖). กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพรผลงานทางวชิ าการ คณะอักษรศาสตรจ ฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๐. วงเดอื น นาราสัจจ และชมพูนทุ นาครี ักษ. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน ประวตั ิศาสตรช ั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ ๓. กรงุ เทพฯ : บริษทั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.), ๒๕๕๕. ศริ พิ ร กรอบทอง และสกั กะ จราววิ ัฒน. ประวตั ิศาสตร ๓ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๓. กรงุ เทพฯ : เอมพันธ, ๒๕๕๕. “ประวัตศิ าสตรไทย”. [ระบบออนไลน]. แหลงทมี่ า http://th.wikipedia.org/wiki (๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔). พิษณุ เดชใด. ๒๕๕๖. “สภาพสังคมไทยสมัยรตั นโกสนิ ทรตอนตน ”. [ระบบออนไลน] . แหลงทม่ี า http://www.sahavicha.com (๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔). รุจิรา นอ ยผล. 2556. “ประวัตริ ชั กาลท่ี 1-9”. [ระบบออนไลน] . แหลง ทม่ี า https://sites.google.com/site/pumpuiy03 (๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔). “สถานการณปจ จบุ ัน : ภมู หิ ลงั ทางการเมืองของสงั คมไทย”. [ระบบออนไลน]. แหลง ทมี่ า https://freedom.ilaw.or.th/freedom-of-expression-101/current (๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔). ๙๙

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ตัวอยา งแบบทดสอบปรนยั (จารุวรรณ ปททุม. “บทเรยี นคอมพิวเตอร วิชาประวัตศิ าสตร ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ ๓” แหลง ทม่ี า http://www.krujaruwan.com/posttest.html (๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔)) คำช้แี จง จงเลือกคำตอบท่ีถูกตอ งท่สี ดุ เพยี งคำตอบเดยี ว ๑. ขอ ใดไมใชเ หตผุ ลในการยายราชธานีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลก ? ก. ไมสามารถขยายพ้นื ทบี่ านเมอื งได ข. การกัดเซาะของน้ำทำใหพ ื้นทพี่ ระราชวงั พังได ค. กรุงรัตนโกสนิ ทรม พี ระราชวงั และกำแพงปอ มปราการเดมิ อยูแลว ง. กรงุ ธนบรุ เี ปนเมืองอกแตกมีแมน ้ำเจาพระยาไหลผานกลางเมืองปองกันขา ศึกไดย าก ๒. ขอใดกลาวถึงหนา ทข่ี อง สมุหนายก ไดถูกตอ ง ? ก. ดูแลรบั ผดิ ชอบฝา ยทหารทว่ั ไป ข. ดแู ลรักษาความสงบเรียบรอ ยในเขตราชธานี ค. ดูแลรักษารบั ผดิ ชอบเกี่ยวกบั พระราชมนเทยี ร พระราชวัง พระราชพธิ ี ง. ดูแลรับผิดชอบฝา ยพลเรอื นท่ัวไป และควบคุมดแู ลหวั เมืองฝายเหนือ ทง้ั ดา นทหารและพลเรอื น ๓. หนว ยงานใดควบคมุ ดูแลชาวเมืองฝายใตในสมัยรตั นโกสินทรต อนตน ? ก. สมุหพระกลาโหม ข. สมุหนายก ค. กรมคลงั ง. กรมนา ๔. ขอ ใดกลาวถึงหวั เมอื งประเทศราชไดถ กู ตอง ? ก. แบง ออกเปน หวั เมืองเอก โท และตรี ข. เปนหวั เมอื งท่ีอยไู มไกลจากราชธานี ค. มีเสนาบดีเปน ผูดูแลรกั ษาความสงบเรียบรอ ย ง. เปนหวั เมอื งตา งชาติ ตอ งถวายตน ไมเ งนิ ตน ไมทองและเครอื่ งราชบรรณาการ ๕. การคาขายกับตา งชาติ ในสมยั รัตนโกสนิ ทรต อนตนมีลกั ษณะอยางไร ? ก. คาขายกับจนี ดว ยเรอื สำเภา ข. คา ขายอยางเสรีกบั ชาติตะวนั ตก ค. เกบ็ ภาษีจังกอบจากเรือสนิ คา ตางชาติ ง. ผูมีหนาที่ดแู ลการคากับตา งชาติ คอื สมุหนายก ๖. การคา แบบรฐั บรรณาการ เปน การคา ระหวางไทยกับชาติใด ? ง. โปรตเุ กส ก. จีน ข. ลาว ค. พมา ๑๐๐

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๗. ขอ ใดกลา วไมถ ูกตอง เกยี่ วกับสภาพสงั คมในสมยั รตั นโกสนิ ทรต อนตน ? ก. มกี ารแบงชนชน้ั ทางสังคม ข. มีลกั ษณะคลายคลงึ กบั สังคมอยุธยา ค. มวี ดั เปน ศูนยกลางของชมุ ชนและการศกึ ษา ง. มกี ารรบั อารยธรรมแบบตะวันตกเขา มาปฏิบัติกันอยา งแพรหลาย ๘. ชนชัน้ ทางสังคมในขอ ใดทีเ่ ปน ชนสว นใหญข องประเทศในสมยั รัตนโกสินทรต อนตน ? ก. ทาส ข. ไพร ค. พระบรมวงศานวุ งศ ง. ขุนนางและขาราชการ ๙. การตราพระราชบญั ญตั ิประถมศกึ ษา กำหนดใหช ายหญงิ ทุกคนเขาเรยี นชัน้ ประถมตั้งแตอายุ ๗ - ๑๔ ป เกดิ ขึ้นใน สมยั ใด ? ก. รัชกาลท่ี ๔ ข. รัชกาลที่ ๕ ค. รชั กาลที่ ๖ ง. รชั กาลท่ี ๗ ๑๐. ขอใด มิใช นโยบายสรางชาตทิ างวฒั นธรรมของจอมพลแปลก พบิ ลู สงคราม ? ก. เปลีย่ นชือ่ ประเทศจาก “สยาม” เปน “ประเทศไทย” ข. กำหนดวันชาตใิ หมเปนวันที่ 5 ธันวาคมของทุกป ค. ใชค ำวา “ไทย” กบั คนไทยและสัญชาติ ง. ตงั้ กระทรวงวัฒนธรรม ๑๑. ขอใดกลาวไมถ กู ตอ งเกี่ยวกบั การปรบั ปรงุ ประเทศสมยั ร.๔ ? ก. เปล่ียนแปลงการใชพระราชอำนาจ ข. เปลยี่ นแปลงวฒั นธรรมท่ลี า สมัย ค. เปล่ยี นแปลงจากกษัตริยส ูป ระชาชน ง. เปลย่ี นแปลงการติดตอ กับชาตติ ะวนั ตก ๑๒. ขอ ใดบอกเลา เกย่ี วกบั การปฏริ ูปการปกครองในสมัย ร.๕ ? ก. ประกาศใชรฐั ธรรมนูญเปน กฎหมายสงู สุดในการปกครองประเทศตามท่ีมผี ูรับรอง ข. จดั ตั้งหนว ยงานการปกครองขึน้ มาใหม 12 กรม ค. ปราบกบฏทางเหนือและทางใตไ ดอ ยางเครง ครดั ง. บรหิ ารบา นเมอื งไทยรายบุคคล ๑๓. การทำสนธิสัญญาเบาวร ิงในสมยั ร.๔ เกดิ เหตุการณหลายประการ ยกเวนขอใด ? ก. ขาวเปนสนิ คาออกแทนน้ำตาล ข. ใชเงนิ เปนส่ือกลางในการแลกเปลย่ี น ค. มกี ารขยายพนื้ ทท่ี ำนาตามแนวคูคลอง ง. คนจีนเขามามบี ทบาททางการคากับชาติตะวนั ตกแทนคนไทย ๑๔. เมอื งจำลองรูปแบบการปกครองแบบประชาธปิ ไตย เมอื งดสุ ติ ธานี เกิดขึ้นในรชั กาลใด ? ก. รัชกาลท่ี ๔ ข. รัชกาลที่ ๕ ค. รัชกาลท่ี ๖ ง. รชั กาลท่ี ๗ ๑๐๑

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๑๕. การพัฒนาดา นการเงินการคลังเพอื่ รับรองการคาขาย กบั ชาติตะวนั ตกมหี ลายวิธี ยกเวนขอใด ? ก. ใชธนบตั ร ข. จัดตง้ั ธนาคาร ค. ใชเหรยี ญกษาปณ ง. กำหนดอัตราแลกเปลยี่ นเงนิ ตราตา งประเทศ ๑๖. ตอไปนเี้ ปนการปฏิรูปดา นสงั คมวัฒนธรรมในสมัยรชั กาลท่ี ๔ ยกเวนขอใด ? ก. อนญุ าตใหไ พรเสยี เงินแทนการถูกเกณฑแรงงานเขา รับราชการ ข. หา มพอแมขายบตุ รเปนทาส ค. ใหข า ราชการสวมเสื้อเวลาเขาเฝา ง. โปรดใหช ายไทยในราชสำนักเลิกไวผ มทรงมหาดไทย ๑๗. คำนำหนานามสตรวี า นาง นางสาว ของเดก็ วา เด็กชาย เดก็ หญงิ ถกู กำหนดข้ึนในสมัยใด ? ก. รัชกาลท่ี ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั ข. รชั กาลท่ี ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหวั ค. รชั กาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา เจา อยูห ัว ง. รัชกาลท่ี ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยหู ัว ๑๘. ไทยเสยี อาณานคิ มดินแดนฝง ซา ยของแมนำ้ โขง ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ใหก ับชาติตะวนั ตกชาตใิ ด ? ก. องั กฤษ ข. ฝรัง่ เศส ค. โปรตเุ กส ง. อติ าลี ๑๙. ชาตติ ะวนั ตกชาตใิ ดทเ่ี ขา มาทำสญั ญาเบาวรงิ รวมกับไทยในสมยั รัชกาลท่ี ๔ ? ก. โปรตุเกส ข. แคนาดา ค. อังกฤษ ง. สหรฐั อเมรกิ า ๒๐. พระมหากษตั ริยพ ระองคใด ทรงไดพ ระราชสมัญญานาม วา \"พระปย มหาราช\" ? ก. รชั กาลท่ี ๔ ข. รัชกาลที่ ๕ ค. รัชกาลท่ี ๖ ง. รชั กาลที่ ๗ ๒๑. ขอใด ไมใชสาเหตุของการปฏวิ ตั ิ พ.ศ. ๒๔๗๕ ? ก. ความกา วหนาทางการศกึ ษาและการรับแนวคิดประชาธิปไตยจากตะวนั ตก ข. ความขดั แยงของนายทนุ กับราษฎร ค. การปฏิวตั กิ ารปกครองของระเทศอนื่ ง. การเศรษฐกจิ ตกต่ำหลงั สงครามโลกครั้งท่ี 2 ๒๒. ผูนำของกลมุ คณะราษฎร คือใคร ? ข. จอมพลแปลก พบิ ูลสงคราม ก. นายปรีดี พนมยงค ง. หมอมราชวงศเสนยี  ปราโมช ค. พนั ตรีควง อภัยวงศ ๒๓. เพราะเหตใุ ด จงึ เกิดเหตกุ ารณ 14 ตลุ าคม ? ก. ขับไลผนู ำทางการเมอื งทฉี่ อราษฎรบ ังหลวง ข. เกิดความขดั แยง ของนิสิตนกั ศกึ ษา ๑๐๒

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ค. เพ่ือขบั ไลผ นู ำทางการเมอื งทีผ่ กู ขาดอำนาจทางการเมือง ง. ถกู ทุกขอ ๒๔. จงพจิ ารณาขอ ความตอไปนี้ ๑) สถาบนั ทหารไดกลายเปนสถาบนั ที่มอี ำนาจและกา วข้นึ มีบทบาททางการเมือง ๒) จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม นำประเทศไทยเขาสสู งครามโลกครงั้ ที่ ๒ โดยเขารวมกบั ฝา ยสัมพันธมิตร ๓) ขบวนการเสรไี ทยเปน ขบวนการใตดินตอตา นญี่ปนุ จากขอ ความขางตน ขอใดถกู ตองทส่ี ดุ ? ก. ขอ ๑) และ ๒) ถกู ข. ขอ ๑) และ ๓) ถกู ค. ขอ ๒) และ ๓) ถกู ง. ถกู ทุกขอ ๒๕. เหตกุ ารณพ ฤษภาทมฬิ เกิดขึ้นเพราะสาเหตใุ ดตามลำดบั ? ก. การทุจริตฉอ ราษฎรบ ังหลวง เกิดความขัดแยงของนสิ ิตนกั ศกึ ษา ข. เกิดความขัดแยง ของนสิ ติ นกั ศกึ ษา เพอื่ ขบั ไลผนู ำทางการเมืองที่ผูกขาดอำนาจทางการเมอื ง ค. เพ่ือขบั ไลผนู ำทางการเมอื งทผี่ ูกขาดอำนาจทางการเมือง การทุจริตฉอราษฎรบ ังหลวง ง. เกิดความขัดแยงของนิสติ นักศึกษา การทจุ รติ ฉอราษฎรบังหลวง ๒๖. พระราชกรณียกิจดา นสง่ิ แวดลอม ร.๙ เนน เร่อื งใดมากทส่ี ุด ? ก. โครงการแกม ลงิ ข. โครงการบำบัดน้ำ ค. การจดั การทรัพยากรน้ำ ง. พระราชดำรทิ ฤษฎใี หม ๒๗. เศรษฐกจิ ของประเทศไทยในมกี ารเปลีย่ นแปลงเดน ชดั ในเรื่องใด ? ก. ประสานความรวมมอื กบั ประเทศจนี ข. พยายามรวมกลุม ทางการเมอื ง ค. ทำตามนโยบายของสหรัฐอเมรกิ า ง. เปลีย่ นแปลงตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ๒๘. ขอใดผดิ เกีย่ วกับสงครามโลกครั้งท่ี ๑ ? ก. สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 เกิดข้นึ ในทวีปเอเชยี ข. ออสเตรยี -ฮังการีเขารว มฝา ยสมั พนั ธมิตร ค. เยอรมนเี ขา รวมฝา ยมหาอำนาจกลาง ง. ฝา ยสมั พนั ธมิตรไดรับชยั ชนะ เกดิ ผลดกี ับประเทศไทยเปน อยา งมาก ๒๙. การเปลยี่ นชื่อประเทศจาก \"สยาม\" มาเปน \"ไทย\" เกิดขึน้ ในสมัยใด ? ก. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต ข. พลเอกเปรม ตณิ สูลานนท ค. จอมพลถนอม กติ ตขิ จร ง. จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ๑๐๓

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๓๐. ขอใดไมใ ชล กั ษณะของสงั คมไทยในสมยั ประชาธปิ ไตย ? ก. เกิดการยา ยถิน่ ฐานจากตวั ชนบทไปยังตวั เมอื ง ข. เกดิ ปญ หาอาชญากรรม ค. โครงสรา งของครอบครัวเปลี่ยนจากครอบครัวเล็กเปนครอบครัวขยาย ง. เกิดลทั ธิวัตนุ ยิ ม ตวั อยางแบบทดสอบอัตนยั คำชี้แจง ใหน ักเรียนตอบคำถามใหถูกตองไดใ จความ ๑. นักเรียนสามารถนำวธิ ีการทางประวัติศาสตรม าใชใ นการศึกษาเรื่องราวเกยี่ วของกบั ตนเองทส่ี นใจไดอ ยา งไร ๒. เหตุผลที่ใดทำใหรัชกาลท่ี ๑ ทรงเลอื กทำเลที่ตงั้ ฝงตะวันออกของแมน้ำเจาพระยาเปนท่ตี ั้งของราชธานีใหม ๓. การยกเลิกระบบไพรและทาส สงผลตอ สงั คมไทยในขณะน้ันอยางไร ๔. การเมืองไทยสมยั ประชาธปิ ไตย ตง้ั แต พ.ศ. ๒๔๗๕ - ปจ จบุ ัน มพี ัฒนาการความเปนมาโดยสังเขปอยางไร ๕. ใหนักเรียนอธิบายคำตอไปน้ี ๑) จ้มิ กอ ง ๒) ผกู ป ๓) ปราบดาภเิ ษก ๔) ราชาภเิ ษก ๕) เงินถุงแดง ๑๐๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook