คุณธรรมเพอื่ ความเป็นพลเมอื ง : เรยี นให้ “เพลนิ ” LEARN ดว้ ย “นทิ าน” Civic Education for Young Children : A Story Telling Methodology
2 สถาบันนโยบายศึกษา ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ยศวดี บุณยเกียรติ. คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง: เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน”.-- กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา ภายใต้มูลนิธิส่งเสริมนโยบายศึกษา, 2559. 56 หน้า. 1. นิทาน. I. ชื่อเรื่อง. 398.2 ISBN 978-616-91578-7-8 ชอื่ หนงั สือ คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” ผู้เขียน ยศวดี บุณยเกียรติ ปีที่พิมพ์ ธันวาคม 2558 จ�ำนวนพิมพ์ 400 เล่ม เจ้าของ สถาบันนโยบายศึกษา : 99/146 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0 2941 1832-3 โทรสาร 0 2941 1834 e-mail : [email protected] www.fpps.or.th ออกแบบปก ชัยวุฒิ แก้วเรือน พิมพ์ท่ี บริษัท พี.เพรส จ�ำกัด โทร. 0 2742 4754-5 สนับสนุนโดย มูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 3 ค�ำนำ� สถาบันนโยบายศกึ ษา สถาบันนโยบายศึกษามีความเชื่อม่ันว่า คุณธรรมและศีลธรรมคือคุณสมบัติเบื้องต้นและ สำ� คญั ทีส่ ดุ ของผูเ้ ปน็ “พลเมอื ง” การปลูกฝังคณุ สมบัตขิ อ้ น้ตี ้องท�ำต้งั แต่วยั เดก็ จงึ จะได้ผล และควรท�ำ กบั เด็กทุก ๆ คนเพ่อื วางรากฐานไปส่คู วามเป็นพลเมืองทเี่ ป็นทรัพยากรของชาติ ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2556 ถึง 2558 สถาบันฯ ได้ทำ� โครงการ “การสร้างคุณธรรมในนักเรยี น ประถมศึกษา เพือ่ เสริมสร้างการศกึ ษาเพื่อความเปน็ พลเมือง” อยา่ งต่อเนอ่ื งในโรงเรยี นหลายแหง่ ใน จงั หวดั บรุ รี มั ยแ์ ละตรงั วตั ถปุ ระสงคข์ องการทำ� โครงการคอื เพอ่ื ปลกู ฝงั คณุ ธรรมและศลี ธรรมในนกั เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาโดยการใช้สอื่ คือหนงั สือนทิ านและการทำ� กจิ กรรม โดยคณุ ครูเป็นผทู้ �ำหน้าที่นี้ เราเริ่มตน้ จากการหาอาสาสมัครท่ีพรอ้ มจะน�ำวธิ ีการเลา่ นทิ านไปใช้กับนกั เรยี น แนะน�ำเทคนคิ วิธีการเล่าเรื่องและส่งหนังสือจ�ำนวนหนึ่งไปให้ จากนั้นทุกอย่างก็ด�ำเนินไปตามครรลองเกิดเป็น กิจกรรมอืน่ ๆ อกี มากมายทีเ่ กดิ จากการใช้กระบวนการการมสี ่วนร่วมทั้งในเชงิ ความคดิ และการบรหิ าร จดั การระหวา่ งบรรดาครอู าจารยจ์ ากทกุ ๆ โรงเรยี น และระหวา่ งสถาบนั ฯ กบั คณุ ครทู ท่ี ำ� หนา้ ทปี่ ระสานงาน ตลอดเวลาการดำ� เนนิ การ สถาบนั นโยบายศกึ ษาและคณุ ครผู รู้ ว่ มโครงการไดป้ รกึ ษาหารอื กนั อยา่ งใกลช้ ดิ ผลท่ีได้คือการจัดกิจกรรมระหวา่ งโรงเรยี นที่มนี กั เรียนเป็นศนู ย์กลาง จากวันแรกท่ีเริ่มด�ำเนินโครงการจนถึงวันสุดท้ายท่ีโครงการนี้เสร็จสมบูรณ์ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 มีกิจกรรมทั้งหมด 12 คร้ัง รวมผู้เข้าร่วม 795 คน แบ่งเป็นคุณครู 450 คน นักเรียน 284 คน และอื่นๆ 61 คน สถาบันฯ ได้รับข้อคิดและข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์จากคุณครู ทุก ๆ ท่านที่มีส่วนร่วม เราจึงน�ำประสบการณ์จากโครงการน้ีมารวบรวมไว้ในหนังสือเล่มนี้โดยหวังว่า อาจเกิดประโยชนบ์ า้ งในการศกึ ษาเพอื่ การสรา้ งคณุ ธรรมในพลเมือง สถาบนั ฯ ขอขอบคณุ สำ� นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบรุ รี มั ยเ์ ขต 1 รองผ้อู ำ� นวยการ นางสโรชนิ ี โอชโร ท่เี ออื้ เฟื้อสถานท่ใี นการจดั สมั มนาครู ขอบคุณโรงเรียนบ้านสวายสอ (ประชาบรู ณะ) โรงเรียนบา้ นโพธดิ์ อนหวายและโรงเรยี นบา้ นท่งุ นาทใ่ี ห้ใชส้ ถานท่จี ดั กจิ กรรมนกั เรียน
4 สถาบันนโยบายศึกษา ขอบคุณอาจารย์แพรวพรรณ บรรจงศริ ทิ ัศน์ อาจารย์จฑุ ามาศ จนั ทวงษ์วาณิชย์ และ ผอ.ธนพร ทรงรัมย์ ทช่ี ่วยประสานงานทุกๆ กจิ กรรมท่ีบรุ ีรมั ย์ ขอบคุณ ผอ.โกวิท วิชัยดิษฐ และ ผอ.พงศป์ ระพันธ์ เตละกลุ ประธานกลมุ่ โรงเรยี นนำ�้ ผดุ โพธารามทปี่ ระสานงานและสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมในจงั หวดั ตรงั ขอขอบคุณบรรดาคุณครูทุกท่านที่เสียสละเวลาเข้าร่วมโครงการ ขออภัยท่ีไม่อาจกล่าวชื่อได้ ทง้ั หมดไว้ ณ ทนี่ ้ี ขอ้ คดิ ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะทท่ี า่ นไดม้ อบใหท้ งั้ ทเ่ี ปน็ คำ� พดู และลายลกั ษณอ์ กั ษร มีประโยชน์ บอกเล่าถึงประสบการณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ต่อเน่ืองท่ีส่งเสริมให้นักเรียนร่วมกัน ท�ำงานกลุ่ม และการที่ท่านสละเวลาพานักเรียนมาร่วมกิจกรรมยังแสดงถึงคุณธรรมของคุณครูผู้มี คุณูปการตามวิชาชีพอนั มีเกียรติน้ี โครงการน้ียังได้รับการเติมเต็มด้วยหนังสือและของขวัญท่ีมอบผ่านสถาบันฯ ให้แก่นักเรียน ทม่ี ารว่ มกจิ กรรม จงึ ขอขอบพระคณุ คณุ หญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา คณุ สายสมั พนั ธ์ สวุ รรณประทปี และคณุ ดวงใจ ต้ังสงา่ มา ณ โอกาสนี้ สุดท้ายนี้ สถาบันนโยบายศึกษาขอขอบคุณมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์ ท่ีให้การสนับสนุน งบประมาณในการดำ� เนินโครงการท้งั หมด ยศวดี บุณยเกยี รติ ผู้อำ� นวยการร่วม สถาบนั นโยบายศึกษา ธันวาคม 2558
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 5 Accomplishment Civic Education for Young Children Program With kind support from the Konrad Adenauer Stiftung, the program “Civic Education for Young Children” had been organized continuously for 3 years. A total 12 workshops event, held in Bangkok and another two provinces, Buriram and Trang, were attended by 795 attendants; 450 teachers and 284 students. Some of them were regular attendants to the final event. Moreover, the program was adopted in more than 30 schools and applied to hundreds of students in elementary and kinder- garten levels. The program rationales came from a nationwide study on 100,000 children age between 1-14 and 10-14, revealed in 2011, that honesty was not much valued as in the past. Economic competency comes first before moral and ethics. An outstanding numbers of students admitted they had cheated and/or will cheat for benefits, advantages or fame. Similar attitude was commonly found among many Thai adults and the country suffers from chronic corruption. This reflection initiated many agencies; state and non-state, to organize programs to reinstall honesty among school students. Bangkok Metropolitan Authority took the first step, in 2011, when asked the National Institute of Development Administration (NIDA) to design a course for BMA’s schools. Its curriculum comprises of values on honesty and integrity, greater good, fairness and justice, responsibility and accountability, sufficiency and moderation. Following the 22 May 2014 coup d’état, Prime Minister Prayut Chan-o-char gave 12 values for Thai citizens to adhere . Among them were ethical and a dedication to the public’s and the nation’s benefits rather than one’s own benefits. IPPS believe moral/ethics is a fundamental value of a citizen. The soonest it is instill the best result will be achieved. Ethical values were normally passed from
6 สถาบันนโยบายศึกษา generation to generations through family values and practices but as society changes, family structure was distorted to not only in numbers of family-member but also economic liability that resulted in a lack of family-time with children. Parents and grandparents hoped schools and teachers would take this responsibility. Storytelling was a conventional ways of teaching moral and ethics invented in Aesop’s time. Aesop’s fables were widely used in schools for decades. The stories inspired young students to behave and understand meanings of honesty, goodness, fairness and justice, etc. IPPS had recalled this practice to be used in the elementary schools. We started, in 2013, with two teacher workshops in Buriram province. The participants were convinced to recollect their good-old-times when listening to stories. Some teachers willingly adopted the practice to their classes. The program was extended to Trang province in 2014. In the second year of implementation, the schools sent student-representatives to two workshops locally held at 2014 ended. The program continued in 2015 with additional objective to assess the outcome. The same groups of students were asked to co-write story portraying their living environment. The story should reflect perceptions of ethics. The selected ones were invited to the workshops. Starting from a simple method, story-telling by teachers in classes, many more activities were created such as; the school story-telling session every morning, the student hand-made picture-books, story retelling by elder students, analytical Q&A, noon time broadcasting, school projects, role-playing and finally, story-writing. The last outputs were 18 students’ performances bases on their stories. Each story was performed by its authors to the audiences from other schools. These two workshops were held in November 2015 in Buriram and Trang. During the implementation, series of evaluation were held between IPPS and the teachers and we were delighted to know the students have greatly development in their behaviors; honesty, friendliness, attentive, self-confident, disciplinary, cooperative, responsibility, language skill, critical-thinking, and creativity. However, teachers shared their limitations; inadequate support from education administrators, school directors and colleagues, deficient time, too many assignments, inadequate storybooks/media, and the schools emphasized on academic achievement.
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 7 The teachers recommended the program to apply to every class in school, to extend to more schools, to incorporate more activities, to organize study-tour and to include parents’ participation in the activity/program. The program has achieved our objectives to stimulate teachers to realize ethics are the most fundamental values of human beings and could be instilled in young students through stories. The program allowed teachers and students to explore activities they hardly gain through formal curriculum . From the teachers’ point of view, the Civic Education for Young Children Program has initiated many changes and accomplishment were: • The story-telling strengthen teacher-student relationship. The young students looked forward to school days even when they were sick. • Students’ behaviors on honesty, helpfulness, discipline, responsibility and politeness improved significantly as they tried to follow the good characters. • The storytelling among students; from the elder-to-the younger, stimulated unity and students were helpful with each other without being told. • Q&A session encouraged students to think and reasoning, inspired imagination, induced creativity in art, language skill and self-confident. • Improved group working, expression and participation. • Improve proficiency in language skills for young students who speak only local dialect at home. As a result, overall learning skill developed. • The storytelling indirectly denounced bad actions without causing embarrassment to anybody. Students willingly changed their behaviors without being instructed, reproached or punished.
8 สถาบันนโยบายศึกษา
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 9 สารบญั ค�าน�า 1 ................................................................................................................................................ Accomplishment .............................................................................................................. 5 เดก็ ขาดคณุ ธรรมเป็นความบกพร่องของใคร ? ..........................................11 การศึกษากบั การส่งเสริมคุณธรรม ........................................................................15 ไอควิ อีควิ และเอม็ ควิ .....................................................................................................21 เดก็ ดสี รา้ งได้ดว้ ยมอื ครู ...............................................................................................29 การเล่านทิ านตอ้ งมเี ทคนิค ........................................................................................35 ประสบการณ์ทบ่ี รุ ีรัมย์และตรัง ................................................................................41 สถาบนั นโยบายศึกษา ......................................................................................................53 ประวตั ิผูเ้ ขยี น ..........................................................................................................................59
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 11 เดก็ ขาดคณุ ธรรม เปน็ ความบกพร่องของใคร? “เดก็ ๆ เปรียบเสมือนผา้ ขาวที่เราจะแต้มสีใดลงไปก็เห็นสีนน้ั ชดั เจน” ไม่ว่าค�ำพูดนี้จะเป็นของใคร แต่คือสิ่งที่เรา การเล่านิทานยังท�ำให้ผู้เล่าและผู้ฟังมี ทุกคนเคยได้ยินมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปฏิสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน เกิดสายสัมพันธ์ระหว่าง ในเวลาท่ีผู้ใหญ่จะสอนเด็กก็จะยกค�ำพูดนี้เป็น บุคคลท่ีมีชีวิต ไม่เหมือนการดูนิทานจากวีดิโอ เหตุผล ปจั จุบนั นีเ้ ป็นท่ียอมรบั กันแลว้ วา่ วยั เด็ก โทรทัศน์ หรืออินเตอร์เน็ต ปฏิสัมพันธ์ทางกาย เหมาะท่ีสุดในการเรียนรู้ เด็กๆ มีความจ�ำดีและ และจะสร้างความสัมพันธ์ทางใจกระตุ้นให้มี พร้อมจะเรยี นรตู้ ัง้ แตย่ ังเปน็ ทารก แมห่ ลายคนยัง พฒั นาการการเรยี นรู้ เรอ่ื งราวทรี่ บั ฟงั จะมอี ทิ ธพิ ล พบว่าลูกๆ ของเธอเรียนรู้หลายส่ิงตั้งแต่ยังอยู่ใน ต่อบคุ ลิกภาพของเดก็ ผู้ใหญส่ มัยกอ่ นจงึ ใชน้ ิทาน ครรภ์ สง่ั สอนใหล้ กู หลานเปน็ คนด ี เวลาทเ่ี หมาะทส่ี ดุ คอื ก่อนเข้านอน นิทานก่อนนอนจึงเป็นเสมือนการ โลกของเดก็ สมยั ก่อนแคบ นอกจากบา้ นกบั แสดงความรกั ท่ีผู้ใหญจ่ ะแสดงใหเ้ ดก็ รบั รู้ โรงเรียนแล้วก็อาจจะมสี ถานทอี่ ื่นอีกเลก็ นอ้ ย แม้ เด็กสมัยน้ีจะมีโลกกว้างขึ้นมากแต่ถึงอย่างไรก็ยัง โลกในปัจจุบันแม้มีขนาดเท่าเดิมแต่ว้าวุ่น ไม่กวา้ งเทา่ โลกของผ้ใู หญอ่ ยดู่ ี สับสนข้ึนตามการเปล่ียนแปลงของสังคม คนใน ครอบครวั ไมค่ อ่ ยจะมเี วลาใหก้ นั ขนาดครอบครวั มนุษย์ทุกคนพอใจในความสุข เด็กๆ ก ็ เล็กลง ไม่เป็นครอบครัวใหญ่ท่ีมีปู่ย่า ตายาย เช่นกัน ความสุขของเด็กไม่สลับซับซ้อน กินอ่ิม อยู่รวมกันเหมือนแต่ก่อน บางครอบครัวยังเป็น พักผ่อน เปล่ียนอิริยาบถ ความรักจากแม่พ่อ ครอบครวั เลย้ี งเดยี่ ว พอ่ หรอื แมเ่ ลย้ี งลกู ตามลำ� พงั ครอบครัว และความบันเทิงอีกเล็กน้อยก็สร้าง เพราะผใู้ หญ่มีภารกจิ มากมาย เวลาท่จี ะให้แก่เดก็ ความสุขให้เด็กได้แล้ว ก่อนจะถึงยุคสมัยของ จึงลดน้อยลง ถ้าไม่มีการแบ่งเวลาท่ีเหมาะสม โทรทัศน์และอินเตอร์เน็ต ความบันเทิงของเด็ก ปลอ่ ยใหว้ ดี โิ อ โทรทศั น์ หรอื อนิ เตอรเ์ นต็ เลยี้ งเดก็ คือการฟังนิทานจากแม่พ่อหรือผู้ใหญ่อ่ืน เช่น .....เราจะโทษใคร ? ปู่ย่า ตายาย พ่ีป้า น้าอา หรือแม้แต่ใครก็ได้ที่ม ี นิทานสนุกๆ มาเล่าให้ฟัง เด็กจะติดบุคคลนั้น พอ่ แมผ่ ปู้ กครองทกุ คนปรารถนาใหล้ กู หลาน เพราะอยากฟังนทิ าน เป็นคนด ี สมัยกอ่ น “เด็กด”ี คอื วา่ นอนสอนงา่ ย
12 สถาบันนโยบายศึกษา ไม่ดื้อ ตั้งใจเรียน วิธีการสอนแต่เก่าก่อนคือเล่า ที่เสมือนจริงไม่อาจจับต้องได้เช่นกัน เราจะโทษ เรอ่ื ง “ดีๆ” ให้เดก็ ฟงั อาจเป็นนิทานชาดก นทิ าน ใครถ้าพวกเขาจะเป็นบุคคลเสมือนจริงท่ีไม่เป็นท่ี สอนใจ ชีวประวตั คิ นดีชว่ ยเหลอื สังคม อยากให้ ตอ้ งการของสังคม เราจะสรา้ ง “พลเมอื ง” จาก เด็กมีค่านิยมอะไรต้องน�ำเร่ืองท่ีตัวละครมีบุคลิก คนทไ่ี มเ่ คยไดร้ บั การปลกู ฝงั คา่ นยิ มของความเปน็ เชน่ นนั้ มาเลา่ คณุ ธรรมใดทฝ่ี งั ใจแตเ่ ลก็ จะแจม่ ชดั พลเมอื งไดห้ รอื ไม่ ? เหมอื นสที ปี่ า้ ยลงบนผา้ ขาวสะอาด ถา้ อยากใหเ้ ดก็ มีความซื่อสัตย์ ต้องเล่าเรื่องคนซื่อสัตย์ให้ฟัง ถ้า หลงั มรี ายงานวจิ ยั วา่ เยาวชนไทยจำ� นวนมาก อยากให้เขาเป็นคนขลาดไม่มีเหตุผล ก็เล่าเรื่องผี เห็นความซ่ือสัตย์ไม่ใช่คุณสมบัติส�ำคัญ พวกเขา ถ้าอยากให้เป็นคนกล้าหรือเสียสละ จงเล่าเร่ือง อาจเคยถกู ปลกู ฝงั มาวา่ ความเกง่ สำ� คญั กวา่ ความด ี วรี บุรษุ ผูก้ ล้าหาญและเสยี สละ คนคดโกงยอมรับได้หากจะได้รับประโยชน์ด้วย สังคมไทยในอนาคตจะเป็นอย่างไร? ถ้าจะแก้ไข นิทานเรื่องเทพารักษ์กับคนตัดไม้ สอนว่า ค่านิยมที่ผิดน้ี จะต้องท�ำที่บ้านหรือโรงเรียน ถ้าเราเป็นคนซื่อสัตย์ก็จะได้รับสิ่งดีๆ ตอบแทน ระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครองกับครูใครแน่ท่ีมีหน้าท่ี ตรงกนั ขา้ มคอื การพดู โกหก กจ็ ะเกดิ ผลเสยี นทิ าน ต้องอบรมปลูกฝัง หลายคนโยนความผิดให้สื่อว่า เรื่องเด็กเล้ียงแกะแสดงให้เห็นผลเสียของการ เปน็ ตวั การทำ� ใหส้ งั คมขาดคณุ ธรรม ตวั การสำ� คญั โกหกเช่นกัน น่าเสียดายท่ีนิทานคุณธรรมเหล่านี้ คือโซเชียลมีเดียหรือไม่ท่ีกระจายข่าวสารข้อมูล มีไม่มาก แต่ที่น่าเสียดายยิ่งกว่า ท่ีมีเด็กอีกเป็น จนเกดิ ค่านยิ มที่ผดิ จำ� นวนมากไมม่ โี อกาสไดฟ้ งั นทิ านคณุ ธรรมพวกนน้ั ก่อนจะชี้ว่าฝ่ายใดผิดมาตั้งสติกันใหม่ว่า เด็กๆ หลายคนเติบโตในบ้านที่มีแต่เสียง อะไรคือ “คุณธรรม” คุณสมบัติพ้ืนฐานของ ทะเลาะกันระหว่างพอ่ แม ่ บ้างก็เตบิ โตขน้ึ ในบ้าน การเป็นผู้มีคุณธรรมมีอะไรบ้าง คุณธรรมคือ ที่มีแต่ความเงียบเหงา ขาดพ่อหรือแม่หรือทั้งคู่ ความประพฤตทิ ท่ี ำ� ใหห้ ลายปจั เจกอยรู่ ว่ มกนั ไดใ้ น หลายคนถูกเลี้ยงดูโดยผู้ปกครองท่ีไม่มีความรัก สังคม เบื้องต้นท่ีสุดคือต้องไม่ใช้ก�ำลังท�ำร้ายกัน ความอดทนและเวลาให ้ เดก็ ๆ สว่ นหนง่ึ มโี ทรทศั น์ ไม่ขโมยหรือหยิบส่ิงของของผู้อ่ืนที่เจ้าของ เป็นพี่เล้ียง พอเข้าอินเตอร์เน็ตเป็นก็ได้รับ ไม่อนุญาต ไม่โกหกหลอกลวงท�ำให้ผู้อ่ืนเสียหาย แทปเล็ตเป็นของขวัญ วันคืนมีชีวิตอยู่ในโลก เชอื่ ฟงั ไมท่ ำ� ผดิ กฎวนิ ยั ของสงั คมนน้ั และรว่ มแรง เสมอื นจรงิ ที่มีทุกอยา่ งเสมือนจรงิ รวมทง้ั ความรัก ใจช่วยเหลอื ผูอ้ น่ื ตามโอกาส ถา้ สงั คมรว่ มกนั แตง่ แตม้ สแี หง่ คณุ ธรรมลงไปในใจเดก็ พวกเขาสว่ นใหญจ่ ะเตบิ โต เปน็ ผใู้ หญท่ ไี่ มใ่ ชค้ วามรนุ แรงในการแกป้ ญั หา ไมร่ งั แกขม่ เหงคนออ่ นดอ้ ยกวา่ ซอ่ื สตั ย์ ในการกระทำ� และคำ� พดู ไมโ่ กง ไมเ่ อาเปรยี บคนอนื่ เคารพกฎหมาย ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ ของสังคม มีจิตใจเอื้อเฟื้อเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวม สละได้ซ่ึงเวลา แรงกายและทรพั ย์สนิ ในโอกาสท่ีเหมาะสม
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 13 เสวนาระดมสมอง 25 ม.ค. 57 ณ โรงแรมเทพนคร อ.เมือง จ.บรุ ีรมั ย์ เสวนาระดมสมอง 25 ม.ค. 57 สมั มนาระดมสมอง 26 ม.ค. 56 ณ ห้องประชุม สนง.พน้ื ท่ี ณ โรงแรมเทพนคร อ.เมอื ง จ.บุรีรมั ย์ การศึกษาประถมศกึ ษาบรุ รี ัมย์ เขต 1 (สพป.บุรรี มั ย์ เขต 1) อ.เมือง จ.บรุ ีรัมย์ สัมมนาระดมสมอง 13 ก.พ. 57 ณ หอ้ งธนาสาร สมั มนาระดมสมอง 26 ม.ค. 56 โรงแรมธรรมรินทร์ธนา อ.เมอื ง จ.ตรงั ณ หอ้ งประชมุ สพป.บรุ ีรัมย์ เขต 1 อ.เมอื ง จ.บรุ ีรมั ย์
14 สถาบันนโยบายศึกษา สมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการ 22 ม.ี ค. 56 ณ หอ้ งประชมุ สพป.บุรรี มั ย์ เขต 1 อ.เมอื ง จ.บรุ รี ัมย์ ตรวจเย่ียมโครงการ 26-27 ม.ิ ย. 57 ณ โรงเรยี นบา้ นสวายสอฯ และโรงเรยี น บา้ นตลาดควาย อ.เมอื ง จ.บุรรี ัย์ สมั มนาเชิงปฏิบตั ิการ 22 ม.ี ค. 56 ณ ห้องประชุม สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 อ.เมอื ง จ.บรุ ีรมั ย์
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 15 การศกึ ษากบั การส่งเสริมคุณธรรม กอ่ นมีภาษาเขยี น การส่งั สอนกระท�ำดว้ ยคำ� พดู เมอ่ื มีการประดิษฐ์ ตวั อกั ษร การสอนจงึ ทำ� ไดโ้ ดยทงั้ ภาษาพดู และภาษาเขยี น เมอื่ ศาสนาและ การศกึ ษายงั รวมกนั อยเู่ ปน็ หนง่ึ เดยี ว การเลา่ เรยี นอา่ นเขยี นจะดำ� เนนิ คไู่ ป กบั การสอนศีลธรรมเสมอ การสรา้ งคุณธรรมด้วยนทิ านอีสป อสี ปเปน็ นกั เลา่ นทิ านทมี่ ชี อื่ เสยี งทว่ั โลก เขา มชี วี ติ อยใู่ นชว่ งเวลา 560-620 ปกี อ่ นครสิ ตศ์ กั ราช ก่อนที่จะมีการประดิษฐ์ตัวอักษรและภาษา หรือ 208 ปี กอ่ นพทุ ธกาล อสี ปเปน็ ทาสอาศัยอยู่ เขียน มนุษย์ทุกชาติทุกเผ่าพันธุ์ส่ือสารกันด้วย ทเี่ มอื งซารด์ สิ บนเกาะซามอสของประเทศกรกี ใน คำ� พดู เรอ่ื งราวตา่ งๆ สง่ ผา่ นกนั จากปาก ผเู้ ลา่ เรอ่ื ง ปจั จบุ นั เขาเปน็ คนพกิ าร ขเ้ี หร่ แตฉ่ ลาดมไี หวพรบิ จงึ มคี วามสำ� คญั ตอ้ งมที ง้ั ความจำ� ดแี ละมศี ลิ ปะใน และทส่ี ำ� คญั มจี ติ ใจดี เขาเลา่ เรอ่ื งทเี่ ขาแตง่ เองจน การเลา่ สร้างอารมณร์ ว่ มในกลุม่ ผูฟ้ ัง บางคนยงั มี มีชื่อเสียงโด่งดัง ในท่ีสุดอีสปก็ถูกปลดปล่อยให้ ภาษาที่มีสัมผัสไพเราะ ร้องเพลงหรือเล่นดนตรี เป็นอิสระจากการเปน็ ทาส ประกอบ สร้างความเพลิดเพลินบันเทิงยิ่งข้ึน นักเล่าท่ีเดินทางไปต่างชุมชนคือผู้เผยแพร่เร่ือง หลังได้รับอิสรภาพกษัตริย์เครซุสให้อีสปไป ในชมุ ชนหนง่ึ ใหก้ ระจายไปกวา้ งขวาง ไมว่ า่ จะเปน็ เล่านิทานในราชส�ำนัก เร่ืองที่อีสปเล่ามีทั้งความ เรอื่ งการเดนิ ทางผจญภยั ของบรรพบรุ ษุ ความเชอ่ื สนกุ สนานและใหแ้ งค่ ดิ เปน็ ทพี่ อใจของทง้ั กษตั รยิ ์ ในส่ิงศักดิ์สิทธิ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ประเพณี คนในราชสำ� นัก และชาวบา้ นท่ัวไป เขาไดร้ ับการ วัฒนธรรม ค�ำส่ังสอน ข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติ แตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ ราชทตู เดนิ ทางไปเจรญิ สมั พนั ธไมตรี ท้ังยังสร้างความบันเทิงสนุกสนาน จึงได้รับการ ตามเมืองต่างๆ อิสปแต่งเร่ืองให้แง่คิดชี้โทษภัย ตอ้ นรบั ในทกุ สถานท่ี นกั เลา่ นทิ านยงั ชพี ไดจ้ ากคา่ หรือส่งเสริมการท�ำความดีตามสถานการณ์ เช่น ตอบแทนท่ีได้รับเป็นเงินทองของใช้หรืออาหาร ที่เมืองโครินธ์ ชาวเมืองก�ำลังแตกสามัคคี อีสป การเล่าเรื่องราวจึงเป็นทั้งการให้ความรู้ สร้าง เลา่ เรอื่ ง “กบเลอื กนาย” ชใี้ หเ้ หน็ วา่ ถา้ เลอื กจะใช้ ความบนั เทิง และยงั ใชเ้ พือ่ สอนศีลธรรม สรา้ งคา่ กฎหมแู่ ทนกฎหมายแล้วจะเป็นอย่างไร นยิ มทีด่ ีงามให้แกผ่ ู้ฟงั
16 สถาบันนโยบายศึกษา นทิ านของอสิ ปมอี ทิ ธพิ ลมากแตก่ น็ ำ� จดุ จบที่ นอกจากนิทานอีสปแล้ว บรรดานิทาน นา่ เศรา้ มาสูต่ วั เขา ทีเ่ มอื งเดลฟิ ซ่ึงชาวเมอื งกำ� ลงั พ้ืนบ้านส่วนใหญ่ก็มีคติสอนใจให้เห็นว่าท�ำดีได้ดี ถูกกดข่ีโดยผู้ปกครอง อีสปเล่านิทานโดยใช้สัตว์ ทำ� ชัว่ ไดช้ วั่ เชน่ กัน เป็นตัวละครสมมติสะท้อนความอยุติธรรมใน สงั คม เจ้าเมืองโกรธมากจงึ ให้คนแอบเอาขนั ทอง การสรา้ งคณุ ธรรมโดยสถาบนั ศาสนา ศักด์ิสิทธิ์แห่งวิหารเทพอะพอลโลใส่ไว้ในหีบ สัมภาระของอีสป เขาถูกตั้งข้อหาว่ากระท�ำการ เมื่อมีศาสนาเกิดขึ้นในโลก ค�ำสั่งสอนของ ลบหลู่เทพเจ้าและพยายามท�ำลายล้างชาวเมือง ศาสดาเป็นกรอบความประพฤติและปฏิบัติว่า ถูกตัดสินประหารชีวิตโดยให้โยนลงมาจากหน้า ศาสนกิ ชนควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรกบั บคุ คลอนื่ ศาสนา ผาสูง จึงมีบทบาทส�ำคัญในการเป็นกรอบของศีลธรรม และสร้างค่านิยมเร่ืองคุณธรรมให้เป็นคนดีและ แม้อีสปจะตาย แต่นิทานของเขาได้ถูกเล่า ช่วยเหลอื ผู้อนื่ เช่น ศาสนาพุทธ สอนใหล้ ะความ ต่อๆ กันมา และต่อมาก็บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์ ชวั่ โดยการประพฤตติ ามศลี เบอ้ื งตน้ ทสี่ ดุ คอื ศลี หา้ อักษรและแปลออกเปน็ ภาษาต่างๆ มากมาย เหตุ ใหเ้ มตตาตอ่ ทกุ ชวี ติ ไมฆ่ า่ และเบยี ดเบยี นผอู้ นื่ ให้ ที่เรยี กเรอ่ื งท่ีอิสปเลา่ ว่า “นิทาน” ก็เพราะเขาใช้ ซอ่ื สตั ย์ ไมล่ กั ฉอ้ โกง ไมล่ ว่ งละเมดิ ลกู เมยี ผอู้ นื่ ไม่ ตวั ละครเปน็ สตั วต์ า่ งๆ แตม่ กี ารกระทำ� และคำ� พดู พดู เทจ็ พดู หยาบสอ่ เสยี ด ยยุ ง เพอ้ เจอ้ มคี วามรกั เหมือนคนเพ่ือให้คนฟังเข้าใจว่าเป็นเรื่องเล่าเพ่ือ สามัคคี และไมด่ ่มื สุราเมรัย ยาเสพติดอนั เปน็ เหตุ ความบันเทิงสนุกสนานทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ไม่ได้ ใหป้ ระมาท หมายถงึ บคุ คลใด แตท่ กุ เรอ่ื งเปน็ การสอนศลี ธรรม ศาสนาคริสต์มีหลักปฏิบัติท่ีเรียกว่าบัญญัติ ทางอ้อมให้ผู้คนมีคุณธรรม ที่เป็นเช่นนี้เพราะใน 10 ประการ สอนสิ่งท่ีพึงกระท�ำต่อเพ่ือนมนุษย์ ยุคเกือบสามพันปีที่แล้วมีเพียงนักบวชเท่านั้นท่ีมี คอื การเคารพบดิ ามารดา ไมฆ่ า่ คน ไมผ่ ดิ ประเวณี สิทธิในการอบรมส่ังสอนศีลธรรม ใครท่ีแสดงตัว ไม่ลักทรัพย์ ไม่นินทาว่าร้าย ไม่คิดร้ายและโลภ เป็นผู้รู้อาจถูกพวกนักบวชและผู้น�ำทางศาสนา อยากได้ของผู้อื่น ให้มีความรักท่ีบริสุทธิ์ มี กล่าวหาว่าเปน็ พอ่ มดหมอผซี ึง่ มีโทษถงึ ตาย เมตตา กรุณา มุทิตา ต่อเพ่ือนมนุษย์ตามค�ำ เมื่อมีภาษาเขียนและมีการบันทึกเรื่องราว สอนทว่ี า่ “จงรักเพ่อื นบา้ นเหมือนรักตนเอง” ตา่ งๆ เป็นลายลกั ษณอ์ ักษรลงในส่ือ เช่น แผน่ หิน ศ า ส น า อิ ส ล า ม ก็ ส อ น ใ ห ้ อ ด ท น ใ น ก า ร แผน่ ดนิ เหนยี ว ใบลาน ผา้ และกระดาษ จารกึ เหลา่ ท�ำความดี ช่วยเหลือผู้ยากจนโดยการบริจาค นน้ั ถกู ใชเ้ ปน็ สอ่ื ในการเรยี นอา่ นเขยี น นทิ านอสิ ป ทรัพยส์ ินที่เรียกว่าการบริจาคซากาตร้อยละ 2.5 เป็นหน่ึงในหนังสือเรียนเม่ือมีการศึกษาอย่างเป็น ของรายไดท้ ง้ั ป ี ระบบ เม่ือระบบการศึกษาพัฒนาจนมีข้อมูลให้ สว่ นศาสนาอน่ื ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ฮนิ ดู ซกิ ส์ ฯลฯ เรยี นรมู้ ากมาย นทิ านอสี ปหายไปจากหอ้ งเรยี นแต่ ก็ล้วนแต่ส่ังสอนให้ท�ำความดี ละเว้นความช่ัว มี ยงั คงมวี างขายในร้านหนังสอื ทวั่ โลก เมตตา เสียสละ ไม่เบียดเบยี นกนั ท้ังส้นิ
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 17 ศาสดาและบุคคลส�ำคัญในแต่ละศาสนามี เจ้าอยู่หัวก็ทรงภาษาอังกฤษได้คล่องเช่นกัน ความประพฤตวิ ตั รปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี การนำ� นอกจากนยี้ งั มเี จา้ นายองคอ์ นื่ ๆ และขนุ นางทเ่ี รยี น เรื่องราวชีวประวัติมาเล่าจึงเป็นตัวอย่างท่ีน่า ภาษาอังกฤษจนสามารถสื่อสารกับชาวต่าง ยกย่อง น่าสนใจ และเข้าใจง่ายส�ำหรับคนทุกวัย ประเทศได้ เช่น เรื่องในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าท่ีเล่าเป็น นิทานชาดกฟังได้ท้ังค�ำสอนท้ังความบันเทิง ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ประเทศไทยก่อนจะมโี รงเรยี นแบบตะวนั ตก ผ้รู ู้ ท�ำใหค้ นทั่วไปมีชีวิตทก่ี ้าวหน้าขน้ึ คนธรรมดาจึง หนังสือส่วนใหญ่เป็นพระภิกษุที่บวชเรียนมานาน เรมิ่ สง่ บตุ รชายเขา้ เรยี นในโรงเรยี นของศาสนาครสิ ต์ ใครอยากอา่ นเขียนไดต้ อ้ งเรยี นจากวัด อยากอา่ น ส่วนเด็กหญิงมีโอกาสน้อยมากท่ีจะได้เล่าเรียน เขียนคล่องก็บวชเป็นพระเรียนจากภิกษุที่มีความ โดยเฉพาะในชนชั้นสูงไม่นิยมให้เด็กหญิงไปเรียน รู้ การเรียนจึงสอดแทรกด้วยการสั่งสอนศีลธรรม กับชาวต่างชาติ จนกระท่ังเจ้าฟ้ามงกุฎเสด็จข้ึน จนเกอื บจะเปน็ เนอื้ เดยี วกนั แมใ้ นสมยั อยธุ ยาเมอื่ ครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า มีการแต่งวรรณคดีใช้ในการสอนอ่านเขียน เช่น เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 4 พระองคท์ รงเหน็ ความสำ� คญั เรื่องสมุทโฆษค�ำฉันท์และนันโทปนสูตร เรื่องราว ของภาษาอังกฤษและวิทยาการตะวันตก จึงทรง กย็ งั คงเปน็ แนวบญุ บาป สอนใหเ้ ปน็ คนดี ไมล่ ะเมดิ ว่าจ้างให้นางแอนนา ทีเลียวโนเวนส์ มาสอน กฎกติกาสังคม การปลูกฝังคุณธรรมศีลธรรมจึง หนังสือให้พระราชโอรสธิดาในพระราชวัง เปน็ เรื่องคู่ขนานไปกับการสอนอา่ นเขยี น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเม่ือยัง ทรงพระเยาว์ก็ทรงได้เรียนภาษาอังกฤษกับนาง การสรา้ งคณุ ธรรมในโรงเรยี น แอนนา พระองคท์ รงเหน็ ความสำ� คญั ของการศกึ ษา ตามแนวทางตะวันตก หลังเสด็จขึ้นครองราชย์ ในรัชกาลที่สามแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี 2411 ทรงโปรดใหต้ ้งั โรงเรียนสกูลหลวงและ นักบวชและฆราวาสในศาสนาคริสต์นิกาย โรงเรียนหลวงสอนภาษาอังกฤษข้ึน ต่อมาได้เป็น โรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนท์เข้ามาเผยแพร่ โรงเรยี นนนั ทอทุ ยาน ทม่ี นี ายแพทยแ์ มคฟารแ์ ลนด์ ศาสนาในไทย ชาวตา่ งชาตสิ องนกิ ายนไ้ี ดจ้ ดั ตงั้ โรง บตุ รชายหมอสอนศาสนานกิ ายโปรเตสแตนทช์ าว เรียนเลก็ ๆ ข้ึนสอนหนงั สือให้เดก็ ไทยควบคไู่ ปกบั อเมรกิ นั เป็นครูใหญ่ และในปี พ.ศ. 2424 จึงเร่มิ การเผยแพรศ่ าสนา เพอ่ื แสวงหาความรวู้ ทิ ยาการ ก่อต้ังโรงเรียนพระต�ำหนักสวนกุหลาบเพ่ือการ จากโลกตะวนั ตก เจา้ นายชนั้ สงู และขา้ ราชการเรม่ิ เตรยี มคนเปน็ มหาดเลก็ โรงเรยี นพระตำ� หนกั สวน สนใจท่ีจะเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ พระบาท กุหลาบเสร็จสมบูรณ์ในปี 2427 และในปีนั้นเอง สมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลทีส่ ่ี เม่อื คร้งั กต็ ง้ั โรงเรยี นวดั มหรรณพาราม เปดิ สอนแกเ่ ดก็ ชาย ยังคงผนวชไม่ได้ข้ึนครองราชย์ ทรงศึกษาภาษา ท่ัวไป อังกฤษจนอ่านเขยี นไดค้ ล่อง พระอนุชาคอื เจา้ ฟา้ จุฑามณีซึ่งต่อมาคือพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า หลังจากที่มีโรงเรียนชายเกิดข้ึนระยะหนึ่ง แลว้ ภรรยานกั สอนศาสนาชาวอเมรกิ นั ไดเ้ ปดิ สอน
18 สถาบันนโยบายศึกษา วิชาการเรือนเย็บปักถักร้อยให้เด็กหญิงชาวสยาม ศกึ ษาในโรงเรยี นตามแบบตะวนั ตก การปรบั ปรุง ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2413 ได้พัฒนาเป็นโรงเรียน ระบบการบริหารราชการแผ่นดินท�ำให้มีความ กุลสตรีวังหลังและสอนวิชาท่ัวๆ ไปรวมทั้งภาษา ตอ้ งการผมู้ คี วามรแู้ บบชาวตะวนั ตกมากขนึ้ เรอื่ ยๆ อังกฤษด้วย โรงเรียนวังหลังเริ่มเป็นที่นิยมหลัง ในชั้นแรกได้มีการว่าจ้างชาวตะวันตกเข้ามารับ จากมสิ โคล มาเปน็ อาจารยใ์ หญ่ เหตกุ ารณท์ สี่ รา้ ง ราชการ ตอ่ มาจงึ ตง้ั โรงเรยี นจดั การศกึ ษาเพอื่ ผลติ ชอ่ื เสยี งใหแ้ กโ่ รงเรยี นและทำ� ใหผ้ ปู้ กครองตอ้ งการ คนเขา้ รบั ราชการ จะให้เด็กหญิงได้เรียนหนังสือเช่นเดียวกับชาย ในปี พ.ศ. 2464 มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. คือ ในการเสด็จเยือนราชอาณาจักรสยามของ ประถมศึกษา ก�ำหนดใหเ้ ด็กอาย ุ 7-14 ปีทุกคน บรรดาราชอาคนั ตกุ ะตา่ งประเทศ ในปี พ.ศ. 2433 ต้องเรียนหนังสือ หลังการเปล่ียนแปลงการ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง ปกครองในปี พ.ศ. 2475 มีการท�ำแผนการศกึ ษา ขอให้มิสโคล ส่งครูท่ีพูดภาษาอังกฤษได้ดีไปช่วย ชาตเิ ป็นระยะ เชน่ พ.ศ. 2479 พ.ศ. 2494 และ ในงานรับรองท่ีพระราชวังบางปะอิน ปรากฏว่า พ.ศ. 2503 ทุกแผนยังมุ่งการจัดการศึกษาโดย บรรดาครสู ตรชี าวไทยทแี่ หมม่ โคล สง่ ไปนน้ั สรา้ ง มีการศึกษาภาคบังคับท่ีระดับประถมศึกษา ความประทับใจ พูดภาษาอังกฤษได้ดี มีมารยาท จนกระท่ังหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. สากล มีความรอบรู้พอจะสนทนาเรื่องต่างๆ ได้ 2540 ก�ำหนดให้รัฐจัดการศึกษาฟรีให้เด็กทุกคน เป็นจุดเร่ิมต้นท่ีท�ำให้ผู้ปกครองเห็นความส�ำคัญ เปน็ เวลา 12 ปี คอื จากระดับประถมจนถงึ ระดับ ของการศกึ ษา และมีการตัง้ โรงเรยี นสตรอี ีกหลาย มัธยมศึกษา แหง่ ทง้ั โดยภาครฐั และเอกชน แม้ว่าจะมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงในด้าน หลงั จากทม่ี กี ารตงั้ โรงเรยี นทง้ั ของหลวงและ การศกึ ษามากค่ี รั้งกต็ าม การเรียนการสอนตลอด โดยราษฎรมาแล้วจ�ำนวนหนึ่ง ใน พ.ศ. 2430 จงึ ถึงรูปแบบของการจัดการศึกษาแม้จะใช้แนวทาง มีการตั้งกรมศึกษาธิการเพื่อก�ำกับดูแลโรงเรียน จากประเทศตะวันตก แต่มีสาระการสอนให้เป็น เหล่าน้ัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2435 ได้เปล่ียนเป็น คนดีมีศีลธรรม ซ่ือสัตย์สุจริต มีความประพฤติ กระทรวงธรรมการ และเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวง เหมาะสม กตัญญูสอดแทรกเข้าไปในหลักสูตร ศึกษาธกิ ารในปี พ.ศ. 2484 บางยุคสมัยเรียกวิชาเหล่านี้ว่า “หน้าที่พลเมือง จากสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และศีลธรรม” บางยุคสมัยรวมเข้าไว้ในหลักสูตร เปน็ ตน้ มา ระบบการศกึ ษาเปลยี่ นจากเดมิ ทม่ี กี าร สงั คมศึกษา “การเสริมสรา้ งประสบการณช์ วี ติ ” เรียนการสอนกันในวัดโดยพระภิกษุ มาเป็นการ แม้การศึกษาจะแยกออกจากศาสนาและการศึกษาในระบบจะต้องมุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการเป็นส�ำคัญ แต่บทเรียนเรื่องคุณธรรมและศีลธรรมก็ยังคง ถกู บรรจุในหลกั สูตร
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 19 สัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการ 9 ธ.ค. 57 ณ โรงเรียนบา้ นทุ่งนา อ.เมอื ง จ.ตรัง ตรวจเยี่ยมโครงการ 4-5 ส.ค. 57 ณ โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นดอนนางงาม และโรงเรียนบ้านโคกสำ� โรง อ.เมอื ง จ.บุรรี มั ย์
20 สถาบันนโยบายศึกษา สมั มนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร 18 พ.ย. 58 ณ โรงเรียนบา้ นท่งุ นา อ.เมอื ง จ.ตรงั
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 21 ไอควิ อีควิ และเอม็ คิว ในห้องเรียนเด็กเรียนเก่งมักเป็นที่ยกย่องชื่นชม สังคมให้เกียรตินับถือ คนเรียนสูงมาตลอด แต่คนท่ีเรียนเก่งเรียนสูงกลับไม่มีความสุขทุกคนไป หลายคนขาดความยืดหยุ่น เข้ากับคนยาก มีโลกส่วนตัวสูง ในขณะที่คน ธรรมดาท่ีมีวุฒิภาวะทางอารมณ์กลับเป็นผู้ประสบความส�ำเร็จในชีวิตและ เป็นทร่ี กั นบั ถือของคนทัว่ ไป ไอควิ (IQ: Intelligent Quotient) คะแนนจากผลการทดสอบแบ่งเป็นห้าระดับ กลมุ่ ทไ่ี ดค้ ะแนนสงู สดุ จะสง่ ไปฝกึ เพอ่ื เปน็ นายทหาร มีการวัดระดับสติปัญญามนุษย์เป็นคร้ังแรก และลดหล่ันกันลงมาตามล�ำดับจนถึงผู้ได้คะแนน ในปี พ.ศ. 2448 โดยนกั จติ วทิ ยาชาวฝรงั่ เศส อลั เฟรด ต่�ำลงมาถูกส่งไปฝึกเป็นพลทหารทั่วไป การ บเิ นต์ (Alfred Binet : 8 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2400 ทดสอบนท้ี ำ� ใหส้ ามารถคดั เลอื กบคุ คลทมี่ ขี ดี ความ – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2454) และธีโอโดร์ ซีโมน สามารถเหมาะสมกับหนา้ ท่ี หลงั สงครามเลกิ จึงมี (Theodore Simon : 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 การพัฒนาแบบทดสอบต่อเพ่ือใช้ในการแยกเด็ก – 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504) เพ่ือแยกบุคคล ทม่ี ีความฉลาดเหนอื ระดบั ปกติ ปัญญาอ่อนออกจากคนปกติ เพ่ือจะได้จัดการ ศกึ ษาใหอ้ ยา่ งเหมาะสม เขาใชห้ ลกั การเปรยี บเทยี บ เทอมาน เป็นนักจิตวิทยาและนักการศึกษา ระหว่างความสามารถท่ีควรจะเป็นกับอายุสมอง มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด เขาศึกษากลุ่มเด็กท่ีมี ของบุคคลนั้นแล้วค�ำนวณออกมาเป็นคะแนน ความเฉลียวฉลาดเป็นพิเศษ (Gifted Children) แบบทดสอบน้ีถูกพัฒนาเป็นล�ำดับจนในระหว่าง และพบว่าเด็กฉลาดมักจะมีร่างกายแข็งแรงและ สงครามโลกคร้ังที่ 1 (พ.ศ. 2457 – พ.ศ. 2461) ปรับตัวเข้าสังคมได้ดี เขาสรุปว่าระดับสติปัญญา ชาวอเมรกิ นั ช่ือ เลวสิ แมดสิ นั เทอมาน (Lewis หรือเชาวน์ปัญญาเป็นปัจจัยให้บุคคลเรียนเก่ง Madison Terman : 15 มกราคม พ.ศ. 2520 - มีสมองว่องไวและจะมีอาชีพท่ีดีเม่ือโตเป็นผู้ใหญ่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2499) ได้น�ำไปใช้วัดเชาวน์ เขาสนบั สนนุ ใหม้ กี ารจดั การศกึ ษาพเิ ศษเฉพาะให้ ปญั ญาของบรรดาทหารที่ถูกเกณฑ์ไปรบ ในแบบ เดก็ กลมุ่ ทมี่ คี วามเฉลยี วฉลาดพเิ ศษน้ี เพราะความ ทดสอบมีท้ังค�ำถามที่เป็นตัวหนังสือและรูปภาพ ฉลาดแมจ้ ะสบื ทอดทางพนั ธกุ รรม แตห่ ากไมไ่ ดร้ บั
22 สถาบันนโยบายศึกษา การพัฒนาท่ีถูกต้องก็จะไม่สามารถมีสติปัญญาได้ บุคคลที่มีไอคิวสูงกว่า 140 ถือว่าเป็น ถึงขีดความสามารถท่ีควรจะเป็นก็ได้ การอบรม อัจฉริยะซ่ึงจะพบน้อยมาก ปัจจุบันน้ีมีอัจฉริยะ เลี้ยงดูและสภาพแวดล้อมจึงปัจจัยส�ำคัญท่ีจะ เพียงไมก่ ่คี น เชน่ ลดทอนหรอื สง่ เสรมิ ความเฉลยี วฉลาดทส่ี ง่ ทอดมา ทางพนั ธกุ รรม เทอเรนซ์ เตา๋ (Terrence Tao : 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 – ปัจจุบนั ) วยั 36 ไอควิ 230 เดมิ คุณสมบัติความเฉลียวฉลาดนี้เรียกกันว่า เปน็ ชาวออสเตรเลยี (ตอ่ มาได้รบั สัญชาติอเมริกัน “ไอควิ ” (Intelligence Quotient :IQ) ซง่ึ หมาย อีกสัญชาติหนึ่ง) ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ถึง ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้ เอกจากมหาวทิ ยาลยั พรนิ ซต์ นั เมอ่ื อายุ 20 ปี และ เหตุผล การคำ� นวณ การเชอื่ มโยง ได้รับแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์ท่ีภาควิชา คณติ ศาสตรท์ ่ี UCLA เม่ืออายุเพยี ง 24 ปี ได้ช่ือ ไอคิว เป็นส่ิงติดตัวคนเรามาตามธรรมชาติ ว่าเป็นผู้มีอายุน้อยท่ีสุดที่เคยได้รับการแต่งต้ังให้ จากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม ไอคิวเป็น เป็นศาสตราจารย์ของสถาบันดังกล่าว เขาได้รับ ศักยภาพทางสมองที่ติดตัวทุกคนมาแต่ก�ำเนิด เหรียญทองในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก เปลยี่ นแปลงแกไ้ ขไดย้ าก จากการศกึ ษาวจิ ยั พบวา่ ระหว่างประเทศ เมื่ออายุ 13 ปี ซึ่งถือว่าเป็นผู้ ประสบการณ์ของชวี ิต และการศึกษามีผลตอ่ การ มีอายนุ ้อยทีส่ ดุ ในเวลานั้น เปลยี่ นแปลงระดบั ไอควิ ได้น้อยมาก เซอร์ แอนดรูว์ วลิ สิ (Sir Andrew Wiles 11 แบบทดสอบไอคิวได้รับการพัฒนามาเป็น เมษายน พ.ศ. 2496 – ปัจจุบัน) ชาวอังกฤษ ล�ำดับ แต่ยังคงมีเน้ือหาเดิมคือการทดสอบความ ไอคิว 170 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ สามารถ คิด ความเข้าใจ การคิดค�ำนวณ ความคิดท่ีเป็น แก้โจทย์คณิตศาสตร์ท่ียากท่ีสุดในโลกได้ นั่นคือ นามธรรม โดยให้หาความเหมือน ความจ�ำระยะ ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาต์ (Fermat’s Last สนั้ โดยใชก้ ารจำ� จากตวั เลข ภาษาในสว่ นของการ Theorem) ซ่ึงเป็นทฤษฎีบทที่โด่งดังใน ใช้ค�ำ การต่อภาพในส่วนที่ขาดหายไป การจับคู่ ประวัติศาสตร์ของคณิตศาสตร์ ตลอดระยะเวลา โครงสรา้ ง โดยดจู ากรปู รา่ งหรอื ลวดลาย การเรยี ง ล�ำดับภาพเหตุการณ์ต่างๆ การต่อรูปภาพหรือ จกิ ซอว์ (jigsaw) การหาความสัมพันธข์ องตัวเลข และสัญลักษณ์ เป็นตน้ ผลการทดสอบไอคิวจะให้เป็นคะแนน ระหว่าง 0-140 โดยปกตแิ ลว้ มนุษย์จะมไี อคิวอยู่ ที่ 90 – 110 เปน็ ส่วนใหญ่ คนท่มี ีไอคิวสูงหรือตำ่� กวา่ นจ้ี ะมนี อ้ ยมาก โดยสามารถจะแสดงเปน็ กราฟ เหมือนระฆังควำ�่
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 23 358 ปี ไมม่ ีใครสามารถพสิ จู นไ์ ด้ถกู ต้องเลย รับความสนใจเท่ากบั นกั เรยี นที่เก่งวชิ าการ ต่อมาเม่ือพบว่าคะแนนการทดสอบไอคิว จดู ติ โพลการ์ (Judith Polgar 23 กรกฎาคม ไม่สามารถระบุถึงความสามารถในความคิด พ.ศ. 2519 – ปัจจุบัน) ชาวฮังการี ไอคิว 170 สร้างสรรค์ (Creative Thinking) และความ หญิงสาวผู้ซ่ึงเป็นยอดฝีมือหมากรุกฝ่ายหญิง สามารถทางอารมณ์คือ อีคิว (Emotional เธอไดร้ บั การอบรมฝกึ ฝนจากพอ่ ในการเลน่ หมากรกุ Quotient หรือ Emotional Intelligence) ใน ตงั้ แต่วัยเยาว์ ในท่ีสดุ เธอก็สามารถเอาชนะพอ่ ได้ ช่วงหลังๆ ความเชื่อม่ันในเร่ืองไอคิวจึงเริ่มสั่น ตัง้ แตอ่ ยูใ่ นวัยเพียง 5 ขวบ และสามารถเอาชนะ คลอน จนในทสี่ ดุ เมอ่ื 10 ปที ผี่ า่ นมา จงึ ยอมรบั กนั ในการแข่งขันหมากรุกได้เป็นแกรนด์มาสเตอร์ วา่ ในความเปน็ จรงิ ชีวติ ตอ้ งการทักษะและความ ตั้งแตอ่ ายุเพยี ง 15 ปี และทำ� ลายสถติ โิ ลกเดมิ ที่ สามารถในด้านอื่นๆ อีกมากมายที่นอกเหนือไป ผ้ชู ายท�ำไว้กอ่ นหนา้ ลงอย่างราบคาบ จากการจ�ำเก่ง การคิดเลขเก่ง หรือการเรียนเก่ง ความสามารถเหล่านี้อาจจะช่วยให้คนๆ หนึ่งได้ อย่างไรก็ตาม ในบุคคลเดียวกัน แต่ละช่วง เรียนจบมหาวิทยาลัย มีโอกาสได้ท�ำงานในสถาน อายไุ อควิ อาจจะเปลยี่ นแปลงได้ คอื ยงิ่ โตไอควิ มกั ท่ีดีๆ มีรายได้ดี แต่ความส�ำเร็จสองด้านน้ีไม่ใช ่ จะลดลง โดยท่ัวไปวัย 26 ปีเป็นช่วงอายุท่ีจะม ี หลกั ประกันวา่ จะต้องมีชีวิตท่ีมคี วามสุขเสมอไป ไอคิวสูงสุดและจะค่อยๆ ลดลง จึงไม่สามารถจะ นำ� ไอควิ คนอายตุ า่ งกันมาเทียบกนั งานวิจัยชิ้นหน่ึงในรัฐแมสสาชูเสท สหรัฐ- อเมริกา ท่ีศึกษาความสัมพันธ์ของไอคิวกับ จากการศึกษาเร่ืองไอคิวยังพบว่าปัจจัยบวก ความส�ำเร็จในชวี ิต โดยติดตามเก็บขอ้ มลู จากเด็ก ที่ท�ำให้ไอคิวสูงคือพันธุกรรมและขนาดสมอง ใน 450 คน นานถงึ 40 ปี พบวา่ ไอควิ มคี วามสมั พนั ธ์ ขณะท่ีการศึกษาเล่าเรียนแม้จะเป็นปัจจัยบวก เพียงเล็กน้อยกับความสามารถในการท�ำงาน ท�ำให้ระดับสติปัญญาเพ่ิมสูงขึ้นได้แต่เป็นเพียง ได้ดีหรือกับการด�ำเนินชีวิต และพบว่าปัจจัยท่ี ระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่ตลอดชีวิต ผิดกับ สามารถจะท�ำนายถึงความส�ำเร็จในด้านต่างๆ การเรียนดนตรีในวัยเด็กท่ีสามารถจะยกระดับ ของชีวิตได้ดีกว่า กลับเป็นความสามารถด้าน ไอควิ ได้ สว่ นสภาพแวดลอ้ ม อาหาร มลภาวะ และ ตา่ งๆ ในวยั เดก็ ทไี่ มเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ไอควิ เชน่ ความ การบาดเจ็บท่ีสมองคือปัจจัยลบที่ท�ำให้ไอคิวต�่ำ สามารถในการจัดการกับความผิดหวัง การ กว่าที่ควรเป็น และการเป็นเพศชายหรือหญิงนั้น ควบคมุ อารมณ์ และการเขา้ กบั บคุ คลอนื่ ๆ ไดด้ *ี ไมม่ ผี ลต่อไอคิวแตอ่ ยา่ งใด ในอดตี มกี ารใหค้ วามสำ� คญั กบั ไอควิ มาก เดก็ ตัวอย่างงานวิจัยอีกเร่ืองหนึ่ง คือการ ทเ่ี รยี นเกง่ จะไดร้ บั การชน่ื ชมทง้ั จากพอ่ แมแ่ ละครู ติดตามเก็บข้อมูลจากผู้ที่จบปริญญาเอกทาง ในขณะที่เด็กท่ีเรียนระดับปานกลางหรือแย่มักไม่ วิทยาศาสตร์ 80 คน ต้ังแต่ตอนทีย่ งั ศึกษาอยู่ไป ค่อยเป็นทส่ี นใจ หรอื ถกู ดุว่าเปน็ ประจ�ำด้วยซ้�ำไป ผูม้ ีความสามารถด้านดนตรี กีฬาหรือศิลปะ ไมไ่ ด้ * ท่ีมา : https://en.wikipedia.org/wiki/Cambrige_ Somerville_Youth_Study เขา้ ถงึ เม่ือ มกราคม 2558
24 สถาบันนโยบายศึกษา จนถึงบ้ันปลายชีวิตในวัย 70 ปี พบว่า ความ ได้โอกาสฝึกฝน และอยู่ในสังคมวัฒนธรรมท่ีเอ้ือ สามารถทางด้านอารมณ์และสังคมมีส่วนท�ำให้ อำ� นวยใหม้ โี อกาสนำ� ความสามารถนัน้ ออกมาใช้ ประสบความส�ำเร็จในวิชาชีพและมีช่ือเสียง มากกว่าความสามารถทางเชาวน์ปัญญาหรือ จากการที่พบว่าบุคคลท่ีมีไอคิวสูงไม่จ�ำเป็น ไอคิวถึง 4 เทา่ ** ตอ้ งประสบความสำ� เรจ็ ในชวี ติ และมคี วามสขุ เสมอไป เพราะพวกเขาขาดความฉลาดทางอารมณ์หรือ อีคิว (EQ: Emotional Quotient or ความสามารถทางอารมณ์จะมีการด�ำเนินชีวิต Emotional Intelligence) อย่างสร้างสรรค์และมีความสุข จึงเร่ิมมีผู้ให้ ความสนใจกับ อีคิว (Emotional Quotient or ความฉลาดหรือสติปัญญาไม่ได้มีเพียงด้าน Emotional Intelligence) คือความสามารถใน ความคดิ อยา่ งเดยี ว แตม่ ีอย่างน้อย 8 ด้าน คือ การมปี ฏิสมั พันธท์ ีด่ ีกบั ผ้อู น่ื 1) ด้านตรรกศาสตร์ - คณิตศาสตร ์ การมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีน้ีเร่ิมถูกหยิบยกมา (Logical-Mathematical Intelligence) วิเคราะห์ในมุมมองใหม่ท่ีพยายามจะวัดออกมา เปน็ คา่ ตวั เลขเชน่ ไอควิ แมย้ งั ไมค่ อ่ ยประสบความ 2) ด้านภาษา (Linguistic Intelligence) สำ� เรจ็ นกั แตก่ เ็ ปน็ เรอ่ื งทไ่ี ดร้ บั ความสนใจกนั อยา่ ง 3) ด้านมิติสัมพันธ์ (Visual Spatial กว้างขวาง Intelligence) 4) ด้านการเคล่ือนไหวร่างกาย (Bodily ในปี พ.ศ. 2533 สองนักจิตวทิ ยา ซาโลเวย์ Kinesthetic Intelligence) และเมเยอร์ (Peter Salovey : 21 กุมภาพันธ์ 5) ด้านดนตรี (Musical Intelligence) พ.ศ. 2501 ถึงปัจจุบนั และ John D. Mayer 6 6) ด้านความสัมพันธ์กับผู้อ่ืน (Inter- ธันวาคม พ.ศ. 2496 ถึงปจั จบุ นั ) กล่าวถงึ ความ personal Intelligence) ฉลาดทางอารมณ์ (EI : Emotional Intelligence) 7) ด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal วา่ “เปน็ รปู แบบหนึ่งของความฉลาดทางสังคม ท่ี Intelligence) ประกอบด้วยความสามารถในการรู้อารมณ์และ 8) ดา้ นธรรมชาตวิ ิทยา (Naturalist Intel- ความรู้สึกของตนเองและผูอ้ ืน่ สามารถแยกความ ligence) แตกต่างของอารมณ์ท่ีเกิดข้ึน และใช้ข้อมูลน้ีเป็น มนุษย์แต่ละคนมีความฉลาดด้านต่างๆ ที่ เครอื่ งช้นี ำ� ในการคดิ และกระท�ำส่ิงตา่ งๆ” ตดิ ตวั มาแตเ่ กดิ แตกตา่ งกนั ไป บางดา้ นมาก บางดา้ น น้อย ผสมผสานกันเป็นสัดส่วนที่ลงตัวส�ำหรับ จากน้นั แดเนยี ล โกลแมน (Daniel Gole- บคุ คลนน้ั ๆ ถอื วา่ เปน็ ตน้ ทนุ ของแตล่ ะคนทไี่ มเ่ ทา่ กนั man: 7 มีนาคม พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน) นัก แตอ่ กี สว่ นหนงึ่ ไดจ้ ากประสบการณท์ เ่ี รยี นรเู้ พมิ่ เตมิ จิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ก็สานต่อ แนวคิดน้ีในหนังสือ ความสามารถทางอารมณ์ **ที่มา : http://www.eiconsortium.org/ เข้าถึงเมื่อ (Emotional Intelligence) และได้ให้ความ มกราคม 2558 หมายของอคี วิ วา่ “เปน็ ความสามารถหลายดา้ น
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 25 ไดแ้ ก่ การเรง่ เรา้ ตวั เองใหไ้ ปสเู่ ปา้ หมาย มคี วาม ยากสำ� หรบั คนทวั่ ไปจงึ ไมค่ อ่ ยมใี ครใหค้ วามสนใจ สามารถควบคมุ ความขดั แยง้ ของตนเอง รอคอย มากนัก จนกระทั่งมีการบัญญัติค�ำว่าอีคิวที่ส่ือ เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า มีความเห็นอกเห็นใจ ความหมายถึงความสามารถด้านอารมณ์ คนท่ีมี ผอู้ น่ื สามารถจดั การกบั อารมณไ์ มส่ บายตา่ งๆ มี อคี วิ สงู จะมวี ฒุ ภิ าวะทางอารมณ ์ มกี ารตดั สนิ ใจทดี่ ี ชีวิตอยู่ด้วยความหวัง” สามารถควบคุมอารมณต์ ัวเองได้ มีความอดกล้นั ไม่หุนหันพลันแล่น ทนความผิดหวังได้ เข้าใจ เขาตั้งทฤษฎีว่า ความส�ำเร็จของคนเป็น จิตใจของผู้อ่ืน เข้าใจสถานการณ์ทางสังคม ไม่ เพราะไอคิวเพียง 20% ส่วนอีก 80% เกิดจาก ย่อท้อหรือยอมแพ้ง่าย สามารถสู้ปัญหาชีวิตได้ ปัจจัยอื่นๆ ซึ่งในจ�ำนวนน้ีอีคิวมีความส�ำคัญมาก และไม่ปล่อยให้ความเครียดท่วมทับความคิดไป ทสี่ ดุ คนทมี่ อี คี วิ สงู จะเขา้ ใจตนเองและรจู้ กั อารมณ์ หมดจนทำ� อะไรไมถ่ กู ความรู้สึกของตนเองอย่างชัดเจน รับรู้ความรู้สึก ของผอู้ น่ื ไดฉ้ บั ไวและสามารถโตต้ อบอารมณน์ น้ั ๆ ทน่ี ่าสนใจ คอื การพบวา่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถยืนอยู่ในจุดที่ ไดเ้ ปรยี บทงั้ ในดา้ นเวลา สถานท่ี และความสมั พนั ธ์ - อีคิว เป็นเร่ืองท่ีสอนให้เกิดข้ึนได้ พ่อแม่ ระหว่างบุคคล ฯลฯ คนเหล่านี้มักจะมีชีวิต สามารถพฒั นาอีควิ ของลกู ให้สงู ข้ึนได้ ใน ความเปน็ อย่ทู มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพเหนือผูอ้ ื่น มีความ ขณะที่ไอคิวติดตัวมาแต่ก�ำเนิดและไม่ พงึ พอใจงา่ ยกวา่ ผอู้ นื่ สามารถใชส้ ตปิ ญั ญาของตน สามารถจะท�ำใหส้ งู ขึ้นไดเ้ ลย น�ำมาซง่ึ ความส�ำเร็จไดม้ ากกว่าผ้อู ื่น - คนที่มีอีคิวดีมักจะเป็นคนที่มีความสุขใน ชวี ติ ในขณะทคี่ นมไี อควิ ดอี าจมปี ญั หาชวี ติ หลังจากหนังสือความฉลาดทางอารมณ์ มากมาย (Emotional Intelligence) ของแดเนยี ล โกลแมน ออกสู่สาธารณชน ในปี พ.ศ. 2538 สงั คมกเ็ ร่ิมให้ - คนทีม่ อี คี ิวดี มกั จะประสบความส�ำเรจ็ สงู ความสนใจกับความฉลาดทางอารมณ์มากขึ้น ในขณะที่คนที่มีไอคิวสูงไม่จ�ำเป็นว่าจะ ประกอบกบั ระยะหลงั มงี านวจิ ยั หลายชนิ้ ยนื ยนั ถงึ ประสบความสำ� เร็จ มีความสขุ มชี ื่อเสยี ง ความส�ำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ จึงท�ำให้ เสมอไป อคี วิ หรอื ความฉลาดทางอารมณเ์ ปน็ ทยี่ อมรบั วา่ มี ความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จและความสุขในชีวิต - คนทมี่ ไี อควิ สงู มกั ประสบผลสำ� เรจ็ ดมี ากใน มนุษย์ ในระยะนี้เองอีคิวเริ่มได้รับความสนใจ การเรยี นหนังสือ หรอื ท�ำงานดา้ นวชิ าการ มากกว่าไอคิว แต่เร่ืองท่ีไม่เกี่ยวกับวิชาการ เช่น เรื่อง ชีวิตส่วนตัว ชีวิตครอบครัว หรือชีวิตใน สังคม พวกเขามีโอกาสท่ีจะไม่ประสบ อีคิว คือความสามารถด้านอารมณ์ จิตใจ ความส�ำเร็จไดเ้ ทา่ ๆ กับคนทไ่ี อควิ ไมส่ ูง และทกั ษะการเขา้ สงั คม บางทีก็เรยี กว่าวุฒภิ าวะ ทางอารมณห์ รือทกั ษะชวี ิต สองคำ� น้ีอาจจะเข้าใจ - อีคิวเป็นพลังท่ีใช้ในการควบคุมความรู้สึก ของตนเองและใช้ในการปฏิสัมพันธ์กับ
26 สถาบันนโยบายศึกษา ผู้อ่ืน อีคิวจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะน�ำพา กัดฟันพูด ล้วนเป็นการแสดงออกถึงอารมณ์ของ เด็กๆ ไปส่คู วามสำ� เรจ็ ในอนาคต บคุ คล การสงั เกตใบหนา้ ทา่ ทางจะท�ำใหร้ ับรูแ้ ละ - อีคิวไม่ได้เป็นคุณสมบัติที่ติดตัวมาแต่ เข้าใจถึงอารมณ์ของบุคคลอื่นและสามารถจะมี ก�ำเนิด หากแต่สามารถจะปลูกฝังและ ปฏิกิริยาตอบสนองท่ีเหมาะสม เชน่ หลกี เลย่ี ง ไม่ ทำ� ใหแ้ กรง่ ไดต้ ง้ั แตว่ ยั เดก็ ปจั จบุ นั มวี ธิ กี าร โกรธตอบ พูดดว้ ยวาจาไพเราะ เหน็ ใจ ปลอบโยน ปลูกฝังอีคิวมากมาย สามารถหาอ่านได้ หรอื สง่ั สอนตามความเหมาะสมแกส่ ถานภาพและ และยังมีหนังสือบทเรียนการปลูกฝังอีคิว สถานการณ์ การมีอีคิวสูงจึงเป็นความสามารถที่ ในเดก็ วยั ต่างๆ อีกดว้ ย จะรกั ษาความสมั พนั ธก์ บั ผอู้ น่ื ใหย้ งั่ ยนื ทำ� ใหเ้ ขามี ความรสู้ กึ ท่ดี ีเม่ืออยใู่ กล้ คนท่ีมีอีคิวสูงคือมีทักษะทางอารมณ์ จะมี ลักษณะเดน่ ชัด 5 ประการ คอื โดยสรปุ คอื ผทู้ มี่ คี วามสามารถทางอารมณ์ จะเขา้ ใจตนเอง เข้าใจผอู้ ่นื และมคี วามสามารถ 1. ความสามารถในการรอู้ ารมณต์ วั เอง เชน่ ในการแก้ไขความขัดแยง้ ได้ ความโกรธ เศร้า ดีใจ พอใจ จดจอ่ หมกมนุ่ ฯลฯ จากการศกึ ษาพบว่าเพศมผี ลต่ออีคิว ดงั นั้น 2. ความสามารถในการบริหารจัดการ หญงิ และชายจงึ มคี วามฉลาดทางอารมณห์ รอื อคี วิ อารมณข์ องตนเอง เชน่ ขจดั ความโกรธ ความเศรา้ แตกต่างกัน ควบคมุ ความพอใจ เกลียด ฯลฯ เอ็มคิว (MQ : Moral Quotient/ 3. ความสามารถทำ� ใหต้ วั เองมพี ลงั ใจในการ Moral Intelligence) ดำ� เนินชวี ิต เอาชนะอปุ สรรค ไม่ว่าจะเก่ง ฉลาด มีไอคิวสูง เรียนหนังสือ 4. ความสามารถในการเขา้ ถงึ จติ ใจผอู้ น่ื รบั เกง่ หรอื มคี วามสามารถในการเขา้ สงั คม ไดร้ บั การ รคู้ วามรู้สกึ ต่างๆ ของผอู้ ่นื ยอมรบั นบั ถอื มากเพยี งใดกต็ าม หากไมม่ คี ณุ ธรรม ก็อาจเป็นภัยแก่สังคมได้ คุณธรรมคือความ 5. ความสามารถในการรักษาความสัมพันธ์ สามารถในการแยกแยะความผดิ ถูก เรียกกันสน้ั ๆ กบั ผูอ้ ืน่ ว่า เอ็มคิว MQ (Moral Intelligence หรือ Moral Quotient) ปกตคิ นสว่ นใหญจ่ ะแสดงอารมณท์ างใบหนา้ และท่าทางก่อนกล่าวค�ำพูด การท่ีจะอ่านความ จากการศึกษาประวัติบุคคลส�ำคัญที่ม ี รสู้ กึ คนอน่ื จงึ ตอ้ งเรม่ิ จากการอา่ นสหี นา้ และภาษา ชอื่ เสยี งไดร้ บั การยกยอ่ งนบั ถอื เชน่ มหาตมะ คานธี กายให้ออก เชน่ ใบหน้าทโ่ี กรธงอ บ้ึงตึง เฉยเมย แมช่ เี ทเรซา นายเนลสนั แมนเดลา และ พระพรหม เคร่งเครียด เหนื่อยหน่าย เศร้า แววตาที่แจ่มใส คณุ าภรณ์ ลว้ นเปน็ ผมู้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม และมี เปน็ ประกาย พึงพอใจ หรอื เคยี ดแคน้ หมน่ หมอง ความประพฤตดิ งี าม หลงั จากทมี่ กี ารสง่ เสรมิ ไอควิ อมทกุ ข์ โศก ภาษากาย เชน่ การเบอื นหนา้ หนี นั่ง ห่างๆ นั่งเข้ามาใกล้ชิดเกินไป น่ังแบบผ่อนคลาย น่ังกระสับกระส่าย หรือกิริยากระแทกกระท้ัน
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 27 และอีคิวในเด็กกันยกใหญ่ ก็เกิดค่านิยมใหม่ท ี่ ดร.โคลส์ เชอ่ื วา่ เดก็ ๆ สามารถจะเรยี นรเู้ รอื่ ง กลับไปส่สู ่ิงท่เี คยปฏิบตั ิมาในอดตี คอื การปลกู ฝงั ศีลธรรมความถูกต้องได้ตั้งแต่แรกคลอด และจะ คุณธรรมจริยธรรมในเด็ก และผู้ที่เป็นหัวหอก เรียนได้ดียิ่งข้ึนในช้ันอนุบาลและประถม ซ่ึงจะ ในเร่ืองน้ีคือ ศาสตราจารย์ Robert Coles (12 กลายเปน็ คา่ นยิ มทตี่ ดิ ตวั ไปในวยั รนุ่ และวยั ผใู้ หญ่ ตลุ าคม พ.ศ. 2472 - ปจั จบุ ัน) แห่งมหาวิทยาลยั เขาเขียนเป็นจดหมายถึงพ่อแม่ว่า พ่อแม่คือ ฮาวาร์ด ต้นแบบของลูก ลูกจะท�ำตามสิ่งท่ีเห็นจากการ กระท�ำของพ่อแม่มากกว่าค�ำสั่งสอนท่ีพ่อแม ่ ดร.โรเบริ ต์ โคลส์ เปน็ นกั วจิ ยั และผสู้ อนวชิ า พร่�ำบอก พ่อแม่จะต้องท�ำตัวเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ จติ วทิ ยาในมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เปน็ ผู้เชีย่ วชาญ ลูก และจะไม่มีวันที่พ่อแม่จะบอกว่าสอนจบแล้ว ทางจิตวิทยาเด็ก เขาได้รับรางวัลพูลิตเซอร์จาก พอแล้ว ลูกดีแล้ว ต่อไปน้ีพ่อแม่จะท�ำในสิ่งท่ี หนงั สอื Children of Crisis ในปี พ.ศ. 2516 และ อยากทำ� โดยไมส่ นใจว่าลูกจะเอาอย่าง เขียนหนังสือเล่มล่าสุดช่ือ The Moral Intelli- gence of Children. การสอนคณุ ธรรมจริยธรรม ดร.โคลส์ บอกวา่ การสอนศลี ธรรมจรยิ ธรรม ในเด็ก หนังสือเล่มนี้ แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ ในเด็กสามารถจะเริ่มได้ต้ังแต่อายุหน่ึงขวบ ตอนแรก เปน็ การสอนเดก็ ใหร้ จู้ กั แยกแยะระหวา่ ง ย่ิงมีอายนุ ้อย เดก็ ก็จะจดจ�ำและฝังใจได้ดี คนดี กบั คนไมด่ ี ตอนสอง กลา่ วถงึ เดก็ ในวยั ตา่ งๆ และตอนสาม เปน็ ขอ้ ความท่ีสอ่ื ถงึ พอ่ แม่โดยตรง โดยสรุป เอ็มคิวคือความสามารถในการรู้ ว่าควรจะสอนลกู อยา่ งไร และแยกแยะว่าอะไรถูกอะไรผิดเพ่ือจะได้ด�ำเนิน ชีวิตตามคุณค่าที่ถูกต้อง เช่น เม่ือความเข้าใจ ส่ิงส�ำคัญคือต้องให้เด็กรู้และเข้าใจว่าคน ในความรู้สึกของผู้อ่ืน ก็จะเอาใจเขามาใส่ใจเรา แบบใดดี และคนแบบใดไม่คอ่ ยดี ดร.โคลส์ ไม่ใช้ ไม่ปฏิบัติตอ่ เขาในส่งิ ท่ีเราไม่ชอบ คำ� วา่ คนเลวหรอื คนไมด่ ี แตใ่ ชค้ ำ� วา่ “คนไมค่ อ่ ยด”ี ด้วยเหตุผลว่าเด็กจะเห็นคนไม่ค่อยดีได้ในชีวิต การมีคุณธรรมคือมีความรู้ผิดชอบช่ัวด ี ประจ�ำวัน แต่จะไม่เห็นคนไม่ดีหรือคนเลว มีความอดกลั้นสามารถควบคุมตนเองไม่ให้ท�ำ ดร.โคลส์ ใช้วิธีสอนโดยการเล่าเรื่องหรือ ความผดิ เคารพผอู้ นื่ ไมล่ ว่ งละเมดิ ทง้ั ในการกระทำ� ประสบการณ์จริงให้เด็กฟัง และช้ีให้เห็นว่า และค�ำพูด มีน้�ำใจ เมตตา ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อ ทำ� อะไรคอื “คนด”ี และ “คนไมค่ อ่ ยด”ี เขาคอ่ ยๆ อดทน ยอมรบั ในความคดิ และการกระทำ� ของผอู้ น่ื ให้เดก็ ค่อยๆ ซมึ ซบั วา่ คนดีคือคนทป่ี ฏิบัตติ อ่ ผู้อื่น แม้จะไม่เห็นด้วย เป็นธรรม มีความยุติธรรม และปฏบิ ตั ติ อ่ โลกอยา่ งไร จากนน้ั จงึ คอ่ ยๆ เชอื่ มโยง เทย่ี งธรรม ปฏิบัตติ ่อทุกคนดว้ ยความเสมอภาค ออกไปสผู่ คู้ นทเี่ ดก็ ๆ รจู้ กั เขาเนน้ วา่ การสอนเรอื่ ง ความดีไม่ใช่การให้ท่องจ�ำค�ำสั่ง กฎ ระเบียบ ผู้ท่ีมีเอ็มคิวสูงคือคนท่ีให้ความส�ำคัญต่อ แต่เด็กๆ จะดูจากการกระท�ำของพ่อแม่และครู คุณค่าของความดี มีศีลธรรม คุณธรรม และ มากที่สดุ เตม็ ใจรว่ มแกป้ ญั หาสงั คม ผใู้ หญส่ ามารถปลกู ฝงั เอม็ คิวในเด็กได้ตงั้ แต่อายุหนง่ึ ขวบ โดยการแสดง
28 สถาบันนโยบายศึกษา ให้เห็นว่าอะไรคือสิ่งท่ีถูกต้องและดี และอะไรคือ แต่ต้องส่ังสอนตักเตือนและลงโทษเมื่อเด็กท�ำผิด สิ่งผดิ โดยใช้เหตุการณป์ ระจ�ำวัน เด็กๆ จะดูการ ด้วย ค�ำสอนในศาสนาสามารถจะน�ำมาใช้ในการ กระท�ำของผู้ใหญ่มากกว่าค�ำพูดพร�่ำสอนให้เด็ก อบรมสง่ั สอนได้ ศาสนายงั เปน็ กรอบดา้ น ศลี ธรรม ปฏิบัติตามกฎระเบียบ การตั้งค�ำถามให้ตอบ สร้างศรัทธาให้บุคคลมีความเคารพ รับผิดชอบ จะช่วยให้เด็กค่อยๆ คิดตามและจดจ�ำได้ดียิ่งขึ้น ตอ่ สงั คมและมนษุ ยชาติ เราเข้าใจผิดกันมานานว่า วิชาการเลิศน�ำไปสู่ความส�ำเร็จในชีวิต ผู้ปกครองและครูจึงตั้งเป้าหมายในการพัฒนาเด็กให้เรียนเก่ง นักเรียนเก่ง ในช้ันจะได้รับการยกย่องเอาใจใส่ แต่ผลการศึกษาพบว่า คนที่เข้าใจตนเอง และผู้อ่ืน ควบคุมอารมณ์ได้ มีแรงจูงใจ ไม่ย่อท้อ มีความยืดหยุ่นในการ ดำ� เนนิ ชวี ติ รกั ษาความสมั พนั ธ์กับผูอ้ น่ื ได้ ผอ่ นคลายและมองโลกในแง่ดีคอื ผู้ประสบความส�ำเร็จในชีวิต แต่ไม่ว่าจะฉลาด เรียนเก่ง หรือประสบความ ส�ำเร็จมากแค่ไหน ถ้าบุคคลน้ันไม่มีคุณธรรมและศีลธรรม ก็ยังไม่จัดว่าเป็น “ยอดคน” สมั มนาเชิงปฏบิ ตั กิ าร 18 พ.ย. 58 ณ โรงเรยี นบา้ นทงุ่ นา อ.เมือง จ.ตรงั
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 29 เดก็ ดี สรา้ งได้ดว้ ยมอื ครู มเี หตแุ ละปจั จยั มากมายในปจั จบุ นั นที้ ที่ ำ� ใหห้ ลายสถาบนั ครอบครวั ไม่ สามารถจะทำ� หนา้ ทปี่ ลกู ฝงั คณุ ธรรมใหเ้ ดก็ ไดเ้ หมอื นแตก่ อ่ น ผปู้ กครองสมยั นจี้ งึ หวงั พงึ่ ครใู หอ้ บรมสงั่ สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี ในขณะทค่ี รเู องกม็ ภี าระหนา้ ท่ี ด้านวิชาการท่ีต้องมีการวัดผลเชิงรูปธรรม ถ้าผู้บริหารคิดว่าการท่ีนักเรียน สอบไม่ผ่านคือความล้มเหลวของครู ห้องเรียนจึงเป็นสถานท่ีมุ่งเน้นด้าน วชิ าการ เมือ่ เด็กมีคา่ นยิ มทบี่ ดิ เบีย้ วเราจะโทษใคร ผลวจิ ัยท่ีน่าวติ ก สัมพันธ์ใกล้ชิด การท�ำตามระเบียบกติกา ความ จดจ่อมีสมาธิ การเลียนแบบ/เล่น แรงจูงใจใฝ่ ผลการสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทย ครง้ั ท่ี 4 สำ� เรจ็ ความเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่ และการชอบสงั คม พ.ศ. 2551 – 2552 ด�ำเนินการโดยเครือข่าย กับเพ่ือน พบว่า มากกว่าร้อยละ 10 ของกลุ่ม การวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ตัวอย่างมีคะแนนต�่ำกว่าผลจากการส�ำรวจป ี เปิดเผยเมื่อวันท่ี 21 กันยายน 2554 มีเรื่องท่ี พ.ศ. 2544 ในด้านการท�ำตามระเบียบกติกา นา่ วติ กวา่ “เด็กไทยยอมรับพฤติกรรม “การเล่น (Compliance) ในกลุ่มเด็กชาย เป็นข้อสังเกต ข้ีโกงเมื่อมีโอกาส” และ “การลอกข้อสอบ ทน่ี า่ ตดิ ตามอยา่ งใกลช้ ดิ เพราะสะทอ้ นถงึ แนวโนม้ ถา้ จำ� เป็น” มากขึ้น” ท่ีเด็กอาจมีนิสัยที่ต้องการจะได้อะไรก็ต้องได้ ขาดความพยายาม เป็นพฤติกรรมท่ีเก่ียวโยงกับ การสำ� รวจในสว่ นของพฒั นาการดา้ นอารมณ์ ความซื่อสัตย์สุจริต ซ่ึงเป็นจริยธรรมขั้นพื้นฐาน จติ ใจ สงั คมและจรยิ ธรรมน้ี กระทำ� ในกลมุ่ ตวั อยา่ ง ของบุคคล อายุ 1-14 ปี จำ� นวน 9,035 คน ใน 20 จงั หวดั ด้วยการใช้แบบทดสอบพ่อแม่ และเด็ก โดยแบ่ง กลุ่มเด็กอายุ 6-9 ปี ส�ำรวจ 8 ดา้ น คือ วินัย เป็น 3 กลุ่มอายุ คือ อายุ 1-5 ป ี 6-9 ปี และ สติ-สมาธิ เมตตา อดทน ซ่ือสัตย์ ประหยัด 10-14 ปี เน่ืองจากเด็กแต่ละช่วงวัยมีพัฒนาการ การควบคมุ อารมณแ์ ละพฒั นาสงั คม พบวา่ ผลการ ต่างกัน โดยผลการส�ำรวจที่ได้จะเปรียบเทียบกับ ทดสอบพัฒนาการด้านสังคมได้คะแนนสูงกว่า การส�ำรวจครั้งก่อนหน้าเม่ือปี 2544 ในกลุ่ม ดา้ นอนื่ ๆ สว่ นดา้ นทไ่ี ดค้ ะแนนตำ่� คอื ความมวี นิ ยั เดก็ เล็กอายุ 1-5 ปี สำ� รวจ 7 ดา้ น ได้แก่ การสร้าง
30 สถาบันนโยบายศึกษา ความมีสติ-สมาธิ ความอดทนและความประหยดั อารมณ์ และสำ� หรบั เดก็ อายุ 10-14 ปี ควรฝกึ การ โดยพัฒนาการด้านท่ีเด็กได้คะแนนน้อยซ่ึงมี ควบคุมและจัดการกับอารมณ์ รวมท้ังการคิด สดั ส่วนเพิ่มขึน้ ไดแ้ ก่ พฒั นาการดา้ นความมวี ินยั วิเคราะห์วิจารณ์ ในเด็กชาย การมีสมาธิในเด็กหญิง ด้านความ ผวู้ จิ ยั ยงั เหน็ วา่ ควรใหน้ ้�ำหนกั ตอ่ การพฒั นา เมตตาและการควบคมุ อารมณท์ งั้ เดก็ ชายและหญงิ เดก็ ในดา้ นวฒุ ภิ าวะ ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ สงั คม และ กลมุ่ เดก็ อายุ 10-14 ปี สำ� รวจ 14 ดา้ น ไดแ้ ก่ จรยิ ธรรมควบคไู่ ปกบั การพฒั นาดา้ นอน่ื ๆ ซง่ึ เปน็ ความตระหนักรู้ในตน ความภาคภูมิใจในตนเอง คุณสมบัติส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตของบุคคลและ ความเห็นใจผู้อ่ืน ความรับผิดชอบต่อสังคม การ เป็นปัจจัยท่ีมีผลต่อความส�ำเร็จในชีวิต ยิ่งไปกว่า จดั การกบั อารมณ์ การจดั การกบั ความเครยี ด การ ปัจจัยด้านความฉลาดทางสติปัญญา ความ สื่อสาร สัมพันธภาพระหว่างบุคคล ความคิด สามารถในการควบคุมอารมณ์ ควบคุมความ สรา้ งสรรค์ ความคดิ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ การตดั สนิ ใจ ขัดแย้งและการเข้ากับคนอ่ืนได้ง่ายกลับมีส่วน การแก้ปัญหา การควบคมุ อารมณ์ และคณุ ธรรม ทำ� ใหป้ ระสบความส�ำเร็จในชวี ิตมากข้นึ จรยิ ธรรม พบวา่ ในภาพรวมแมว้ า่ เดก็ จะมคี ะแนน ทางแก้คือ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องมีการ ดขี นึ้ แตม่ ีหลายด้านทีพ่ บว่าคะแนนการสำ� รวจยงั ดำ� เนนิ งานเพอ่ื สรา้ งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ใหม้ ากขนึ้ ไมด่ ขี นึ้ กวา่ ปี 2544 ไดแ้ ก่ ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์ และผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาเด็กคือ พ่อ ความคิดวิเคราะหว์ จิ ารณ์ การแกป้ ัญหา และการ แม่และครู ซ่ึงต้องเน้นการเลี้ยงดูและเป็นแบบ ควบคุมอารมณ์ ซงึ่ เป็นจดุ ทีไ่ ดค้ ะแนนคอ่ นข้างตำ่� อย่างที่ดีแก่เดก็ นอกจากนั้น สอ่ื ต่างๆ โดยเฉพาะ เมอ่ื แยกยอ่ ยในสว่ นของดา้ นจรยิ ธรรม เดก็ ทวี ี และภาพยนตร์ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมของเดก็ กลุ่มนี้ เห็นว่า “การเล่นข้ีโกงเมอื่ มโี อกาส” และ โดยสอื่ สามารถท�ำหนา้ ทบ่ี ม่ เพาะพฤตกิ รรมทด่ี ใี ห้ “การลอกข้อสอบถ้าจ�ำเป็น” เป็นพฤติกรรมท่ี แกเ่ ดก็ ทงั้ ในการใหค้ วามรผู้ า่ นทางรายการบนั เทงิ เดก็ ยอมรับไดม้ ากขึ้น หรือรายการเด็กที่เหมาะสมกับการเรยี นรู้ รวมทั้ง ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ เนอ้ื หาในการนำ� เสนอเพอื่ ปลกู ฝงั เรอื่ ง ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลใหเ้ ดก็ มปี ญั หาจรยิ ธรรม พบวา่ ดีๆ ให้กับเด็กอย่างต่อเน่ือง ซึ่งในส่วนของกรม ตวั แปรสำ� คญั คอื ระดบั การศกึ ษาของพอ่ แม่ และผู้ สุขภาพจิต มีแผนด้านการพัฒนาด้านอารมณ์ เลี้ยงดู พ่อแม่ท่ีมีการศึกษาสูงข้ึน เด็กจะมี จติ ใจ สงั คม และจรยิ ธรรมใหก้ บั เดก็ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน จริยธรรมและพฤติกรรมในทางที่ดีมากข้ึน อาจ เป็นเพราะพ่อแม่ที่มีการศึกษาสูงมีโอกาสสัมผัส และเรียนรูว้ า่ ควรจะเลี้ยงลูกอย่างไร กทม. กับหลกั สตู ร “โตไปไมโ่ กง” คณะผวู้ จิ ยั มขี อ้ เสนอแนะวา่ สงิ่ ทคี่ วรพฒั นา กรุงเทพมหานคร เปน็ หนว่ ยงานภาครัฐแหง่ ในเดก็ อายุ 1-5 ปี คือ การท�ำตามระเบียบกติกา แรกทกี่ ลบั มาใหค้ วามสำ� คญั กบั คณุ ธรรม ในปี พ.ศ. (Compliance) ในเดก็ 6-9 ปี ในเด็กชายและเด็ก 2554 ส�ำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร ได้เริ่ม หญิงควรพัฒนาด้านความเมตตาและการควบคุม โครงการ “โรงเรยี นสขี าว” (Anti Corruption) นำ�
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 31 หลักสูตร “โตไปไม่โกง” ต่อต้านการทุจริต นายอานันท์ ปันยารชุน มอบค�ำขวัญ คอร์รัปชันมากับโรงเรียนในสังกัด โดยมอบให้ ข้อคดิ วา่ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และองค์กร เพื่อความโปร่งใสในประเทศไทยท่ีมีนายอานันท์ “ปราการต้านการทุจริต ก็คือ ปนั ยารชนุ อดตี นายกรฐั มนตรี เป็นประธาน และ จริยธรรมและคุณธรรมประจ�ำใจ อันนี้ ดร.จุรี วิจิตรวาทการ เป็นหัวหน้าคณะพัฒนา เป็นเรื่องของอุปนิสัย เป็นเรื่องของการ หลักสตู ร อบรม การทพี่ อ่ แม่ ครบู าอาจารย์ เพอ่ื นฝงู และผใู้ หญใ่ นสงั คมทำ� ใหด้ เู ปน็ ตวั อยา่ ง” หลักสูตร “โตไปไม่โกง” มีลักษณะท่ีพิเศษ แตกต่างไปจากหลกั สูตรโดยท่ัวไป นอกเหนือจาก เปน็ หลกั สตู รทมี่ งุ่ เนน้ การปลกู ฝงั จติ ส�ำนกึ ของเดก็ ค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของ ให้ “โตไปไม่โกง”แลว้ ยงั มีความพิเศษในประเดน็ คสช. หลกั ๆ ท่เี กีย่ วข้องกับครู นักเรยี น และการจดั การ หลังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เรยี นการสอนดว้ ยกระบวนการหลอ่ หลอมปลกู ฝงั ท�ำการยึดอ�ำนาจเม่ือวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. จติ สำ� นกึ และระบบคณุ คา่ ความคดิ ความเชอ่ื ดว้ ย 2557 คสช. ไดม้ อบค่านิยมหลกั 12 ประการใน วิธีการต่างๆ ท่ีผสมผสานสาระกับการเรียนรู้ผ่าน การสร้างชาติ ได้แก่ ประสบการณ์ต่างๆ เช่น การฟังและการอ่าน หนังสือ และการถกคุย อภปิ รายถงึ สาระของสงิ่ ที่ 1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ เรยี นรู้ การใช้สอ่ื การเรียนรู้อนื่ ๆ ทีส่ นกุ เชน่ เพลง 2. ซ่ือสตั ย์ เสียสละ อดทน มอี ดุ มการณใ์ น การเล่นเกม การเล่นละคร การท�ำงานศิลปะ สิ่งท่ีดงี ามเพือ่ สว่ นรวม จติ สำ� นกึ คณุ ธรรมของผเู้ รยี นใหไ้ มเ่ หน็ แกต่ วั ไมเ่ อา 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบา เปรียบผู้อื่น รู้จักจ�ำแนกช่ัวดี สามารถแยกแยะ อาจารย ์ ความผิดและความถูกต้อง เพ่ือเป็นภูมิคุ้มกันต่อ 4. ใฝห่ าความรู้ หม่นั ศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทาง ปัญหาทุจรติ คอรร์ ัปชัน ตรง และทางออ้ ม สาระหลกั ของหลกั สตู รโตไปไมโ่ กง ประกอบ 5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม ไปด้วยคุณค่าความดี 5 ประการ ได้แก่ ความ 6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวงั ดตี อ่ ผอู้ นื่ ซื่อสตั ย์สุจริต (honesty and integrity) การมี เผื่อแผแ่ ละแบ่งปัน จิตสาธารณะ (greater good) ความเป็นธรรม ทางสังคม (fairness and justice) การกระท�ำ 7. เขา้ ใจเรยี นร้กู ารเปน็ ประชาธปิ ไตย อันมี อย่างรับผดิ ชอบ (responsibility and account- พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ท่ีถูกตอ้ ง ability) และการเป็นอยู่อย่างพอเพียง (suffi- ciency and moderation) 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อย รจู้ กั การเคารพผู้ใหญ่
32 สถาบันนโยบายศึกษา 9. มสี ตริ ตู้ วั รคู้ ดิ รทู้ ำ� รปู้ ฏบิ ตั ติ ามพระราช- เวลา 2 ชั่วโมงระหว่าง 14.00-16.00 น. ไปจัด ด�ำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั กิจกรรมเพ่ิมเติมความรู้ให้แก่เด็ก เพื่อให้เด็กมี ความสุขกับการเรียนรู้ ไม่มีความเครยี ด และไมม่ ี 10. รู้จักด�ำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญา การบ้านเพ่ิม มีตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังเลิก เศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดำ� รสั ของพระบาท เรียน 4 รปู แบบ ใหโ้ รงเรยี นนำ� ร่องนำ� ไปปรบั ใช้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เม่ือยาม ตามบรบิ ทและความพรอ้ มของแตล่ ะโรงเรยี น โดย จ�ำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย ใชแ้ นวคดิ “สอนนอ้ ย แตเ่ รยี นรมู้ าก : Teach Less จ�ำหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเม่ือมีความ Learn More” ได้แก่ พรอ้ ม เมือ่ มีภมู ิคุม้ กนั ที่ดี 1. กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งทกั ษะ ทเี่ นน้ ใหเ้ ดก็ ทำ� 11. มคี วามเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจติ ใจ ไม่ กิจกรรมนอกห้องเรียน ยอมแพต้ อ่ อำ� นาจฝา่ ยตำ่� หรอื กเิ ลส มคี วามละอาย เกรงกลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา 2. กิจกรรมเสรี ให้โรงเรียนจัดตามความ เหมาะสมและความพร้อม 12. ค�ำนงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวม และ ของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง 3. กิจกรรมสอนอาชพี 4. กิจกรรมสอนเสริมวิชาการ ซ่ึงไม่ใช่การ มีการน�ำค่านิยม 12 ประการน้ีไปเผยแพร่ ติวเด็ก แต่เป็นการดูแลเด็กที่มีปัญหาเรียนอ่อน ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เชน่ ทำ� เปน็ บทเพลง บทอาขยาน หรือสอนการบา้ น ใชก้ ารแสดงทา่ เตน้ ประกอบ ฯลฯ ซงึ่ กย็ งั เปน็ เพยี ง กิจกรรมให้จดจ�ำ แต่ไม่สามารถจะสร้างความ มีการขยายความในส่วนของการสร้างเสริม ตระหนักที่ผ่านการเรียนรู้ แม้ว่าในบางที่จะมีค�ำ คณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มวา่ ควรมกี จิ กรรมทปี่ ลกู ฝงั อธิบายแต่ละค่านิยมเพ่ิมเติมก็ตาม แต่ก็ยังเป็น คณุ ธรรมจรยิ ธรรม เชน่ มวี นิ ยั ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ฯลฯ นามธรรมท่ีจับต้องยากและเข้าใจยากส�ำหรับเด็ก ด้วยการท�ำกิจกรรม คือ “โครงการคุณธรรม” จึงยังต้องอาศัยการตีความตามความเข้าใจ ขาด พรอ้ มการยกตวั อยา่ ง เชน่ กจิ กรรมมอื ปราบขยะ ความชัดเจนในการปฏิบัติ ไม่แสดงตัวอย่าง ตามรอยพ่อ ลูกเสือเนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บ�ำเพญ็ กิจกรรมสนับสนนุ ประโยชน์ ภมู ใิ จในบ้านเกดิ เปน็ ตน้ นโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ ทงั้ คา่ นิยม 12 ประการ และการท�ำกิจกรรม “โครงการคุณธรรม” แสดงว่ารัฐบาล คสช. ในเดือนสิงหาคม 2558 กระทรวง ตระหนักถึงความจ�ำเป็นอย่างเร่งด่วนท่ีจะต้อง ศึกษาธิการประกาศนโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพิ่ม สร้างเยาวชนในชาติให้เป็นคนดีมีศีลธรรมมี เวลาร”ู้ มุง่ หวงั ใหเ้ ดก็ ผูป้ กครอง และครมู คี วาม คุณธรรม แต่กรอบที่มอบให้ยังต้องอาศัยการ สุขในการเรยี นการสอน หนงึ่ ในวธิ กี ารคอื เปลยี่ น ตีความและออกแบบกิจกรรมให้ปฏิบัติตามความ เป็นเลิกเรียนในช้ันเรียนเวลา 14.00 น. เพื่อน�ำ เข้าใจของผบู้ ริหารโรงเรียนและครู
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 33 การสรา้ งคณุ ธรรมตอ้ งเรม่ิ ตน้ ตง้ั แตเ่ ลก็ และมสี มาธสิ นั้ การปลกู ฝงั คา่ นยิ มความซอื่ สตั ยใ์ น เดก็ จงึ ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารทดี่ งึ ดดู ความสนใจ สนกุ สนาน ท่านพุทธทาสภิกขุได้กล่าววาทะ และกระตุ้นจินตนาการ นิทาน จงึ เปน็ เคร่ืองมอื ธรรมท่ีเกี่ยวกับการมีศีลธรรมและระบบ แรกทจ่ี ะทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ สนใจใครร่ แู้ ละเกดิ จนิ ตนาการ ประชาธิปไตยเอาไวว้ า่ ต่อจากนั้นการชวนคุยโดยการต้ังค�ำถามในเรื่องท่ี เกี่ยวกับนิทานจะเพ่ิมความเข้าใจในเร่ืองราวและ “ประชาธิปไตยจะดีต่อเมื่อมีศีล บุคลกิ ลักษณะของตวั ละคร เมอ่ื เดก็ มคี วามเขา้ ใจ ธรรมเป็นรากฐาน ถ้าไม่มีศีลธรรมเป็น เปน็ เบอื้ งตน้ แลว้ กจ็ ะชกั นำ� ไปสกู่ จิ กรรมอนื่ ๆ เชน่ รากฐานมันก็เป็นประชาธิปไตยโกง การคน้ ควา้ หาความหมาย ความเหมอื นของบคุ คล ประชาธิปไตยโกงร้ายกาจอย่างไร คือ สถานทีแ่ ละเร่อื งราวไดต้ อ่ ไป ประชาชนทั้งหลายไม่มีศีลธรรม แต่ถือ ระบบประชาธปิ ไตย มันกม็ ีโอกาสทีจ่ ะใช้ คุณค่าท่ีต้องปลูกฝังในเด็กนั้นมีเพียงความ กเิ ลสของตนอยา่ งเสร.ี ..เมอื่ ประชาชนทกุ ซอ่ื ตรง ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ มคี วามรบั ผิดชอบในตวั เอง คนไม่มีศีลธรรม มนั โกง มันก็เลือกผู้แทน และหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย และสุดท้ายคือกล้า โกง...เมื่อไม่มีศีลธรรมเป็นพ้ืนฐานแล้ว แสดงออก ระบบประชาธิปไตยน่ันแหละ จะเป็น ระบบที่เลวร้ายท่สี ดุ ” การรับฟังเรื่องราวของตัวละครที่มีความ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ จะปลกู ฝงั เขา้ ไปวนั ละนอ้ ย สรา้ งแรง การสร้างคนให้มีศีลธรรมต้องเริ่มตั้งแต่เด็ก บันดาลใจให้มีความช่ืนชมในความดีงาม อยาก เบ้ืองต้นคือปลูกฝังให้มีความซ่ือสัตย์ไม่โกง การ ท�ำตามอยา่ ง เขา้ ใจถงึ ความแตกต่างระหวา่ งคนดี ปลกู ฝงั ทลี ะนอ้ ยเปน็ ประจำ� อยา่ งตอ่ เนอื่ งจะคอ่ ยๆ และคนไมด่ ี และสามารถน�ำไปใชเ้ ปรียบเทยี บกบั ซึมทราบเข้าไป แต่เพราะเด็กยังมีโลกทัศน์แคบ ชีวติ จรงิ บคุ คลจรงิ ไดใ้ นอนาคต การปล่อยปละละเลยเร่ืองคุณธรรมศีลธรรมที่เกิดข้ึนในสังคมไทยไป พร้อมๆ กับการเห็นตัวอย่างคนโกงท่ีได้ดี ท�ำให้เด็กไทยมีค่านิยมท่ีผิด การแกไ้ ขตอ้ งเรมิ่ ทหี่ นว่ ยเลก็ ๆ ของสงั คมคอื บา้ นและโรงเรยี น และจะตอ้ ง เรม่ิ ตงั้ แตย่ งั เปน็ เดก็ เลก็ ๆ นทิ านคอื เครอื่ งมอื สอื่ สารทไ่ี ดผ้ ลดที สี่ ดุ สำ� หรบั เดก็ ถัดจากพ่อแม่ผู้ปกครองแล้ว ครูคือผู้ที่ใกล้ชิดเด็กมากท่ีสุด มีโอกาสที่ จะสร้างเด็กให้เติบโตเป็นคนดีมีคุณธรรมได้มากท่ีสุด โดยเฉพาะอย่างย่ิง ครใู นช้ันอนบุ าลและประถม เพราะเด็กในช่วงวยั น้ยี งั เปน็ ไม้ออ่ นหรือเป็น ผ้าขาวท่ีง่ายตอ่ การสรา้ งมากกว่าวัยอืน่ ๆ
34 สถาบันนโยบายศึกษา สมั มนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร 18 พ.ย. 58 ณ โรงเรียนบา้ นท่งุ นา อ.เมอื ง จ.ตรงั
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 35 การเลา่ นิทานตอ้ งมเี ทคนิค การเลา่ นทิ านแมจ้ ะดเู ปน็ เรอ่ื งงา่ ย แตก่ ารเลา่ ในชนั้ เรยี นทมี่ เี ดก็ หลาย คน หลายสมาธิ หลายความพร้อม ก็มีความยากต่างจากการเล่าในกลุ่ม เลก็ ๆ หรอื เล่าตัวตอ่ ตัว เชน่ ผู้ปกครองเล่านิทานกอ่ นนอนให้ลูกฟัง การ เลา่ นทิ านในชัน้ เรยี นจงึ เปน็ ท้ังศาสตรแ์ ละศิลปะ นทิ านทเ่ี หมาะกับวยั นทิ านสรา้ งคณุ ธรรม กอ่ นจะไปถงึ ความเปน็ ศาสตรห์ รอื ศลิ ปะ จะ เด็กจะเข้าใจความหมายของความซ่ือสัตย์ ต้องผ่านขั้นตอนการเลือกนิทานท่ีจะเล่าก่อน สิ่ง ผ่านการกระท�ำของตัวละครมากกว่าค�ำพูด เช่น แรกคือนิทานต้องเหมาะกับวัยและโลกทัศน์ของ ซ่ือสัตย์คือการไม่หยิบของคนอื่นไปใช้โดยไม่บอก คนฟัง เช่น การเล่านิทานวิทยาศาสตร์ให้เด็ก 3 เจ้าของ ซื่อสัตย์คือไม่พูดปดเม่ือถูกถาม บางที ขวบฟัง ถึงเด็กจะสนุกหรือชอบ ก็อาจจะต้อง การกระท�ำ เช่น การรังแกกัน อาจจะเป็นเรื่องที่ อธบิ ายความกนั ยาวหรอื หาภาพประกอบยาก และ เขา้ ใจงา่ ยกวา่ เพราะเกดิ เปน็ ประจำ� เมอ่ื จะสอนไม่ ถ้ายาวเกินไป เดก็ เลก็ ๆ กจ็ ะเริม่ เบ่อื และไมส่ นใจ ให้รังแกก็ควรจะสอนให้รู้ว่าการใช้ค�ำพูดไม่ดีก็ โดยทั่วไปแล้วการเล่านิทานส�ำหรับเด็กแต่ละครั้ง เปน็ การรงั แกชนดิ หนง่ึ แมก้ ระทงั่ ธรรมชาตกิ ไ็ ม่ ไมค่ วรนานเกนิ 10 นาที เดก็ อายนุ อ้ ยยงิ่ มสี มาธสิ น้ั ควรจะถูกรังแก การใช้ยาเบ่ือปลาในล�ำธาร เรม่ิ ตน้ ท่ี 3-5 นาทแี ลว้ คอ่ ยเพมิ่ เวลาในนานกวา่ น้ี เป็นการรงั แกแหล่งน�้ำ การทง้ิ สารพษิ ลงแหล่งน้�ำ แต่ต้องสังเกตพฤติกรรมผู้ฟัง ถ้าเร่ิมไม่สนใจฟัง ธรรมชาติเป็นการรังแกทั้งธรรมชาติทั้งส่ิงมีชีวิตท่ี พดู คยุ กนั เอง นน่ั แปลวา่ หมดสมาธิ ตอ้ งหยดุ เลา่ ใช้แหลง่ น�้ำน้นั เด็กๆ ชอบนิทานท่ีเป็นเร่ืองสนุกสนาน การสอนเด็กเล็กให้มีวินัย เคารพกฎอาจจะ บนั เทงิ หากจะเลา่ เรอ่ื งแปลกใหมไ่ กลตวั เพอ่ื สรา้ ง ต้องเปรียบเทียบให้เห็นว่าถ้าไม่เคารพแล้วจะเกิด เสริมประสบการณ์จึงต้องใช้อุปกรณ์เสริม เช่น อะไรไดบ้ า้ ง การสรา้ งตวั ละครทม่ี บี คุ ลกิ แตกตา่ งกนั ภาพหรือสิ่งของเป็นแรงจูงใจ การใช้นิทานเพ่ือ อาจจะเปน็ แรงจงู ใจทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ อยากจะเลยี นแบบ สรา้ งคุณธรรมสามารถจะทำ� ได้แต่ต้องค�ำนึงถึงวยั การกระท�ำของตัวละครที่ช่ืนชอบซ่ึงเป็นคนท ี่ ของผู้ฟัง ระยะเวลาการเล่า ใช้ภาษาท่ีเหมาะสม มีวนิ ัย ใครๆ กอ็ ยากเลยี นแบบฮีโรด่ ้วยกันท้งั น้นั เข้าใจง่าย และเร่ืองราวทไี่ ม่ไกลเกินโลกทัศน์ ความใจกว้างอาจจะเป็นคุณสมบัติท่ีสร้าง
36 สถาบันนโยบายศึกษา ไม่ยากในเด็ก เริ่มจากการช่วยเหลือเพ่ือนๆ และ ไมเ่ หมอื นกนั คณุ ครกู ใ็ หอ้ อกเสยี งวา่ เรอ่ื งไหนมคี น ครู แล้วจึงน�ำไปสกู่ ารแบ่งปันสิง่ ของ การแบง่ ปัน อยากฟังมากท่ีสุดและเรียงล�ำดับลงไป กลาย สามารถจะตอ่ ยอดไปถงึ ความรบั ผดิ ชอบในสงิ่ ของ เป็นการปลูกฝังเรื่องประชาธิปไตยและเคารพ ผู้อ่ืน การเอาใจเขามาใส่ใจเรา อดกล้ันต่อความ ความเหน็ ของผ้อู ่นื โกรธ ไมโ่ ตต้ อบดว้ ยกำ� ลงั และคำ� พดู การสอนเดก็ นอกจากนิทานท่ีเป็นหนังสือและวีดิโอแล้ว เล็กๆ ให้เข้าใจเร่ืองความเป็นธรรม ควรใช้เร่ืองท่ี คุณครูสามารถจะเอาเหตุการณ์จริงจาก เขามองเหน็ จากรอบๆ ตวั รวมทงั้ ตวั ครตู อ้ งมคี วาม หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์เร่ืองท่ีเกิดกับตัวคุณครูเอง เปน็ ธรรม ยตุ ิธรรม การปลกู ฝังเรอ่ื งเหลา่ นตี้ ้ังแต่ มาเล่าได้ คุณครูอาจมีความสามารถในการแต่ง เล็กได้ผลเปรียบเสมือนเช้ือไฟท่ีเขาจะไปแสวงหา เรอ่ื งใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณแ์ ละสงิ่ ทตี่ อ้ งการ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ เมอ่ื โตเปน็ ผใู้ หญ ่ การอดกลนั้ อดทน จะสอน เทคนิคในการเล่า บรรยากาศและสื่อ ตอ่ คนอื่นท่แี ตกต่างจนเราไม่ชอบใจคอื การเคารพ อุปกรณ์เสริมต่างๆ จะท�ำให้เร่ืองแสนธรรมดา ในตัวผู้อื่น เด็กท่ีถูกปลูกฝังให้มีคุณสมบัติน้ีจะ กลายเป็นสิ่งที่น่าสนใจได้ เข้าใจเร่อื งสิทธมิ นษุ ยชนเม่อื เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญ่ บรรยากาศในการฟังนิทาน ศาสตรใ์ นการเลา่ นทิ าน การเล่านทิ านเป็นศาสตรแ์ ละศิลปะ ในแงท่ ี่ หอ้ งสมดุ โรงเรยี นเปน็ แหลง่ ทรี่ วมของหนงั สอื เปน็ ศาสตร์ คอื มขี น้ั ตอนการเลา่ ทไี่ ดผ้ ล ไดแ้ ก่ การ และนิทานก็จริง แตอ่ าจจะมีบรรยากาศไมเ่ หมาะ เลา่ และทวนซำ�้ การเลา่ และตัง้ ค�ำถาม ครูเล่าและ ในการเล่านิทานให้สนุกสนาน การฟังนิทานควร ใหน้ ักเรยี นเล่าซ�้ำ การชมเชยและใหก้ �ำลังใจ และ จะต้องมีบรรยากาศที่ผ่อนคลาย มีเสียงประกอบ สดุ ทา้ ยคือกิจกรรมตอ่ ยอดจากเรอื่ งที่ฟงั มกี จิ กรรมทตี่ อ่ เนอื่ งจากการเลา่ นทิ าน การจดั สว่ น หนง่ึ ของหอ้ งเรยี นใหเ้ ปน็ มมุ นทิ านจงึ เปน็ ทางออก ก่อนจะเล่าเรื่องใด ครูควรบอกชื่อเร่ืองให้ ท่ดี หี ากสามารถจะทำ� ได้ นกั เรียนรูเ้ พ่อื การรวบรวมสมาธิทถี่ กู ตอ้ ง การเลา่ เพียงคร้ังเดียวอาจจะยังไม่เป็นท่ีเข้าใจซาบซึ้ง มมุ นทิ านจงึ ควรจะมบี รรยากาศทผี่ อ่ นคลาย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเดก็ เลก็ ครอู าจจะตอ้ งเลา่ ซำ้� อาจจะเป็นเพียงพื้นที่ปูเสื่อ มีหมอนวางไว้ให้นั่ง หลายครงั้ ในบางประเดน็ ทตี่ อ้ งการเนน้ ใหน้ กั เรยี น นอน มชี นั้ วางหนงั สอื และของเลน่ ของใชป้ ระกอบ เข้าใจ การเลา่ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเปน็ ของแพง แตต่ อ้ งเปน็ ของ ทีด่ งึ ดดู ความสนใจ ฆ้อง ระฆัง กลอง หมวก ผา้ สี การฟงั นทิ านใหเ้ กดิ การพฒั นาสมอง ครตู อ้ ง ฯลฯ หนังสือนิทานท่ีเป็นภาพสีจะดึงดูดความ ตั้งค�ำถามให้เด็กคิดวิเคราะห์ ค�ำถามควรเร่ิมจาก สนใจของเด็กท่ียังอ่านเขียนไม่ได้ คุณครูสามารถ เรอ่ื งงา่ ยๆ ไปสเู่ รอื่ งยากหรอื ซบั ซอ้ นขน้ึ เปน็ ลำ� ดบั จะเปิดโอกาสให้เขาเป็นผู้เลือกว่าอยากจะฟัง เพราะถา้ เดก็ ๆ คดิ คำ� ตอบแรกๆ ไมอ่ อกเขาจะหมด นิทานเร่อื งใด และเม่อื เดก็ หลายๆ คนเลือกนิทาน ความพยายามท่จี ะตอบค�ำถามต่อๆ ไป การวิเคราะห์ที่ง่ายที่สุดคือวิเคราะห์บุคลิก
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 37 นิสัยของตัวละคร เช่น เป็นคนดีหรือไม่ ก่อนจะ สื่อสาร แต่มีข้อควรระวังคือ คุณครูต้องให้เด็กๆ ถามคำ� ถามทยี่ ากขน้ึ เชน่ การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ ไดใ้ ชค้ วามสามารถของตนเอง เชน่ ใหท้ ำ� บทสนทนา ว่าท�ำไมจึงเป็นเช่นน้ันเช่นนี้ ยากขึ้นอีกคือการ เป็นภาษาท้องถิ่น หรือในทางกลับกัน ให้เปล่ียน วิเคราะห์แรงจูงใจที่ท�ำให้ตัวละครตัวน้ันกระท�ำ บทสนทนาภาษาท้องถน่ิ เปน็ ภาษากลาง เปน็ ตน้ อย่างนั้นอย่างน้ี ค�ำถามระดับนี้คงต้องอาศัยการ ฟงั มาแลว้ หลายครง้ั จนจำ� ขนึ้ ใจ เมอื่ ถงึ วยั หรอื เวลา จากบทสนทนาสามารถจะพัฒนาเป็นการ ที่เหมาะสมครูสามารถจะตั้งค�ำถามที่ยากข้ึน คือ แสดง ใหแ้ ตล่ ะคนไดเ้ ลน่ เป็นตัวละครนั้นๆ ที่ตอ้ ง การกระทำ� นัน้ ๆ มีทางเลือกหรือทางออกอ่ืนๆ อกี จำ� บทสนทนาและแสดงทา่ ทางประกอบ บางคนท่ี หรือไม่ เด็กแต่ละคนอาจจะมีมุมมองทางออกไม่ ยังไม่กล้าแสดงก็อาจรับมอบหมายให้รับผิดชอบ เหมอื นกนั ใหท้ กุ คนไดม้ โี อกาสแสดงความคดิ เหน็ เร่ืองอื่นๆ เช่น วาดหรือท�ำอุปกรณ์ประกอบ แม้ ในมมุ มองของแตล่ ะคน การทคี่ รไู มค่ รอบง�ำความ กระท่ังการจัดการ เช่น จัดหรือเก็บโต๊ะเก้าอี้ ให้ คิดจะท�ำให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ แต่ครู ทกุ ๆ คนไดม้ สี ่วนรว่ มมหี น้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบ สามารถจะสรปุ บทเรยี นสอนสงิ่ ดงี ามใหเ้ ดก็ โยงเขา้ สู่พฤตกิ รรมในชวี ติ จริง กิจกรรมต่อยอดสุดท้ายคือการให้เด็กเล่า หรือแต่งนิทานเรื่องใหม่ อาจจะเป็นเรื่องชีวิต การให้นักเรียนช่วยกันเล่าซ�้ำเป็นการ ประจำ� วนั เชน่ เมอื่ แมค่ ลอดนอ้ งคนใหม่ พอ่ พาไป สนบั สนนุ ให้มีความกลา้ พูดกลา้ แสดงออก ถา้ เด็ก เทยี่ วงานประจำ� ปี การเกยี่ วขา้ ว หรอื เรอ่ื งอะไรกไ็ ด้ ยงั เรยี บเรยี งเรอ่ื งราวไมไ่ ด้ ครสู ามารถจะตงั้ คำ� ถาม ทั้งท่ีประทับใจและไม่ประทับใจ คุณครูต้องเลือก นำ� ไปก่อน การให้เด็กๆ ผลัดกนั เล่าคนละประโยค หั ว ข ้ อ ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ วั ย ต า ม โ อ ก า ส แ ล ะ สองประโยคท�ำให้ผ่อนคลายไม่เครียด ครูต้อง สถานการณ์ พร้อมช้ีแนะให้เขาสังเกตสิ่งของ เขา้ ใจวา่ แตล่ ะคนมคี วามสามารถไมเ่ ทา่ กนั แตก่ าร เหตุการณ์ ผู้คนรอบๆ ตัว และสามารถจะน�ำมา เปดิ โอกาสใหท้ กุ คนไดแ้ สดงความสามารถจะทำ� ให้ ถ่ายทอดใหผ้ อู้ ่นื รบั รู้ได้ การบอกเลา่ ถึงเหตุการณ์ แตล่ ะคนไดพ้ ฒั นาตามขดี ความสามารถของตนเอง ท่ีเกิดกับตนเองบ่อยๆ จะพัฒนาการสื่อสารกับ การเรมิ่ จากทอ่ งจำ� เนอื้ เรอื่ งจะทำ� ใหจ้ ำ� ตวั อกั ษรได้ บุคคลอ่นื ซง่ึ เปน็ คณุ สมบตั ิที่สำ� คัญย่งิ เม่ือเตบิ โต เร็วขึ้น และท�ำให้อ่านหนังสือได้เร็วขึ้นกว่าการ เรียนเปน็ ค�ำๆ คณุ สมบตั เิ หลา่ นจี้ ะตอ้ งใชเ้ วลาในการสะสม และสามารถจะพฒั นาไดจ้ ากการฟงั นทิ านทค่ี ณุ ครู ค�ำชมเชยในทุกๆ ขั้นตอนที่เด็กแสดงความ ทม่ี ีศาสตรใ์ นการเล่า สามารถคอื กำ� ลงั ใจทจี่ ะทำ� ใหเ้ ดก็ ตงั้ ใจในการเรยี น วชิ าการ และนิทานเร่ืองเดียวยังสามารถจะนำ� ไป ศิลปะในการเล่านทิ าน สกู่ ิจกรรมแสนสนุกอ่ืนๆ อกี มากมาย เช่น ใหช้ ว่ ย กนั แตง่ บทสนทนาโตต้ อบในแตล่ ะเหตกุ ารณ์ ทำ� ให้ ศิลปะในการเล่านิทานอยู่ที่ตัวผู้เล่าคือครู มจี นิ ตนาการและเสรมิ ทกั ษะการใชภ้ าษาและการ ควรต้องท�ำตัวเป็นนักแสดงในเวลาท่ีเล่านิทาน ย่ิงคุณครูใส่อารมณ์จัดเต็มทั้งเส้ือผ้า หน้า ผม
38 สถาบันนโยบายศึกษา เปล่ียนเสียง เลียนท่าตัวละครได้มากเท่าไร ก็จะ การเล่ามอี รรถรสมากยิง่ ขนึ้ ผเู้ ลา่ นทิ านทม่ี ีศลิ ปะ สร้างความบันเทิงประทับใจผู้ฟังโดยเฉพาะเด็กๆ จะต้องหัดเลียนเสียงต่างๆ เอาไว้ เช่น เสียงหมา ได้มากเท่านน้ั เหา่ เสียงร้องเพลง เสียงฟา้ รอ้ ง ฯลฯ นำ้� เสยี งเปน็ สง่ิ ทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ ในการเลา่ นทิ าน มีข้อท่ี “ต้องไม่ท�ำ” ในขณะเล่านิทาน คือ ปกติเสียงจะต้องอบอุ่นน่าฟัง ยกเว้นตอนที่เป็น ไม่ยัดเยียดให้ฟังถ้าเห็นว่าผู้ฟังขาดความสนใจ บทสนทนาของตัวร้ายท่ีอาจจะใช้เสียงแสดงออก ต้องไม่เครียดเพราะหวังผลมากเกินไป การเล่า ซง่ึ บุคลกิ อยา่ งไรก็ตาม การใส่อารมณใ์ นขณะเล่า แบบสบายๆ จะเกิดประโยชน์มากกว่า อยา่ กังวล เป็นสิ่งจ�ำเป็น การแสดงออกทางใบหน้า แววตา ว่าเด็กจะไม่เข้าใจ ถ้าเล่าคร้ังแรกยังไม่เข้าใจก็ หรือท่าทางมีผลในการสร้างอารมณ์ร่วมในกลุ่ม เล่าใหม่เล่าซ�้ำ การเล่านิทานคุณธรรมถ้ามุ่งหวัง ผู้ฟงั ทอ่ี ายนุ อ้ ย จะสอนมากเกินไปเด็กอาจจะเบ่ือหน่ายและอาจ จะต่อต้านท�ำตรงข้าม ศิลปะในการเล่าคือเล่าให้ การเล่าต้องมีจังหวะ รู้จักหยุดในเวลาท่ี เหมือนการเล่านิทานไม่ใช่การเทศนาสั่งสอน เหมาะสม เพื่อดูปฏิกิริยาคนฟังหรือเรียกความ อย่าต้อนคนฟังด้วยค�ำถาม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สนใจถ้าเห็นว่าเด็กเร่ิมจะไม่สนใจ ในเด็กเล็ก ค�ำถามท่ีจ้ีใจด�ำในจุดบกพร่อง แม้แต่เด็กเล็กๆ การใช้อุปกรณ์ เช่น สวมหมวก ถือไม้เท้า หรือ ก็ไม่ชอบให้ใครพูดหรือล้อเลียนหรือต�ำหนิข้อ เสียงเพลง เป็นสิ่งที่สามารถเรียกความสนใจได้ บกพรอ่ งของตนเอง ถา้ คณุ ครรู อ้ งเพลงหรอื เลน่ ดนตรไี มไ่ ด้ กอ็ าจจะใช้ เทปบันทึกเสียงแทน สองข้อต้องไม่ท�ำสุดท้าย คือ ต้องไม่ขัดคอ เมอื่ ถงึ คราวทใ่ี หเ้ ดก็ พดู จะผดิ หรอื ถกู ปลอ่ ยใหพ้ ดู ผเู้ ลา่ นทิ านทเ่ี กง่ ตอ้ งไมย่ ดึ ตดิ ตวั อกั ษร ครไู ม่ ให้จบ คนฟังอ่ืนๆ จะตัดสินเองว่าถูกหรือผิด จำ� เปน็ ตอ้ งเล่าตรงตามตัวอักษร เพยี งแต่ใจความ ประการใด และสดุ ทา้ ยคอื คณุ ครตู อ้ งไมเ่ บอื่ หนา่ ย ตอ้ งถกู การเลา่ ทน่ี า่ ฟงั คอื เลา่ จากความทรงจำ� ครู ท้อแท้ในการเล่านิทานและท�ำกิจกรรมกับเด็ก สามารถจะแตง่ เตมิ เสรมิ คำ� พดู ใหเ้ หมอื นกบั การคยุ ทัศนคติที่เป็นบวกของครูเป็นส่ิงมีค่าที่สุดส�ำหรับ ทจี่ ะท�ำให้ไม่เครง่ เครยี ด นอกจากนย้ี งั สามารถจะ นักเรียน ไม่ว่าเด็กคนน้ันจะมีไอคิวระดับใดก็ตาม สร้างบรรยากาศให้เด็กๆ มีอารมณ์ร่วมได้โดยให้ ทัศนคติบวกของคุณครูจะท�ำให้เขามีอีคิวและ หลบั ตาฟัง วธิ นี ้ีจะสรา้ งจินตนาการได้ดีกวา่ และ เอม็ ควิ สูงขึ้นได้ ถ้ามีเสียงประกอบในขณะท่ีผู้ฟังหลับตาจะท�ำให้ นทิ านท่เี หมาะสมสำ� หรับเด็ก คอื นทิ านสร้างคณุ ธรรม ตอ้ งเลือกเรือ่ ง ทเี่ หมาะสมกับวัยผฟู้ งั เล่าในบรรยากาศทเ่ี หมาะสม คอื สบายๆ ไม่เครยี ด โดยทผ่ี ูเ้ ลา่ ใช้ทงั้ ศาสตร์และศลิ ปะในการเล่าจงึ จะได้ผลดที ีส่ ดุ
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 39 ประชุมชิงปฏิบัตกิ าร 14 พ.ย. 57 ณ โรงเรียนบา้ นสวายสอฯ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
40 สถาบันนโยบายศึกษา สัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ าร 12 พ.ย. 58 สัมมนาเชงิ ปฏิบัติการ 9 ธ.ค. 57 ณ โรงเรยี นบ้านโพธ์ดิ อนหวาย ณ โรงเรียนบ้านทุง่ นา อ.เมือง จ.ตรัง อ.เมอื ง จ.บุรีรมั ย์ สัมมนาเชิงปฏิบัตกิ าร 12 พ.ย. 58 ณ โรงเรียนบ้านโพธดิ์ อนหวาย อ.เมือง จ.บรุ ีรัมย์
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 41 ประสบการณ์ท่บี รุ ีรัมยแ์ ละตรงั โครงการน้ีน�ำวิธีการสั่งสอนที่เก่าแก่กลับมาอีกครั้ง โดยสนับสนุนให้ คณุ ครใู ชเ้ วลาวนั ละนดิ หนอ่ ยเลา่ นทิ านดๆี ใหน้ กั เรยี นฟงั จากนนั้ กท็ ำ� กจิ กรรม อกี หลากหลายทจ่ี ะสรา้ งกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บและการตดั สนิ ใจ จัดสัมนาเพื่อสร้างเครือข่ายและหา จากน้ันจึงระดมสมองให้ช่วยกันหาคุณสมบัติของ แนวร่วม นกั เรียนในฝนั คุณครเู ปล่ียนความคิดวา่ การเป็น เด็กดีเป็นคุณสมบัติส�ำคัญย่ิงกว่าการเป็นเด็ก สถาบนั นโยบายศกึ ษา โดยการสนบั สนนุ จาก เรียนเกง่ และเม่อื ถามว่าครจู ะใช้วธิ ีการอยา่ งไรใน มูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์ ได้เร่ิมต้นโครงการ การสร้างเด็กดี ไดข้ ้อสรุปที่น่าสนใจ 3 ข้อ คอื “การสร้างคุณธรรมในนักเรียนชั้นประถมศึกษา” ด้วยกิจกรรมคร้ังแรกที่ห้องประชุมส�ำนักงาน 1. สอนดว้ ยกิจกรรม เชน่ สรา้ งสถานการณ์ เขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 จำ� ลอง ใหท้ ำ� กจิ กรรมกลมุ่ มอบหนา้ ทใี่ หร้ บั ผดิ ชอบ อำ� เภอเมือง จังหวดั บุรรี มั ย์ เมื่อวนั ท่ี 26 มกราคม ให้นงั่ สมาธิ สวดมนต์ไหวพ้ ระ เล่นเกม 2556 โดยจัดเสวนาระดมสมองจากอาจารย์ 2. สอนด้วยค�ำพูด ให้ศึกษาบุคคลต้นแบบ 46 ทา่ น จาก 25 โรงเรยี น ก่อนการเสวนามกี าร เลา่ นทิ าน ร้องเพลง ให้ท�ำแบบสอบถามให้เรียงล�ำดับเลือกคุณสมบัติ นกั เรยี นที่ครูต้องการให้เปน็ ปรากฏว่าความขยัน 3. ครแู สดงให้เห็นเปน็ ตวั อยา่ ง ต้ังใจเรียนมาเป็นที่หน่ึง รองๆ ลงไปคือความ เมื่อคุณครูมีความเห็นร่วมกันว่าเด็กดีนั้น ซ่อื สัตย์ รกั ชาติศาสนา สามัคคี ประหยัด ไมเ่ ห็น สรา้ งได้ และการเปน็ คนดสี ำ� คญั กวา่ คนเกง่ คณุ ครู แกต่ วั เคารพสิทธผิ ู้อื่น ร้จู กั สทิ ธหิ น้าท่ีของตนเอง กเ็ รม่ิ คดิ หากจิ กรรมตา่ งๆ ทจี่ ะสามารถนำ� ไปใชไ้ ด้ ใฝ่รู้ กระตือรอื ร้น ชอบชว่ ยคนอน่ื ปฏบิ ตั ิตามกฎ ครูเห็นว่าควรน�ำค�ำสอนตามหลักศาสนาและ ไม่เกเร มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีวินัย และ นิทานชาดก มาบอกเล่า นอกจากน้ี การสวดมนต์ รักความสะอาด หรือการเข้าค่ายคุณธรรม ยังช่วยให้เด็กเป็น เรานำ� เรอื่ ง ไอควิ อคี วิ และเอม็ ควิ มากระตนุ้ คนดีได้ ใหค้ ณุ ครคู ดิ ใหมว่ า่ การสรา้ งเดก็ ดที ำ� ไดด้ ว้ ยมอื ครู
42 สถาบันนโยบายศึกษา การสมั มนาคร้ังท่ี 2 ท่บี ุรรี มั ย์ สื่อและหนังสือท่ีจะเสริมเติมเต็มวิชาการจาก หลังปิดเทอมภาคที่สอง สถาบันนโยบาย ห้องเรยี น ศึกษารบั จัดเสวนาครั้งที่ 2 กับคุณครกู ล่มุ แรกใน คณุ เรอื งศกั ด์ิ ปน่ิ ประทปี กรรมการผจู้ ดั การ ทนั ที่ ในวนั ท่ี 22 มนี าคม 2556 เราหวงั เปน็ อยา่ ง มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก ได้มาเล่าถึงประสบการณ์ ยง่ิ วา่ คณุ ครทู เ่ี ขา้ รว่ มสมั มนาครง้ั แรกจะมากนั ครบ และประโยชน์ของการใช้นิทานพัฒนาเด็ก สร้าง แต่ปรากฏว่า มีเพียง 28 จาก 67 คนเท่านั้น แรงบันดาลใจให้เห็นประโยชน์จากประสบการณ์ ท่ีมาซ้�ำ การเสวนาในคร้ังน้ีมุ่งเน้นที่การใช้นิทาน จรงิ และยงั แสดงใหเ้ หน็ วา่ เงนิ ไมใ่ ชป่ จั จยั สำ� คญั ใน เปน็ สอ่ื สรา้ งเดก็ ดี จงึ นำ� เสนอเทคนคิ การเลา่ นทิ าน การทำ� งาน ความตง้ั ใจ ความคดิ แรงบนั ดาลใจใหมๆ่ และกระบวนการท่ีควรต่อยอดหลังคุณครูเล่า การบรหิ ารจดั การทด่ี ี สามารถนำ� ไปสโู่ ครงการดๆี นทิ านจบแลว้ เมอ่ื จบการเสวนาจงึ เชญิ ชวนคณุ ครู ได้มากมาย มูลนิธฯิ ได้ท�ำกิจกรรมมากมายตลอด ที่เห็นประโยชน์มาเป็นอาสาสมัครที่จะน�ำวิธีการ เวลาหลายปี เชน่ โครงการ “หนงั สอื เลม่ แรก Book เหลา่ นไ้ี ปใชใ้ นชน้ั เรยี น ปรากฏวา่ มคี ณุ ครู 17 ทา่ น Start” สำ� หรับเดก็ ตงั้ แต่ 2-3 เดอื นจนถงึ ก่อนวยั จาก 10 โรงเรียนรับอาสา และต่อมาสถาบันฯ เรียน โครงการ “พ่ีอ่านคล่อง น้องฟังเพลิน” ได้สง่ หนงั สือท่ีเราคดั เลอื กแลว้ ใหท้ งั้ 10 โรงเรยี น นักเรียนรุ่นพ่ีอ่านหนังสือให้รุ่นน้องฟัง โครงการ “อาหารใจ อาหารสมอง อาหารธรรมะ” หอ้ งสมดุ ผลลพั ธจ์ ากคุณครูผ้เู ล่านิทาน เพอ่ื เดก็ ในชนบท โครงการ”อาสาสมัครนักอ่าน” หลังจากเปิดเทอมภาคแรกในเดือน อบรมให้สามารถอ่านหนังสือให้ผู้อื่นฟังได้อย่าง พฤษภาคม 2556 คณุ ครทู ้ัง 17 ท่านไดใ้ ชห้ นงั สอื สนกุ สนาน โครงการ “อา่ นเพอื่ การบำ� บดั ” สำ� หรบั ท่ีสถาบันนโยบายศึกษาส่งไปอ่านหรือเล่าให้ เดก็ ดาวนซ์ นิ โดรมและออทสิ ตกิ ส์ โครงการ”สรา้ ง นักเรียนฟัง ในวันท่ี 13-14 ตุลาคม 2556 นทิ านเพอ่ื การพัฒนาเดก็ ” ใหเ้ ดก็ ๆ สรา้ งหนงั สอื สถาบันฯ จึงเชิญคุณครูทุกท่านเดินทางมา ภาพนิทาน ฯลฯ กรุงเทพฯ เพื่อเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ วนั นน้ั ทเี คปารค์ มกี จิ กรรมโครงการลบั สมอง ข้อคดิ ท่ไี ด้จากการปฏิบตั ิเป็นเวลาถงึ 5 เดอื น ประลองปัญญา สรรหาหนนู ้อยนักเล่านทิ านรอบ ในวนั ท่ี 13 ตุลาคม เราพาคณุ ครไู ปเย่ียมชม ชิงชนะเลิศ คุณครูจึงได้ชมความสามารถของ ทีเคปาร์ค (TK Park) อุทยานการเรียนรู้ ท่ี นกั เล่านิทานตวั นอ้ ยๆ จากทว่ั ประเทศ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ หลังเข้าชมห้องสมุดท่ี วนั ท่ี 14 ตลุ าคม กอ่ นจะถงึ ชว่ งเวลาแลกเปลยี่ น แบ่งหนังสือและสื่ออ่ืนๆ ตามช่วงอายุและความ ประสบการณ์ สถาบันนโยบายศึกษาได้ขอให้ สนใจ ไดเ้ ห็นนวตั กรรมใหม่ทนั สมัยในการกระตนุ้ คุณครูเล่าว่าจากเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ความสนใจนำ� ไปสู่ “การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ” คณุ ครู คณุ ครไู ดท้ ำ� อะไรบา้ ง เรยี นรอู้ ะไร และจากวนั นจี้ ะ บางทา่ นเคยมาแล้ว แตส่ ว่ นใหญย่ งั ไมเ่ คยมา แต่ ท�ำอะไรต่อไป หลงั จากวนั นท้ี กุ คนไดเ้ หน็ และเขา้ ใจประโยชนข์ อง คำ� ตอบมหี ลากหลาย เชน่ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 43 การอา่ นให้หลากหลายรปู แบบ เกษยี ณแลว้ จะใช้ การขยายผลไปสู่กิจกรรมต่างๆ ที่นักเรียนทั้ง รางวัลทไ่ี ดจ้ ากการเปน็ “ครูสอนด”ี ท�ำห้องสมดุ โรงเรียนไดเ้ ข้ามามสี ่วนร่วม ท่ีบ้าน สอนให้นักเรียนอ่านและวิเคราะห์เปรียบ นอกจากน้ันยังพบว่าการใช้นิทานเป็นสื่อ เทียบกับตนเอง ท�ำห้องสมุดโรงเรียนให้มีชีวิต ทำ� ใหน้ กั เรยี นอา่ นหนงั สอื ไดเ้ รว็ ขนึ้ เดก็ ๆ สนกุ กบั เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนรักการอ่าน ให้นักเรียนมี กจิ กรรมอนื่ ๆ อกี มากมาย กลา้ พดู กลา้ แสดงออก สว่ นรว่ มในการสะสางหนงั สอื หอ้ งสมดุ ฝกึ การเลา่ มีวินัย สามัคคี ซ่ือสัตย์ มีความรับผิดชอบ นทิ านการพดู หนา้ ชน้ั ขอปจั จยั สนบั สนนุ จากนอก รู้จักวิเคราะห์พฤติกรรมตนเอง มีความคิด โรงเรียน ฯลฯ สรา้ งสรรค์ และพฤตกิ รรมความกา้ วรา้ วโดยรวม ท่ีส�ำคัญคือ จะช่วยผลักดันให้เขตพ้ืนที่ ลดนอ้ ยลง การศึกษาจัดสัมมนาให้คุณครูต่างโรงเรียนได้ แลกเปล่ียนประสบการณ์และผลงานการใช้ การขยายผลในปที ี่สอง โครงการ “การสร้างคุณธรรมในนักเรียน นทิ านสร้างคณุ ธรรมในนกั เรยี นประถม ประถมศกึ ษา” โดยการสนบั สนนุ จากมลู นธิ คิ อนราด อาเดนาวร์ ได้ด�ำเนินการต่อไปเป็นปีท่ีสองและ การขยายผลจากการเล่านิทานในห้องเรียน ขยายพน้ื ทเี่ พม่ิ เปน็ สองจงั หวดั คอื บรุ รี มั ยแ์ ละตรงั คือการเล่าตอนเช้าที่หน้าเสาธงตามค�ำเรียกร้อง ของนักเรยี นทง้ั โรงเรยี น มกี ารประเมนิ พฤติกรรม วันที่ 25 มกราคม 2557 เราไปจัดสัมมนาท่ี ความเปลย่ี นแปลงในนกั เรยี นจากเดอื นพฤษภาคม จังหวัดบุรีรัมย์ และในวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ ที่ ถึงตุลาคมว่ามีผลน่าพอใจ นักเรียนร่วมกันท�ำ จงั หวดั ตรงั ทง้ั สองครง้ั มคี ณุ ครเู ขา้ รว่ มถงึ 108 คน หนังสือนิทาน ให้นักเรียนกลับไปเล่านิทานให ้ จาก 34 โรงเรยี น อาจารยจ์ ฑุ ามาศ จนั ทวงษว์ าณชิ ย์ ผปู้ กครองฟงั คิดสร้างเกมการเลน่ จากนิทาน วาด จากโรงเรียนบ้านโพธ์ิดอนหวาย จังหวัดบุรีรัมย ์ ภาพจากนทิ าน ใหน้ ักเรียนอา่ นผ่านเสียงตามสาย ได้เล่าประสบการณ์การร่วมโครงการในปี 2556 ตอ่ ยอดเปน็ โครงการทำ� ดใี หโ้ รงเรยี น เชน่ เกบ็ ขยะ ให้คุณครูใหม่ฟัง และยังน�ำผลงานนักเรียนที่ คดั แยกขยะ ทำ� นำ�้ ยาลา้ งหอ้ งนำ�้ จากสบั ปะรดหมกั ตอ่ ยอดจากการเลา่ นทิ านมาแสดงดว้ ย ช่วยกันปิดประตูหน้าต่างห้องเรียน แสดงละคร จากนิทาน เสวนาเรื่องจากนิทาน ให้นักเรียน การสมั มนายงั คงใชว้ ธิ กี ารบรรยายและระดม เปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมชวี ติ จรงิ กบั นทิ าน นกั เรยี น สมองเหมือนเดิม คุณครูช่วยกันร่วมแสดงความ แตง่ นิทาน ครเู ล่า-นกั เรียนสรปุ นกั เรยี นสรปุ แบบ คิดเห็นกันอย่างหลากหลาย ท้ายท่ีสุดคือการรับ ย้อนกลับ หัดจดบันทึกจากนิทาน นักเรียนสร้าง อาสาสมคั รเขา้ รว่ มโครงการ ทบ่ี รุ รี มั ย์ มคี ณุ ครใู หม่ หนังสือนิทานเล่มเล็ก ท�ำสมุดความดี ท�ำแผนที่ เขา้ ร่วมโครงการ 29 คน จาก 17 โรงเรยี น และ ความคดิ (Mind Map) จากนิทาน ฯลฯ ที่ตรัง มี 26 คน จาก 7 โรงเรยี น สถาบนั นโยบาย ศึกษาจัดส่งหนังสือให้ทุกๆ โรงเรียนเช่นเคยเม่ือ จากจุดเร่มิ ต้นเลก็ ๆ จากคุณครเู พียง 1 หรอื เปิดภาคเรียนเดอื นพฤษภาคม 2557 2 คนทมี่ าเขา้ โครงการกบั เรา หลายโรงเรยี นไดเ้ กดิ
44 สถาบันนโยบายศึกษา การติดตามผล อาจารย์ไพรจันทร์ วิทยาไพโรจน์ จาก ในเดือนมิถุนายน และสิงหาคม 2557 โรงเรียนบ้านหนองปรือน้อยและอาจารย์น้�ำผ้ึง สถาบันนโยบายศึกษาไปเย่ียมโรงเรียนเพื่อ พิชัยกาล จากโรงเรียนบ้านสารภี จังหวัดบุรีรัมย์ ตดิ ตามผล ที่ตรงั คณุ ครูแบ่งกลมุ่ มาร่วมประชมุ ท่ี ท่ีเข้าร่วมโครงการนี้ในปี 2556 และยังคงท�ำ โรงเรยี นบา้ นทงุ่ นา โรงเรยี นบา้ นตน้ บากราษฎรบ์ ำ� รงุ ตอ่ เน่อื งมาในปี 2557 ได้บอกเล่าผลสมั ฤทธท์ิ ี่เกดิ และโรงเรยี นบา้ นหนองเรี๊ยะ สว่ นทีบ่ รุ รี ัมย์ เราได้ ในโรงเรียนหลังด�ำเนินโครงการนี้วา่ รับความอนุเคราะห์ให้ใช้ห้องประชุมของโรงเรียน 1. เด็กๆ มีจิตอาสามากข้ึน พวกเขาจะเข้า บา้ นสวายสอ(ประชาบรู ณะ)โรงเรยี นบา้ นตลาดควาย มาชว่ ยเหลอื กิจกรรมตา่ งๆ ชว่ ยคณุ ครู โรงเรียนชุมชนบ้านดอนนางงาม และโรงเรียน ถอื ของ ท�ำงาน ตลอดจนชว่ ยเหลอื เพ่อื น บ้านโคกส�ำโรง นักเรียนด้วยกัน มีทั้งความคืบหน้าโครงการและข้อคิดหลัง 2. เดก็ ๆ รู้จกั การให้ แบ่งปัน และเสยี สละ จากลงมือปฏิบัติการไปบ้างแล้วมาแลกเปลี่ยน ตามคุณลักษณะของตัวละครท่ีพวกเขา เรยี นรกู้ นั บางโรงเรยี นยงั นำ� ผลลพั ธค์ อื ผลงานของ ชื่นชอบในนิทาน นกั เรยี นมาแสดง ตอ้ งชน่ื ชมความสามารถทคี่ ณุ ครู ได้ท�ำกิจกรรมต่อยอดจากการเล่านิทานอีก 3. มีความมั่นใจในตัวเองมากข้ึน กล้าพูด กลา้ ถาม กลา้ แสดงออก หลงั จากใหแ้ สดง มากมาย เชน่ การผลติ หนงั สอื นทิ านภาพระบายสี บทบาทสมมติตามนิทาน แม้กระท่ังเด็ก การวิเคราะห์คุณธรรมจากพฤติกรรมบุคคลใน ประถม 1 ก็ยังชอบกิจกรรมบทบาท นิทาน การใช้ส่ือประกอบการเรียน ไปจนถึงการ สมมติ แสดงบทบาทสมมตติ ามเรอื่ งนิทาน 4. เด็กส่วนใหญ่ได้พัฒนามีความคิด คุณครูบอกว่าความรู้เรื่องเทคนิคการเล่า สร้างสรรค์ ไม่ว่าจะเป็นจากการท�ำ นทิ านและตวั อยา่ งสอื่ ประกอบการเลา่ ทไ่ี ดร้ บั จาก กิจกรรม และการท�ำส่ือที่ต้องใช้ศิลปะ สถาบันฯ เพ่ิมพูนทักษะการเล่านิทานโดยเฉพาะ และทกั ษะ ในชนั้ อนบุ าล ท�ำให้เด็กๆ อยากมาโรงเรียนแมแ้ ต่ วันที่ป่วย อีกหลายโรงเรียนจัดกิจกรรมร่วม 5. เพิ่มความสามารถในการวิเคราะห์หลัง จากฟังนิทานและค�ำถามย้อนกลับถึง ระหว่างประถมและอนุบาล เม่ือคุณครูน�ำทักษะ เหตุการณ์ เร่ืองราว และตัวละครใน การเล่านิทานไปใช้กับนักเรียนประถม 5-6 พวก นิทาน ผลงานเชิงวิเคราะห์แสดงชัดว่า พๆ่ี กเ็ ล่าให้นอ้ งๆ ฟังในตอนเชา้ หรือพกั เทีย่ ง เมอื่ เดก็ ๆ สามารถจะคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ และ ถงึ การแสดงบทบาทสมมตทิ กุ คนไดม้ สี ว่ นรว่ ม พๆี่ นำ� เสนอสง่ิ ซบั ซอ้ นไดโ้ ดยใชค้ ำ� สนั้ ๆ และ จดั แบง่ บทบาทใหต้ ามความสามารถของนอ้ งๆ ผล ภาพ ท่ีได้คือเพิ่มความเมตตาสามัคคีในโรงเรียน เกิด เปน็ ผลสัมฤทธิ์ทีค่ ณุ ครไู ม่ไดค้ าดหวังมาก่อน 6. ที่น่ายินดียิ่งคือการเล่านิทานและท�ำ กิจกรรมต่อเน่ือง สามารถช่วยด้าน
“คุณธรรมเพ่ือความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 45 พัฒนาการของเด็กพิเศษท่ีเรียนช้า เปิด ผู้บริหาร เกิดความเป็นกันเองระหว่าง โอกาสให้เขามีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ไม่ ผบู้ รหิ ารกบั ครู และกบั นกั เรยี น เปน็ ปฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ ี เกินความสามารถ ท�ำให้เกิดการค้นพบ โรงเรยี น ไดห้ นงั สอื และสอ่ื การเรยี นการสอน ตวั ตน โดยเฉพาะคณุ สมบตั ดิ ๆี เชน่ ความ ที่นักเรียนเป็นผู้ผลิตเก็บไว้ใช้ในปีต่อๆ ไป และท่ี มีนำ้� ใจ การเสยี สละ การช่วยเหลือ สำ� คญั ทสี่ ดุ ประการสดุ ทา้ ยทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ ในโรงเรยี น โรงเรยี นทรี่ ว่ มโครงการเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่ จะ บา้ นสารภคี ือ เม่ือความสมั พันธใ์ นโรงเรยี นดี ทกุ ๆ นำ� ตวั แทนนกั เรยี นและครมู าทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั ใน ฝา่ ยกช็ ว่ ยกนั วเิ คราะหป์ ญั หาและหาทางแกป้ ญั หา เดอื นพฤศจกิ ายน-ธนั วาคม 2557 นำ� ผลลพั ธท์ เ่ี ปน็ ของโรงเรยี นจนเปน็ ผลสำ� เร็จอยา่ งงดงาม ผลงานนักเรียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้มีการ โรงเรยี นบา้ นสารภเี คยมปี ญั หานกั เรยี นฟนั ผุ พัฒนาที่ดีข้ึน และเพื่อให้เด็กต่างโรงเรียนได้ท�ำ จากการศกึ ษาเจาะลกึ สอบถามไดค้ วามวา่ นกั เรยี น กิจกรรมร่วมกัน และสร้างพลังสามัคคี ให้เป็น แปรงฟันวันละคร้งั เดียว คอื หลังอาหารกลางวันท่ี ต้นกล้าที่จะเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีในสังคม โรงเรยี น จะด้วยเหตุผลใดๆ กต็ าม ผอ.ธนพร จึง ประชาธิปไตย คิดโครงการ “ถงุ หอมแปรงฟัน” ใหเ้ ดก็ ๆ ทกุ คน มีถงุ ใบเล็กใสแ่ ปรงและยาสีฟัน ใหน้ ำ� กลับบ้านได้ เสียงสะท้อนจาก ผอ.ธนพร ทรงรัมย์ แห่ง แต่ต้องเอามาโรงเรียนทุกๆ วัน หลังอาหารกลาง โรงเรยี นบา้ นสารภี ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการนใ้ี นปี 2556 วนั นกั เรยี นจะรอ้ งเพลงฉนั ชอบสฟี นั และแปรงฟนั และยังคงติดตามให้ความช่วยเหลือประสานงาน กันทุกคน โครงการน้ีท�ำให้โรงเรียนบ้านสารภีได้ ในปี 2558 น้ี ได้ให้ข้อคิดถึงผลสัมฤทธ์ิของ รบั รางวลั ระดบั จงั หวดั ในโครงการทนั ตกรรมดเี ดน่ โครงการที่เกิดขึ้นในโรงเรียนบ้านสารภีว่า ท�ำให้ เกิดพัฒนาการความก้าวหนา้ ครบ 4 ด้าน คือ ท่ีโรงเรียนบ้านโคกส�ำโรง ซึ่งเป็นโรงเรียน ขนาดเลก็ มาก มีนกั เรยี นเพียง 45 คน และครูอกี นกั เรยี น มคี วามซอื่ สตั ยอ์ ยา่ งสมั ผสั ไดช้ ดั เจน 5 เด็กๆ ได้แสดงความสามารถในการแนะน�ำ ทงั้ ในคำ� พดู และการกระท�ำ เดก็ ๆ มีจิตสาธารณะ โรงเรียนเป็นภาษาอังกฤษและเล่านิทานภาษา ชว่ ยกจิ การโรงเรยี น อาสาชว่ ยครู รจู้ กั การแบง่ ปนั อังกฤษได้อย่างน่าประทับใจ ผอ.ประภัสสร ระหว่างเพื่อน รับฟังความเห็นผู้อ่ืน และกล้าพูด สรวนรัมย์ และคุณครูบุญเพชร ไชยนา คุณครู กล้าแสดงออกมากขนึ้ สายใจ ชุดพิมาย ก�ำลังสร้างความสามารถทาง ภาษาให้นักเรียนประถมตัวนอ้ ยๆ เพือ่ เข้าสู่ความ คุณครู เพ่มิ การทำ� สือ่ การเรียนการสอน น�ำ ร่วมมือทางเศรษฐกิจแห่งประชาคมอาเซียนใน ไปใช้ท้ังในนิทานและบทเรียนวิชาอ่ืนๆ ครูให้ อนาคต นกั เรยี นมสี ว่ นในการเรยี นการสอนมากขนึ้ ตรงกบั เปา้ ประสงคข์ องการใหก้ ารศกึ ษา คอื ทำ� ใหเ้ กดิ การ จากการท�ำโครงการสร้างคุณธรรมด้วยการ เรียนรู้ (Learning) ไมใ่ ช่การสอน (Teaching) ให้ เล่านิทานในจังหวัดบุรีรัมย์อย่างต่อเน่ืองมา 2 ปี จดจำ� บทเรยี น แล้ว เราได้เห็นพัฒนาการของการสร้างเครือข่าย
46 สถาบันนโยบายศึกษา ครทู เี่ ขม้ แขง็ เหน็ ความชว่ ยเหลอื แนะนำ� สนบั สนนุ กัน โดยแต่ละกลุ่มจะมีนักเรียนจากทุกโรงเรียน ให้กำ� ลงั ใจซง่ึ กนั และกนั เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดป้ รบั ตวั เขา้ กบั เพอ่ื นใหม่ ทะลาย กำ� แพงความเขนิ อาย ส่งเสริมให้เกดิ ความกลา้ พูด นกั เรยี นตา่ งโรงเรยี นทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั กล้าแสดงออกต่อหน้าคนแปลกหน้า คุณพิเชษฐ์ นลิ สขุ เปน็ วทิ ยากรละลายพฤตกิ รรมและใหแ้ ตล่ ะ ในวันท่ี 14 พฤศจิกายน ที่โรงเรียนบ้าน กลุ่มจับสลากนิทาน จากน้ันนักเรียนเข้าประจ�ำ สวายสอ (ประชาบรู ณะ) จงั หวดั บรุ ีรัมย์ และวันที่ ฐานการเรียนรู้ที่มีคุณครูเป็นวิทยากรประจ�ำฐาน 9 ธนั วาคม 2557 ทโี่ รงเรยี นบา้ นทงุ่ นา จงั หวดั ตรงั ช่วยเหลือให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมและ โดยการสนับสนุนจากมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์ แสดงออก สถาบันนโยบายศึกษา ได้น�ำโรงเรียนที่เข้าร่วม โครงการมาพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ กจิ กรรมที่ 1 คือ “การอา่ นนทิ านและเขียน ท�ำกจิ กรรมรว่ มกนั แผนภาพโครงเรื่อง” ทีบ่ รุ รี ัมย์ มนี ักเรยี น 85 คน และครู 49 คน กิจกรรมท่ี 2 คือ “วิเคราะห์ตัวละครแล้ว จาก 17 โรงเรียน และที่ตรังมีนักเรียน 73 คน ย้อนดูตน” และครู 23 คน น�ำโดยผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 6 จาก 7 โรงเรียนมาร่วมกิจกรรม โดยสถาบัน กิจกรรมที่ 3 “การเขยี นบทละคร และสรุป นโยบายศึกษามอบให้คุณครูท้ังหลายเป็นผู้ ข้อคิดสะท้อนไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ออกแบบกิจกรรมท้ังหมดและด�ำเนินงานด้วย ของตน” ตนเอง เราเป็นเพียงแต่ผู้สนับสนุนและอ�ำนวย ความสะดวกเท่าน้ัน บรรดาคุณครูในทั้งสอง กจิ กรรมท่ี 4 “ซอ้ มการแสดง” จังหวัดได้พบปะวางแผนงานกันหลายครั้งกว่าจะ กจิ กรรมท่ี 5 “แสดงละคร” โดยทุกกลมุ่ ตกผลึกออกมาเป็นกิจกรรมที่ได้ทั้งประโยชน์ แมเ้ วลาทท่ี ำ� กจิ กรรมจะสนั้ มากเพยี งวนั เดยี ว ความรแู้ ละความสนกุ สนานของทง้ั นกั เรยี นและครู แต่ทุกกลุ่มก็สามารถจะท�ำสมุดบันทึกการอ่าน นทิ านออกมาสำ� เร็จ แสดงวา่ ทุกกลุ่มสามารถจะ ท้ังท่ีบุรีรัมย์และตรัง ทุกโรงเรียนน�ำผลงาน สรุปเน้ือเรื่องและเขียนออกมาเป็นแผนภาพ ฝีมือนักเรียนมาร่วมแสดง เกิดการแลกเปล่ียน โครงเรือ่ ง ล�ำดบั เหตกุ ารณ์ ช่วยกนั คิดวเิ คราะห์ เรียนรู้ซึ่งกันและกัน และโรงเรียนเจ้าภาพก็ได้ให้ และเปรียบเทียบกับชีวิตจริงได้ ส่วนการแสดง คุณครูและนักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมมาชม ละครซ่ึงถือว่าเป็นไฮไลท์ของกิจกรรมท้ังหมดนั้น นิทรรศการดว้ ย นกั เรยี นผลดั กนั ตง้ั ใจแสดงใหส้ มบทบาท แตก่ เ็ รยี ก เสยี งหวั เราะจากเพ่อื นๆ ทน่ี ัง่ ชมไดไ้ มข่ าดระยะ ในส่วนกิจกรรมนักเรียนและครูท่ีจัดขึ้น โครงการนแ้ี มจ้ ะใชเ้ วลาด�ำเนนิ การเพยี งภาค เหมอื นกนั หลงั จากทำ� การลงทะเบยี นแลว้ กม็ กี าร การศึกษาเดียว แต่ผลลัพธ์ท่ีออกมาคือผลงาน แบ่งนกั เรยี นออกเปน็ 5 กลุ่มเพอ่ื ทำ� กิจกรรมร่วม นักเรียนท่ีทุกโรงเรียนน�ำมาจัดแสดงน้ัน แสดงให้
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 47 สัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ 12 พ.ย. 58 ณ โรงเรยี นบ้านโพธิด์ อนหวาย อ.เมอื ง จ.บรุ ีรัมย์ เห็นว่าคุณครูทุกคนสามารถจะน�ำการเล่านิทาน ทุกช้ันสนุกสนานกับกิจกรรมต่างๆ สร้างความ ต่อยอดออกเป็นกิจกรรมอื่นๆ อีกมากมาย เช่น สามคั คี เปน็ การปลกู ฝงั คณุ ธรรมโดยคณุ ครไู มต่ อ้ ง การให้นักเรียนช้ันโตเล่านิทานให้น้องฟัง ท�ำ พรำ�่ สอนหรอื บรรยาย กระตนุ้ ให้เดก็ ๆ อยากจะ กิจกรรมร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์อันดีใน เปน็ คนดี ทำ� ความดี นำ� ไปสกู่ ารสรรหาคนดปี ระจำ� โรงเรียน พๆ่ี มจี ิตเออื้ เฟอื้ นอ้ งๆ รกั เคารพพี่ การ โรงเรียน วเิ คราะหต์ วั ละครสอนใหเ้ ดก็ ฟงั อยา่ งตง้ั ใจ รจู้ กั คดิ บางโรงเรียนสามารถจะขยายผลไปถึง วิเคราะห์และน�ำมาเปรียบเทียบกับชีวิตจริง การ ผู้ปกครองและองค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) แสดงละครหรือบทบาทสมมติตามนิทาน ฝึกให้ ให้ผู้ปกครองยืมนิทานและอ่านให้ลูกฟัง สร้าง เดก็ กลา้ พดู กลา้ แสดงออก ทำ� งานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่ ความอบอุ่นในครอบครัว อบต. เข้ามามีส่วน แบ่งหน้าท่ีตามความถนัด ใช้จินตนาการสร้าง สนับสนุนเงินซือ้ หนังสือเพ่ิม เครื่องแต่งตัวตามบทละคร ท่องจ�ำบท การท�ำ สมุดงานตามเรื่องนิทานสร้างเสริมจินตนาการ ตัวอย่างหน่ึงของผลสัมฤทธ์ิคือผลงานของ บรู ณาการภาษาไทย ศลิ ปะ หลายโรงเรยี นกา้ วหนา้ โรงเรยี นตน้ บากราษฎรบ์ ำ� รงุ จงั หวดั ตรงั ทไี่ ดแ้ ปล ไปถงึ ขนั้ ใหน้ กั เรยี นเขยี นเรอ่ื งคณุ ธรรมทต่ี นทำ� จาก ความหมายของการมีคุณธรรมประจ�ำใจออกเป็น ชวี ติ จรงิ มีสมดุ บันทกึ การทำ� ความดี น�ำค่านยิ ม ภาษาทอ้ งถ่ินวา่ “รจู้ กั หวนั ” และให้นกั เรยี นระบุ 12 ประการมาเชือ่ มโยงกบั นทิ านทฟ่ี ัง สงิ่ ทตี่ นทำ� หรอื ความตง้ั ใจทจี่ ะไมท่ ำ� เมอื่ “รจู้ กั หวนั ” ในรูปแบบแผนผังความคิด (Mind Map) ผลงาน จากบทสรุปความเห็นของคุณครู การเล่า ตวั อยา่ งหนึ่งทนี่ ำ� มาแสดงไดแ้ ก่ นิทานคุณธรรมมีประโยชน์มาก นักเรียนทุกคน
48 สถาบันนโยบายศึกษา • ไมท่ �ำลายของคนอืน่ สนับสนุนและรับโครงการนี้ไปด�ำเนินการต่อ • ไม่ลกั ขโมย เพิ่มความเข้มข้น ขยายผลต่อเนอ่ื ง มกี ารตดิ ตาม • ไมท่ �ำลายธรรมชาติ และประเมินผลต่อไปเรื่อยๆ • ท้ิงขยะลงถัง • ไมน่ �ำโทรศัพท์มาเลน่ เฟสบคุ้ ในห้องเรียน คุณครูมีความคิดที่ดีว่าควรให้ผู้ปกครองได้ • ไม่มีแฟนตอนเรียน รับรู้และเข้าร่วมกิจกิจกรรมด้วย ควรจัดกิจกรรม รว่ มกบั ชมุ ชนและบรู ณาการกบั คณุ ลกั ษณะผเู้ รยี น ฯลฯ กบั คณุ ลกั ษณะผเู้ รยี นตามหลกั สตู รและคา่ นยิ ม 12 คณุ ครทู เี่ ขา้ รว่ มโครงการนมี้ คี วามเหน็ ตรงกนั ประการของ คสช. ว่า การปลูกฝังคุณธรรมด้วยนิทานและกิจกรรม ต่อเน่ืองควรได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้ด�ำเนิน กิจกรรมสดุ ทา้ ยของโครงการ ตอ่ ไป ควรต่อยอดให้ครบทกุ ชน้ั จดั กจิ กรรมครบ ทุกห้อง อย่างต่อเนื่อง และเชื่อมโยงนิทานกับ หลังจากที่ด�ำเนินการมาถึงสามปีเต็ม สถานการณ์ปัจจุบันเพ่ือสร้างความเป็นพลเมือง โครงการ “การสร้างคุณธรรมในนักเรียนประถม ขยายจากบางชัน้ เรยี นไปสทู่ ุกชัน้ ในโรงเรียน และ ศึกษา เพ่ือเสริมสร้างการศึกษาเพื่อความเป็น จากโรงเรยี นสู่กลุ่มโรงเรยี นใหเ้ ตม็ รูปแบบ พลเมอื ง” ทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จากมลู นธิ คิ อนราด คุณครูมีความเห็นว่า การเล่านิทานและท�ำ อาเดนาวร์ ประเทศเยอรมัน ก็ด�ำเนินมาถึงบท กิจกรรมต่อเนื่อง เช่น เขียนแผนภาพโครงเร่ือง สุดทา้ ย คอื การวดั ผลสมั ฤทธขิ์ องโครงการ สรุปและวิเคราะห์ สามารถน�ำไปบูรณาการใช้ได้ ทกุ ๆ วิชา สถาบันนโยบายศึกษาออกแบบตัวช้ีวัดคือ คุ ณ ค รู อ ย า ก ใ ห ้ โ ค ร ง ก า ร นี้ ด� ำ เ นิ น ต ่ อ ไ ป ความตระหนักด้านคุณธรรมของนักเรียนท่ีผ่าน ต่อเน่ือง เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนได้ร่วมกันคิด ได้ กระบวนการ ฟงั -เลา่ -คดิ -เลน่ มาครบแล้ว โดยใช้ อ่าน ไดเ้ ลา่ นิทานและเขียนจากประสบการณจ์ ริง เรยี งความนักเรียนเปน็ ตวั ช้วี ดั อีกครัง้ ทสี่ ถาบนั ฯ ท่ีแสดงถึงความมีคุณธรรมท่ีตนได้กระท�ำกับ ส่งโจทย์ไปยังคุณครู คือ ให้นักเรียนแต่งเรื่องท่ี เพื่อนๆ และบคุ คลอืน่ ๆ ท่อี าจน�ำไปสกู่ ารแข่งขนั แสดงถงึ ความมีคุณธรรม เราก�ำหนดกรอบวา่ จะ ในระดบั ต่างๆ ตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ พฤตกิ รรมอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ใน คุณครเู หน็ วา่ การจดั กจิ กรรมในวนั เดยี วเปน็ สภาพแวดลอ้ มของตนเองดังตอ่ ไปนี้ คือ เวลาน้อยเกินไป และอยากให้จัดกิจกรรมเช่นนี้ ทุกๆ ปี • ความซื่อสัตย์ ไมพ่ ดู ปด ไมข่ โมย ไม่หยบิ คุณครูเรียกร้องให้ผู้บริหารโรงเรียนและ สำ� นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สง่ิ ของผอู้ น่ื โดยไมบ่ อกเจ้าของ • ความเมตตา ช่วยเหลอื ผอู้ น่ื ไม่แกล้งหรือ รังแก ไมใ่ ช้ความรุนแรง • มีระเบียบ ปฏิบัติตามกฎครอบครัว โรงเรยี น และสงั คม • มจี ติ อาสา ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นมนษุ ยแ์ ละสงั คม
“คุณธรรมเพื่อความเป็นพลเมือง : เรียนให้ “เพลิน” LEARN ด้วย “นิทาน” 49 หลังมอบโจทย์ไปต้ังแต่ต้นปี 2558 ยังทุกๆ • โรงเรียนบ้านสวายสอ (ประชาบูรณะ) : โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมาแล้วทั้งในปี 2556 และ 2557 เรากร็ อดว้ ยความกระวนกระวายวา่ จะ “มะปรางยอดกตญั ญู” มีกี่โรงเรียนส่งผลงาน ระหว่างนั้นก็ประสานงาน • โรงเรยี นชมุ ชนบ้านดอนนางงาม : “ความ กับอาจารย์จุฑามาศ จันทวงษ์วาณิชย์ และ ผอ.โกวทิ วชิ ยั ดษิ ฐ วางแผนเครา่ ๆ วา่ จะไปตดิ ตาม ซือ่ สัตย์ของรุ้งแก้ว” ผลกนั ในทง้ั สองจงั หวดั ประมาณเดอื นพฤศจกิ ายน ขอใช้สถานที่คือโรงเรียนบ้านโพธ์ิดอนหวายและ • โรงเรียนบ้านห้วยเสลา : เล่านิทานสาม โรงเรยี นบ้านทงุ่ นา ภาษาคอื เขมร ไทยและอังกฤษ “เจา้ บอด มี 11 โรงเรียนท่ีจงั หวัดบรุ รี มั ย์ส่งผลงาน 46 กบั เจ้าง่อย” ช้ิน พร้อมท�ำกิจกรรมในวันท่ี 12 พฤศจิกายน เปน็ ทนี่ า่ เสยี ดายวา่ เมอ่ื ถงึ วนั จรงิ 3 โรงเรยี นมเี หตุ • โรงเรียนบ้านหนองแช่ไม้ : “หายนะแห่ง ขัดข้องมาร่วมไม่ได้ จึงเหลือเพียง 8 โรงเรียน คุณครู 19 ทา่ นนำ� นกั เรียน 52 คนเจ้าของผลงาน เฟสบุ้ค” มาน�ำเสนอโดยการเลา่ หรือเล่นละคร 11 เรือ่ ง • โรงเรยี นบา้ นสารภี : “เดก็ หญิงผซู้ อื่ สัตย์” และ “สองแรงแขง็ ขนั ” • โรงเรียนบ้านหทู �ำนบ : “นกเจา้ เลห่ ์” • โรงเรียนบ้านหนองโดนประสาทวิทย์ : “ปทู องกับชาวนา” ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านโพธิ์ดอนหวาย ในวันที่ 18 พฤศจิกายน ที่จังหวัดตรัง นายประชา ซ้ึงศริ ิทรัพย์ กล่าวรายงานความเป็น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งนาเจ้าของสถานท่ี มาของโครงการ และรองผอู้ ำ� นวยการเขตพนื้ ทกี่ าร นายโกวิท วิชยั ดษิ ฐ เปน็ ผกู้ ลา่ วรายงานความเปน็ ศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 1 นางสโรชินี มา และผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านหนองเร๊ียะ โอชโร ใหเ้ กยี รตมิ าเปน็ ประธานเปดิ งาน ดร.วทิ ยา นายพงศ์ประพันธ์ เตละกุล ในฐานะประธานกลมุ่ จิตรมาศ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานคณะกรรมการ โรงเรยี นนำ้� ผุดโพธาราม เป็นประธานเปิดงาน การเลือกต้งั (กกต.) บุรรี ัมย์ และเจ้าหน้าที่ 9 ทา่ น ทั้ง 7 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการคัดเลือก มาร่วมงานและร่วมชมนิทรรศการผลงานหนังสือ นทิ านกนั มาโรงเรยี นละเรอ่ื ง สง่ ตวั แทนนกั เรยี นมา นิทานท�ำมอื ของนักเรยี นทัง้ 8 โรงเรยี นท่ีจดั แสดง รว่ ม 97 คน คณุ ครู 23 ทา่ น พรอ้ มผลงานทง้ั ทเ่ี ปน็ ไว้หนา้ หอ้ งประชุม หนังสือท�ำมือ นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการ ในช่วงบ่ายเป็นการน�ำเสนอผลงานนักเรียน แสดงทง้ั 7 เรอ่ื ง ได้แก่ ทีม่ ที ้งั การแสดงและเลา่ เร่ือง ไดแ้ ก่ • โรงเรยี นบา้ นทงุ่ นา : “เหตุเกิดท่สี ะพาน” • โรงเรียนต้นบากราษฎร์บ�ำรุง : “หมีน้อย • โรงเรียนบ้านโพธ์ิดอนหวาย : “ใบบัวผู้มี จอมซน” นำ้� ใจไมตร”ี , “ขาดสามคั ค ี จะมภี ยั ” และ “ความฝันของป่ิน” • โรงเรียนวดั โพธาราม : “ นม่ิ นวลข้เี กียจไป โรงเรียน”
Search