Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยอย่างง่าย-Google Site รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ

วิจัยอย่างง่าย-Google Site รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ

Published by nontawat50110, 2021-09-29 06:03:58

Description: Google Site รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

รายงานวิจยั ในชั้นเรียน เรื่อง การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ Google Site รายวชิ าวิทยาการคำนวณ เร่อื ง ข้อมลู และสารสนเทศ เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นอนบุ าลแมเ่ มาะ (ชมุ ชน1) จดั ทำโดย นายนลธวชั ชัยกันทอง รหัสนักศกึ ษา 60181550135 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ รายงานนเ้ี ป็นสว่ นหนึ่งของการปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 / 2564 คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

ชือ่ เร่อื งวจิ ัย : การพัฒนาบทเรยี นออนไลน์ Google Site รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ เรอื่ ง ข้อมลู และ สารสนเทศ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นอนบุ าลแม่เมาะ (ชุมชน1) ชื่อผู้วจิ ัย : นายนลธวัช ชัยกนั ทอง ระเวลาท่ีทำวิจยั : ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ความเป็นมาและสาเหตุของปญั หา ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีนั้นส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็วด้วยมีผลจากความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการในด้านต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น จึงจําเป็นที่ประเทศ จะตอ้ งเรียนรู้และปรับตวั ใหท้ ันกบั การเปลีย่ นแปลงในดา้ นตา่ ง ๆ ท่เี กิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา และเตรียมพรอ้ มที่จะ เผชิญกับกระแสโลกไร้พรมแดนจากการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ และต่อเน่ืองของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้ เทคโนโลยนี ัน้ ไดเ้ ข้ามามีส่วนร่วมกับวถิ ีชีวิตความเปน็ อยูข่ องคนทกุ คนต้ังแตเ่ ด็ก ไปจนถึงผู้ใหญ่ โดยจะเห็นได้ ว่าสถานศึกษาได้มีการนําเทคโนโลยีมาใช้การเรียนการสอนมากขึ้นเป็นการ ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสือ่ อุปกรณท์ ่ีทันสมยั ห้องเรยี นสมยั ใหม่ มีสมารท์ โฟน โปรเจคเตอร์ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ มีระบบการ อ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของสื่อที่ นำมาใช้ในด้านการเรียนการสอนก็มีหลากหลาย โดยเฉพาะในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั Covid-19 นี้ การระบาดของไวรสั covid-19 ในช่วงต้นปี 2021 ได้ส่งผลกระทบไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย ด้านหนึ่งที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือด้านการศึกษา โดยมีมาตรการป้องกันเพื่อชะลอการแพร่เชื้อไวรัส covid-19 ในโรงเรียน สง่ ผลใหค้ รูและนกั เรียนต้องปรับการเรียนการสอนให้เขา้ กบั สถานการณ์ ในรูปแบบการ เรียนการสอนแบบ On-line หรอื การเรยี นทีบ่ ้าน ดังนน้ั การจดั การเรยี นการสอนแบบ On-line จงึ เป็นหนทาง เดียวท่คี รแู ละนักเรียนจะสามารถรบั มือกับวิกฤติน้ีได้ และจากการท่ีผวู้ จิ ยั ได้มโี อกาสไปเยี่ยมบ้านนักเรียนตาม นโยบายของโรงเรียน จากการสอบถามและสังเกตบริบทสภาพแวดล้อมบ้านของผู้เรียน นักเรียนส่วนมากไม่มี คอมพวิ เตอร์หรือแล็ปท็อปในการเรยี นแบบ On-line และไม่สามารถเข้ามาเรียนย้อนหลังได้ ดว้ ยข้อจำกัดของ อุปกรณ์ในการเรียน ทำให้การการทำกิจกรรมการเรียนไม่ค่อยสะดวก เช่นการมอบหมายใบความรู้ ใบงาน ข้อสอบ การทบทวน และการติดตามงานของนักเรียน ซ่งึ รูปแบบการมอบหมายกิจกรรมจะแตกตา่ งกันออกไป ท้งั เนอื้ หาในแต่ละเรือ่ งและเคร่อื งมือทีใ่ ช้ในแต่ละกิจกรรม ทำให้นกั เรยี นสับสนว่ากจิ กรรมไหนเขา้ ตรงไหนและ ใช้เครื่องมืออะไร ในบางครง้ั ท่ีนักเรียนตามกิจกรรมไม่ทัน หรือไม่ได้เขา้ เรยี นในกจิ กรรมน้ันๆ ทำให้นักเรียนไม่ สามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองและไม่ทำกิจกรรมนั้น จึงไม่สามารถให้คะแนนได้ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรยี นสว่ นมากต่ำกวา่ เกณฑ์ อานนท์ ศรีดอกบัว และ ชัยยศ ดำรงกจิ โกศล (2563) เพอื่ เออื้ ต่อการเรียนของ

นักเรียน จึงจำเป็นที่จะใช้เครื่องมือที่สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ได้ในทุกที่ทุกเวลาตามหลักการของ e- Learning เพ่ือการเรียนรขู้ องนักเรยี นในสถานการณ์ Covid ให้มปี ระสิทธิภาพ แนวทางการแก้ปญั หา ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) โดยสกินเนอร์เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์เป็นสิ่งทีส่ ังเกตได้ จากภายนอก และเชื่อในทฤษฎีการวางเงื่อนไข โดยมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการ ตอบสนอง และการให้การเสริมแรง ทฤษฎีนี้เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจากการที่มนุษย์ตอบสนองต่อสิ่งเร้า และ พฤตกิ รรมจะเขม้ ขน้ ขนึ้ หากไดร้ บั การเสรมิ แรงที่เหมาะสม วิธีการสอนที่ผู้วิจัยจะจัดทำการเรียนการสอนเป็นการสอนแบบผสมผสานของการบรรยาย และ การศกึ ษาหาความรู้ด้วยตวั เองจะม่งุ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผู้วิจัยเน้นการสอนที่เน้นผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองจึง เลือกใชว้ ิธกี ารสอนทหี่ ลากหลายเพ่ือพฒั นากระบวนการเรียนรใู้ หแ้ กผ่ ู้เรยี น เช่น วธิ สี อนแบบศึกษาด้วยตนเอง เปน็ การสอนท่ชี ่วยให้ผ้เู รียนได้ศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองท่ีเปิดโอกาสให้ ผเู้ รียนไดศ้ ึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ทนี่ อกเหนือจากหนงั สือเรียน เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นได้มโี อกาสแลกเปลีย่ น ความรู้ ความคดิ เห็นจากผู้สอนและผู้เรียน ในห้อง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การจัดการศึกษาที่ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองได้ และถือวา่ ผู้เรียนมคี วามสำคัญท่สี ดุ โดยกระบวนการจัดการศึกษาจะตอ้ งสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในระดับการอุดมศึกษาตาม แนวทางเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ ซึ่งม่งุ พัฒนาความรู้และทกั ษะทางวชิ าชีพ ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะสังคม ด้วยความเป็นมาและสาเหตุของปัญหาดังกล่าว การวิจัยในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน1) โดยใช้บทเรียนออนไลน์ Google Site ในการดำเนิน กิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ โดยเป็นการสร้าง บทเรียนออนไลน์ท่ีออกแบบกิจกรรมชการเรียนเชิงโต้ตอบ ครูจะรวบรวมเครื่องมือและเนื้อที่ใช้ไว้ในบทเรียน ออนไลน์โดยให้เครื่องมือ Google Site ในการสร้างบทเรียนออนไลน์เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ อีกท้ัง นักเรียนยังสามารถดำเนินกิจกรรมการเรียนบทเรียนออนไลน์ในเว็บไซต์ Google Site ได้ผ่านสมาร์ทโฟนของ นักเรยี นเอง ดังนี้ผู้วิจัยจึงได้นำเว็บไซต์ Google Site มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทำบทเรียนออนไลน์ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ มาใช้เป็นสื่อในการจัดการ เรียนรู้ที่นักเรียนจะสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองได้เป็นอย่างดี ที่จะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและความ รับผิดชอบในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน 1) ได้สูงขึ้นตาม

เปา้ หมายของการจัดการศึกษา และผูเ้ รยี น อนั จะสง่ ผลให้ผเู้ รียนมคี วามสขุ ในการเรยี นและพร้อมในการพัฒนา ตัวเองอยา่ งสงู สดุ ในอนาคตตอ่ ไป (นางสาวทิพวลั ย์ กาญจนนิมมาน , 2560) วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั 1. เพื่อหาคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ของนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนอนุบาลแมเ่ มาะ (ชมุ ชน 1) 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ของ นักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนอนบุ าลแม่เมาะ (ชมุ ชน1) โดยใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ Google Site ขอ้ มูล และสารสนเทศ เทยี บกับเกณฑ์รอ้ ยละ 80 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย 1. ขอบเขตประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใช้ในการศกึ ษาครัง้ น้ี คือ นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หอ้ ง 1 จำนวน 18 คน 2. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครั้งน้ีเป็นเน้ือหาในรายวิชาวิทยาการคำนวณ หน่วยการเรียนรู้ ข้อมูล และสารสนเทศ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ 3. ขอบเขตด้านเวลา เวลาที่ใช้ในการดำเนินการศึกษาวิจยั ในครั้งนี้ นำไปใช้จรงิ กับกลุม่ ตัวอย่างทำการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ชว่ งวนั ที่ 23 สงิ หาคม 2564 – 27 สงิ หาคม 2564 4. เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ยั 4.1 แผนการจัดการเรียนรู้ สำหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 1 แผน 4.2 เวบ็ ไซต์ Google Site 4.3 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เรอื่ งข้อมลู และสารสนเทศ จำนวน 20 ข้อ

5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยอาศัย เครื่องมือ 3 ประเภท ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ดังน้ี 5.1 ขนั้ การพฒั นา 5.1.1 พัฒนาบทเรียนออนไลน์ Google Site เรอื่ ง ขอ้ มลู และสารสนเทศ 5.1.2 นำบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ เสนอผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ได้แก่ 1. นายวิสุธศิ ักด์ิ เครอื สาร ตำแหนง่ ครูผู้สอนรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ 2. นายนพดล วังซ้าย ตำแหนง่ ครูผู้สอนรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ 3. นายณฐั พล แก้วอุดร ตำแหน่งครผู ้สู อนรายวิชาวิทยาการคำนวณ ผลการปประเมนิ คุณภาพบทเรียนออนไลน์ Google Site เรือ่ ง ข้อมูล และสารสนเทศ ตามความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญโดยภาพรวมมีความเหมาะสมสอดคล้องอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 (รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 3 ภาคผนวก ) 5.1.3 จากนั้นปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะของผู้เชยี่ วชาญเพ่ือให้แอปพลิเคชัน Line Bot มีความ สมบูรณ์ท่ีสดุ กอ่ นนำไปใชก้ บั นักเรียน 5.2 ขนั้ การนำนวัตกรรมไปใช้ 5.2.1 ผู้วิจัยช้แี จงทำความเข้าใจกบั ผเู้ รยี นเกีย่ วกับกจิ กรรมการเรียนรู้ในครง้ั นี้ 5.2.2 ผู้วิจัยดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ในรูปแบบการเรียน ออนไลน์ ผา่ นเคร่ืองมือ Google meet 5.2.3 ผู้วจิ ยั ได้ใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ Google Site เร่อื ง ขอ้ มูล และสารเทศ ดำเนนิ กจิ กรรม 5.2.4 ผ้วู ิจัยได้มอบหมายแบบทดสอบหลังเรยี นให้กบั นักเรยี น ผ่าน Google Form 5.2.5 ผู้วิจัยนำคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบหลังเรียนไปเปรียบเทียบผลในรูปแบบ ตารางพร้อมสรปุ ผล 6. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถติ ิที่ใชใ้ นการวจิ ัย 1. หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ คะแนนที่ได้จาก แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 2. การทดสอบค่าเฉลีย่ ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง T-test

ผลการวจิ ยั 1. ผลการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นอนุบาลแมเ่ มาะ (ชุมชน 1) 1.1 ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ เพ่ือ พฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โดยผเู้ ช่ียวชาญนำเสนอดังตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมนิ คณุ ภาพของบทเรยี นออนไลน์ Google Site เร่อื ง ข้อมูล และสารสนเทศ เพอ่ื พฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยผ้เู ช่ียวชาญ ที่ รายการประเมิน N=3 ������̅ S.D แปลความ 1 ดา้ นเนื้อหา 50 มากทส่ี ุด 1. เนอ้ื หาสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 50 มากทส่ี ุด 2. เนื้อหาถกู ต้อง ครบถ้วน สมบรู ณ์ 4.67 0.58 มากที่สดุ 3. เนือ้ หาเหมาะสมกับบริบทของผเู้ รียน 50 มากท่สี ดุ 4. ปริมาณเนอื้ หามีความเหมาะสมกบั ผูเ้ รียน 50 มากทส่ี ุด 5. มีการจดั ลำดับขัน้ การนำเสนอเน้อื หา 50 มากท่ีสุด 6. การนำเสนอเนือ้ หามคี วามชัดเจน รวมเฉลย่ี 4.94 0.09 มากที่สดุ 2 ดา้ นออกแบบ 4.67 0.58 มากที่สดุ 1. ความสวยงามและน่าสนใจ 4.67 0.58 มากทส่ี ุด 2. ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4.67 0.58 มากทสี่ ดุ 3. รูปแบบตวั อักษรมีความเหมาะสม 4.67 0.58 มากทส่ี ุด 4. ภาพประกอบสอดคลอ้ งกับเนื้อหา 50 มากท่สี ดุ 5. การเชอ่ื มโยงเน้ือหาในส่วนตา่ ง ๆ มคี วามสะดวก 4.74 0.46 มากที่สดุ รวมเฉลย่ี 3 ดา้ นการวัดและการประเมินผล 50 มากที่สดุ 1. แบบทดสอบสอดคล้องกบั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 50 มากที่สดุ 2. จำนวนแบบทดสอบมคี วามเหมาะสม 40 มากที่สุด 3. ความยากง่ายของแบบทดสอบ 4.67 0 มากทส่ี ดุ 4. คำถามของแบบทดสอบมีความชดั เจน 4.67 0 มากทส่ี ุด 5. ระยะเวลาในการทำแบบทดสอบ 4.67 0.23 มากทส่ี ุด รวมเฉลีย่ รวมเฉล่ยี ทุกรายการ 4.78 0.25 มากที่สุด

จากตารางที่ 1 พบว่า ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และ สารสนเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยภาพรวมมีความเหมาะสม สอดคลอ้ งในระดบั มากทส่ี ดุ มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 4.78 เมื่อพิจารณาแต่ละดา้ น พบว่า ดา้ นเนอื้ หา อยู่ในระดบั มาก ที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.94 รองลงมาคือด้านออกแบบอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.74 และด้าน การวดั และประเมินผล อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กับ 4.67 2. จากการศึกษาและนำบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ไปใช้กับนักเรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 นำเสนอดงั ตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ Google Site เรือ่ ง ข้อมูล และสารสนเทศ ของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เทยี บกับเกณฑ์รอ้ ยละ 80 คะแนนเตม็ ของ จำนวน คะแนน สว่ นเบีย่ งเบน เกณฑ์ร้อยละท่ี T- แบบทดสอบหลังเรยี น นักเรยี น เฉลีย่ มาตรฐาน กำหนด (รอ้ ยละ 80) Test 20 18 17 1.75 16 2.44 t (.05 , 17) = 1.7396 *มนี ัยสำคัญทางสถติ ริ ะดบั .05 จากตารางที่ 2 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน 1) จำนวน 18 คน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 17 คิดเป็นร้อยละ 85.00 เมื่อคำนวณค่า t พบว่า t คำนวณสูงกว่าค่า t ในตาราง แสดงวา่ ผลการเรียนหลงั เรียนสูงกวา่ เกณฑ์ทกี่ ำหนด แตกต่างอยา่ งมีนยั สำคัญทร่ี ะดบั .05 สรุปและสะทอ้ นผลความคดิ เชิงวิชาชีพ งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง ข้อมูล และ สารสนเทศ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน1) โดยใช้บทเรียนออนไลน์ Google Site ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และ สารสนเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน 1) 2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน1) โดยใช้บทเรียนออนไลน์ Google Site ข้อมูล และสารสนเทศ เทียบกับ เกณฑ์ร้อยละ 80 กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน 1) จำนวน 18 คน ซึ่งทำการวิจยั ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เครื่องมือที่ใช้มี 2 ประเภท คือ 1) บทเรียน ออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 1 แผน และ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการเกบ็ รวบรวมข้อมูลผ้วู จิ ยั เป็นผ้ดู ำเนนิ การเอง และสอนตาม

แผนการจัดการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเองในบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ และทำแบบทดสอบหลังเรยี นใน Google From เร่อื ง ข้อมูล และสารสนเทศ จากการศึกษาและนำบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ไปใช้ ปรากฏผล ดังน้ี 1. ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความเหมาะสมสอดคล้องขององค์ประกอบต่างๆ เท่ากับ 4.78 ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพ มากที่สุด เนื่องจากบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ มีการจัดเรียงเนื้อหาเป็น ขั้นตอนตามลำดับความยากง่าย มีรูปแบบการนำเสนอทีท่ นั สมยั และมีออกแบบการใช้ให้มีความสะดวกต่อการ ใช้งาน ไม่เปลืองทรัพยากรบนอุปกรณ์ที่ใช้ การตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ การประเมินผลและนำมาปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะเพื่อให้บทเรยี นออนไลน์ Google Site เรอ่ื ง ขอ้ มูล และสารสนเทศ มคี วามสมบูรณ์มาก ยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัฐณิชา อักษรวงศ์ (2559) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการ ส่งเสริมการขาย โดยใช้ Google Site ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรบริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบ คะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนและหลังการใช้เว็บไซต์ชว่ ยสอน ผ่าน Google Sites ท่ีสร้างจาก Google App เรื่องกลยุทธ์การขาย สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขาวิชาการตลาด วิทยาลยั เทคโนโลยอี ักษรบริหารธรุ กจิ ทีไ่ ดร้ ับการสอนโดยใช้เวบ็ ไซตช์ ว่ ยสอน จังหวัดระยอง ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย ที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัย เทคโนโลยีอักษรบริหารธุรกิจ ตาบลบ้านฉาง อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 20 คน ซ่งึ ไดม้ าโดยการเลือกแบบเจาะจง โดยคดั เลอื กจากนักเรียน ที่มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนในการ สอบกลางภาค ต่ำกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเกณฑ์ทต่ี ้ังไว้ ผูว้ ิจยั ไดใ้ ช้ชดุ การสอนเพ่ือการพฒั นาทักษะการเรียนรู้ จัด กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนให้ผ้เู รียนกล่มุ ตวั อย่างในการเรยี นการสอน และทาการทดสอบหลังจบบทเรียน เครื่องมือทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู คือ แบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบทดสอบหลังเรยี น จากนัน้ นาผลท่ีได้ จาการทดสอบมาวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน มาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติบรรยาย ได้แก่ ค่า ความกา้ วหน้า ค่าเฉลี่ย และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบวา่ 1. สือ่ การสอนเว็บไซต์สำเร็จรูปท่ีสร้าง จาก Google App เรื่องกลยุทธ์การขาย ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.50/88 ซึ่งแสดงถึง คุณภาพของเครอื่ งมอื มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรียนและหลังเรียนโดย ใชเ้ ว็บไซต์สำเรจ็ รูปที่สร้างจาก Google App เรอ่ื งกลยทุ ธก์ ารขาย ของนักเรียนแตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสำคัญที่ ระดับ .05 กล่าวคือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียน โดยใช้ส่ือเว็บไซต์สำเร็จรูปที่สร้างจาก Google App เรอ่ื งกลยุทธก์ ารขาย ทีผ่ ศู้ ึกษาสร้างข้นึ สงู กวา่ กอ่ นเรียนอย่างมีนัยสำคญั ท่ีระดับ.05 เป็นไปตาม สมมติฐานท่ีตัง้ ไว้

2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเรียนผ่าน บทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และ สารสนเทศ และทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลงั เรียน มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลังเรยี นสูงกว่า เกณฑ์ คดิ คิดเปน็ คา่ เฉล่ยี 17 คิดเป็นร้อยละ 85.00 เพราะในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid- 19 ผู้วิจัยได้ปรับการเรียนการสอนเป็นรูปแบบ On-line หรือการเรียนที่บ้าน และผนวกกับบริบทของผู้เรียน หรืออุปกรณ์ในการเรียนที่ไมพ่ ร้อมในการจัดการเรียนการสอนแบบ On-line หรือการเรียนท่ีบ้าน จึงจำเป็นท่ี ผู้วิจัยจะต้องหาเครื่องมือที่สามารถให้นักเรียนได้เรียนในรูปแบบการเรียนการสอนแบบ On-line ได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากที่สุด อีกทั้งผู้วิจัยได้จัดการการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองจึง เลือกใช้วิธีการสอนที่หลากหลายเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปาณิสา สิงหพงษ์ (2560) การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ด้วย โปรแกรม Google Site ตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนหลังการเรียนรู้ จากบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site กับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่ มีต่อการจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site ประชากรเป็นนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสายปัญญารังสิต จำนวน 6 ห้องเรียน จำนวน 275 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 จำนวน 48 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย ( Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) บทเรียนออนไลน์ด้วย โปรแกรม Google Site 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบประเมินผลงานนักเรียน 4) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 5) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ีย (������) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติทดสอบความแตกต่าง t-test ผลการศึกษาพบว่า 1) บทเรยี นออนไลน์ ด้วยโปรแกรม Google Site มีประสิทธิภาพเท่ากับ 91.69/88.65 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียนหลังการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site สูงกว่าเกณฑ์ร้อย ละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ผ่าน บทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (������= 4.29, S.D.=0.52) วิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ (ง31231) ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรยี นสายปัญญารงั สิต

บรรณานุกรม ณัฐณิชา อกั ษรวงศ.์ (2559). การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน วชิ าการส่งเสริมการขาย โดยใช้ Google Site ของนักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันปที ี่ 1 หอ้ ง 2 สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ วทิ ยาลัย เทคโนโลยอี กั ษรบริหารธุรกจิ จงั หวัดระยอง. วจิ ัยการเรียนการสอน (ช้ันเรียน). ทิพวลั ย์ กาญจนนมิ มาน. (2560). การศึกษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าการเป็นผูป้ ระกอบการโดยใชบ้ ทเรยี น คอมพวิ เตอร์ผา่ นเว็บไซตด์ ว้ ยโปรแกรม ของนักเรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั ปที ี่ 2 ห้อง 11 สาขางานธรุ กจิ คา้ ปลีกรา้ นสะดวกซื้อ วทิ ยาลัยเทคโนโลยปี ญั ญาภิวัฒน์. วจิ ยั ในช้ันเรียน. ปาณิสา สงิ หพงษ์. (2560). การจัดการเรียนรผู้ า่ นบทเรยี นออนไลนด์ ว้ ยโปรแกรม Google Site เพอื่ พัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น รายวิชาโครงงานคอมพวิ เตอร์ (ง31231) ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นสายปัญญารังสิต. รางวลั ผลงานวิจัยของครุ สุ ภา \"ระดับชมเชย\" ประจำปี 2562 \"ระดบั ประเทศ\". อานนท์ ศรดี อกบวั , และ ชัยยศ ดำรงกิจโกศล. (2563). การพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผา่ นเว็บ เรื่อง ผลกระทบของอากาศพลศาสตร์ตอ่ ยานยนต์ ด้วยโปรแกรม Google Site.

ภาคผนวก - แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เร่อื ง ข้อมูล และสารสนเทศ - แบบประเมนิ ความเหมาะสมสอดคล้องในองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของบทเรียนออนไลน์ Google Site เร่ือง ข้อมูล และสารสนเทศ สำหรับผเู้ ชีย่ วชาญ - ผลการประเมินคณุ ภาพ ของบทเรยี นออนไลน์ Google Site เรอื่ ง ข้อมลู และสารสนเทศ เพ่ือ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โดยผเู้ ช่ยี วชาญ - ผลการวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น หลังเรยี นเทยี บกับเกณฑร์ ้อยละ 80 โดย การใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ Google Site เร่ือง ขอ้ มูล และสารสนเทศ - รอ่ งรอยหลักฐานการประเมินสอื่ บทเรยี นออนไลน์ Google Site เรอ่ื ง ขอ้ มูล และสารสนเทศ สำหรับผเู้ ชย่ี วชาญ - ภาพตวั อย่างบทเรยี นออนไลน์ Google Site เรือ่ ง ข้อมูล และสารสนเทศ - ภาพประกอบกจิ กรรม - ผลงานนักเรยี น

แบบทดสอบหลังเรยี น เรอื่ ง ขอ้ มูล และสารสนเทศ จำนวน 20 ข้อ 1. ขอ้ ใดจัดเปน็ ขอ้ มูล • ตัวเลข • ตวั อักษร • สัญลกั ษณ์ • ถูกทุกข้อ 2. ประกาศผลการสอบของนักเรยี นจดั เปน็ ข้อใด • ข้อมลู • สารสนเทศ • ตารางคะแนน • แบบประเมนิ ผลสอบ 3. ขอ้ ใดเปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ีใ่ ช้พร้อมกันไดห้ ลายคน • โปรแกรมประมวลคำออนไลน์ • โปรแกรมนำเสนอออนไลน์ • ตารางคำนวณออนไลน์ • เกมออนไลน์ 4. ข้อใดเป็นแฟม้ ชนดิ ภาพเคลือ่ นไหว • jpg • gif • png • bmp 5. คิวอาร์โค้ดเป็นข้อมูลชนิดใด • ขอ้ มูลตวั อักขระ • ขอ้ มลู เสน้ • ข้อมลู ภาพ • ข้อมลู กลุ่ม

6. ข้อใดหมายถงึ การประมวลผล • สมศกั ดฝิ์ ากเงนิ ในบัญชีสะสมทรัพย์ของสหกรณ์ • สหกรณ์นำเงนิ ไปลงทุนในธรุ กิจทมี่ คี วามเสย่ี งน้อย • สหกรณ์จา่ ยเงินปันผลให้สมศักดิ์ • สหกรณร์ บั พนักงานเพ่ิม 7. ขอ้ ใดเป็นแฟม้ ขอ้ มูลของเสียง • docx • pdf • mp3 • mov 8. ข้อใดเรียงลำดับขน้ั ตอนได้ถกู ต้อง • ข้อมูล > ประมวลผล > สารสนเทศ • สารสนเทศ > ขอ้ มูล > การประมวลผล • การประมวลผล = ข้อมูล + สารสนเทศ • สารสนเทศ = การประมวลผล + ขอ้ มลู 9. การ Upload แฟ้มภาพเข้าใน Image ของโปรแกรม MIT App Inventor จัดเปน็ การทำงานข้อใด • การเก็บข้อมูล • การนำเข้าข้อมลู • คลงั ขอ้ มูลภาพ • การส่งออกขอ้ มลู ไปยังจอภาพ 10. ขอ้ ใดเปน็ สารสนเทศ (Information) • สมุดจดการบ้าน • แฟม้ สะสมงานของนักเรียน • สมุดรายงานผลการเรยี นประจำปขี องนักเรียน • แผนผังแสดงการแพร่ระบาดของไข้หวดั โคโรนา

11. ส่ือทใ่ี ช้รับส่งข้อมลู ทางอินเทอรเ์ นต็ คือขอ้ ใด • เสน้ ลวดทองแดง • ใยแกว้ นำแสง • คลน่ื ไมโครเวฟ • ถูกทุกข้อ 12. ปจั จุบันเป็นยคุ ดิจิทัล 4.0 คำว่าดจิ ิทลั ในข้อความนี้มคี วามหมายตามข้อใด • การใช้ Item แทนเงินจรงิ • ใช้ระบบสือ่ สารเปน็ ตัวเลข • ติดตอ่ ส่อื สารกนั ทางอินเทอร์เน็ต • การแทนสญั ญาณข้อมูลดว้ ยตัวเลข 13. สญั ญาณดิจิทลั หมายถงึ ข้อใด • สญั ญาณทีแ่ ทนสถานะทางไฟฟ้าด้วยตวั เลข 0 และ 1 • สัญญาณใหแ้ สดงภาพบนจอด้วยจุดแสง • สัญญาณเปดิ หรอื ปิด สวิตช์ • ไม่มีขอ้ ถกู 14. ข้อใดเปน็ หน่วยเรยี กข้อมูลท่ีมขี นาดเลก็ ที่สดุ • Bit • byte • Field • Record 15. ขอ้ มูลอย่างย่อของนักเรยี นหน่งึ คนประกอบดว้ ย เลขประจำตัว ชือ่ นามสกุล ช้นั เรยี น ข้อมูลนีเ้ รยี กวา่ อะไร • เขตข้อมลู • โฟลเดอร์ • แฟ้มขอ้ มลู • ระเบยี นข้อมลู

16. ขอ้ ใดคอื ประเภทของขอ้ มูลท่แี บ่งตามแหลง่ ข้อมลู ท่ีไดร้ ับ • ขอ้ มูลท่ีได้จากสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ • ขอ้ มลู ปฐมภมู ิและข้อมลู ทุติยภมู ิ • ขอ้ มลู ตัวอกั ษรและข้อมูลรปู ภาพ • ข้อมลู ที่ไดจ้ ากประสารทสมั ผสั ทั้ง 5 17. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ข้อมูลทุติยภมู ิไดถ้ ูกตอ้ ง • ตรงตอ่ ความตอ้ งการมากทส่ี ดุ • เป็นข้อมลู ที่ผูอ้ ื่นรวบรวมและบนั ทึกไว้ • เปน็ การแบง่ ขอ้ มลู ตามระบบคอมพวิ เตอร์ • สามารถรวบรวมไดโ้ ดยการบันทกึ จากแหล่งข้อมูล 18. ขอ้ ใดคือข้อดีของข้อมลู ปฐมภูมิ • มคี วามน่าเช่ือถือสงู • ผา่ นการประมวลผลแล้ว • รูปแบบการนำเสนอรวบรวม • ใชเ้ วลาในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลนอ้ ย 19. ขอ้ ใดเขียนคำว่า เทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดถ้ ูกตอ้ ง • Techno Information • Information Techno • Technology Information • Information Technology 20. สารสนเทศสามารถจัดเก็บได้ในรปู แบบใด • ขอ้ ความที่เป็นเสียง • ข้อความทเ่ี ป็นตวั อักษรและตัวเลข • ขอ้ ความทเ่ี ปน็ ภาพนิ่งและภาพเคลอื่ นไหว • ถูกทุกข้อ

แบบประเมินความเหมาะสมสอดคล้องในองค์ประกอบต่าง ๆ ของบทเรียนออนไลน์ Google Site เรือ่ ง ข้อมูล และสารสนเทศ สำหรับผเู้ ช่ียวชาญ คำชแ้ี จง : ให้ทา่ นทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งทต่ี รงกับระดบั ความคดิ เหน็ ของท่านและเขียนขอ้ เสนอแนะ เกณฑก์ ารประเมนิ : 5 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมากทีส่ ดุ 4 หมายถงึ มีความสอดคลอ้ ง/เชือ่ มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมาก 3 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ครอบคลุม/เหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมน้อย 1 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมน้อยท่ีสดุ รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม 54321 1. ด้านเนอื้ หา 1.1 เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 1.2 เนือ้ หาถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ 1.3 เนอื้ หาเหมาะสมกบั บริบทของผ้เู รยี น 1.4 ปรมิ าณเนอ้ื หามีความเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น 1.5 มกี ารจัดลำดบั ขั้นการนำเสนอเนือ้ หา 1.6 การนำเสนอเน้ือหามคี วามชัดเจน 2. ดา้ นออกแบบ 2.1 ความสวยงามและนา่ สนใจ 2.2 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 2.3 รปู แบบตวั อักษรมีความเหมาะสม 2.4 ภาพประกอบสอดคล้องกบั เนอื้ หา 2.5 การเช่อื มโยงเน้อื หาในส่วนต่าง ๆ มีความสะดวก 3. ดา้ นการวดั และการประเมินผล 3.1 แบบทดสอบสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.2 จำนวนแบบทดสอบมีความเหมาะสม 3.3 ความยากง่ายของแบบทดสอบ 3.4 คำถามของแบบทดสอบมคี วามชดั เจน 3.5 ระยะเวลาในการทำแบบทดสอบ

ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงชื่อ....................................................................ผู้เชี่ยวชาญ () วันที่........./........................../......................

ผลการประเมนิ คุณภาพ ของบทเรยี นออนไลน์ Google Site เร่ือง ขอ้ มูล และสารสนเทศ เพ่ือพัฒนา ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยผ้เู ชย่ี วชาญ ตารางที่ 3 แสดงผลการคุณภาพ ของบทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ เพื่อพัฒนา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โดยผเู้ ช่ยี วชาญ รายการประเมินขอ้ ท่ี ความคิดเห็นของผูเ้ ชย่ี วชาญ ������̅ ������. ������ 1 2 3 รวม 5 0 ด้านเนื้อหา 5 0 4.67 0.58 1 5 5 5 15 5 0 5 0 2 5 5 5 15 5 0 4.94 0.10 3 5 5 4 14 4.67 0.58 4 5 5 5 15 4.67 0.58 4.67 0.58 5 5 5 5 15 4.67 0.58 5 0 6 5 5 5 15 4.74 0.46 รวมเฉลีย่ ด้านเนอ้ื หา 14.83 5 0 5 0 ด้านการออกแบบ 4 0 4.67 0.58 1 4 5 5 14 4.67 0.58 4.67 0.23 2 5 5 4 14 4.78 0.26 3 4 5 5 14 4 4 5 5 14 5 5 5 5 15 รวมเฉล่ยี ด้านการออกแบบ 14.2 ด้านการวัดและการประเมนิ ผล 1 5 5 5 15 2 5 5 5 15 3 4 4 4 12 4 4 5 5 14 5 4 5 5 14 รวมเฉลย่ี ด้านการวดั และประเมินผล 14 รวมเฉลี่ย

ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 โดยการใช้ บทเรียนออนไลน์ Google Site เร่อื ง ข้อมลู และสารสนเทศ ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 จำนวน 18 คน ตางรางที่ 4 ผลการวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรียนเทยี บกับเกณฑ์ร้อยละ 80 โดยการ ใช้บทเรียนออนไลน์ Google Site เรื่อง ข้อมูล และสารสนเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 จำนวน 18 คน เลขที่ ชอ่ื -สกุล คะแนน เทยี บเกณฑ์ ผลการประเมิน (20 คะแนน) ร้อยละ 80 ผ่าน ไมผ่ า่ น 1 เด็กชายธรี วทิ ย์ จนั ทร์กระจ่าง 15 16 ✓ 2 เด็กชายธนดล กิจจรัสอนนั ต์ 18 16 ✓ 3 เด็กหญิงนนั ทดิ า วงศ์หนอ่ แก้ว 16 16 ✓ 4 เดก็ หญิงกรเกต มนั ปะละ 19 16 ✓ 5 เด็กชายอาชวนิ คล้ายสา 19 16 ✓ 6 เดก็ หญงิ ดวงพร สุถาลา 18 16 ✓ 7 เดก็ หญงิ เจนจริ า อนิ ปัญโญ 16 16 ✓ 8 เดก็ ชายพลภมู ิ ปนิ ตาเครือ 17 16 ✓ 9 เด็กชายธรี พฒั น์ สบี ญุ ชู 20 16 ✓ 10 เดก็ หญิงศศธิ ร อินเตชะ 20 16 ✓ 11 เด็กหญิงปุณยาพร ธรรมดี 18 16 ✓ 12 เดก็ ชายศุภกิตต์ิ สมปาน 16 16 ✓ 13 เดก็ ชายธนพันธ์ จุมพุก 15 16 ✓ 14 เด็กหญงิ ปนดั ดา คุณธนัง 17 16 ✓ 15 เดก็ ชายปรเมศ กนกหงส์ 16 16 ✓ 16 เดก็ ชายอภชิ น ชัยเดช 16 16 ✓ 17 เด็กชายคณุ านนต์ พริ ิแก้ว 14 16 ✓ 18 เดก็ ชายจร ปิน่ หยา่ 16 16 ✓ รวม 306 คา่ เฉลีย่ 17 S.D. 1.75 ร้อยละ 85.00

ทดสอบความแตกตา่ งระหว่างค่าเฉลย่ี ของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหลังเรยี นด้วยบทเรยี นออนไลน์ Google Site เรอื่ ง ขอ้ มูล และสารสนเทศ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ห้อง 1 เทยี บกับเกณฑ์ร้อยละ 80 ด้วยวิธีการ ทดสอบกลุ่มตัวอย่าง (One Sample T-test) t= x-̅ μ s √N t = 17-16 1.75 √18 t= 17-16 1.75 4.24 t = 17-16 0.41 t = 1 0.41 t = 2.44

รอ่ งรอยหลกั ฐานการประเมินส่อื บทเรียนออนไลน์ Google Site เร่อื ง ข้อมลู และสารสนเทศสำหรบั ผู้เชี่ยวชาญ





ภาพตัวอย่างบทเรยี นออนไลน์ Google Site เรอ่ื ง ข้อมลู และสารสนเทศ

ภาพประกอบกจิ กรรม

ผลงานนักเรยี น