Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ ๓ การออกแบบเอกสาร

หน่วยที่ ๓ การออกแบบเอกสาร

Published by Sasiprapa Jainoi, 2022-01-24 16:54:06

Description: หน่วยที่ ๓ การออกแบบเอกสาร

Search

Read the Text Version

ความหมายของการออกแบบ คาว่า “ออกแบบ” นนั้ ถูกใหค้ านิยาม หรือคาจากดั ความไว้หลายรปู แบบ ตามความเข้าใจ การ ตีความหมาย และการส่ือสารออกมาดว้ ยตัวอกั ษรของแต่ละคน เช่น  การออกแบบ หมายถึง การรจู้ ักวางแผนจัดตัง้ ขนั้ ตอน และรูจ้ กั เลือกใช้วัสดวุ ิธกี ารเพื่อทาตามที่ ตอ้ งการ เช่น การจะทาโต๊ะข้ึนมาสักหนึ่งตัว เราจะต้องวางแผนไว้เป็นข้นั ตอน โดยตอ้ งเร่ิมตน้ จาก เลอื กวัสดุทจ่ี ะใช้ในการทาโต๊ะ ว่าจะใช้วสั ดุอะไรท่เี หมาะสม ในการยึดต่อระหวา่ งจดุ ต่างๆ ควรใช้ กาว ตะปู สกรู หรือใช้ขอ้ ตอ่ แบบใด รู้ถึงวัตถปุ ระสงคข์ องการนาไปใชง้ าน ความแขง็ แรง และการ รองรับนา้ หนกั ของโตะ๊ สามารถรองรบั ได้มากน้อยเพียงใด สีสนั ควรใชส้ อี ะไรจงึ จะสวยงาม เป็นต้น

 การออกแบบ หมายถึง การปรบั ปรุงแบบผลงานหรอื สง่ิ ต่างๆ ทีม่ ีอยู่แล้วใหเ้ หมาะสมและดูมคี วาม แปลกใหม่ข้นึ เชน่ โต๊ะทีเ่ ราทาขนึ้ มาใช้ เมอ่ื ใช้ไปนานๆ กเ็ กิดความเบอื่ หน่ายในรปู ทรง หรือสี เรา กจ็ ดั การปรับปรงุ ให้เปน็ รปู แบบใหมใ่ ห้สวยกว่าเดมิ ทั้งความเหมาะสม ความสะดวกสบายในการ ใชง้ านยงั คงเหมือนเดมิ หรอื ดกี วา่ เดมิ เป็นตน้  การออกแบบ หมายถึง กระบวนการที่สนองความตอ้ งการในสง่ิ ใหมๆ่ ของมนุษย์ ซึ่งสว่ นใหญ่เพอ่ื การดารงชีวติ ใหอ้ ยู่รอด และสรา้ งความสะดวกสบายมากย่งิ ขน้ึ

การออกแบบ(Design) คือศาสตร์แห่งความคิด และต้องใชศ้ ิลป์รว่ มดว้ ย เปน็ การสร้างสรรค์ และการ แก้ไขปัญหาทีม่ ีอยู่ เพื่อสนองตอ่ จดุ มุ่งหมาย และนากลบั มาใช้งานได้อยา่ งนา่ พอใจ ความนา่ พอใจนนั้ แบง่ ออกเป็น ๓ ข้อหลกั ๆ ดังน้ี 1. ความสวยงาม เปน็ ส่งิ แรกท่ีเราได้สมั ผัสกอ่ น คนเราแต่ละคนตา่ งมีความรบั รู้เร่อื ง ความสวยงาม กับความพอใจในทงั้ ๒ เร่ืองน้ไี มเ่ ท่ากัน จงึ เป็นสง่ิ ถกเถยี งกนั อยา่ งมาก และไมม่ เี กณฑ์ ในการ ตัดสินใดๆ เป็นตัวทกี่ าหนดอย่างชดั เจน ดังนัน้ งานท่เี ราไดม้ กี ารจัดองคป์ ระกอบที่เหมาะสมน้ัน กจ็ ะมองวา่ สวยงามไดเ้ หมือนกนั 2. มีประโยชนใ์ ช้สอยทดี่ ี เป็นเรือ่ งที่สาคญั มากในงานออกแบบทุกประเภท เชน่ งานส่ือสิ่งพิมพน์ ัน้ ตวั หนงั สือจะตอ้ งอ่านงา่ ย เขา้ ใจง่าย 3. มีแนวความคิดในการออกแบบทด่ี ี เปน็ หนทางความคดิ ท่ที าใหง้ านออกแบบสามารถตอบสนอง ต่อความรู้สกึ พอใจ ชื่นชม มีคณุ ค่า อาจมีความสาคัญมากหรือนอ้ ย ดังน้นั ในการออกแบบโดยใช้ แนวความคดิ ทดี่ ี อาจจะทาใหผ้ ลงาน หรอื ส่งิ ทอี่ อกแบบมีคุณคา่ มากขึน้

ดงั นัน้ นกั ออกแบบ (Designer) คือ ผู้ท่พี ยายามค้นหา และสรา้ งสรรคส์ ่ิงใหม่ หาวิธีแก้ไข หรอื หาคาตอบใหม่ๆ สาหรบั ปัญหาตา่ งๆ ทม่ี า : http://allalike-design.blogspot.com/2010/12/blog-post.html การออกแบบสรรพสิง่ ตา่ ง ๆ ในโลกน้หี ากพจิ ารณาจะเห็นวา่ มีรปู ร่าง รูปทรงที่แตกต่างกนั ออกไป ท้งั นี้ เพราะ ส่ิงเหล่านี้ประกอบดว้ ยสว่ นประกอบภายในท่แี ตกต่างกนั เช่น ต้นไม้ ประกอบไปดว้ ย ราก ตน้ กิง่ ใบ และ ดอก หากมองลึกไปก็จะพบว่า ดอกน้ัน มีสว่ นประกอบยอ่ ยลงไปอีก เปรยี บเสมอื นกับการออกแบบที่ ประกอบด้วยโครงสร้างและองค์ประกอบทีส่ าคญั 2 ส่วน คือ สว่ นประกอบทางศิลปะของการออกแบบ และ หลักการจดั วางสว่ นประกอบในการออกแบบ

องค์ประกอบมลู ฐานของการออกแบบ การจัดองคป์ ระกอบศิลป์ (Composition) เปน็ การจัดการต่อสว่ นประกอบ ของงานออกแบบ หรือองคป์ ระกอบศิลป์นับได้ว่าเป็นหวั ใจ ของงานออกแบบ สาหรับองค์ประกอบ มลู ฐานของงานออกแบบน้นั หมายถึง สิ่งซึง่ ปรากฏแกส่ ายตารอบ ๆ ตัว โดยผู้ออกแบบ สามารถนา มาประสมประสานให้เกดิ เปน็ ผลงาน จดุ (Dot)จดุ เปน็ องค์ประกอบพ้ืนฐานทีส่ าคญั สาหรับการออกแบบ เพราะจุดเป็นตน้ กาเนดิ ของเสน้ และ น้าหนักของภาพ ดงั จะเหน็ ได้วา่ ในการพมิ พภ์ าพโทนต่อเน่อื ง (Half Tone) การเกิดนา้ ออ่ นแกใ่ นภาพเป็นการ ใชจ้ ดุ บรเิ วณที่เปน็ น้าหนกั ออ่ น เกิดจากจุดหรอื เมด็ สกรีนทเ่ี ล็กและหา่ ง สว่ นในบริเวณท่ีมนี า้ หนักเข้มจะ ประกอบดว้ ยจดุ ทีม่ ีขนาดใหญแ่ ละหนาแน่น จะเห็นได้ว่าจดุ สร้างความงามในธรรมชาติใหเ้ กดิ ขึน้ อกี มากมาย อาทิ ลายจุดบนผิวหนัง 7 ของเสอื ดาว จุดบนปีกผเี ส้ือจุดบนใบไม้จดุ ทีเ่ กิดจากก้อนรวด เม็ดทรายเปน็ ต้น การท่ี ผู้ออกแบบ จะนาจดุ มาใชง้ านออกแบบสามารถใชไ้ ด้ 3 ลักษณะ ดงั น้ี (1) การวางตาแหนง่ ของจดุ ลักษณะกระจาย มกั ใชใ้ นการออกแบบแนวนอน (2) การวางตาแหน่งของจุดลกั ษณะเนน้ ชอ่ งจังหวะ เปน็ การวางจุดโดยให้พกั เปน็ ระยะ (3) การวางตาแหนง่ ของจุดลักษณะเป็นลุ่ม เปน็ การทาใหจ้ ดุ ในงานออกแบบเกิดเอกภาพ

เสน้ (Line) เสน้ เกดิ จากการเดนิ ทางหรอื ตอ่ เน่อื งของจดุ ในลักษณะทศิ ทางเดยี วกัน ในการออกแบบเสน้ อาจ เกิดจากการลากพ่กู ัน (Brush Stroke) การขดู ขดี ด้วยดนิ สอ ปากกา ฯลฯ นักออกแบบถอื วา่ เส้นเป็น องค์ประกอบมูลฐานทีส่ าคัญ เส้นในงานออกแบบประกอบด้วยเส้นหลกั ที่สาคญั ได้แก่ เส้นนอน เส้นตงั้ เส้น เฉียง เส้นโค้ง เส้นซกิ แซก และเส้นคลืน่ (1) เสน้ นอน (Horizontal Line) เป็นเสน้ ท่ีแสดงถึงความรสู้ ึกสงบนง่ิ กวา้ งขวาง ผู้ออกแบบสามารถ น า อิทธิพลของเสน้ นอนมาใชใ้ นการแกป้ ัญหาการออกแบบ เพื่อใหเ้ กดิ ผลตามความต้องการได้ (2) เสน้ ตัง้ (Vertical Line) เป็นเส้นทแ่ี สดงถึงความสง่างาม ความมรี ะเบียบ แขง็ แรง ผู้ออกแบบ สามารถนา อทิ ธพิ ลของเส้นตงั้ มาใช้ในการออกแบบเพื่อโน้มน้าวความรสู้ ึกของผ้ดู ูใหเ้ กดิ ความรู้สกึ (3) เสน้ เฉยี ง (Diagonal Line) เป็นเส้นที่แสดงถงึ ความร้สู ึกทเ่ี คล่ือนไหวความไม่แน่นอนและ เกิดทิศทาง ดงั นัน้ ผอู้ อกแบบยอ่ ม สามารถใชอ้ ทิ ธพิ ลจากเสน้ เฉียงในงานออกแบบเพื่อใหผ้ ดู้ เู กดิ ความรู้สึก (4) เส้นโค้ง (Curve Line) เป็นเส้นทใี่ ห้ความร้สู ึกออ่ นหวาน นมุ่ นวลแสดงถงึ ความอ่อนน้อม เศรา้ โศก ผูอ้ อกแบบสามารถนาอิทธิพลของเส้นโคง้ มาใช้เป็นแกนหลกั ในการออกแบบเพอื่ โนม้ น้าวผดู้ ูให้เกดิ ความรสู้ ึกดังกล่าวไดใ้ นลกั ษณะตอ่ ไปนี้

 เส้นโค้งครงึ่ วงกลม เป็นเส้นรอบรูปของคนท่ีกาลังเศรา้ โศกส้ินหวังในชวี ติ หรือเป็นภาพดวงอาทิตยก์ าลงั ลับขอบฟ้า จงึ ชักนาให้ผดู้ ูเกดิ ความรู้สึกเศร้าใจได้  เสน้ โคง้ 1/4 ของวงกลม มาจากเสน้ กรอบรูปของผคู้ นทกี่ าลงั โค้งคานบั หรอื โค้งตัวไหว้ จงึ ก่อให้เกิดความ นอบนอ้ มถอ่ มตนแก่ผู้ดู  เสน้ โคง้ 1/6 ของวงกลม มาจากลักษณะของตน้ หญ้าที่กาลังลลู่ ม กอ่ ให้เกิดความรสู้ ึกเริงรา่ ออ่ นหวาน แก่ผดู้ ู (5) เส้นซิกแซก (Zigzag Line) เป็นเส้นซง่ึ แสดงความรสู้ กึ เคล่อื นไหวรนุ แรง ไมแ่ นน่ อน ผู้ออกแบบ สามารถ อิทธพิ ลของเสน้ ซิกแซกมาใช้ในการออกแบบ (6) เส้นคลน่ื (Wave Line) เปน็ เส้นท่ีให้ความรู้สกึ เคลอื่ นไหวช้าๆ นิม่ นวลและเป็นแกผ่ พู้ บเห็น นอกจากเส้น ท่ีกลา่ วขา้ งต้นยงั มีเส้นตรง (Straight Line) ท่ีแสดงถงึ ความสงา่ ความเข้มแขง็ ความเกลย้ี ง ความง่าย ทาให้ เกิดความรูส้ กึ มัน่ คงแขง็ แรงและเส้นประ(Broken Line) ทแ่ี สดงถึงความต่ืนเต้น ความไมเ่ ป็น

รูปร่างและรูปทรง (Shape & Form)รูปรา่ งและรูปทรง เกดิ จากเส้นท่เี ดนิ ทางครบวงจร ในการออกแบบ มกั จะกล่าวถึงรปู รา่ งและรปู ทรงควบคู่กนั ไป แตโ่ ดยขอ้ เท็จจริงแลว้ รปู รา่ งจะมี 2 มติ ไิ ดแ้ ก่ ความกวา้ งกบั ความยาว ในระนาบแบน เหมือนกบั การฉายไฟไปทว่ี ตั ถแุ ลว้ เกดิ เป็นเงาตกทอดท่ีฉากลักษณะของเงาน้นั ถอื ว่า เป็นรปู รา่ ง สว่ นรูปทรงมี 3 มิตไิ ดแ้ ก่ ความกว้าง ความยาวและความลึก ดังน้ี อาจกล่าวได้ว่าตวั วัตถคุ ือ รปู ทรง ส่วนเงา ของวตั ถคุ อื รปู ร่างรปู ร่างและรูปทรงซงึ่ เปน็ องค์ประกอบมูลฐานในการออกแบบนนั้ สามารถ จาแนกได้เปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. รูปเรขาคณติ เปน็ รูปทเ่ี กดิ จากการสรา้ งขนึ้ โดยใชเ้ ครอื่ งมือเรขาคณิต ไดแ้ ก่ รปู วงกลม วงรี สามเหล่ียม สเี่ หลย่ี ม หกเหล่ยี ม เปน็ ตน้ รปู ในลกั ษณะนจ้ี ะมคี วามแข็ง กระด้าง ความมีระเบยี บ จึงเหมาะสาหรับ งานออกแบบซงึ่ ต้องการความแขง็ แรง มรี ะเบยี บ เครง่ ครดั เชน่ งานที่เกย่ี วกบั การก่อสร้างงาน วิทยาศาสตร์ เป็นต้น 2. รูปธรรมชาติ เปน็ รูปท่เี กดิ จากการน าลักษณะความงามในธรรมชาติมาใช้ในการออกแบบ รปู ทรง ใน ธรรมชาตทิ ก่ี อ่ ให้เกิดแรงบนั ดาลใจในการออกแบบ ได้แก่ เปลวไฟ เปลือกหอย ก้อนหิน คลนื่ ใบไม้ เปน็ ต้น การน ารูปทรงในธรรมชาตมิ าใชใ้ นการออกแบบ ทาไดโ้ ดยการถ่ายภาพ การเขียนภาพแบบ เหมอื นจริง เป็นตน้ ๓. รูปอสิ ระเปน็ รปู ทผ่ี ูอ้ อกแบบใช้จินตนาการสรา้ งข้นึ ดว้ ยมืออสิ ระโดยไม่ใชเ้ ครอ่ื งจกั รเขา้ ชว่ ย อาจเกดิ จาก การดดั แปลงรปู ทรงเรขาคณิต หรอื เปน็ การดดั แปลงจากรูปทรงในธรรมชาตกิ ไ็ ด้

แสงและเงา (Light & Shade)แสงและเงา เป็นปจั จยั ท่ที าให้ผูด้ ูเกิดความรูส้ กึ ตอ่ ลกั ษณะ 3 มิติ ของรปู ทรง ไดช้ ัดเจนย่ิงขึ้นในการออกแบบกราฟิก ซงึ่ กระทาบนวสั ดุ 2 มติ ิ ผอู้ อกแบบสามารถใช้แสงเงาเพอื่ เนน้ ความลกึ หรอื มติ ิทีส่ ามได้ โดยธรรมชาตขิ องแสงยอ่ มตกกระทบบนผิววตั ถไุ มเ่ ท่ากัน ด้านทไี่ ด้รบั แสงจะมี ความจ้า ส่วนด้านทต่ี รงขา้ มจะมีนา้ หนักมืดลงตามลาดบั การทีเ่ รามองเหน็ วัตถุน้ัน เป็นผลมาจากการทีม่ ีแสง สวา่ งมากระทบกับวตั ถทุ าให้เกิดเปน็ บรเิ วณสว่าง และบริเวณมดื โดยบริเวณสวา่ งและบริเวณมืดจะคอ่ ย ๆ กระจายค่าน้าหนัก (Tone) ความอ่อนแก่อยู่กลมกลืน ปรากฏเปน็ ปริมาตรของรปู ทรงวัตถุ ดังน้นั แสงและเงาจงึ เก่ียวขอ้ งโดยตรงกับนา้ หนกั อย่างเหมาะสมไปทว่ั ภาพ โดยเกือบไม่คานงึ ถึงปริมาตรของรปู ทรง เนน้ ความใกล้ ไกล ลกึ ตน้ื ด้วยบรรยากาศของนา้ หนกั แต่อยา่ งไรกต็ ามในทางศลิ ปะ การใหแ้ สงและเงาทถ่ี ือว่ามีคณุ คา่ ทาง ความงามมากทีส่ ดุ นิยมใหแ้ สงเขา้ กระทบวตั ถุทางด้านข้างทามมุ เฉียง 45 องศามากกวา่ ตาแหนง่ อืน่ ชอ่ งว่าง (Space) ชอ่ งว่าง หมายถงึ การกาหนดชอ่ งวา่ งในตัววัตถหุ รอื ตวั รูป (Positive Space) และชอ่ งวา่ ง รอบตวั วตั ถหุ รือพื้น (Negative Space) การออกแบบในสมัยก่อนมกั ไมค่ านึงถงึ ความสมั พันธ์ระหว่างรปู แบบ และพ้ืนทเี่ ท่ากนั โดยผอู้ อกแบบจะมงุ่ ใหค้ วามสาคัญแก่ตัวรูปเป็นส่วนใหญ่แตโ่ ดยทงี่ านออกแบบเป็นภาพรวม ของพ้ืนท่ที ง้ั หมด ผ้อู อกแบบที่ดจี ึงควรพิจารณาถึงความสัมพนั ธต์ ่อเนอื่ งระหว่างรูปและพื้นใหม้ คี วามเหมาะสม ทัดเทียมกนั

หลกั ในการสร้างความสาคญั ระหว่างรปู และพ้นื ใหค้ วามทัดเทียมกนั และมคี วามสัมพนั ธ์กนั สามารถกระทาได้ ดังนี้ (1) กาหนดใหพ้ ื้นท่ีของรูปมปี ริมาณใกลเ้ คียงกัน (2) หลีกเลยี่ งไม่ใหร้ ปู ลอยอยกู่ ลางพ้ืน แต่ควรใหต้ ัวรปู ตกชิดขอบภาพ เพอื่ มิให้บรเิ วณพื้น ล้อมรอบตัวรปู การใชบ้ ริเวณว่างในการออกแบบท้ังหลายผูส้ รา้ งงานจะใชบ้ รเิ วณว่างใหม้ ีความสัมพนั ธ์กับ ภาพรวมของวัตถนุ น้ั ๆ 2.2.6 สี (Color) สีเปน็ องคป์ ระกอบมลู ฐานทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ ความรสู้ กึ และการรบั รู้ของผ้ดู ูเปน็ อยา่ งยิ่ง ถา้ เปรยี บเทยี บระหวา่ งภาพสีกบั ภาพขาวดาจะพบวา่ มีภาพสีย่อมแสดงความแตกต่างและให้รายละเอยี ดแก่ผดู้ ู ไดด้ กี ว่าภาพขาวดา เชน่ ดอกไมส้ แี ดงกับใบไมส้ ีเขยี ว ถา้ เป็นภาพขาวดาจะมีนา้ หนกั เท่าใกลเ้ คียงกัน แต่ถ้าเป็น ภาพสผี ดู้ ูจะเหน็ ความแตกตา่ งกันของสไี ด้อยา่ งชัดเจน ผู้ออกแบบจาเปน็ ตอ้ งเลอื กใชส้ ใี หเ้ หมาะสมกบั จดุ มงุ่ หมายของงานออกแบบ จึงจะเกิดประสิทธภิ าพตอ่ ความรู้สกึ ของผู้ดู

สแี ดง ใหค้ วามรสู้ กึ ร้อน อนั ตราย สีส้ม ใหค้ วามร้สู ึกสวา่ ง อบอุ่น สเี ลือดหมู ใหค้ วามรู้สกึ สงา่ หนกั แนน่ สนี า้ ตาล ใหค้ วามรสู้ ึกเกา่ แกถ่ อ่ มตน สเี หลอื ง ให้ความรู้สึกสดใส งอกงาม สีนา้ เงนิ ให้ความรสู้ กึ สงบ จรงิ จงั สีมว่ ง ใหค้ วามรู้สกึ หนักแน่น มีเลศนยั สีด้า ใหค้ วามร้สู กึ หดหู่ เศร้า สีขาว ใหค้ วามรสู้ กึ บริสุทธิ์ สะอาด

2.2.7. ลกั ษณะพนื ผวิ (Texture) ลักษณะพืน้ ผวิ หมายถงึ ความรสู้ ึกในการจาแนกความเรียบ หรอื ความขรขุ ระของผิววตั ถุจากการสัมผสั ทางสายตา ลกั ษณะพื้นผิวที่มีความแตกตา่ งกนั ย่อมเรา้ ให้ผู้ดเู กดิ ความ สนใจ ความแปลกตา ไม่น่าเบอื่ หน่าย เช่น ผนังอาคารทม่ี ลี ักษณะเรียบยอ่ มไม่สรา้ งความนา่ สนใจแก่ผู้ดูแต่ สถาปนิกออกแบบโดยใชพ้ น้ื ผวิ ที่มคี วามแตกต่างกนั เช่น การใชห้ ินล้าง หนิ ขดั การประดบั หินกาบบนผนงั การ ใชผ้ วิ คอนกรตี เปลอื ย ยอ่ มสร้างความนา่ สนใจให้แก่ผดู้ ูได้ดีกว่า

ตวั อยา่ งรูปภาพของจดุ

ตวั อยา่ งของเสน้

ตวั อย่างรปู ร่างและรูปทรง

ตวั อยา่ งแสงและเงา

หลกั การจัดวางสว่ นประกอบในการออกแบบ  การเน้นจดุ แห่งความสนใจ(Emphasis) การสรา้ งจดุ แห่งความสนใจให้เกิดข้ึนในงานออกแบบ โดยการกาหนดบริเวณใดบรเิ วณหนึ่งในภาพทีเ่ หมาะสม ให้มีลกั ษณะพเิ ศษกว่าบริเวณอน่ื เพอ่ื ใช้เปน็ เครอ่ื งดงึ ดดู ความสนใจแกผ่ ดู้ ูงานออกแบบท่ีขาดการน้นั จะไม่สามารถหยดุ ผู้ดูให้มคี วามสนใจต่องาน ออกแบบได้ การเน้นจดุ แห่งความสนใจสามารถกระทาไดห้ ลายลกั ษณะดังนี้ (1) การเน้นโดยการตดั กัน หมายถึงการทาให้ส่วนประกอบจานวนหนึง่ ท่ีมีความแตกตา่ งไปจาก สว่ นประกอบอ่ืน เชน่ เนน้ ด้วยขนาด เนน้ ด้วยรปู ร่าง เนน้ ด้วยสีเน้อด้วยนา้ หนักเนน้ ด้วยพนื้ ผิว (2) การเนน้ โดยการแยกตวั ประกอบออกไป หมายถงึ การเนน้ โดยให้ส่วนประกอบบางสว่ นแยกตวั ออกมาตา่ งหากการเน้นดว้ ยวิธีน้เี ปน็ การเน้นดว้ ยการนารปู รา่ ง หรอื รปู ทรงส่วนใหญอ่ ยู่ร่วมกนั เปน็ กลมุ่ ในสว่ นหน่งึ ของพื้นทร่ี ูปรา่ ง หรือรปู ทรงท่แี ยกตัวออกมาจะกลายเป็นจดุ เดน่ (3) การเน้นโดยการจดั วางตาแหนง่ หมายถงึ การเน้นโดยผอู้ อกแบบจัดวางสว่ นประกอบในตาแหนง่ ที่ เหมาะสม ไมใ่ ช่เป็นการตัดกนั ด้วยรปู รา่ งต่าง ๆ แตอ่ าจใชเ้ สน้ สี รูปร่าง รปู ทรง ฯลฯ นามาจัดวางเนน้ ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งท่ีน่าสนใจ

 ความสมดุล(Balance)ความสมดลุ เปน็ การกาหนดและจัดวางองค์ประกอบมูลฐานใหน้ า้ หนักและขนาด ในสัดส่วนที่เท่า ๆ กันทั้งสองข้าง งานออกแบบทขี่ าดความสมดลุ จะกอ่ ให้เกิดความรสู้ ึกวา่ ภาพน้นั เอียง ได้ซ่ึงการสร้างความสมดุลใหเ้ กิดขน้ึ ในงานออกแบบ สามารถทาได้ 3 แบบ ไดแก่ (1) สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Or Balance) หมายถึง การจดั วางภาพโดยวางองค์ประกอบให้ ซีกซา้ ยและซกี ขวามีลกั ษณะเหมอื นกันทุกประการ (2) สมดลุ แบบอสมมาตร (Asymmetrical Or Formal Balance) เปน็ การจดั องค์ประกอบเพ่อื ให้ผดู้ เู กิด ความรู้สึกว่าองคป์ ระกอบในซีกซ้ายและซกี ขวามีปรมิ าณท่ีเทา่ ๆ (3) สมดลุ แบบรัศมี (Radical) เป็นการจัดวางองค์ประกอบให้มกี ารกระจายหรือการรวมตวั ท่จี ุดศูนย์กลาง นิยมใชใ้ นการออกแบบลวดลายต่าง ๆ  ความมเี อกภาพ (Unity)การจดั วางองคป์ ระกอบใหม้ ีการรวมตวั เป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั โดยไมแ่ ตกแยก กระจดั กระจาย งานออกแบบทีข่ าดเอกภาพจะทาใหผ้ ู้ดเู กดิ ความร้สู กึ แตกแยกและไม่น่าสนใจการสรา้ ง เอกภาพให้เกดิ ข้นึ กบั งานออกแบบสามารถท่ีจะทาได้หลายวิธี ดงั น้ี (1) การนารปู ร่าง รปู ทรง มาวงซ้อนทบั เก่ยี วเนอ่ื งกัน การซ้อนทับกัน ย่อมสร้างความเป็นอันหนงึ่ อันเดียวกนั ให้เกิดขน้ ในภาพได้ (2) การใช้รปู ร่าง รปู ทรง ท่ีมีความกลมกลืนกันแม้วา่ ตัวภาพมลี ักษณะท่ีแตกต่างกนั แตถ่ ้าตอ้ งการออกแบบให้ เกิดเอกภาพอาจใช้พืน้ รองรบั ภาพที่เหมอื นกันจะทาใหเ้ กดิ เอกภาพ

(3) การใช้พืน้ รองรับภาพในลกั ษณะเดยี วกนั แม้ว่าตวั ภาพจะมีลกั ษณะท่ีแตกตา่ งกนั แตถ่ ้าต้องการ ออกแบบให้เกิดเอกภาพอาจใช้พืน้ รองรับภาพที่เหมือนกนั จะทาให้เกิดเอกภาพได้ (4) การใช้เส้นชกั นาสายตาสจู่ ดุ เดียวกนั ลกั ษณะของเส้นชกั นาสายตา รวมที่สจู่ ดุ เดียวกนั ย่อมทาให้ผ้ดู ู รู้สกึ วา่ มีความเป็นอนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั หรือเกิดภาพพจน์ (5) การใช้เส้นโยงเพื่อทาให้เกิดเอกภาพ องค์ประกอบซงึ่ วางอย่โู ดยกระจดั กระจาย ผ้อู อกแบบ สามารถ ทา ให้เกิดการรวมตวั ได้โดยการใช้เส้นโยงเพื่อให้เป็นอนั หนง่ึ อนั เดียวกนั (6) การใช้สวี รรณะเดียวกนั เพ่ือทาให้เกิดเอกภาพ แม้วา่ งานออกแบบจะ มีการใช้รูปร่าง ที่ไม่กลมกลนื กนั แตถ่ ้าผ้อู อกแบบใช้โครงสีที่เป็นวรรณะเดียวกนั ในพืน้ ที่สว่ นใหญ่ของ ภาพก็จะช่วยให้งาน ออกแบบ นนั้ เกิดเอกภาพได้  จังหวะ (Rhythm) ลกั ษณะของจงั หวะในการจดั ภาพ ได้แก่ การวางองค์ประกอบมลู ฐาน ให้มีระยะ ตาแหน่งขององค์ประกอบเป็นชว่ ง ๆ ซงึ่ จะก่อให้เกิดความรู้สกึ เคลื่อนไหวตอ่ เนื่องและความมีทิศทาง แก่ผ้ดู จู งั หวะในการออกแบบ แบง่ ได้เป็น 3 ลกั ษณะได้แก่จงั หวะชนิดช้า จงั หวะชนิดชว่ งระยะที่เป็น แบบแผนคงท่ี และจงั หวะชนิดช่วงระยะไม่คงท่ี

 ความกลมกลืน (Harmony)ความกลมกลนื เปน็ การจัดวางองค์ประกอบ ทางศลิ ปะซ่งึ มคี ณุ สมบัติ ใกลเ้ คยี งกันเข้าไว้ด้วยกันอยา่ งพอเหมาะทาให้งานออกแบบน้ัน เกดิ ความประสานกลมกลนื มีความเป็น ระเบยี บ และนาไปสู่ความมีเอกภาพ  ความขดั แย้ง (Contrast)ความขดั แยง้ เป็นการจดั วางสว่ นประกอบมลู ฐานของการออกแบบ ไมใ่ ห้ ซา้ ซากกนั เช่น มรี ปู ร่าง สี ที่แตกต่างกัน ซงึ่ ความขัดแย้งจะตรงขา้ มกบั ความกลมกลนื และมคี ุณค่าใน งาน ออกแบบของศลิ ปะและสง่ิ พิมพ์  ความเรียบงา่ ย (Simplicity)การวางองค์ประกอบในการจัดภาพ ควรเนน้ ท่ีความเรยี บง่าย ไม่รกรงุ รัง พบวา่ มคี วามแตกต่างของงานออกแบบในสมยั โบราณกบั งานออกแบบสมยั ใหม่ หลกั การออกแบบที่ดี (1) ควรจะเป็นการออกแบบทีม่ ลี กั ษณะเหมาะสมตรงกบั ความมงุ่ หมายตามประโยชน์ใชส้ อย มีความ กลมกลนื ตามหลกั เกณฑ์ความงามของสังคม และความสามารถปรบั ปรุงเปล่ยี นแปลงได้ (2) ควรเปน็ การออกแบบทม่ี ลี ักษณะงา่ ย มจี านวนผลติ ผลตามความต้องการของสังคมและ มีกระบวนการ ผลติ ไมย่ ุ่งยากสลบั ซบั ซ้อน (3) ควรจะมีสัดสว่ นทีด่ ีมีความกลมกลืนกันท้งั ส่วนรวม

(๔). ควรมคี วามเหมาะสมกับวัสดแุ ละวิธกี าร มคี ุณภาพ มวี ธิ ีการใช้ง่ายสะดวก (๕). ควรมีลกั ษณะของการตกแตง่ อย่างพอดี ไมร่ กรุงรงั (๖). ควรมีโครงสร้างที่เหมาะสมกลมกลนื กบั วฒั นธรรม และความตอ้ งการของสังคม (๗). ไมค่ วรส้นิ เปลอื งเวลามากนกั หนา้ ที่และประโยชน์ของการออกแบบด้วยเทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ช่วยในการออกแบบมีหน้าท่สี าคัญ 2 ประการ ประการแรกคือ อานวยความสะดวก ในการเขยี นแบบ (drafting) ของชิน้ งานที่ตอ้ งการบนจอภาพ การใช้คอมพวิ เตอร์ในการออกแบบ จะตดั ความยงุ่ ยากในการเขียนแบบบนกระดาษดว้ ยมือ หน้าทีส่ าคัญประการท่ี 2ของคอมพวิ เตอรใ์ นงานออกแบบไดแ้ ก่ การจาลอง (simulation) สภาพการทางาน จรงิ ของช้นิ งานทไ่ี ด้ออกแบบไว้ในสภาวะตา่ ง ๆ เพือ่ ศึกษารายละเอียดของช้นิ งาน และวเิ คราะหห์ า ประสทิ ธิภาพและคุณภาพของชิ้นงานนน้ั โดยทีผ่ ู้ออกแบบไมจ่ า เปน็ ตอ้ งสร้างชิ้นงานต้นแบบ (prototype) ขึน้ มาทดลองจริง ๆนอกจากน้ันคอมพวิ เตอรย์ ังช่วยประหยัดเวลาในการคานวณคา่ ต่าง ๆ ทต่ี ้องการได้ดว้ ย

ประโยชน์ของการใช้คอมพวิ เตอร์ช่วยในการออกแบบสรุปได้เป็น 4 ประการสา้ คัญ ดงั นี 1. เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการออกแบบ ในการเขียนแบบ คอมพวิ เตอร์สามารถช่วยผ้ใู ชว้ าดรูปตา่ ง ๆ บนจอภาพไดอ้ ย่างรวดเร็ว และง่ายดาย ผู้ใช้ทไี่ ม่มฝี ี มือในดา้ นการเขียนแบบกส็ ามารถวาดแบบท่ีตอ้ งการได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และไดม้ าตรฐาน โดย อาศัยคอมพิวเตอร์ช่วยโดยผ้ใู ชเ้ พยี งแต่บอกลกั ษณะรปู รา่ งของชน้ิ งานให้อย่ใู นรูปของข้อมลู ตา่ ง ๆ ใหก้ บั คอมพวิ เตอร์ก็จะไดภ้ าพช้ินงานนน้ั ปรากฏบนจอภาพของคอมพวิ เตอร์ได้ตัวอย่าง เช่น ในการ เขยี นแบบอาคาร 2. เพม่ิ คณุ ภาพของงานออกแบบ การทีค่ อมพวิ เตอรส์ ามารถรับภาวะทางด้านการคานวณตวั เลขต่าง ๆ การแสดงผล และการเขยี นแบบ ไปจากผ้อู อกแบบได้ ทาใหผ้ ู้ออกแบบสามารถใชส้ มองและความสามารถของตนเองทางาน ในสว่ นท่ี สาคญั อ่ืน ๆเชน่ ความปลอดภยั ความสวยงาม ผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ ม เนอ่ื งจากมนษุ ยย์ ังต้องเปน็ ผู้กาหนดตดั สินใจเลอื กแบบและเปลยี่ นแปลงแกไ้ ขแบบใหก้ ับคอมพิวเตอร์

3. ลดต้นทนุ การออกแบบและการผลิต การออกแบบโดยใชค้ อมพวิ เตอร์ชว่ ยเป็นการออกแบบที่ไม่สนิ้ เปลืองทั้งวัสดุและเวลา เพราะ คอมพิวเตอร์ สามารถจาลองการทางาน หรือวเิ คราะหง์ านออกแบบให้ได้ดว้ ยผอู้ อกแบบไม่ต้องสร้างชนิ้ งานตน้ แบบขน้ึ มา ทดสอบจรงิ ๆ ในกรณีท่งี านออกแบบมีคณุ ภาพไมต่ รงกบั ความประสงคข์ องผใู้ ช้ 4. เปน็ แหล่งรวบรวมขอ้ มูลตา่ งๆในการออกแบบ ตามปกติงานออกแบบโดยท่วั ไป เม่ือทาเสรจ็ แลว้ เรายังสามารถนา ข้อมลู มาใชใ้ นการออกแบบ ครัง้ ต่อไปไดค้ วามต้องการ หรอื ความสนใจของสงั คมมนษุ ยม์ ักจะเปล่ยี นไปตามกาลเวลา และเทคโนโลยี เปน็ ไปไม่ได้ทเ่ี ราจะออกแบบเพียงคร้งั เดยี วแลว้ ไดช้ ้นิ งานทีด่ ีและเหมาะสมทีส่ ดุ ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=11&chap=5&page=t11-5- infodetail02.html

จบการน้าเสนอ

จัดท้าโดย นางสาวศศิประภา ใจน้อย เลขท๒่ี ๐ ปวส.๒ สาขาวิชาการจดั การสา้ นกั งาน ครผู ้สู อน ครูอรนิ ทยา ใจเอ รหสั วิชา ๓๐๒๑๖ – ๒๐๐๕ วชิ าการผลิตเอกสารเพอื่ งานสา้ นกั งาน วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook