Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e book 2

e book 2

Published by chantree1417, 2020-02-12 04:51:55

Description: e book 2

Search

Read the Text Version

ก แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลสวนสม้ **************************** เพือ่ ให้การส่งเสริมการจัดการศึกษาบรรลเุ ปา้ ประสงคต์ ามยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนินงานสำนักงาน กศน.และของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบ้านแพว้ จึงได้จัดทำแผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลสวนสม้ ซึง่ ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ตำบล ขอ้ มลู พืน้ ฐานเพอื่ การวางแผนทิศทางการดำเนินงานและรายละเอียดแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของกศน.ตำบลสวนส้มซงึ่ ทางคณะกรรมการ กศน.ตำบลสวนส้ม ได้พจิ ารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลสวนส้มและให้นำแผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังกล่าว ใช้เป็นกรอบในการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบลสวนสม้ ตอ่ ไป ท้ังนี้ ตง้ั แต่ เดือน ตลุ าคม 2562 ลงชือ่ ..........................................ผเู้ สนอ ( นายชาครติ จนั ทร์ตร)ี ครู กศน.ตำบล ลงชอ่ื ...........................................ผู้เห็นชอบ () ประธานคณะกรรมการ กศน.ตำบล ลงชือ่ ...........................................ผ้อู นุมัติ (นางวรภร ประสมศร)ี รองผู้อำนวยการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั สมทุ รสาคร รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบา้ นแพว้

ข คำนำ แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลสวนส้ม จัดทำขนึ้ เพอ่ื เปน็ แนวทางใน การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึดแนวทางตาม ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั จงั หวัดสมุทรสาคร และยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อำเภอบ้านแพ้ว ตลอดจนบรบิ ท ความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายในพนื้ ทเี่ พอื่ กำหนดเปน็ แนวปฏิบตั ิ และแนวทางในการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลสวนส้มให้เปน็ ไปตามเป้าหมายทีต่ ั้งไวอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การจดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลสวนสม้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เลม่ นี้ ประกอบด้วย 1) ข้อมลู พน้ื ฐานของ กศน.ตำบล 2) ข้อมลู พื้นฐานเพ่อื การวางแผน 3) ทิศ ทางการดำเนินงาน และ 4) รายละเอยี ดแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ................... กศน.ตำบลสวนส้มขอขอบคณุ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบ้านแพว้ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา ครอู าสาสมคั ร กศน. เครอื ข่าย และผเู้ ก่ยี วข้องทุกทา่ นท่ีใหค้ วามรว่ มมือเป็นอย่างดยี ิ่ง ทำให้ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เลม่ น้ี สำเรจ็ ลุลว่ งดว้ ยดี และหวังเปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ กศน.ตำบล สวนส้มจะนำสภาพปญั หาและผลการดำเนินงานมาปรับปรงุ เพือ่ เพิ่มประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพอื่ สนองตอบความต้องการของประชาชนในพ้นื ทีอ่ ย่างแท้จริง กศน.ตำบลสวนสม้ ตลุ าคม 2562 ผู้จดั ทำ

ค สารบัญ แผนปฏิบตั ิการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 .........................................................................ก กศน.ตาบลสวนสม้ ...................................................................................................................................ก คานา ...........................................................................................................................ข สารบญั ...........................................................................................................................................................ค ส่วนท่ี 1 .........................................................................................................................................................1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานของ กศน.ตาบลสวนสม้ ...............................................................................1 ส่วนท่ี 2 .........................................................................................................................................................6 ขอ้ มูลพ้นื ฐานเพือ่ การวางแผน...................................................................................................6 ส่วนท่ี 3 ......................................................................................................................................................12 ทิศทางการดาเนินงาน................................................................................................................. 12 นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงานสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ..............................................12 ส่วนท่ี 4 ......................................................................................................................................................23 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ..............................................................................................23 โครงการตามแผนปฏิบตั ิการ...................................................................................................46 ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563..........................................................................................................46

ง สารบญั ตาราง ข้อมูลด้านประชากร ..................................................................................................................................7 ตารางที่ 1 จานวนประชากรจาแนกตามเพศและเขตพ้ืนท่ี กศน.ตาบลสวนส้ม.............7 ตารางท่ี 2 จานวนประชากรจาแนกตามช่วงอายุ........................................................................7

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐานของ กศน.ตำบลสวนสม้ ความเปน็ มา เดมิ ทีศ่ นู ย์การเรียนชุมชนตำบลสวนสม้ ต้ังอยู่บนวัดสวนสม้ แต่เนอ่ื งจากศนู ย์การเรียนมจี ำนวน นกั ศึกษาเพิม่ มากขน้ึ และสถานท่เี ดมิ ศนู ย์การเรยี นเปน็ อาคารที่ไมส่ ะดวกและคบั แคบ ในการจดั กระบวนการ เรียนการสอน ประกอบกับสถานที่ใหม่ ทที่ ำการ อบต สวนส้ม)โดยมี นายยก อบต สวนสม้ ได้อนุเคราะห์ สถานท่ีให้ เหมาะกับการจัดกระบวนการเรยี นการสอน ศนู ย์การเรยี นชุมชนตำบลสวนส้มจึงได้ย้ายจากสถานที่ เดิมมาอย่ใู นอบต ตำบลสวนส้ม ต่อมาไดม้ ีนโยบายใหม้ ีการเปดิ กศน.ตำบลซง่ึ กศน.ตำบลจะตอ้ งมีที่อยู่เปน็ เอกเทศ ทางศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตมอธั ยาศยั อำเภอบ้านแพ้ว จึงได้มีการตดิ ต่อประสารงาน กบั กลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนหมู่ 8 เพ่ือขอใช้ อาคารหน้า อบต สวนส้ม เปน็ ทท่ี ำการเรยี นการสอน และกไ็ ด้รบั ความ อนเุ คราะห์เป็นอย่างดี จากนน้ั มา กศน.ตำบลสวนสม้ จึง ได้อยทู่ อี่ าคารหน้ารพี อบต สวนส้ม จนถึงปัจจุบัน “ศนู ย์การเรียนชมุ ชนตำบลสวนส้ม”ไดเ้ ปล่ยี นมาใชช้ อื่ “กศน.ตำบลสวนส้ม” และทำพธิ เี ปดิ เม่อื วนั ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ทต่ี ้งั กศน.ตำบลสวนส้ม ตั้งอยู่เลขที่ 111 หมู่ที่ 2 ตำบลสวนส้ม อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร อยู่ ทางทิศตะวนั ออกของอำเภอบ้านแพ้ว โดยมีระยะห่างจากอำเภอประมาณ 8.4 กิโลเมตร หมายเลขโทรศพั ท์ 097-2435695 หมายเลขโทรสาร - E-Mail [email protected] Website http:// www.facebook.com/กศนตำบลสวนส้ม-อำเภอ บทบาทหนา้ ท่ภี ารกจิ กศน.ตำบล กศน.ตำบล มบี ทบาทภารกิจทส่ี อดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาล และบรบิ ทของพ้นื ท่ี ตลอดจนรองรับ

2 การเป็นประชาคมอาเซียน ภายใตก้ ารขบั เคล่อื นการดำเนินงาน 4 ศนู ย์ 1) ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล เป็นศูนย์กลาง การส่งเสริม จัดกระบวนการเรียนรู้ และหน่วยประสานงานแหล่งเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายใน ชุมชน ดำเนินงานรว่ มกบั กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) 2) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจำ ตำบล เพื่อสร้างการเรียนรู้และความเข้าใจที่ ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ พระประมุข โดยเฉพาะสิทธิ และหน้าท่ี ในระบอบประชาธปิ ไตย บูรณาการความร่วมมือกับคณะกรรมการการเลอื กตัง้ (กกต.) และ ภาคประชาสังคม 3) ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ซึ่งบริหารจัดการฐานข้อมูลที่จำเป็นสำหรับ กศน. และชุมชน เพื่อให้มี ความรู้และ รบั รู้ทเี่ ทา่ ทนั ปรับตัวให้สอดคลอ้ งกับการเปลย่ี นแปลงของสังคมโลกยคุ ดิจทิ ลั 4) ศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบ บ การศึกษานอกระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพที่สอดคล้องกับนโยบายทางการ ศึกษา โดยยึดชุมชนเป็นฐานในการดำเนินงาน โดย กศน.ตำบล มีบทบาทเป็นผู้ประสานงานและอำนวยความ สะดวก คณะกรรมการ กศน.ตำบล รปู ถ่าย ชอ่ื – สกลุ บทบาท นายประยงค์ นอบน้อม ประธานกรรมการ นายสุรชัย ฮวดเจรญิ กรรมการ นายจำลอง นักการเขียน กรรมการ นายชัยวตั ร สขุ ชยั ศรี กรรมการ

3 นายวรณัน น้ำสวุ รรณ กรรมการ นายสทิ ธโิ ชค นอบน้อม กรรมการ นางกานดา จันทะพุก กรรมการ นายเกษตร จเู จริญ กรรมการและเลขานกุ าร นายชาคริต จนั ทร์ตรี กรรมการและเลขานกุ าร

4 อาสาสมคั รส่งเสริมการอา่ น ช่อื – สกุล บทบาท อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น รปู ถา่ ย นางพนอ ใสนยิ ม นางสาว กนกวรรณ ประสงค์สุข อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน บุคลากรใน กศน.ตำบล ครกู ศน.ตำบลสวนส้ม บทบาท ชอ่ื – สกุล ประธานองค์กรนกั ศกึ ษา 1. นายชาครติ จนั ทรต์ รี องคก์ รนกั ศกึ ษา รปู ถ่าย นายสทุ ธศิ กั ด์ิ ท้าวสมบรู ณื นายเจริญรตั น์ ทองประเสรฐิ รองประธาน นายสุภาพร ชมุ ทอง กรรมการ

5 ทำเนียบครู กศน.ตำบล ลำดบั ที่ ชอ่ื – สกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาที่ดำรง ครูกศน.ตำบลสวนส้ม ตำแหน่ง 1 นายชาคริต จนั ทรต์ รี 8 ปี แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน และทุนด้านงบประมาณทีส่ ามารถนำมาใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือการจัด การศึกษา ประเภทบคุ คล ประเภทสถานที่และองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทาง สงั คม-วัฒนธรรมและต้นทนุ งบประมาณ 1. แหลง่ เรยี นรู้ประเภทบคุ คล ไดแ้ ก่ ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ความรูค้ วามสามารถ ท่ีอยู่ นายสวุ รรณ เกษมปาน เกษตรผสมผสาน 78 หมู่ท่ี 5 ตำบลสวนสม้ นางสาวสภุ คั ษร ฮวดเจรญิ เกษตรกจิ พอเพียง 23 ม.1 ตำบลสวนส้ม 2. แหล่งเรียนรปู้ ระเภทสถานท/่ี ชุมชน/กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ /สงั คม ไดแ้ ก่ ชื่อแหลง่ เรยี นรู้ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ทตี่ ้งั กศน.ตำบลสวนส้ม ดา้ นการศึกษา หมู่ 2 ตำบลสวนส้ม วัดสวนส้ม ดา้ นศาสนาและวัฒนธรรม หมู่ท่ี 2 ตำบลสวนสม้ วัดเทพรตั นาราม ด้านศาสนาและวฒั นธรรม หมทู่ ่ี 1 ตำบลสวนส้ม โรงเรียนสวนสม้ ด้านการศกึ ษา หมทู่ ี่ 2 ตำบลสวนสม้ โรงเรยี นบา้ นคลองดำเนนิ สะดวก ด้านการศึกษา หมู่ 2 ตำบลสวนสม้ วัดศรสี ินมา ดา้ นประเพณีและวัฒนธรรม หมู่ 4 ตำบลสวนส้ม กลมุ่ อนิ ทรีชวี ภัณฑ์ ด้านการเกษตร หมู่ 5 ตำบลสวนส้ม ศนู ยจ์ ัดการศัตรูพืชชมุ ชนตำบล ด้านการเกษตร หมู่ 1 ตำบลสวนส้ม 3. แหลง่ สนบั สนุน ทนุ /งบประมาณ ประเภทองค์กร ไดแ้ ก่ ภาคีเครือขา่ ย การสนับสนนุ ทอี่ ยู/่ ทต่ี ั้ง หม่ทู ี่ 111 ม.2 ตำบลสวนสม้ 1. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลสวนสม้ งบประมาณ

ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู พืน้ ฐานเพื่อการวางแผน สภาพท่วั ไปตำบลสวนส้ม ลักษณะทางภมู ศิ าสตร์ • ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กบั ตำบลคลองตนั ,หลกั สอง อำเภอบำ้ นแพว้ • ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั ตำบลอำแพง อำเภอบำ้ นแพว้ • ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั ตำบลท่ำเสำ,บำงยำง อำเภอกระทมุ่ แบน • ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั ตำบลหลกั สำม อำเภอบำ้ นแพว้ กศน.ตำบลสวนสม้ หมทู่ ี่ 2 ตำบลสวนสม้ อำเภอบ้านแพว้ จงั หวัดสมุทรสาคร

7 ข้อมูลด้านประชากร ตารางท่ี 1 จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพื้นที่ กศน.ตำบลสวนส้ม หมู่ท่ี ช่อื หมบู่ า้ น จำนวนพ้ืนท่ี จำนวนประชากร ไร่ ตร./กม. ครวั เรอื น ชาย หญิง รวม เฉล่ยี คน/ตร.กม. 1 บา้ นดอนกระทอื 1,641 2.63 331 470 481 951 362 2 บ้านหลักหนงึ่ 1,966 3.15 261 547 538 1,085 344 3 บา้ นสวนสม้ 2,096 3.35 164 317 350 667 199 4 บา้ นสวนสม้ 1,287 2.06 219 457 532 989 480 5 บ้านคลองสำโรง 5,204 8.32 359 718 720 1,438 173 รวม 12,194 19.51 1,334 2,509 2,621 5,130 262.94 ตำบลสวนส้ม มีครัวเรือนอาศัยอยู่ จำนวน 1,334 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นที่การปกครององค์การ บริหารส่วนตำบลสวนวส้ม ทั้งหมดมีประชากรทั้งสิ้น คนแยกเป็นประชากรชาย จำนวน 2,509 คนคิดเป็น ร้อยละ 48 และประชากรหญงิ จำนวน 2,621 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 52 ความหนาแนน่ เฉลี่ย คน/ตารางกิโลเมตร ตารางที่ 2 จำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ ช่วงอายุ (ปี) จำนวน (คน) ร้อยละของประชากรทง้ั หมด (คน) น้อยกว่า 1 ปีเตม็ 2 0.04 1 - 2 ปี 45 0.90 3 - 5 ปี 98 1.95 6 - 11 ปี 200 3.98 12 - 14 ปี 102 2.03 15 - 17 ปี 113 2.25 18 - 25 ปี 451 8.97 26 - 49 ปี 1,894 37.68 50 - 60 ปี 924 18.38 มากกว่า 60 ปี ขึน้ ไป 1,197 23.82 รวม 5,026 100

8 จากตารางจำนวนประชากรจำแนกตามชว่ งอายุ พบว่า ประชากรส่วนใหญ่ อยใู่ นชว่ งอายุ 26-49 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.68 รองลงมาคอื อายุมากกว่า 60 ปี ข้นึ ไป คดิ เป็นร้อยละ 23.82 รองลงมาคือ อายุ 50 - 60 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 18.38 รองลงมาคอื อายุ 18 - 25 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.97 รองลงมาคอื อายุ 6 - 11 ปี คดิ เป็นร้อยละ 3.98 รองลงมาคือ อายุ 15 - 17 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 2.25 รองลงมาคอื อายุ 12 - 14 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.03 รองลงมาคือ อายุ 3 - 5 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.95 รองลงมาคอื อายุ 1-2ปี และ อายุ น้อยกวา่ 1 ปีเตม็ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.04 ตามลำดับ ขอ้ มลู ดา้ นสังคม ประชาชนตำบลสวนส้ม ส่วนใหญ่จบการศึกษาตามที่ภาครัฐกำหนดมีระบบการบริการด้าน สาธารณสุขมูลฐาน อย่างเพียงพอและทั่วถึง ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและดูแลสุขภาพของ ตนเอง ในชมุ ชนบางแห่งมีปัญหาดา้ นยาเสพตดิ แต่ในอตั ราส่วนต่อจำนวนประชาชนทีไ่ มม่ ากนัก ข้อมูลด้านเศรษฐกจิ ลักษณะเศรษฐกจิ อาชีพหลักของประชาชนในท้องถิ่นคือการทําการเกษตรสวนผลไม้ และการทําประมง น้ำจืด นอกจากนั้นประชาชนบางส่วนยังประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปและเป็นแรงงานภาค อุตสาหกรรมในเขตท้องท่ี ใกล้เคียง โครงสร้างทางเศรษฐกิจ/รายได้ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม เช่น สวนมะม่วง,สวน ฝรั่ง,มะนาว,สวนลําใย,สวนกล้วย,สวนมะละกอ, ทําสวนองุ่น,สวนมะพร้าว,สวนกล้วยไม้,ปลูกพืชล้มลุกฯลฯ ร้อยละ60 และทําการเลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงกุ้งกุลาดํา,เลี้ยงกุ้งขาว, ปลานิล, ฯลฯ ร้อยละ10 มีอาชีพรับจ้าง ทงั้ ในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ร้อยละ30

9 การเกษตรกรรม มแี หล่งนำ้ จืดทอี่ ดุ มสมบูรณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู จงึ มกี ารทําสวนผัก ผลไม้เป็นจํานวนมาก โดยอาศัยแหล่งนำ้ จากคลองสาย (1) การเพาะปลกู อาชีพเพาะปลกู เป็นอาชีพหลกั ในรูปของการทําสวนผลไม้ เชน่ ,ฝรัง่ ,มะพร้าว น้ำหอม,มะม่วง,อง่นุ , มะนาว,ลําใย, และกลว้ ย ฯลฯ (2) การปศสุ ัตวแ์ ละการประมง ราษฎรบางส่วนประกอบอาชีพเล้ยี งสัตว์ เช่น การเลยี้ งปลา , การ เลย้ี งกุ้ง , ฯลฯ (3) ระบบการชลประทาน ในเขตตำบลสวนสม้ ได้รับประโยชนจ์ ากแหล่งนำ้ จืดตามธรรมชาติจาก คลองดําเนนิ สะดวก และคลองซอยเพ่อื ใชใ้ นการเกษตรการ การพาณชิ ยกรรม/การบรกิ ารผลผลติ ทางดา้ นการเกษตร สว่ นใหญ่จะมพี อ่ คา้ คนกลางมาซ้ือถึงแหลง่ ผลิตและมเี กษตรกรบางกลุม่ รวมตวั กัน นําผลผลิตทางการ เกษตรไปขายยังตลาดรบั ซื้อใหญ่ ๆ เช่น ตลาดไท ตลาดศรเี มืองตลาด สม่ี ุมเมือง ฯลฯ ผลผลิตทางดา้ น อตุ สาหกรรม สินค้าจะถูกสง่ เขา้ ตลาดโดยผู้ประกอบกิจการเอง และการประกอบธรุ กจิ การคา้ จะเป็นร้านค้า รายยอ่ ยและลานค้าชุมชน(ตลาดนัด) การทอ่ งเทย่ี ว เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นสวนเกษตรซึ่งประกอบด้วย สวนกล้วยไม้และสวนผลไม้ที่มีชื่อเสียง เช่น สวนกล้วยไม้ สวนมะนาว สวนมะพร้าวน้ำหอม สวนองุ่น สวนฝรั่ง ฯลฯ จึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะส่งเสริมให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตรท่ีสําคัญ โดยสามารถจัดกิจกรรม การท่องเท่ียวนั่งเรอื ชมสวนและวิถีชวี ิต ของประชาชนริมคลองดําเนินสะดวก สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ อีกหนึ่งแห่ง คือ พระพุทธรูปหลวง พ่อพุทธศิลา หลวงปู่สายเกจิอาจารย์เลือ่ งช่ือ (ไม่เน่า,ไม่เปื่อย) วัดสวนส้ม พระพุทธรูปนาคปรกั้งอยู่ริมน้ำ วัดสวนส้ม ประดิษฐานเป็นท่ีเคารพสักการะของประชาชน ในพน้ื ทตี่ าํ บลและพ้นื ทใ่ี กลเ้ คียงเชน่ กนั ลักษณะทรพั ยากร ทรพั ยากรนำ้ แหล่งนำ้ ที่ประชาชนใช้ประโยชนใ์ นการเกษตรและการคมนาคม มีท้ังแหลง่ นำ้ ธรรมชาติ และระบบชลประทาน แหลง่ นำ้ ใหญ่เป็นแหลง่ น้ำธรรมชาติจากคลองดําเนนิ สะดวกและคลองสวนนอกจากน้ี ยังมีคลองทร่ี าษฎรร่วมใจกันขดุ ขน้ึ เองอกี จํานวนหน่งึ เพอ่ื ใช้ในการเกษตรและการคมนาคมในหมู่บา้ น สภาพสงิ่ แวดล้อม คณุ ภาพของแหลง่ นำ้ แหล่งน้ำในลําคลองต่างๆ ไมม่ คี ณุ ภาพเนอ่ื งจากชาวสวนปลอ่ ยน้ำทีม่ ี สารเคมี จากสวนลงสลู่ ําคลอง จงึ ทาํ ให้คุณภาพของนำ้ ตกตำ่ กวา่ มาตรฐานไม่เหมาะท่ีจะนาํ มาใชใ้ นการ บริโภค

10 ลักษณะโครงสรา้ งพ้ืนฐาน การคมนาคม การคมนาคมและการขนส่ง ประชาชนสามารถใช้เสน้ ทางคมนาคมทั้ง ทางน้ำและทางบก ทางน้ำ มีคลองดําเนินสะดวกเป็นเส้นทางหลักในการสัญจร ซ่งึ ประชาชนโดยใช้เรอื เปน็ พาหนะ สามารถติดต่อถึงกนั ไดท้ ั่วถงึ และการคมนาคมทางบกมถี นนครอบคลุมเป็นโครงขา่ ยทวั่ พื้นทีส่ ามารถใช้รถยนต์ และ มรี ถโดยสารประจําทาง ดงั นน้ั การคมนาคมขนสง่ ในเขตเทศบาลมีความสะดวกมาก มถี นนท่ีสามารถใชไ้ ด้ สะดวกในทุกฤดูกาล มเี ส้นทางตดิ ตอ่ ระหว่างตําบลระหว่างตาํ บลหมู่บ้านอาํ เภอและจงั หวดั ใกลเ้ คียง การคมนาคมทางนำ้ 1. ท่าเรือโดยสารจากวดั สวนส้ม ถงึ ตลาดบา้ นแพว้ การคมนาคมทางบก 1. ทา่ รถเมล์โดยสารสายสวนสม้ – บา้ นแพว้ 2. ท่ารถเมล์โดยสารสายบ้านแพ้ว – กระทมุ่ แบน (ผา่ นวัดสวนส้ม) การไฟฟา้ การให้บริการไฟฟ้าดาํ เนินการโดยการไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าคอาํ เภอบา้ นแพ้ว และการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าค กระทุ่มแบนให้บริการไฟฟ้าครอบคลุมในตําบล และทางอบต.สวนสม้ ไดจ้ ัดสรรงบประมาณเปน็ ประจํา ทุกปี เพ่ือเปน็ ค่าใช้จ่าย ในการขยายเขตไฟฟา้ ด้านไฟฟ้าสาธารณะให้ความส่องสว่างเวลากลางคืน โดยได้ตดิ ตัง้ โคมไฟฟา้ ส่องสว่างตามเสน้ ทางคมนาคมทีม่ ีการสัญจรไปมาท้ังทางบกและทางน้ำ เพื่อให้เกิด ความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยส์ นิ ของประชาชน การประปา ราษฎรสว่ นใหญใ่ ชร้ ะบบประปาหมู่บ้าน ประเภทน้ำใต้ผิวดนิ โดยเจาะนำ้ บอ่ บาดาล พร้อมกอ่ สรา้ งหอ ถังเกบ็ นำ้ จ่ายนำ้ ไปทกุ ครวั เรือน โดยไดร้ ับงบประมาณในการจัดสรา้ งจากหลายหนว่ ยงาน เช่น กรมโยธาธิการ สาํ นักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท กรมอนามัยองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั สมุทรสาครและงบประมาณการ ก่อสรา้ งจากองค์การบริหารส่วนตำบลสวนส้มเป็นตน้ การสอื่ สารและการโทรคมนาคม ประชาชนในตำบลยกกระบัตรสามารถใช้โทรศัพท์สาธารณะในหมู่บ้าน โทรศัพท์ใน ครัวเรือน และโทรศัพท์มือถือ ในพ้ืนท่ีมีประชาชนอาศัยอยูอ่ ย่างหนาแน่น จะมีโทรศัพท์สาธารณะติดตั้ง อาํ นวยความสะดวก แก่ประชาชนรวมถงึ ตามสถานทีต่ ้ังของหน่วยงานราชการ ทา่ รถโดยสารและท่าเรือ โดยสารประจําทาง การส่ือสารผา่ นทางไปรษณีย์ ซึ่งสามารถเขา้ ถงึ ไดท้ ุกหมูบ่ ้าน และอบต.ตำบล สวนส้ม ไดจ้ ดั ใหม้ บี รกิ าร Internet ตาํ บล เพ่อื การคน้ หาขอ้ มลู สําหรบั ประชาชน จํานวน 1 แหง่ การสาธารณสขุ

11 รณรงคใ์ หค้ วามรูด้ ้านสาธารณสขุ การปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ โดยแมลงและพาหะนําโรค การ ป้องกนั การติดยาเสพตดิ และสารเสพติด การควบคมุ การประกอบการค้าท่ีน่ารังเกยี จ หรืออาจเปน็ อันตรายแก่สุขภาพ การปอ้ งกันและควบคุมแกไ้ ขเหตรุ าํ คาญและมลภาวะ ตลอดจนการสง่ เสรมิ สขุ ภาพการ รกั ษาพยาบาล และงานด้านสาธารณสุขอ่ืน ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องภายในเขตเทศบาลโดยกองสาธารณสขุ และ สิ่งแวดลอ้ ม นอกจากน้ียังมีสถานบรกิ ารของภาครฐั และเอกชน ที่สามารถให้การรักษาพยาบาลประชาชน ขอ้ มลู ด้านการศึกษา ตำบลสวนสม้ มีสถานศกึ ษารวมท้ังหมด 4 แหง่ ดังน้ี 1) โรงเรียนวดั สวนสม้ จำนวนนักเรียน...................คน 2) โรงเรยี นบา้ นดำเนนิ สะดวก จำนวนนกั เรียน...................คน 3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง จำนวนนักเรียน...................คน 4) กศน.ตำบล 1 แห่ง จำนวนนกั เรยี น 40 คน กศน.ตำบลสวนสม้ ในรอบปที ีผ่ า่ นมามจี ำนวนนกั ศกึ ษาทงั้ หมด 40 คน แยกตามระดบั ดังน้ี ภาคเรยี นที่ 2/2562 -ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน - คน -ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 19 คน -ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 21 คน ในการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 2/2561 มีนักศกึ ษาจำนวนที่ลงทะเบยี นเรียนทั้งหมด 40 คน มีนักศกึ ษาคงอยู่ จำนวน 35.คน มีผู้เขา้ สอบจำนวน 40 คน และมีผจู้ บหลกั สูตรทั้งหมด 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ............... แยกตามระดบั ดงั นี้ -ระดบั ประถมศึกษา จำนวน - คน จบหลกั สูตรจำนวน - คน -ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 19 คน จบหลกั สูตรจำนวน....-......คน -ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 21 คน จบหลกั สตู รจำนวน 4 คน ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนท่ี 2/2562 มีนักศึกษาจำนวนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด.40 คน มีนักศึกษาคงอยู่ จำนวน 40 คน มีผู้เข้าสอบจำนวน35 คน และมีผู้จบหลกั สตู รทั้งหมด 4 คน คดิ เป็นร้อยละ ................ แยกตามระดับ ดังน้ี -ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน. - คน จบหลกั สูตรจำนวน - คน -ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน........19..........คน จบหลกั สูตรจำนวน.....-.....คน -ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน. 21 .คน จบหลักสูตรจำนวน. 4 คน

ส่วนท่ี 3 ทิศทางการดำเนนิ งาน นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งานสำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1. ยทุ ธศาสตรด์ ้านความม่นั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความ ตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจในความเป็น คนไทยและชาติไทย น้อมนำและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทาง พระราชดำรติ ่างๆ 1.2 เสรมิ สร้างความรู้ความเขา้ ใจทถี่ ูกต้อง และการมสี ่วนร่วมอย่างถกู ตอ้ งกบั การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและ เคารพความหลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ทัง้ ยาเสพติด การคา้ มนุษย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ตั ใิ หม่ๆ 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา การพัฒนา ทักษะ การสร้างอาชีพ และการใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้ และพืน้ ทช่ี ายแดนอน่ื ๆ 1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมของประเทศพ้นื บา้ น ยอมรับ และเคารพในประเพณี วฒั นธรรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ และชาวตา่ งชาติท่ีมีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหสุ ังคม ที่อยรู่ ่วมกนั 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 2.1 เร่งปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อยกระดับทักษะด้านอาชีพของ ประชาชนให้เป็นอาชีพที่รองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S – curve และ New S - curve) โดยบุรณาการความร่วมมือในการพัฒนาและเสริมทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึง มุ่งเน้นสร้างโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานท้ัง ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพื้นที่เขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาค ตา่ งๆ ของประเทศ สำหรับพืน้ ท่ีปกติให้พัฒนาอาชพี ที่เนน้ การต่อยอดศักยภาพและตามบรบิ ทของพน้ื ที่

13 2.2 จัดการศึกษาเพื่อพฒั นาพ้นื ท่ภี าคตะวนั ออก ยกระดบั การศึกษาให้กับประชาชนใหจ้ บ การศกึ ษาอย่างน้อยการศกึ ษาภาคบังคับ สามารถนำคุณวฒุ ทิ ่ีได้รบั ไปตอ่ ยอดในการประกอบอาชีพ รวมทง้ั พัฒนาทกั ษะในการประกอบอาชพี ตามความตอ้ งการของประชาชน สรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนองตอ่ บรบิ ทของสังคมและชมุ ชน รวมท้งั รองรับการพัฒนาเขตพนื้ ทีร่ ะเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พฒั นาและส่งเสรมิ ประชาชนเพอ่ื ตอ่ ยอดการผลิตและจำหน่ายสนิ คา้ และผลติ ภณั ฑอ์ อนไลน์ 1) เร่งจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Brand กศน. เพื่อยกระดับคุณภาพของสินคา้ และผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการที่ครบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสร้างช่องทางจำหน่าย) รวมทง้ั ส่งเสรมิ การใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยใี นการเผยแพร่และจำหนา่ ยผลิตภัณฑ์ 2) พัฒนาและคดั เลือกสุดยอดสินคา้ และผลิตภัณฑ์ กศน. ในแตล่ ะจงั หวัด พร้อมทง้ั ประสานความ ร่วมมือกับสถานีบริการน้ำมันในการเป็นช่องทางการจำหน่ายสุดยอดสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ให้กว้างขวาง ยง่ิ ข้ึน 3. ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.1 พัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เชื่อมโยงความรู้ กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “มืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ สงั คมและเป็น “ผูอ้ ำนวยการเรยี นรู้” ที่สามารถบรหิ ารจัดการความรู้ กจิ กรรม และการเรียนรูท้ ี่ดี 1) เพิ่มอัตราข้าราชการครูให้กับ กศน. อำเภอทุกแห่ง โดยเร่งดำเนินการเรื่องการหาอัตรา ตำแหนง่ การสรรหา บรรจุ และแต่งตงั้ ขา้ ราชการครู 2) พัฒนาข้าราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลักสูตรทีเ่ ชื่อมโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตำบลให้สามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเนน้ เร่ืองการพัฒนา ทักษะการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรียนรู้ 4) พัฒนาศกึ ษานิเทศก์ ใหส้ ามารถปฏบิ ัตกิ ารนิเทศไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จาก ดิจิทลั และภาษาต่างประเทศท่จี ำเปน็ 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมใน การให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นที่การเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก มี บรรยากาศสวยงาม มชี ีวิต ท่ดี งึ ดูดความสนใจ และมคี วามปลอดภัยสำหรับผใู้ ช้บริการ 1) ยกระดบั กศน.ตำบลนำร่อง 928 แห่ง (อำเภอละ 1 แหง่ ) ใหเ้ ปน็ กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมยี่ ม ที่ประกอบด้วย ครูดี สถานที่ดี (ตามบริบทของพื้นที่) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรมการเรียนที่ดีมี ประโยชน์ 2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพื่อยกระดับการเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาค เป็นพื้นที่การ เรียนรู้ (Co – Learning Space) ที่ทันสมัยสำหรับทุกคน มีความพร้อมในการให้บริการต่างๆ อาทิ พื้นท่ี

14 สำหรับการทำงาน/การเรียนรู้ พื้นที่สำหรับกิจกรรมต่างๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมทั้งทำงานร่วมกับ ห้องสมดุ ประชาชนในการให้บริการในรูปแบบห้องสมดุ ดิจิทัล บรกิ ารอินเตอร์เนต็ สอ่ื มลั ติมีเดยี เพ่อื รองรบั การ เรียนรแู้ บบ Active Learning 3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Library โดยให้มีบริการ หนังสือในรูปแบบ e – Book บริการคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง รวมทั้ง Free Wi-fi เพื่อการ สืบคน้ ข้อมลู 3.3 สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ที่ทนั สมยั และมีประสิทธภิ าพ เอื้อต่อการเรยี นรูส้ ำหรบั ทุกคน สามารถ เรยี นไดท้ กุ ที่ทกุ ท่ที ุกเวลา มกี ิจกรรมทีห่ ลากหลาย นา่ สนใจ สนองความตอ้ งการของชมุ ชน เพอื่ พฒั นา ศกั ยภาพการเรยี นรู้ของประชาชน รวมทง้ั ใชป้ ระโยชนจ์ ากประชาชนในชมุ ชนในการร่วมจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพ่อื เช่อื มโยงความสัมพันธ์ของคนในชมุ ชนไปสู่การจัดการความรู้ของชมุ ชนอยา่ งย่ังยืน 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่างๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนบั สนุนให้มกี ารจดั กจิ กรรมเพ่อื ปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมให้กับบคุ ลากรในองคก์ ร 2) จัดให้มีหลักสูตรลูกเสือมัคคุเทศก์ โดยให้สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. จัดตั้งกองลูกเสือ ที่ ลูกเสือมีความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เป็นลูกเสือมัคคุเทศก์จังหวัดละ 1 กอง เพื่อส่งเสริมจิตอาสา พฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในแต่ละจงั หวัด 3.4 ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอยา่ งมคี ุณภาพ 1) เร่งจัดทำทำเนียบภูมิปัญญาในแต่ละตำบล เพื่อใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้าง การเรยี นรู้จากองคค์ วามรู้ในตัวบุคคลใหเ้ กิดการถ่ายทอดภูมิปญั ญา สร้างคณุ ค่าทางวฒั นธรรมอยา่ งยั่งยืน 2) สง่ เสริมภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ สูก่ ารเรยี นรูช้ มุ ชน 3) ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อการขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มอย่างกว้างขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่ม อสม. 3.5 พัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษาเพ่อื ประโยชน์ตอ่ การจัดการศึกษาและกลมุ่ เปา้ หมาย 1) พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนา ทักษะชวี ติ และทักษะอาชพี การศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการพัฒนาช่องทางการคา้ ออนไลน์ 2) ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏิบัตงิ าน การบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรยี นรู้ 3) ส่งเสรมิ ให้มกี ารใช้การวจิ ัยอยา่ งงา่ ยเพือ่ สรา้ งนวัตกรรมใหม่ 3.6 พัฒนาศกั ยภาพคนดา้ นทักษะและความเขา้ ใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Literacy)

15 1) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนา รปู แบบการเรียนการสอน 2) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและใช้ เทคโนโลยีดิจทิ ลั ท่ีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน รวมทัง้ สร้างรายไดใ้ ห้กับตนเองได้ 3.7 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็น รูปธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว รวมทั้งพัฒนาสื่อการ เรียนการสอนเพ่ือสง่ เสรมิ การใช้ภาษาเพ่อื การสอื่ สารและพัฒนาอาชพี 3.8 เตรียมความพรอ้ มการเข้าส่สู ังคมผูส้ ูงอายุทเ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงการเตรยี มพร้อมเขา้ สู่สังคม ผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รบั ผิดชอบผู้สงู อายใุ นครอบครัวและชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ วยั สงู อายทุ ่ีเหมาะสมและมีคณุ ภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “ Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรู้จักใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญา ของผู้สูงอายุ และให้มสี ่วนร่วมในกิจกรรมด้านตา่ งๆ ในชมุ ชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ในทกุ ระดบั 3.9 การส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชงิ รุก และเน้นให้ความรู้วิทยาศาสตรอ์ ย่างง่ายกับประชาชนในชุมชน ทง้ั วิทยาศาสตร์ในวิถชี วี ิต และวทิ ยาศาสตรใ์ นชีวิตประจำวัน 2) พัฒนาส่ือนิทรรศการและรปู แบบการจดั กิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์ใหม้ คี วามทันสมัย 3.10 สง่ เสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพน้ื ท่ีสงู ให้ สามารถฟงั พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพอื่ ประโยชนใ์ นการใชช้ วี ิตประจำวันได้ 4. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สำหรับทุกช่วงวัย ที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สามารถให้บริการ ประชาชนได้ทุกคน ทุกช่วงวัย ที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ในแต่ละวัย และเป็นศูนย์บริการความรู้ ศูนย์การจัดกิจกรรมที่ครอบคลุมทุกช่วงวัย เพื่อให้มีพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีความสุขกับการเรยี นรู้ตามความสนใจ

16 1) เรง่ ประสานงานกบั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือจัดทำฐานข้อมูลโรงเรียน ที่ถูกยบุ รวม หรอื คาดว่าน่าจะถกู ยุบรวม 2) ให้สำนักงาน กศน.จังหวัดทุกแห่งที่อยู่ในจังหวัดที่มีโรงเรียนที่ถูกยุบรวม ประสานขอใช้พื้นท่ี เพื่อจัดตัง้ ศนู ยก์ ารเรียนรู้สำหรบั ทกุ ช่วงวยั กศน. 4.2 ส่งเสริมและสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาและการเรียนร้สู ำหรับกล่มุ เปา้ หมายผู้พิการ 1) จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ และการศึกษาตาม อัธยาศัย โดยเนน้ รปู แบบการศึกษาออนไลน์ 2) ให้สำนักงาน กศน.จงั หวดั ทกุ แหง่ /กทม. ทำความร่วมมือกบั ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวดั ในการใช้สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ด้านการศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ สำหรบั กลุม่ เปา้ หมายผพู้ ิการ 4.3 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจำการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอ่ืนๆ อาทิ ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษาให้จบการศึกษานอก ระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สามารถนำความร้ทู ี่ไดร้ บั ไปพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง 4.4 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บริบทของพืน้ ที่ และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผ้รู บั บรกิ าร 5. ยุทธศาสตร์ด้านสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชน ในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัย ธรรมชาติและผลกระทบท่ีเกย่ี วข้องกบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกี่ยวกับการคัดแยกตั้งแต่ต้นทาง การกำจัดขยะ และการนำกลับมาใช้ซ้ำ เพื่อลดปริมาณและต้นทุนในการ จดั การขยะของเมอื ง และสามารถนำขยะกลับมาใชป้ ระโยชน์ไดโ้ ดยงา่ ย รวมท้งั การจดั การมลพษิ ในชุมชน 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากรท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม เช่น รณรงค์เร่ืองการลดการใช้ถงุ พลาสติก การประหยดั ไฟฟา้ เปน็ ต้น 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบ บรหิ ารจดั การบนข้อมลู และหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ม่งุ ผลสัมฤทธม์ิ คี วามโปรง่ ใส 6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและพัฒนางาน สามารถเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมทั้งพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ที่ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ที่ทำให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ และใหป้ ระชาชนกล่มุ เป้าหมายสามารถเข้าถงึ บรกิ ารไดอ้ ย่างทนั ที ทุกท่ที กุ เวลา

17 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน ตำแหน่ง ใหต้ รงกบั สายงาน ความชำนาญ และความต้องการของบคุ ลากร ทศิ ทางการดำเนนิ งานของ กศน.อำเภอบา้ นแพ้ว แนวทางการพฒั นา กศน.อำเภอ 1. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาเปน็ ผทู้ ี่มีความรคู้ วามสามารถในการปฏิบัตภิ ารกจิ และมีความมุ่งมั่นท่ีดีอยู่แล้ว ควรใช้ภาวะดังกล่าวเป็นฐานสำคัญในการพัฒนาทีมงานให้มีศักยภาพในการปฏิบัติภารกิจเป็นทีมงานคุณภาพ ให้ได้ต่อไป เช่น ส่งเสริมการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างครู กศน.ตำบลที่อยู่ติดกันเพื่อช่วยเหลือกันยามจำเป็น หากไม่สามารถปฏิบัติงานได้เพียงลำพัง รวมทั้งฝึกการปฏิบัติงานให้ทีมงานสามารถมองสภาพและทิศทางการ ปฏิบัติงานไดต้ ลอดแนวต้ังแต่เรม่ิ จนสิ้นสุด ดงั น้เี ป็นตน้ 2. สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายที่ดีอยู่แล้ว ควรส่งเสริมเครือข่ายให้มีความเข้มแข็งโดยการขยาย ฐานเครือข่ายออกไปสู่ชุมชนต่าง ๆ ให้แน่นหนายิ่งขึ้น เช่น การขยายฐานสมาชิกกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนต่าง ๆ ให้มากยิ่งขึ้นด้วยการชวนทำกิจกรรมสร้างคุณค่าต่อจิตในของผู้สูงอายุให้มากขึ้นและเด่นยิ่งขึ้น เป็นต้นทั้งน้ี ควรมีการดำเนนิ การให้แลว้ เสรจ็ ตามท่ีได้เสนอแนะไว้ ภายใน 2 ปีการศึกษา ปรชั ญา คิดเปน็ น้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอพยี ง วิสัยทศั น์ สถานศึกษาคณุ ภาพ สรา้ งการพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน บนพนื้ ฐานความพอเพยี ง อัตลกั ษณ์ ยิ้มทกั ทาย ไหว้เปน็ มติ ร มีจิตอาสา เอกลกั ษณ์ สถานศกึ ษาพอเพียง เคยี งคู่ภาคีเครอื ขา่ ย พันธกจิ สรา้ งคนดี มีอาชีพ มีคณุ ธรรม จริยธรรม สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื สรา้ งจติ สำนึก ความเป็นพลเมอื งดี มีอาชีพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1. จดั และสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคณุ ภาพ เพ่อื ยกระดบั การศึกษาพฒั นาทักษะ การเรยี นร้ขู องประชาชนทุกกลมุ่ เป้าหมายใหเ้ หมาะสมทกุ ชว่ งวยั พรอ้ มรบั การ เปลย่ี นแปลงบริบททางสังคม และสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้

18 2. สง่ เสริมสนบั สนนุ แบะประสานภาคีเครอื ข่าย ในการมีส่วนรว่ มจดั การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต รวมทงั้ การดำเนินกจิ กรรมของศนู ยก์ ารเรยี นและแหลง่ การ เรยี นรอู้ ืน่ ในรปู แบบตา่ ง ๆ 3. ส่งเสริมและพฒั นาการนำเทคโนโลยที างการศึกษาและเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชใ้ ห้เกดิ ประสิทธภิ าพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่างทว่ั ถึง 4. พฒั นาหลักสตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื นวตั กรรม การวดั และประเมนิ ผลในทกุ รปู แบบใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทในปัจจบุ ัน 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มปี ระสิทธิภาพเพอื่ ม่งุ จัดการศกึ ษาและเรยี นรู้ท่ี มีคุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์และตัวช้วี ัดตามความสำเรจ็ เปา้ ประสงค์ ตัวชว้ี ดั ตามความสำเรจ็ 1. ประชาชนในอำเภอบา้ นแพ้วไดร้ บั การศึกษานอก รอ้ ยละ 75 ของกล่มุ เปา้ หมายได้รบั การศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ีมีคุณภาพ ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ที่มคี ุณภาพ 2. บุคลากรไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่องทั้งด้าน บุคลากรทุกคนได้รับการพฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง การบริหารจัดการและการจดั กิจกรรมเรียนการสอน ทง้ั ดา้ นการบริหารจัดการและการจดั กจิ กรรมการ ที่มคี ุณภาพ เรยี นการสอนทมี่ คี ุณภาพ 3.สถานศึกษามรี ะบริหารงานที่มปี ระสิทธภิ าพ 3.1 มีระบบบริหารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ และมีการดำเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.2 มีการดำเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.3 บริหารงานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและหลกั ธรรมาภบิ าล 3.4 มรี ะบบสารสนเทศท่ีดี 4.ภาคีเครอื ขา่ ยเข้ามามสี ว่ นรว่ มหรือใหก้ าร ร้อยละ 80 ของภาคส่วน ตา่ ง ๆ ในอำเภอ สนับสนนุ ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและ บ้านแพ้วเข้ามารว่ มหรอื ให้การสนบั สนุนในการจัด การศึกษาตามอัธยาศัย การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลยทุ ธ์ กลยทุ ธท์ ่ี 1 : มงุ่ ม่นั พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา - พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน - พฒั นาคุณภาพครูและบุคลากร - พฒั นาหลกั สตู ร - พัฒนาและจดั หาสอ่ื การสอน กลยทุ ธท์ ี่ 2 : สรา้ งเสริมและพฒั นาระบบบรหิ ารทมี่ คี ุณภาพ

19 - เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การ ใหผ้ เู้ รียน/ผูร้ บั บรกิ ารไดร้ บั บรกิ ารทสี่ ะดวกรวดเรว็ - เสรมิ สร้างหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน - พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ กลยุทธ์ท่ี 3 : ขยายโอกาสทางการศึกษา - จัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหค้ รอบคลมุ ทุกกล่มุ เปา้ หมายและให้ ครอบคลมุ พนื้ ท่ีในอำเภอบ้านแพ้ว - จดั กจิ กรรมเชิงรุก ด้วยการใหบ้ ริการประชาชนถงึ พน้ื ท่ี กลยุทธท์ ่ี 4 : ผนกึ กำลังภาคีเครอื ขา่ ย - สง่ เสรมิ ภาคเี ครือขา่ ยให้เข้ามามสี ่วนร่วมในจดั การจัดการศกึ ษาและกจิ กรรม/โครงการต่างๆ - ใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม กศน.ตำบลสวนสม้ (SWOT Analysis) 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จดุ แขง็ ของ กศน.ตำบล (Strength - S) 1. มอี าคารเปน็ เอกเทศน์ 2. มีการจดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ 3. ไดร้ บั งบประมาณในการจดั ซ้อื หนังสือ 4. มหี อ้ งเป็นสดั ส่วนพร้อมให้บรกิ าร 5. ครู กศน.ตำบลได้รบั การพัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงานอยา่ งต่อเนื่อง 1.2 จดุ ออ่ นของ กศน.ตำบล (Weakness - W) 1. ได้รับการจัดสรรงบประมาณค่อนข้างน้อยในการจัดวัสดุอุปกรณ์สำนักงานที่ทันสมัยพร้อม กับการให้บริการ 2. เจา้ หน้าที่ที่ปฏิบัตงิ านใน กศน.ตำบลน้อย 3. วชิ าทีส่ อนไม่ตรงตามวฒุ ิการศึกษา 2. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunity - O) 1. มกี ารติดต่อประสานงานกบั หนว่ ยงานระดับอำเภอและผู้นำทอ้ งถ่นิ อยา่ งสมำ่ เสมอและต่อเนอ่ื ง 2. มี กศน.ตำบล ตง้ั อย่ใู จกลางชมุ ชนส่งผลให้การใหบ้ รกิ ารเปน็ ไปอยา่ งสะดวกและท่ัวถึง 3. ประชาชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาคีเครือข่ายในท้องถิ่น และ คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความรว่ มมือและสนบั สนนุ การจัดการศึกษา 2.2 อุปสรรค/ความเส่ียง (Threat - T) 1. การจดั สรรงบประมาณจากหนว่ ยงานภาครัฐล้าชา้

20 2. กลุ่มเปา้ หมายในการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ นด้านต่าง ๆ มเี วลาไม่ตรงกนั แนวทางการพฒั นา กศน.ตำบล 1. ครู กศน.ตำบล เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติภารกิจและมีความมุ่งมัน่ ท่ีดีอยู่แลว้ ควร ใช้ภาวะดังกล่าวเป็นฐานสำคัญในการพัฒนางานให้มีศักยภาพในการปฏิบัติภารกิจให้มีคุณภาพต่อไป เช่น ส่งเสริมการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างครู กศน.ตำบลที่อยู่ติดกันเพื่อช่วยเหลือกันยามจำเป็ น หากไม่สามารถ ปฏิบัติงานได้เพียงลำพัง รวมทั้งฝึกการปฏิบัติงานให้ทีมงานสามารถมองสภาพและทิศทางการปฏิบัติงานได้ ตลอดแนวตง้ั แต่เริม่ จนสนิ้ สดุ ดงั นีเ้ ปน็ ต้น 2. สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายที่ดีอยู่แล้ว ควรส่งเสริมเครือข่ายให้มีความเข้มแข็งโดยการขยาย ฐานเครือข่ายออกไปสู่ชุมชนต่าง ๆ ให้แน่นหนายิ่งขึ้น เช่น การขยายฐานสมาชิกกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนต่าง ๆ ให้มากยิ่งขึ้นด้วยการชวนทำกิจกรรมสร้างคุณค่าต่อจิตในของผู้สูงอายุให้มากขึ้นและเด่นยิ่งขึ้น เป็นต้นทั้งน้ี ควรมกี ารดำเนินการให้แล้วเสร็จตามท่ีได้เสนอแนะไว้ ภายใน 2 ปกี ารศกึ ษา ปรชั ญา กศน.ตำบลสวนส้ม คิดเปน็ น้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอพยี ง วิสยั ทศั น์ สถานศกึ ษาคณุ ภาพ สรา้ งการพฒั นาที่ยงั่ ยนื บนพน้ื ฐานความพอเพียง อัตลักษณ์ กศน.ตำบลสวนส้มยม้ิ ทักทาย ไหว้เป็นมติ ร มีจิตอาสา เอกลกั ษณ์ สถานศึกษาพอเพียง เคียงคู่ภาคเี ครอื ข่าย จดุ เนน้ จุดเดน่ การทำงานของ กศน.ตำบล 1. ครู กศน.ตำบลไดร้ บั การพัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบตั งิ านอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2. ได้รับการส่งเสริมและสนับสนนุ จากภาคเี ครือขา่ ยในการจัดการเรยี นรู้ 3. ลงพืน้ ทปี่ ฏิบัติงานให้บริการอย่างทวั่ ถงึ 4. ครู กศน.ตำบล มีความกระตือรือรน้ ในการปฏิบตั งิ าน 5. มอี าคารเปน็ เอกเทศน์ เอื้อตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ พันธกจิ สรา้ งคนดี มีอาชพี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ เพ่อื สรา้ งจิตสำนึก ความเป็นพลเมอื งดี มีอาชพี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม

21 1. จดั และส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่มี คี ณุ ภาพ เพ่ือยกระดับ การศกึ ษาพัฒนาทักษะ การเรียนรขู้ องประชาชนทุกกลุม่ เป้าหมายใหเ้ หมาะสมทุกช่วงวัย พรอ้ มรับการ เปลีย่ นแปลงบริบททางสังคม และสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 2. สง่ เสรมิ สนบั สนุนแบะประสานภาคเี ครือขา่ ย ในการมีสว่ นรว่ มจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต รวมทงั้ การดำเนนิ กจิ กรรมของศนู ยก์ ารเรียนและแหล่งการ เรียนรู้อน่ื ในรปู แบบตา่ ง ๆ 3. ส่งเสริมและพฒั นาการนำเทคโนโลยีทางการศกึ ษาและเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้ให้เกิด ประสทิ ธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชนอย่างทัว่ ถึง 4. พฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ นวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทกุ รปู แบบให้สอดคลอ้ งกับบริบทในปัจจุบัน 5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธิภาพเพ่อื มุ่งจดั การศึกษาและเรียนรทู้ ี่ มีคณุ ภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล เป้าประสงคแ์ ละตัวช้วี ัดตามความสำเรจ็ เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ัดตามความสำเรจ็ 1. ประชาชนในกศน.ตำบลสวนส้มได้รบั การศกึ ษา ร้อยละ 75 ของกลุ่มเปา้ หมายไดร้ บั การศึกษานอก นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่มีคณุ ภาพ ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยทมี่ ีคณุ ภาพ 2. ครกู ศน.ตำบลได้รบั การพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ งทัง้ บคุ ลากรทกุ คนไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง ด้านการบริหารจัดการและการจดั กิจกรรมเรยี นการ ทง้ั ดา้ นการบริหารจดั การและการจัดกิจกรรมการ สอนท่ีมีคณุ ภาพ เรียนการสอนท่ีมคี ณุ ภาพ 3.สถานศึกษามีระบริหารงานท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.1 มรี ะบบบริหารทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ และมกี ารดำเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.2 มกี ารดำเนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.3 บรหิ ารงานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและหลกั ธรรมาภบิ าล 3.4 มรี ะบบสารสนเทศท่ีดี 4.ภาคเี ครือขา่ ยเขา้ มามสี ว่ นร่วมหรอื ใหก้ าร รอ้ ยละ 80 ของภาคสว่ น ต่าง ๆ ในอำเภอ สนับสนุนในการจัดการศึกษานอกระบบและ บา้ นแพ้วเข้ามารว่ มหรอื ให้การสนับสนนุ ในการจัด การศกึ ษาตามอัธยาศัย การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

22 กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 1 : มุง่ มัน่ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา - พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน - พฒั นาคุณภาพครูและบุคลากร - พัฒนาหลักสตู ร - พัฒนาและจดั หาสื่อการสอน กลยทุ ธท์ ่ี 2 : สร้างเสริมและพัฒนาระบบบรหิ ารท่มี ีคณุ ภาพ - เพิม่ ประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การ ให้ผ้เู รียน/ผ้รู ับบรกิ ารได้รบั บริการทส่ี ะดวกรวดเร็ว - เสรมิ สรา้ งหลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารงาน - พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ กลยทุ ธ์ที่ 3 : ขยายโอกาสทางการศึกษา - จดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใหค้ รอบคลุมทุกกลุ่มเปา้ หมายและให้ ครอบคลุมพน้ื ทีใ่ นอำเภอบ้านแพว้ - จดั กจิ กรรมเชงิ รุก ดว้ ยการให้บรกิ ารประชาชนถึงพืน้ ที่ กลยุทธท์ ี่ 4 : ผนกึ กำลงั ภาคเี ครือขา่ ย - สง่ เสรมิ ภาคเี ครือข่ายให้เข้ามามีสว่ นร่วมในจดั การจดั การศกึ ษาและกิจกรรม/โครงการตา่ งๆ - ใชช้ ุมชนเป็นฐานการเรยี นรู้

ส่วนที่ 4 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ ประกอบดว้ ย 4.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม 4.2 ตารางวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ........... 4.3 แผนการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ................ 4.4 โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ...............

24

4.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.ตำบลสวนส้ม อำเภอบา้ ลำดับ ชอื่ งาน/โครงการ/กจิ กรรม เปา้ ห (คน/ 1 การศึกษาข้ันพื้นฐาน โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 4 โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 4 2 การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง โครงการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิต - หลักสตู รการอบรมดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนเรื่องการ 2 ปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลือดออกและโรคชกิ ุนคุนยา -หลักสตู รการอบรมดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนเร่อื งการ 2 ปอ้ งกันโรคไขเ้ ลอื ดออกและโรคชิกนุ คุนยา โครงการจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชมุ ชน -หลกั สูตรการอนรุ กั ษพ์ ลังงานธรรมชาติรกั ษาส่ิงแวดล้อม 1 (การทำถงั หมกั รกั ษโ์ ลก) เปลี่ยนขยะให้เปน็ ประโยชน์ -หลักสตู รการอนุรกั ษพ์ ลงั งานธรรมชาตริ ักษาสง่ิ แวดล้อม 1 (การทำถังหมกั รกั ษ์โลก) เปล่ียนขยะใหเ้ ปน็ ประโยชน์ โครงการจัดการเรยี นร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

25 ผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 านแพ้ว จังหวดั สมทุ รสาคร หมาย พน้ื ทด่ี ำเนินการ งบประมาณ หว้ งระยะเวลา หมายเหตุ ดำเนนิ งาน /แหง่ ) หมู่ท่ี ชอื่ บา้ น (บาท) 40 2 บ้านหลักหนึ่ง 39,780 ต.ค.62 - มี.ค 63 40 2 บ้านหลักหนึ่ง 39,780 เม.ย.63 - ก.ย.63 23 8 บา้ นหลกั หน่ึง 2,645 มกราคม 2563 23 5 บา้ นหลกั หนงึ่ 2,645 มถิ นุ ายน 2563 15 5 บา้ นคลองสำโรง 6,400 มกราคม 2563 15 4 บ้านคลองสำโรง 6,400 มถิ นุ ายน 2563

4.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.ตำบลสวนส้ม อำเภอบา้ ลำดับ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าห (คน/ 1 การศึกษาขน้ั พื้นฐาน - หลกั สูตรเกษตรธรรมชาติส่ศู าสตร์พระราชาเพ่อื การพัฒนาทย่ี ่งั ยืนการ เพาะเช้ือราไตรโคเดอร์มา

26 ผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 านแพ้ว จังหวดั สมทุ รสาคร หมาย พน้ื ท่ดี ำเนินการ งบประมาณ หว้ งระยะเวลา หมายเหตุ ดำเนนิ งาน /แหง่ ) หมทู่ ี่ ชอ่ื บ้าน (บาท) 7 5 บา้ นคลองสำโรง 2,800 มกราคม 2563

4.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผนป กศน.ตำบลสวนสม้ อำเภอบา้ ลำดบั ช่ืองาน/โครงการ/กิจกรรม เปา้ ห 3 (คน/ - หลักสตู รเกษตรธรรมชาติส่ศู าสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาทีย่ ั่งยืนการ เพาะเช้ือราไตรโคเดอร์มา การศกึ ษาตามอัธยาศัย โครงการจดั สร้างแหล่งเรียนร้ชู มุ ชนในตำบล (จัดซอ้ื หนังสอื พมิ พ/์ สอื่ จดั กิจกรรม สาธารณูปโภค สำหรับ กศน.ตำบล) - ค่าหนังสอื พิมพ์ - สาธารณปู โภค โครงการสง่ เสรมิ การอา่ น - กจิ กรรมบา้ นหนังสอื ชุมชน 2 -การอา่ นใน กศน.ตำบล 1 -กิจกรรมหนว่ ยบรกิ ารเคลื่อนท่ี (รถโมบาย) 5 -กจิ กรรมอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

27 ปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร หมาย พืน้ ท่ดี ำเนินการ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา หมายเหตุ (บาท) ดำเนนิ งาน /แหง่ ) หมู่ท่ี ช่ือบ้าน 2,800 กุมภาพนั ธ์ 2563 7 2 บา้ นสวนส้ม 1 2 บา้ นหลักหนงึ่ ตลุ าคม 62- กันยายน 63 200 1,4,5 บา้ นสวนสม้ ตลุ าคม 62- บ้านหลกั หน่งึ กนั ยายน 63 บ้านคลองสำโรง ต.ค.62-ก.ย.63 150 3 บ้านสวนสม้ 50 2 บ้านสวนส้ม 2,000 ต.ค.62-ก.ย.63 3 ,4,5 บา้ นสวนสม้ บา้ นหลักหนึ่ง

4.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.ตำบลสวนสม้ อำเภอบา้ ลำดับ ช่ืองาน/โครงการ/กจิ กรรม เปา้ ห 4 (คน/ โครงการ/กจิ กรรมสำคญั ตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำป)ี โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน -กลมุ่ สนใจ (ไมเ่ กิน 30 ชม.) -หลกั สูตรการทำขนมอบ (ขนมปุยฝ้าย ขนมสาล)ี่ 1 -หลกั สตู รการทำผ้ามดั ย้อม 1 - หลกั สตู รอาหาร-ขนม (ขนมบราวนี่ ,ขนมชิพฟ่อน) 1 - หลักสตู รการทำอาหารคาว 1 - หลกั สูตรการทำขนมลูกชบุ 1 - หลกั สตู ร ช่างเพ้นเลบ็ 1 -ชนั้ เรียนวชิ าชีพ (31 ชม.ขน้ึ ไป) -หลกั สูตรการผลิตภณั ฑจ์ ากห่วงผ้ายดื 1 -หลกั สูตรชา่ งปนู 1

28 ผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร หมาย พน้ื ท่ีดำเนินการ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา หมายเหตุ ดำเนินงาน /แห่ง) หมู่ท่ี ชอื่ บา้ น (บาท) 10 1 บา้ นดอนกระทอื 3,000 กุมภาพันธ์ 2563 10 5 บา้ นคลองสำโรง 4,000 มกราคม 2563 10 2 บ้านสวนส้ม 3,000 กุมภาพันธ์ 2563 10 1 บา้ นสวนส้ม 3,000 มนี าคม 2563 10 2 บ้านสวนส้ม 3,000 มนี าคม 2563 10 3 บ้านสวนสม้ 4000 มกราคม 2563 12 1 บ้านสวนส้ม 11,700 กุมภาพนั ธ์ 2563 12 2 กศน.ตำบลสวนสม้ 11,700 กรกฎาคม 2563

ลำดับ ช่ืองาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าห (คน/ โครงการดจิ ิทัลชุมชน -หลกั สูตรการเขา้ ใจดิจทิ ัล Digital Literacy Urriculum 1 -หลักสูตรการเปดิ ร้านคา้ ออนไลน์ E - Commerce: How to open 1 Online Shop 4.2 ตารางวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษา โครงการ/กจิ กรรม (พ.ศ. 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) โครงการสง่ เสริมการร้หู นังสอื ประจำปี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 งบประมาณ 2563 โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดับ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โครงการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ชวี ติ ประจำปีงบประมาณ 2563 โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสังคม ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 และชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563 โครงการเรียนรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 พอเพียง ประจำปีงบประมาณ 2563

29 หมาย พื้นทีด่ ำเนนิ การ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา หมายเหตุ (บาท) ดำเนินงาน /แห่ง) หมู่ที่ ชอ่ื บ้าน 15 5 บา้ นคลองสำโรง 4,925 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 15 5 บ้านคลองสำโรง 5,075 กุมภาพันธ์ 2563 . 2563 พันธกิจของ มาตรฐานและ นโยบายและจดุ เน้นการ พนั ธกจิ ของสำนักงาน กศน.อำเภอ ตวั บ่งชี้ กศน. ดำเนนิ งานสำนกั งาน กศน. กศน.จังหวัด บา้ นแพ้ว ประจำปงี บประมาณ 2563 สมทุ รสาคร 3 (3.10) 1 (1.1,1.2,1.4,1.5) 3 (3.3) 4 (4.3) 3 (3.5) 3 (3.6) 1 (1.1)

แผนการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง กศน.ตำบลส การจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั น แผนงานบูรณาการยกระดับการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการขยายโอ งบรายจา่ ยอืน่ โครงกา ที่ โครงการ/หลักสตู ร รูปแบบการจัด จำนวนกล่มุ เป้าหมาย สถ กจิ กรรม/จำนวน ช. กลมุ่ ชั้นเรยี น 12 คน ม. กลมุ่ สนใจ 16 คน กล่มุ ชนั้ เรยี น 31 ชม.ข้ึนไป ชั้นเรยี น 35 ชัว่ โมง 12 คน กศ 1 หลักสตู รการทำผลติ ภณั ฑ์ จากห่วงผา้ ยดื กลมุ่ สนใจ ไมเ่ กนิ 30 ชม. กลมุ่ สนใจ 10 ช่วั โมง 16 คน 1 วิชาการทำผา้ มัดย้อม

30 สวนสม้ ประจำปงี บประมาณ 2562 (ไตรมาส 1-2) นาอาชพี (งบรายจา่ ยอนื่ ) อกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน ารศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน ถานทจ่ี ดั กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณทไ่ี ด้ งบประมาณที่ใช้ งบประมาณ จัดสรร คงเหลือ ยอดเงิน 3,800 บาท ศน.ตำบลสวนส้ม มกราคม 2563 ยอดจัดสรร วสั ดุ 3,800 10,800 วทิ ยากร 7,000 - รวม 10,800 หมู่ที่ 1 พฤษภาคม 2562 ยอดจัดสรร วสั ดุ ตำบลสวนสม้ 11,200 1,000 วิทยากร 2,000 200 รวม 3,000

แผนการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง กศน.ตำบลส การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒน แผนงานบรู ณาการยกระดบั การศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ โครงการขยายโอ งบรายจ่ายอน่ื โครงกา ท่ี โครงการ/หลกั สตู ร รปู แบบการจดั จำนวนกลุ่มเปา้ หมาย สถ กจิ กรรม/จำนวน ช. กลมุ่ ช้นั เรียน 12 คน ม. กลุ่มสนใจ 16 คน 30 . กลุม่ สนใจ 10 ชั่วโมง 2 วิชาการทำขนม ตำบ -ขนมปุยฝ้าย - ขนมถว้ ยฟู 3 วิชาการทำขนม กลุ่มสนใจ 10 ชว่ั โมง -ขนมบราวน่ี - ขนมชพิ ฟ่อน ตำบ

31 สวนส้ม ประจำปงี บประมาณ 2562 (ไตรมาส 1-2) นาอาชีพ (งบรายจา่ ยอ่ืน) อกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต กจิ กรรมสง่ เสริมศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน ารศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน ถานที่จัดกจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณทไี่ ด้ งบประมาณท่ใี ช้ งบประมาณ จดั สรร คงเหลอื ยอดเงนิ 3,800 บาท หมู่ที่ 2 พฤษภาคม 2562 วัสดุ 1,000 บลสวนสม้ วทิ ยากร 3,000 - รวม 4,000 หมูท่ ่ี 5 มถิ นุ ายน 2562 วสั ดุ 1,000 บลสวนส้ม วิทยากร 2,000 รวม 3,000

การจัดการศึกษาเพื่อพฒั น แผนงานบรู ณาการยกระดับการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ โครงการขยายโอ งบรายจา่ ยอ่ืน โครงกา ที่ โครงการ/หลกั สตู ร รปู แบบการจดั จำนวนกลุ่มเปา้ หมาย สถ กจิ กรรม/จำนวน ช. กลุ่มชั้นเรียน 12 คน ม. กลุ่มสนใจ 16 คน กล่มุ สนใจ ไม่เกิน 30 ชม. กลมุ่ สนใจ 10 ชวั่ โมง 1 ช่างเพ้นเล็บ ตำบ ลงชือ่ ..................................................ผู้เสนอ ลงชือ่ ............................................... (นายชาคริต จนั ทร์ตร)ี (นายสยาม ชกู ร) ครู กศน.ตำบลสวนส้ม หวั หนา้ แผนงาน/โครงการ

32 นาอาชพี (งบรายจ่ายอื่น) อกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวติ กิจกรรมสง่ เสริมศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน ารศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ถานท่ีจดั กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณท่ีได้ งบประมาณทใ่ี ช้ งบประมาณ จดั สรร คงเหลอื ยอดเงนิ 3,800 บาท หมทู่ ี่ 4 มถิ นุ ายน 2562 วัสดุ บลสวนสม้ 1,000 วิทยากร 2,000 รวม 3,000 .....ผ้ตู รวจแผนงาน งชื่อ.....................................................ผู้อนุมัติ (นางจดิ าภา บัวทอง) ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบา้ นแพว้



33



34


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook