Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นโยบายและจุดเน้น กศน.ประจำปีงบประมาณ 2563

นโยบายและจุดเน้น กศน.ประจำปีงบประมาณ 2563

Published by nathapaphat2525, 2020-05-26 02:44:06

Description: นโยบายและจุดเน้น กศน.ประจำปีงบประมาณ 2563

Keywords: นโยบายจุดเน้น

Search

Read the Text Version

นโยบายและจุดเน้นการดาํ เนินงาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ คาํ นํา สาํ นกั งาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนบั สนุน และประสาน ความร่วมมือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ไดจ้ ดั ทาํ เอกสาร นโยบายและ จุดเน้นการดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้ึนตามบทบญั ญตั ิ นโยบายและจดุ เน้นการดําเนนิ งาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

แห่งกฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เพื่อเป็ นกรอบ ทิศทางและเครื่องมือในการดาํ เนินงาน ตามบทบาทหน้าท่ีในการส่งเสริม สนับสนุน และ ประสานงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ในอนั ท่ีจะเพ่ิมและกระจายโอกาส ทางการศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไดร้ ับการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา่ งทว่ั ถึงและมีคุณภาพ ภายใตก้ รอบทิศทางการพฒั นา ตามแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๔๐) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ นโยบาย แนวทางหลักในการ ดาํ เนินงาน และโครงการสาํ คญั ของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเนน้ ฉบบั น้ี ไดก้ าํ หนดการดาํ เนินงานภายใตว้ ิสัยทศั น์คือ “คนไทยไดร้ ับ โอกาส การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวติ อยา่ งมีคุณภาพ สามารถดาํ รงชีวิตท่ีเหมาะสมกบั ช่วง วยั สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทกั ษะที่จาํ เป็นในโลกศตวรรษท่ี ๒๑” โดยประกอบดว้ ย ส่วนท่ี ๑ คือ นโยบายเร่งด่วนเพือ่ ร่วมขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ ไดแ้ ก่ ๑) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมน่ั คง ๒) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ๓) ยทุ ธศาสตร์ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๔) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการ สร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม ๕) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตท่ีเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม ๖) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหาร จดั การภาครัฐ และส่วนท่ี ๒ ภารกิจต่อเน่ือง ไดแ้ ก่ ๑) ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ๒) ดา้ นหลกั สูตร สื่อ รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล งานบริการทาง วิชาการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา ๓) ดา้ นเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๔.) ดา้ นโครงการ อนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอนั เก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ ๕) ดา้ นการศึกษา ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนที่บริเวณชายแดน 5) ดา้ นบุคลากร ระบบ การ บริหารจดั การ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน สาํ นกั งาน กศน. หวงั เป็นอยา่ งยิง่ วา่ หน่วยงาน/สถานศึกษา สังกดั สาํ นกั งาน กศน. จะนาํ นโยบายและจุดเน้นการดาํ เนินงาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็ น กรอบแนวทาง การขบั เคล่ือน กศน. อยา่ งเป็ นรูปธรรม เพื่อบรรลุวิสัยทศั น์ท่ีกาํ หนดไวอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ ต่อไป นายดศิ กลุ เกษมสวสั ด์ิ เลขาธิการ กศน. นโยบายและจุดเนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

สารบญั หน้า คาํ นาํ ก สารบญั ข ผงั มโนทศั น์นโยบายและจุดเนน้ การดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ค นโยบายและจุดเนน้ การดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑ วิสยั ทศั น์ 1 พนั ธกิจ 1 เป้าประสงค์ 1 ตวั ช้ีวดั 2 นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 4 ๑. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมนั่ คง 4 ๒. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั 4 ๓. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4 ๔. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 6 นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๕. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม 6 ๖. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ 6 ภารกจิ ต่อเน่ือง 7 ๑. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ 7 ๒. ดา้ นหลกั สูตร สื่อ รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล งานบริการทาง วชิ าการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา 9 ๓. ดา้ นเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา 10 ๔. ดา้ นโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอนั เก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ 10 ๕. ดา้ นการศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พ้นื ที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนที่บริเวณชายแดน 11 ๖. ดา้ นบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 11 นโยบายและจดุ เน้นการดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

นโยบายและจุดเน้นการดาํ เนินงาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ วสิ ัยทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถ ดาํ รงชีวิตท่ีเหมาะสม กบั ช่วงวยั สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทกั ษะที่ จาํ เป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑ พนั ธกจิ ๑. จดั และส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีมีคุณภาพ สอดคลอ้ ง กบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดบั การศึกษา พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ของ ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ให้เหมาะสมทุกช่วงวยั พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และกา้ วสู่การเป็นสงั คมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวติ อยา่ งยง่ั ยนื ๒. ส่งเสริม สนบั สนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกบั ภาคีเครือข่าย ใหเ้ ขา้ มามีส่วนร่วม ในการสนบั สนุนและจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการ เรียนรู้ตลอดชีวติ ในรูปแบบต่างๆ ใหก้ บั ประชาชน ๓. ส่งเสริมและพฒั นาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาํ เทคโนโลยีดิจิทลั มาใชพ้ ฒั นา ประสิทธิภาพในการจดั และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนอยา่ งทว่ั ถึง ๔. พฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวตั กรรม การวดั และ ประเมินผลในทุกรูปแบบใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคลอ้ งกบั บริบทในปัจจุบนั ๕. พฒั นาบุคลากรและระบบการบริหารจดั การองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือมุ่งจดั การศึกษา และ การเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนผูด้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้งั ประชาชนทวั่ ไปไดร้ ับ โอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การศึกษา นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ต่อเน่ือง และการศึกษา ตามอธั ยาศยั ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทว่ั ถึง เป็ นไปตามสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ๒. ประชาชนไดร้ ับการยกระดบั การศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็ นพลเมือง ที่สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อนั นาํ ไปสู่การยกระดบั คุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเขม้ แข็งให้ ชุมชน เพ่ือพฒั นาไปสู่ความมน่ั คงและยง่ั ยืน ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม ๓. ประชาชนไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ี เหมาะสม สามารถ คิด วิเคราะห์ และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาํ วนั รวมท้งั แกป้ ัญหาและพฒั นา คุณภาพชีวติ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ ๔. ประชาชนไดร้ ับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพื่อพฒั นาการแสวงหา ความรู้ดว้ ยตนเอง ๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจดั ส่งเสริม และสนับสนุน การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั การขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ของ ชุมชน ๖. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับ ประชาชน ๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพฒั นาสื่อ นวตั กรรม และการจดั กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือ แกป้ ัญหาและ พฒั นาคุณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกบั การเปล่ียนแปลงบริบทดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และส่ิงแวดลอ้ ม รวมท้งั ตามความตอ้ งการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย ๘. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การองคก์ รที่ทนั สมยั มีประสิทธิภาพ และเป็นไป ตามหลกั ธรรมาภิบาล ๙. บุคลากร กศน.ทุกประเภททุกระดับได้รับการพฒั นาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการ ปฏิบตั ิงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการปฏิบตั ิงานตามสายงานอยา่ ง มีประสิทธิภาพ ตวั ช้ีวดั ตวั ชี้วดั เชิงปริมาณ นโยบายและจดุ เน้นการดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๑. จาํ นวนผูเ้ รียนการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานท่ีไดร้ ับการสนบั สนุน คา่ ใชจ้ ่ายตามสิทธิ ที่กาํ หนดไว้ ๒. จาํ นวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ไดร้ ับบริการ กิจกรรมการศึกษา ต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหา และความ ตอ้ งการ ๓. ร้อยละของกาํ ลงั แรงงานที่สาํ เร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ข้ึนไป ๔. จาํ นวนภาคีเครือข่ายที่เขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั /พฒั นา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคี เครือขา่ ย : สถาน ประกอบการ องคก์ ร หน่วยงานที่มาร่วมจดั /พฒั นา ส่งเสริมการศึกษา) ๕. จาํ นวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพ้ืนท่ีสูง และชาวไทยมอแกน ในพ้ืนท่ี ๕ จงั หวดั ๑๑ อาํ เภอ ไดร้ ับบริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนยก์ ารเรียนชุมชนสังกดั สํานักงาน กศน. ๖. จาํ นวนผูร้ ับบริการในพ้ืนที่เป้าหมายได้รับการส่งเสริมดา้ นการรู้หนังสือและการ พฒั นาทกั ษะชีวิต ๗. จาํ นวนนกั เรียน/นกั ศึกษาที่ไดร้ ับบริการติวเขม้ เตม็ ความรู้ ๘. จาํ นวนประชาชนท่ีไดร้ ับการฝึ กอาชีพระยะส้ัน สามารถสร้างหรือพฒั นาอาชีพเพื่อ สร้างรายได้ 9. จาํ นวน ครู กศน. ตาํ บล จากพ้ืนที่ กศน.ภาค ไดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการจดั การ เรียน การสอนภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๑๐. จาํ นวนประชาชนท่ีไดร้ ับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารดา้ นอาชีพ ๑๑. จาํ นวนผผู้ า่ นการอบรมหลกั สูตรการดูแลผสู้ ูงอายุ ๑๒. จาํ นวนประชาชนที่ผา่ นการอบรมจากศูนยด์ ิจิทลั ชุมชน ๑๓. จาํ นวนศูนยก์ ารเรียนชุมชน กศน. บนพ้ืนที่สูง ในพ้ืนท่ี ๕ จงั หวดั ที่ส่งเสริมการ พฒั นาทกั ษะ การฟัง พดู ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร ร่วมกนั ในสถานศึกษาสังกดั สพฐ. ตชด. และ กศน ๑๔. จาํ นวนหลกั สูตรหรือส่ือออนไลนท์ ี่ใหบ้ ริการกบั ประชาชน ท้งั การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตวั ชี้วดั เชิงคุณภาพ นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๑. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวชิ าทุกระดบั ๒. ร้อยละของผเู้ รียนท่ีไดร้ ับการสนบั สนุนการจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานเทียบกบั ค่า เป้าหมาย ๓. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีลงทะเบียนเรียนในทุกหลกั สูตร/กิจกรรม การศึกษาต่อเนื่อง เทียบกบั เป้าหมาย ๔. ร้อยละของผูผ้ ่านการฝึ กอบรม/พฒั นาทกั ษะอาชีพระยะส้ันสามารถนาํ ความรู้ไปใช้ ในการ ประกอบอาชีพหรือพฒั นางานได้ ๕. ร้อยละของผเู้ รียในเขตพ้ืนท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใตท้ ี่ไดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพ หรือ ทกั ษะ ดา้ นอาชีพ สามารถมีงานทาํ หรือนาํ ไปประกอบอาชีพได้ 6. ร้อยละของผูจ้ บหลักสูตร/กิจกรรมท่ีสามารถนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตาม จุดมุ่งหมาย ของหลกั สูตร/กิจกรรม การศึกษาต่อเน่ือง ๗. ร้อยละของประชาชนท่ีไดร้ ับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เขา้ ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ การศึกษาตามอธั ยาศยั 8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีไดร้ ับบริการ/เขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีมีความรู้ความ เขา้ ใจ/เจตคติ/ ทกั ษะ ตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรมท่ีกาํ หนด ของการศึกษาตามอธั ยาศยั 9. ร้อยละของผูส้ ูงอายทุ ี่เป็ นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาตลอด ชีวติ นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ ๑.ยทุ ธศาสตร์ด้านความม่นั คง ๑.๑ พฒั นาและเสริมสร้างความจงรักภกั ดีต่อสถาบนั หลกั ของชาติ พร้อมท้งั นอ้ มนาํ และ เผยแพร่ศาสตร์ พระราชา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดาํ ริต่าง ๆ ๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจ และการมีส่วนร่วมอย่างถูกตอ้ งกับการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็ น พลเมืองดี ยอมรับและเคารพ ความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ ๑.๓ ส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การศึกษาเพื่อป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาภยั คุกคามใน รูปแบบใหม่ นโยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ท้งั ยาเสพติด การคา้ มนุษย์ ภยั จากไซเบอร์ ภยั พบิ ตั ิจากธรรมชาติ โรคอุบตั ิใหม่ ฯลฯ ๑.๔ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษา ใน เขตพฒั นาพเิ ศษ เฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และพ้นื ที่ชายแดนอื่น ๆ ๑.๕ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมของประเทศเพ่ือน บา้ น กลุ่มชาติพนั ธุ์ และชาวต่างชาติที่มีความหลากหลาย ๒. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ๒.๑ ยกระดบั การจดั การศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อพฒั นาทกั ษะอาชีพของประชาชนให้ รองรับ อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะใน พ้ืนที่เขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขตพฒั นาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สําหรับพ้ืนท่ี ปกติใหพ้ ฒั นาอาชีพท่ีเนน้ การต่อยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพ้ืนท่ี ๒.๒ จดั การศึกษาเพื่อพฒั นาพ้ืนท่ีภาคตะวนั ออก ยกระดบั การศึกษาใหก้ บั ประชาชนให้ จบการศึกษา อยา่ งนอ้ ยการศึกษาภาคบงั คบั สามารถนาํ คุณวฒุ ิที่ไดร้ ับไปต่อยอดในการประกอบ อาชีพ รองรับการพฒั นา เขตพ้นื ท่ีระเบียบเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC) ๒.๓ พฒั นาและส่งเสริมประชาชนเพ่ือต่อยอดการผลิตและจาํ หน่ายสินคา้ และผลิตภณั ฑ์ กศน. ออนไลน์ พร้อมท้งั ประสานความร่วมมือกบั ภาคเอกชนในการเพิ่มช่องทางการจาํ หน่าย สินคา้ และผลิตภณั ฑ์ ใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ข้ึน ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๑ สรรหา และพฒั นาครูและบุคลากรที่เก่ียวขอ้ งกบั การจดั กิจกรรมและการเรียนรู้ เป็น ผเู้ ช่ือมโยง ความรู้กบั ผเู้ รียนและผรู้ ับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบ รู้และทนั ต่อการเปล่ียนแปลง ของสังคม และเป็ น “ผูอ้ าํ นวยการการเรียนรู้” ท่ีสามารถบริหาร จดั การความรู้ กิจกรรม และการเรียนรู้ท่ีดี ๑) เพมิ่ อตั ราขา้ ราชการครูใหก้ บั สถานศึกษาทุกประเภท ๒) พฒั นาขา้ ราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สูตรที่เชื่อมโยงกบั วทิ ยฐานะ ๓) พฒั นาครูให้สามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเร่ืองการพฒั นา ทกั ษะการจดั นโยบายและจุดเนน้ การดําเนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

การเรียนการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาต่างประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวนการเรียนรู้ ๔) พฒั นาศึกษานิเทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิการนิเทศไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ๕) พฒั นาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทใหม้ ีความรู้และทกั ษะเรื่องการใชป้ ระโยชน์จาก ดิจิทลั และภาษาต่างประเทศที่จาํ เป็น รวมท้งั ความรู้เกี่ยวกบั อาชีพที่รองรับอตุ สาหกรรม เป้าหมายของประเทศ (First S-Curve และ New S-Curve) ๓.๒ พฒั นาหลกั สูตรการจดั การศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มีความหลากหลาย ทนั สมยั เหมาะสม กบั บริบทของพ้นื ท่ี และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผรู้ ับบริการ ๓.๓ ส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ท่ีทนั สมยั และมีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการเรียนรู้สาํ หรับทุก คน สามารถ เรียนไดท้ ุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของ ชุมชน ๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคี เครือข่าย ท้งั ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น รวมท้งั ส่งเสริมและ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความเขา้ ใจ และให้เกิดความร่วมมือในการ ส่งเสริม สนบั สนุน และจดั การศึกษาและการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ ๓.๕ พฒั นานวตั กรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชน์ต่อการจดั การศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย เช่น จดั การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้งั ในรูปแบบของการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การพฒั นาทกั ษะชีวิต ทกั ษะอาชีพ และการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏิบตั ิงาน การ บริหารจดั การ การจดั การเรียนรู้ และใชก้ ารวจิ ยั อยา่ งง่ายเพ่ือสร้างนวตั กรรมใหม่ ๓.๖ พฒั นาศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทวั่ ไป ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Literacy) ๓.๗ ยกระดบั การศึกษาให้กบั กลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาํ การ รวมท้งั กลุ่มเป้าหมาย พเิ ศษอ่ืน ๆ อาทิ ผตู้ อ้ งขงั คนพกิ าร เดก็ ออกกลางคนั ประชากรวยั เรียนท่ีอยนู่ อกระบบการศึกษา ใหจ้ บการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ๓.8 พฒั นาทกั ษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดย เนน้ ทกั ษะ ภาษาเพอ่ื อาชีพ ท้งั ในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว ๓.9 เตรียมความพร้อมของประชาชนในการเข้าสู่สังคมผูส้ ูงอายุที่เหมาะสมและมี คุณภาพ นโยบายและจุดเนน้ การดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๓.๑๐ จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุ กให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย ท้งั วิทยาศาสตร์ในวิถีชีวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาํ วนั รวมท้งั ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ๓.๑๑ ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยใหก้ บั ประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนใน เขตพ้ืนท่ีสูง ให้สามารถฟัง พดู อ่าน และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชน์ในการใชช้ ีวิตประจาํ วนั ได้ ๔. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๔.๑ พฒั นาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ มีความ พร้อม ในการใหบ้ ริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ ๑) เร่งยกระดบั กศน.ตาํ บลนาํ ร่อง ๔๒๘ แห่ง (อาํ เภอละ ๑ แห่ง) ใหเ้ ป็ น กศน.ตาํ บล ๕ ดี พรีเมียม ที่ประกอบดว้ ย ครูดี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพ้ืนที่) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวตั กรรมการ เรียนรู้ที่ดีมีประโยชน์ ๒) จดั ใหม้ ีศูนยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบ กศน. เพอ่ื ยกระดบั การเรียนรู้ เป็นพ้ืนที่การเรียนรู้ (Co - Learning Space) ที่ทนั สมยั สาํ หรับทุกคน มีความพร้อมในการใหบ้ ริการต่าง ๆ ๓) พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ใหเ้ ป็น Digital Library ๔.๒ จดั ต้งั ศูนยก์ ารเรียนรู้สาํ หรับทุกช่วงวยั ที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความ ตอ้ งการ ใน การเรียนรู้ในแต่ละวยั เพื่อให้มีพฒั นาการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีความสุขกบั การเรียนรู้ตาม ความสนใจ ๔.๓ ส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การศึกษาและการเรียนรู้สาํ หรับกลุ่มเป้าหมายผพู้ กิ าร โดยเนน้ รูปแบบการศึกษาออนไลน์ ๕. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทเ่ี ป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กบั ประชาชนในการรับมือและปรับตวั เพื่อลดความ เสียหายจากภยั ธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๕.๒ สร้างความตระหนกั ถึงความสาํ คญั ของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ใหก้ บั ประชาชน เกี่ยวกบั การคดั แยกต้งั แต่ตน้ ทาง การกาํ จดั ขยะ และการนาํ กลบั มาใชซ้ า้ํ นโยบายและจุดเนน้ การดําเนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๕.๓ ส่งเสริมใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาใชพ้ ลงั งานที่เป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั ลดการใช้ ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม เช่น รณรงคเ์ ร่ืองการลดการใชถ้ ุงพลาสติก การประหยดั ไฟฟ้า เป็นตน้ 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ ๖.๑ พฒั นาและปรับระบบวิธีการปฏิบตั ิราชการให้ทนั สมยั มีความโปร่งใส ปลอดการ ทุจริตและ ประพฤติมิชอบ บริหารจดั การบนขอ้ มูลและหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ มุ่งผลสัมฤทธ์ิมี ความโปร่งใส ๖.๒ นาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยีระบบการทาํ งานท่ีเป็นดิจิทลั มาใชใ้ นการบริหารและ พฒั นางาน ๖.๓ ส่งเสริมการพฒั นาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทกั ษะตาม มาตรฐานตาํ แหน่ง ใหต้ รงกบั สายงาน ความชาํ นาญ และความตอ้ งการของบุคลากร ภารกจิ ต่อเน่ือง ๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ๑) สนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบต้งั แต่ปฐมวยั จนจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน โดย ดาํ เนินการให้ผูเ้ รียนไดร้ ับการสนับสนุนค่าจดั ซ้ือหนังสือเรียน ค่าจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ ผเู้ รียน และคา่ จดั การเรียน การสอนอย่างทว่ั ถึงและเพียงพอ เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย ๒) จดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานให้กบั กลุ่มเป้าหมายผดู้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ผา่ นการเรียนแบบเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบช้นั เรียน และการจดั การศึกษาทางไกล ๓) พฒั นาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ท้งั ดา้ นหลกั สูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวตั กรรม ระบบการวดั และประเมินผล การเรียน และระบบการใหบ้ ริการนกั ศึกษาในรูปแบบอื่นๆ นโยบายและจดุ เนน้ การดําเนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๔) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ที่มีความโปร่งใส ยตุ ิธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาํ หนด และสามารถ ตอบสนองความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ๕) จดั ให้มีกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนที่มีคุณภาพที่ผูเ้ รียนตอ้ งเรียนรู้และเขา้ ร่วม ปฏิบตั ิกิจกรรม เพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงของการจบหลกั สูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามคั คี กิจกรรมเก่ียวกับการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด การแข่งขันกีฬา การบําเพ็ญ สาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยวุ กาชาด กิจกรรมจิตอาสา และ การจดั ต้งั ชมรม/ชุมนุม พร้อมท้งั เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนนาํ กิจกรรมการบาํ เพญ็ ประโยชน์อื่น ๆ นอกหลกั สูตร มาใช้ เพิ่มชวั่ โมงกิจกรรมใหผ้ เู้ รียนจบตามหลกั สูตรได้ ๑.๒ การส่งเสริมการรู้หนังสือ ๑) พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลผูไ้ ม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมยั และเป็ น ระบบเดียวกนั ท้งั ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ๒) พฒั นาหลกั สูตร สื่อ แบบเรียน เคร่ืองมือวดั ผลและเครื่องมือการดาํ เนินงานการ ส่งเสริม การรู้หนงั สือท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ๓) พฒั นาครู กศน. และภาคีเครือข่ายท่ีร่วมจดั การศึกษา ใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และ ทกั ษะ การจดั กระบวนการเรียนรู้ใหก้ บั ผไู้ ม่รู้หนงั สืออยา่ งมีประสิทธิภาพ และอาจจดั ใหม้ ีอาสาสมคั ร ส่งเสริมการรู้หนงั สือในพ้นื ท่ี ที่มีความตอ้ งการจาํ เป็นเป็นพเิ ศษ ๔) ส่งเสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาจดั กิจกรรมส่งเสริมการรู้หนงั สือ การคงสภาพการ รู้หนงั สือ การพฒั นาทกั ษะการรู้หนงั สือให้กบั ประชาชนเพื่อเป็ นเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวติ ของประชาชน ๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง ๑) จดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาํ อยา่ งยงั่ ยนื โดยใหค้ วามสาํ คญั กบั การจดั การศึกษา อาชีพ เพ่ือการมีงานทาํ ในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพ เฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึงการเนน้ อาชีพช่างพ้ืนฐาน ท่ีสอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพของผูเ้ รียน นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ความตอ้ งการและศกั ยภาพของแต่ละพ้ืนท่ี มีคุณภาพไดม้ าตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกบั ความ ตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการพฒั นาประเทศ ตลอดจน สร้างความเขม้ แขง็ ให้กบั ศูนยฝ์ ึ ก อาชีพชุมชน โดยจดั ให้มีหน่ึงอาชีพเด่น รวมท้งั ให้มีการกาํ กบั ติดตาม และรายงาน ผลการจดั การศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาํ อยา่ งเป็นระบบและต่อเนื่อง ๒) จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสู้ ูงอายทุ ี่สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการจาํ เป็ นของแต่ละบุคคล และมุ่งเนน้ ใหท้ ุกกลุ่มเป้าหมายมี ทกั ษะการดาํ รงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถใน การบริหารจดั การชีวิตของตนเองให้อยใู่ นสังคมได้ อยา่ งมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ ต่างๆ ที่เกิดข้ึนในชีวติ ประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม สาํ หรับการปรับตวั ให้ ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารขอ้ มูลและเทคโนโลยสี มยั ใหม่ในอนาคต โดยจดั กิจกรรม ที่ มีเน้ือหาสาํ คญั ต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกนั ภยั ยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ คา่ นิยม ที่พึงประสงค์ ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน ผา่ นการศึกษารูปแบบ ต่าง ๆ อาทิ คา่ ยพฒั นาทกั ษะชีวติ การจดั ต้งั ชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ ๓) จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน โดยใชห้ ลกั สูตรและการจดั กระบวนการ เรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึ กอบรม การประชุม สัมมนา การจดั เวทีแลกเปล่ียน เรียนรู้ การจดั กิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบตั ิ และรูปแบบอื่นๆ ท่ีเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนท่ี เคารพความคิดของผอู้ ื่น ยอมรับความแตกต่าง และหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้งั สงั คม พหุวฒั นธรรม โดยจดั กระบวนการให้ บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสาํ นึก ความเป็ นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็ นพลเมืองดี การ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาํ เพญ็ ประโยชน์ในชุมชน การบริหารจดั การนา้ํ การรับมือกบั สาธารณภยั การอนุรักษพ์ ลงั งานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ใน การพฒั นาสงั คมและชุมชน อยา่ งยง่ั ยนื ๔) การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกระบวนการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆ ให้กบั ประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุม้ กนั สามารถยืนหยดั อยู่ได้ อยา่ งมน่ั คง และมีการบริหารจดั การ ความเส่ียงอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ ความสมดุลและยง่ั ยนื ๑.๔ การศึกษาตามอธั ยาศัย นโยบายและจุดเน้นการดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๑) พฒั นาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการอ่านและพฒั นา ศกั ยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกวา้ งขวางและทวั่ ถึง เช่น พฒั นา ห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มี การบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัคร ส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จดั หน่วย บริการเคลื่อนที่พร้อมอปุ กรณ์เพื่อ จดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกบั ประชาชน ในพ้ืนที่ต่างๆ อยา่ งทวั่ ถึง สม่าํ เสมอ รวมท้งั เสริมสร้างความพร้อมในดา้ นบุคลากร สื่อ อุปกรณ์เพื่อสนบั สนุน การอ่าน และการจดั กิจกรรมเพอ่ื ส่งเสริมการอ่านอยา่ งหลากหลาย ๒) จดั สร้างและพฒั นาศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ให้เป็ นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดชีวิต ของประชาชน เป็ นแหล่งสร้างนวตั กรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิง ศิลปะวทิ ยาการประจาํ ทอ้ งถิ่น โดยจดั ทาํ และพฒั นานิทรรศการ ส่ือและกิจกรรมการศึกษาท่ีเนน้ การเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคิดเชิง วิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผา่ นการกระบวนการเรียนรู้ ที่บูรณาการความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ ควบคู่กบั เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมท้งั สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้งั ระดบั ภูมิภาคและ ระดบั โลก เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนาํ ความรู้และทกั ษะไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ เนินชีวิต การพฒั นา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดลอ้ ม การบรรเทาและป้องกนั ภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถในการปรับตัว รองรับผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลงของโลกที่เป็ นไปอย่างรวดเร็วและรุ นแรง (Disruptive Change) ได้อย่าง มี ประสิทธิภาพ ๑.๕ ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องคก์ ร หรือภาคส่วนต่างๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ เพื่อส่งเสริม การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความ ตอ้ งการของประชาชน เช่น พิพิธภณั ฑ์ ศูนยเ์ รียนรู้ แหล่งโบราณคดี หอ้ งสมุด เป็นตน้ ๒. ด้านหลักสูตร ส่ือ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งาน บริการ ทางวชิ าการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา ๒.๑ ส่งเสริมการพฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพ่ือ ส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีหลากหลาย ทนั สมยั รวมท้งั หลกั สูตร ทอ้ งถ่ินที่สอดคลอ้ งกบั สภาพบริบท ของพ้ืนท่ี และความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๒.๒ ส่งเสริมการพฒั นาส่ือแบบเรียน สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ของผเู้ รียน กลุ่มเป้าหมายทวั่ ไปและกลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ ๒.๓ พฒั นารูปแบบการจดั การศึกษาทางไกลใหม้ ีความทนั สมยั ดว้ ยระบบหอ้ งเรียนและ การควบคุม การสอบออนไลน์ ๒.๔ พฒั นาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ เพ่ือให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้งั มีการประชาสัมพนั ธ์ให้สาธารณชนไดร้ ับรู้และ สามารถเขา้ ถึงระบบการประเมินได้ ๒.๕ พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สูตร โดยเฉพาะ หลกั สูตร ในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานให้ไดม้ าตรฐาน โดยการนาํ แบบทดสอบกลาง และ ระบบการสอบอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Exam) มาใชอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ๒.๖ ส่งเสริมและสนบั สนุนการศึกษาวิจยั เพื่อพฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กระบวน การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจดั ส่งเสริม และสนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มีการนําไปสู่การปฏิบัติอย่าง กวา้ งขวางและมีการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บริบทอยา่ งต่อเน่ือง ๒.๗ พฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาให้ไดม้ าตรฐาน เพ่ือพร้อมรับการ ประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั ถึงความสาํ คญั ของระบบการประกนั คุณภาพและสามารถดาํ เนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาได้ อยา่ งต่อเน่ืองโดยใชก้ ารประเมินภายในดว้ ยตนเอง และจดั ให้มีระบบสถานศึกษาพี่เล้ียงเขา้ ไป สนบั สนุนอย่างใกลช้ ิด สําหรับสถานศึกษาท่ียงั ไม่ไดเ้ ขา้ รับการประเมิน คุณภาพภายนอก ให้ พฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาใหไ้ ดค้ ุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด ๒.8 ประชาสมั พนั ธ์/สร้างการรับรู้ใหก้ บั ประชาชนทวั่ ไปเกี่ยวกบั การบริการทางวชิ าการ ดา้ น การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดา้ นวิชาการของหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกดั อาทิ ข่าวประชาสัมพนั ธ์ ผา่ นส่ือรูปแบบ ต่างๆ การจดั นิทรรศการ/มหกรรมวิชาการ กศน. ๓. ด้านเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา ๓.๑ ผลิตและพฒั นารายการวทิ ยแุ ละรายการโทรทศั น์เพอื่ การศึกษา เพื่อใหเ้ ช่ือมโยงและ ตอบสนองต่อ การจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษา นโยบายและจุดเนน้ การดาํ เนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

เพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา สําหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่ หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพฒั นาตนเองให้รู้เท่าทนั ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การส่ือสาร เช่น รายการพฒั นาอาชีพเพอื่ การมีงานทาํ รายการติวเขม้ เติมเตม็ ความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทศั น์เพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทาง อินเทอร์เน็ต ๓.๒ พฒั นาการเผยแพร่การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยผา่ น ระบบ เทคโนโลยีดิจิทลั และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆ เพ่ือส่งเสริมให้ ครู กศน. นาํ เทคโนโลยีดิจิทลั มาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ดว้ ย ตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓ พฒั นาสถานีวิทยศุ ึกษาและสถานีโทรทศั น์เพ่ือการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต และการออกอากาศใหก้ ลุ่มเป้าหมายสามารถใชเ้ ป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพไดอ้ ยา่ ง ต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังไดท้ ุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุม พ้ืนที่ทว่ั ประเทศ และเพิ่มช่องทาง ให้สามารถรับชมรายการโทรทศั น์ไดท้ ้งั ระบบ Ku - Band C Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ รองรับการพฒั นาเป็นสถานีวิทยโุ ทรทศั น์เพื่อ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) ๓.๔ พฒั นาระบบการใหบ้ ริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพื่อให้ไดห้ ลายช่องทางท้งั ทางอินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่นๆ อาทิ Application บนโทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ และ Tablet รวมท้งั สื่อ Offline ในรูปแบบต่างๆ เพ่ือให้ กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพื่อเขา้ ถึงโอกาส ทางการศึกษาและการเรียนรู้ไดต้ ามความตอ้ งการ ๓.๕ สาํ รวจ วจิ ยั ติดตามประเมินผลดา้ นการใชส้ ื่อเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง เพ่ือนาํ ผล มาใชใ้ นการพฒั นางานให้มีความถูกตอ้ ง ทนั สมยั และสามารถส่งเสริมการศึกษาและ การเรียนรู้ตลอดชีวติ ของประชาชนไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง ๔. ด้านโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอนั เกย่ี วเน่ืองจากราชวงศ์ ๔.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการดาํ เนินงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรือ โครงการ อนั เกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ์ ๔.๒ จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอัน เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอนั เกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ์ เพื่อนาํ ไปใชใ้ นการวางแผน การติดตามประเมินผลและการพฒั นางาน ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ นโยบายและจดุ เน้นการดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๔.๓ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาํ เนินงาน เพ่ือสนบั สนุนโครงการอนั เน่ืองมาจาก พระราชดาํ ริ เพ่ือใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๔.๔ พฒั นาศูนยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพ่ือใหม้ ีความพร้อมในการ จัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหน้าที่ท่ีกําหนดไวอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ ๔.๕ จดั และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตของประชาชนบน พ้ืนท่ีสูง ถิ่นทุรกนั ดาร และพ้ืนที่ชายขอบ ๕. ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นท่ีบริเวณ ชายแดน ๕.๑ พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้ ๑) จดั และพฒั นาหลกั สูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ปัญหา และความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย รวมท้งั อตั ลกั ษณ์และความเป็ นพหุวฒั นธรรมของ พ้ืนท่ี ๒) พฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐานอย่างเขม้ ขน้ และ ต่อเนื่อง เพื่อให้ ผเู้ รียนสามารถนาํ ความรู้ที่ไดร้ ับไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง ๓) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจดั ให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภยั แก่บุคลากร และนกั ศึกษา กศน. ตลอดจนผมู้ าใชบ้ ริการอยา่ งทว่ั ถึง ๕.๒ พฒั นาการจดั การศึกษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ ๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการจัดทาํ แผนการศึกษาตาม ยทุ ธศาสตร์ และบริบทของแต่ละจงั หวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ ๒) จดั ทาํ หลกั สูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเนน้ สาขาที่เป็ นความตอ้ งการของ ตลาด ใหเ้ กิดการพฒั นาอาชีพไดต้ รงตามความตอ้ งการของพ้นื ท่ี ๕.๓ จัดการศึกษาเพื่อความม่นั คง ของศูนยฝ์ ึ กและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ ชายแดน (ศฝช.) ๑) พฒั นาศูนยฝ์ ึ กและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็ นศูนยฝ์ ึ กและ สาธิต การประกอบอาชีพดา้ นเกษตรกรรม และศูนยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบการจดั กิจกรรมตามแนว นโยบายและจดุ เนน้ การดาํ เนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

พระราชดาํ ริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง สาํ หรับประชาชนตามแนวชายแดน ดว้ ยวิธีการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย ๒) มุ่งจดั และพฒั นาการศึกษาอาชีพโดยใชว้ ิธีการหลากหลาย ใชร้ ูปแบบเชิงรุก เพ่ือการ เขา้ ถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจดั มหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกบั เครือข่าย การจดั อบรมแกนนาํ ดา้ นอาชีพ ที่เนน้ เรื่องเกษตรธรรมชาติท่ีสอดคลอ้ งกบั บริบทของชุมชนชายแดน ใหแ้ ก่ประชาชนตามแนวชายแดน 6. ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วน ๖.๑ การพฒั นาบุคลากร ๑) พฒั นาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง ท้งั ก่อนและ ระหวา่ ง การดาํ รงตาํ แหน่งเพื่อให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบตั ิงาน สามารถปฏิบตั ิงานและบริหาร จดั การการดาํ เนินงาน ของหน่วยงานและสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมท้งั ส่งเสริมให้ ขา้ ราชการในสังกดั พฒั นาตนเอง เพื่อเลื่อนตาํ แหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเน้นการประเมิน วิทยฐานะเชิงประจกั ษ์ ๒) พฒั นาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จาํ เป็ นครบถว้ น มีความเป็ นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบตั ิการนิเทศไดอ้ ย่างมีศกั ยภาพ เพ่ือร่วมยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษานอก ระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ในสถานศึกษา ๓) พฒั นาหวั หนา้ กศน. ตาํ บล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงข้ึนเพื่อการบริหารจดั การ กศน. ตาํ บล/แขวง และการปฏิบตั ิงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็ นนัก จัดการความรู้และผู้อํานวย ความสะดวกในการเรี ยนรู้เพ่ือให้ผู้เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพอยา่ งแทจ้ ริง ๔) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การศึกษาให้สามารถจดั รูปแบบ การเรียนรู้ได้ อยา่ งมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจดั ทาํ แผนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล และการวจิ ยั เบ้ืองตน้ ๕) พฒั นาศกั ยภาพบุคลากร ที่รับผดิ ชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และมีความเป็ นมืออาชีพในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน ๖) ส่งเสริมใหค้ ณะกรรมการ กศน. ทุกระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วม ในการบริหาร การดาํ เนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยา่ งมีประสิทธิภาพ นโยบายและจดุ เน้นการดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๗) พฒั นาอาสาสมคั ร กศน. ให้สามารถทาํ หนา้ ที่สนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอธั ยาศยั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 8) พฒั นาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคลากร รวมท้งั ภาคีเครือข่าย ท้งั ใน และต่างประเทศในทุกระดบั โดยจดั ให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพนั ธภาพและเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทาํ งาน ร่วมกนั ในรูปแบบท่ีหลากหลายอยา่ งต่อเน่ือง อาทิ การแข่งขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏิบตั ิการพฒั นาประสิทธิภาพ ในการทาํ งาน ๖.๒ การพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานและอตั รากาํ ลงั ๑) จดั ทาํ แผนการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาํ เนินการปรับปรุงสถานท่ี และวสั ดุ อปุ กรณ์ ใหม้ ี ความพร้อมในการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ๒) บริหารอตั รากาํ ลงั ที่มีอยู่ ท้งั ในส่วนที่เป็นขา้ ราชการ พนกั งานราชการ และลูกจา้ ง ให้ เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบตั ิงาน ๓) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนาํ มา ใชใ้ นการ ปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความพร้อมสําหรับดาํ เนินกิจกรรมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการส่งเสริมการเรียนรู้สาํ หรับประชาชน ๖.๓ การพฒั นาระบบบริหารจดั การ ๑) พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลให้มีความครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมยั และเชื่อมโยงกนั ทว่ั ประเทศ อย่างเป็ นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็ น เคร่ืองมือสําคญั ในการบริหาร การวางแผน การปฏิบตั ิงาน การติดตามประเมินผล รวมท้งั จดั บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๒) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดั การงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกาํ กบั ควบคุม แ ล ะ เ ร่ ง รั ด การเบิกจ่ายงบประมาณใหเ้ ป็นตามเป้าหมายท่ีกาํ หนดไว้ ๓) พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนกั ศึกษา กศน. ใหม้ ีความครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมยั และเชื่อมโยง กนั ทวั่ ประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานไดท้ นั ความตอ้ งการเพ่ือประโยชนใ์ น การจดั การศึกษาใหก้ บั ผเู้ รียน และการบริหารจดั การอยา่ งมีประสิทธิภาพ นโยบายและจุดเน้นการดําเนนิ งาน สํานกั งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๔) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ัง การศึกษาวิจยั เพื่อสามารถนาํ มาใชใ้ นการพฒั นาประสิทธิภาพการดาํ เนินงานท่ีสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประชาชน และชุมชนพร้อมท้งั พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแข่งขนั ของ หน่วยงานและสถานศึกษา ๕) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนท้งั ในประเทศและต่างประเทศ ในการพฒั นาและ ส่ ง เ ส ริ ม การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๖) ส่งเสริมการใชร้ ะบบสาํ นกั งานอิเลก็ ทรอนิกส์ (E - office) ในการบริหารจดั การ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใชห้ ้อง ประชุม เป็นตน้ ๖.๔ การกาํ กบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล ๑) สร้างกลไกการกาํ กบั นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาํ เนินงานการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้เชื่อมโยงกบั หน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่าย ท้งั ระบบ ๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเก่ียวขอ้ งทุกระดบั พฒั นาระบบกลไกการกาํ กบั ติดตาม และรายงาน ผลการนาํ นโยบายสู่การปฏิบตั ิ ให้สามารถตอบสนองการดาํ เนินงานตาม นโยบายในแต่ละเร่ืองไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ๓) ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพ่ือ การกาํ กบั นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๔) พฒั นากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคาํ รับรองการปฏิบตั ิ ราชการประจาํ ปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตวั ช้ีวดั ในคาํ รับรองการ ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ป ร ะ จํ า ปี ของสาํ นกั งาน กศน. ใหด้ าํ เนินไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลา ท่ีกาํ หนด ๕) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดบั ท้งั หน่วยงานภายในและภายนอก องคก์ ร ต้งั แต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจงั หวดั จงั หวดั อาํ เภอ/เขต และตาํ บล/แขวง เพ่ือความเป็น เอกภาพในการใชข้ อ้ มูล และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นโยบายและจุดเน้นการดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook