Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรม-KING BHUMIBOL Model

นวัตกรรม-KING BHUMIBOL Model

Published by nontawat50110, 2022-07-12 15:09:28

Description: นวัตกรรม-KING BHUMIBOL Model

Keywords: KING BHUMIBOL Model

Search

Read the Text Version

การพฒั นานวตั กรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา อย่างมมี าตรฐาน ด้วย KING BHUMIBOL MODEL. ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ )

นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างมีมาตรฐานด้วย KING BHUMIBOL MODELเป็นนวัตกรรมที่เกิดจากการร่วมคิดร่วมทำและร่วมพัฒนาของครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่าง สร้างสรรค์โดยการนำของผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ ดร.สุทัด จันทะสินธ์ุ โดยการระดมความคิดของคณะครู บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ที่ได้ร่วมกันศึกษาวิเคราะห์สภาพความต้องการพัฒนา นำมาสู่กระบวนการ ถอดบทเรียนและสร้างองค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาด้วยการน้อมนำศาสตร์พระราชา หลักการทรงงาน ขององค์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี 9 สู่การพัฒนา นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างมีมาตรฐานด้วย KINGBHUMIBOL MODEL เชงิ บรู ณาการนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้เป็นโรงเรียนคุณภาพตามมาตรฐานการจดั การศกึ ษาโดยขบั เคล่ือน กระบวนการพัฒนาผา่ นระบบงานประกันคุณภาพภายใน การพฒั นาโรงเรียนนวัตกรรมสรา้ งสรรค์และการส่งเสริมพัฒนา ผเู้ รยี นใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพผ่านระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาด้วย KINGBHUMIBOL MODEL เป็นกระบวนการพัฒนาครู ให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สามารถพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานและ โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาระบบการประกันคุณภายใน สู่การประกันคุณภาพระดับห้องเรียนสู่การพัฒนาให้เป็น หอ้ งเรยี นแห่งการเรียนรู้ และหอ้ งเรียนคุณภาพซง่ึ เป็นหวั ใจสำคญั ของกลไกการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาใหเ้ กดิ คณุ ภาพ อย่างมีมาตรฐานนวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสร้างสรรค์ ด้วย KING BHUMIBOLModel ซ่ึงเป็นกระบวนการในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการ พัฒนากิจกรรมการเรียนการรู้แบบ Active Learning ประกอบไปด้วยการสอนแบบมอนเตสซอร่ี ในระดับปฐมวัยการ เรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน CBL (Creativity-based Learning), การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน PBL(Problem Based Learning), BBl (Brain-based Learning) การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับสมอง การจัดการเรียนรู้แบบCo5 step กจิ กรรมจติ ศึกษา และกจิ กรรมสร้างสุขด้วยสติ (Mind Fullness) สามารถพฒั นาครูใหเ้ ป็นครูแหง่ การเรียนรู้สู่การพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน พัฒนาผู้เรียนให้เป็นนวัตกรแห่งการเรียนรู้รวมท้ังโรงเรียนได้มีการพัฒนา นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วยกระบวนการ PLC (Professional Learning community) โดยKING BHUMIBOL Model ซ่ึงเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษาเพอื่ การพัฒนาครูสู่การพัฒนานักเรียนให้สามารถพัฒนาตนเองให้มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรู้สงู ข้ึน ตามเป้าหมายของโรงเรยี น สามารถพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ พัฒนาภาษาเพ่ือการส่อื สาร และคุณธรรมจริยธรรมของ นกั เรียน ส่งผลให้ผู้บรหิ าร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนเป็นนวัตกร สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมทสี่ ่งผล ตอ่ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ตลอดจนการพฒั นาจดั กระบวนการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมกบั ศตวรรษท่ี 21 นวัตกรรมน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพผ่านระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนด้วย KING BHUMIBOL MODEL ซึ่งเป็นการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เกิดความรู้ความ เข้าใจความตระหนักและเกิดจิตวิญญาณในการขับเคล่ือนและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ ให้เกิดประสิทธิภาพในด้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนสามารถพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนผ่าน 8 นวัตกรรม อันประกอบด้วยนวัตกรรม

รวมพลคนห้วยไคร้ต้านภัยยาเสพติด โดย “SUTHAD 555... MODEL” นวตั กรรมการจัดการยคุ ใหม่ใส่ใจเพ่ือการเรียนรู้ สู่การพัฒนาทักษะชีวิตที่ย่ังยืน นวัตกรรมใส่ใจกับชีวิตพิชิตความยากจนนวัตกรรมเรียนรู้กิจกรรมนำสู่อาชีพ นวัตกรรม สร้างระเบียบ เพ่ิมวินัย แก้ไขพฤติกรรม นวัตกรรมรากแก้วแห่งชีวิตนวัตกรรม สานสายใย สานใจผูกพัน และนวัตกรรม ลานกีฬา ลานดนตรี เวทีศิลปะท้ังน้ีได้พัฒนานวัตกรรมดังกล่าวเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Pactiess ) “สานรัก สาน ฝันสานสัมพันธ์ช่วยเหลือนักเรียน”พร้อมกันกับการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาเชิงบูรณาการควบคู่กับการพัฒนาการ ดำเนินกิจกรรมสภานักเรยี นโรงเรยี นบ้านห้วยไคร้ โดยคณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษาได้รว่ มกันพัฒนานวัตกรรมสภา โมเดลเพ่ือขับเคลื่อนกิจกรรมการดำเนินงานของสภานักเรียนในรูปแบบวิถีชีวิตประชาธิปไตย คารวะธรรมสามัคคีธรรม และปัญญาธรรมโดยเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนเข้ามามสี ่วนในการขับเคล่ือนการพัฒนาการบริหารและการจัดการสถานศึกษา และเกิดผลงานคณุ ภาพเชงิ ประจักษ์เปน็ ทย่ี อมรับของสาธารณชน จนได้รับรางวัลยอดเยี่ยมและจุดเด่นซ่ึงเป็นส่ิงที่เป็นหัวใจหลักสำคัญที่ทำให้การพัฒนานวัตกรรมการ น้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างมีมาตรฐานด้วย KING BHUMIBOL MODEL.คือ เป็น นวัตกรรมท่ีเกิดจากการประสานความร่วมมือระหว่าง ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนผู้ปกครอง นักเรียน กรรมการสถานศึกษา และภาคีผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม ส่งผลให้นวัตกรรม ดงั กล่าวเป็นกระบวนการทีส่ ามารถใช้เป็นหลักในการพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษาในทุกๆด้านของสถานศกึ ษาและยงั ถอื ว่า เป็นปัจจัยสำคัญที่เพ่ิมขีดความสามารถบุคลากรและนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ให้มีแรงบันดาลใจในการร่วมกัน ขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ให้ครอบคลุมในทุกด้านตามวิสัยทัศน์สถานศึกษา ท่ีว่า “มุ่งมั่นเป็นโรงเรียน คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานด้วยการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาเชิงระบบ ท่ีเน้นการมีส่วนร่วม ตาม แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียงร้อยเรียงสู่การพัฒนาครู ให้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคญั ด้วยนวัตกรรมสร้างสรรค์ ส่ือเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เพอ่ื พัฒนาใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ควบคู่กบั การมีคุณธรรมดำรงชวี ิต ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุขบนพ้นื ฐานของความเปน็ ไทยและทอ้ งถ่นิ ” ความเปน็ มาและความสำคัญ ในกระแสแหง่ ความเปลีย่ นแปลงของสังคมของยุคโลกาภวิ ัตน์ (Globalization) ที่มคี วามรวดเรว็ ทวั่ ถึง และรุนแรงในปัจจุบันนั้นได้ส่งผลกระทบต่อวิถชี ีวิตของคนในสงั คมรอบด้านในทุกพื้นทีก่ ารยนื อยูท่ ่ามกลางกระแสความ เปลย่ี นแปลงได้นั้นย่อมหมายถงึ การปรบั ตัวให้ก้าวทันความเปลยี่ นแปลงท่ีเกดิ ขึน้ ได้อย่างเหมาะสมและกลมกลืนในวถิ ีของ การดำรงชพี ของแตล่ ะคนปจั จัยหรือเครือ่ งมือสำคญั ของการสร้างความก้าวทนั และพฒั นาวิถีการดำรงชพี ได้อยา่ ง เหมาะสมนนั้ กค็ ือ “การศึกษา(Education)” นั่นเอง เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ได้กำหนดในมาตรา 54 ระบุว่ารัฐต้อง ดำเนินการให้เดก็ เล็กไดร้ บั การดูแลและพฒั นาก่อนเข้ารบั การศกึ ษาตามวรรคหน่งึ เพอ่ื พัฒนาร่างกาย จิตใจ วินยั อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วม ในการดำเนนิ การโดยรัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบห้าปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษา ภาคบังคบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไม่เกบ็ ค่าใชจ้ ่าย และตอ้ งดำเนินการใหป้ ระชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบ

ต่างๆรวมทั้งส่งเสริม ให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ ภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษา ดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซ่ึงอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ เก่ียวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดำเนินและตรวจสอบการดำเนินให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ด้วย การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติสามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความถนัดของตน และมีความรบั ผิดชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ จากกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562และแผนพัฒนาการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)นำไปสู่การกำหนดเป้าหมายหลักของการพัฒนาการศึกษา ของประเทศไทย คือ ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างท่ัวถึง และเท่า เทียมสถานศึกษาต้องสามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุ ขีดความสามารถ เต็มตามศักยภาพระบบการบริหารจัดการศึกษา ตอ้ งมีประสทิ ธภิ าพ เพอื่ สนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลกในยุคโลกาภวิ ัตน์การพัฒนาผเู้ รยี นให้เป็นบุคคลที่ มีคุณภาพ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้มีทักษะสำหรับเด็กในศตวรรษท่ี 21 ครูและบุคคลทางการ ศึกษาจะต้องสามารถถ่ายทอดองค์ความรตู้ ่างๆใหผ้ เู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามเปา้ หมายดังกล่าว ดังน้ันครูผู้สอนจึงเป็นกลไกลหลักในการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาของประเทศทั้งระบบให้บรรลุ เจตนารมณ์ ตามรัฐธรรมนูญ ต้องมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีเจตคติต่อวิชาชีพครูที่ดีมีแรง บันดาลใจในการมุ่งม่ันพัฒนาผู้เรียน เยาวชนในยุคใหม่ได้อย่างต่อเน่ืองและ ยั่งยืนสอดคล้องหลักการจัดการศึกษาตาม มาตรา ๒๒ ที่วา่ การจัดการศกึ ษาตอ้ งยึดหลักว่า ผเู้ รยี นทกุ คนมคี วามสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเองได้ และถอื ว่าผ้เู รยี น มีความสำคัญทีส่ ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ้ งส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถพฒั นาตนเองให้เต็มศักยภาพ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น 1 ใน 5เป้าหมายของหลักสูตร มีการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตลอดจนการ พฒั นาโรงเรียนให้ประเมินผ่าน เป็นสถานศึกษาพอเพียง กรอบเน้อื หาในการจัดกิจกรรมเรียนรูห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ประกอบไปด้วยหลักความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้นกันในตัวท่ีดี บนพ้ืนฐาน 2 เง่ือนไข ได้แก่การใช้ ความรู้อย่างรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง และมีคุณธรรม เพ่ือเตรียมความพร้อมท่ีจะรับต่อการเปลี่ยนแปลงท้ังด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม รัฐบาลได้อัญเชิญ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญานำทางในการ จัดทำยุทธศาสตร์ชาติ (20 ปี) ซ่ึงเป็นการเชื่อมโยงศาสตร์พระราชา ในเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับ เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนน้ันจากการวิเคราะห์สภาพปัญหาตามสภาพบริบทของโรงเรียนบ้านห้วยไคร้เชื่อมโยงกับ นโยบายในการจัดการศึกษาที่กล่าวมาขา้ งต้น พบวา่ ปัจจัยท่ีสำคญั ท่ีส่งผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา คือ ครแู ละ บุคลากรทางการศึกษาซ่ึงถือเป็นกลไกลสำคัญในการขับเคล่ือนให้เกิดการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างรอบด้าน ท้ังระบบโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ โดยผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนภาคีผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง

เชื่อมโยงกับการน้อมนำเอาแนวคิด ศาสตร์พระราชาและหลักการทรงงานขององค์พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ผ่านข้ันตอนกระบวนการพัฒนา นวัตกรรม เป็นนวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างมีมาตรฐานด้ วย KING BHUMIBOL MODELซ่ึงเป็นรูปแบบกระบวนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างมีมาตรฐานโดยการน้อมนำเอาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการ ทรงงานของ องค์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิต รัชกาลท่ี 9 มาประยุกต์บูรณาใช้ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาผ่านกิจกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพภายในการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสร้างสรรค์และการน้อมนำศาสตร์ พระราชาสู่การพฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนอยา่ งเต็มศกั ยภาพด้วย KING BHUMIBOLMODEL ภายใต้การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาเชิงระบบที่เน้นการมีส่วนร่วม ซึ่งเป็นการนำแนวคิดการพัฒนา คุณภาพเชิงระบบมาพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีที่มีส่วนเก่ียวข้องใน การจัดการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งมีระบบในการพัฒนาประกอบด้วย ระบบหลัก 3 ระบบ ได้แก่ ระบบเรียนรู้ ระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ระบบกิจกรรมนักเรียน และมีระบบสนับสนุนท้ังส้ิน 7 ระบบ ประกอบด้วย ระบบยุทธศาสตร์ ระบบ นำองค์กร ระบบดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพครู ระบบบริหารจัดการ ระบบพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ระบบชมุ ชนสมั พนั ธ์ และระบบสารสนเทศ ซงึ่ ในแต่ละระบบจะมีกระบวนการดำเนนิ การ ดังน้ี -การกำหนด Flowchart ข้นั ตอนการดำเนนิ งานไว้อยา่ งชดั เจน -กำหนดขั้นตอนวิธีการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนไว้อย่างชัดเจนด้วยกระบวนการ PDCA เปน็ ค่มู ือการดำเนินงานแต่ละระบบ -แต่ละระบบจะมีการประเมินทบทวนทุกสิ้นภาคเรียน และสรุปรายงาน พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปจั จบุ ันทางโรงเรียนสามารถพฒั นาระบบนำไปส่วู ธิ ปี ฏิบัติที่เปน็ เลศิ ทง้ั น้ีเพ่ือนำไปสู่การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นบ้านหว้ ยไคร้ อย่างมคี ุณภาพอย่างรอบ ด้านและย่ังยืน โรงเรียนได้มีการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการบริหารและการจัดการ โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและหลักการทรงงานขององค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ มาเป็น กลไกในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ภายใต้ “นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การ พัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา ดว้ ย KING BHUMIBOL MODEL” KING BHUMIBOL MODEL หมายถึง รูปแบบกระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพอย่างรอบด้าน ของการจัดการศึกษา ที่น้อมนำเอาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการทรงงานขององค์พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา นกั เรียนเพอื่ การแก้ปญั หาและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนบา้ นห้วยไคร้ ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ

การจัดการศึกษาให้บรรลุตามเจตนารมณ์เป้าหมาย เป็นโรงเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการจัดการศึกษา ประกอบด้วย K (Knowledge Management) หมายถึง การจัดการความรู้ เป็นพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาโดยการรวบรวมสร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ สู่การปฏิบัติ (Tacit Knowledge) ซ่ึงเป็น ความรู้ที่เกิดจากการเรียนรู้ เจตคติในงาน ประสบการณ์การทำงาน และพฤติกรรมการทำงานของแต่ละบุคคล ด้วย กระบวนการ PLC ทัง้ น้ีโดยการรวมตัวกัน แลกเปลยี่ นเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เพ่ือพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นำไปสู่การพัฒนาการ ประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพอื่ ใหก้ ารจัดการศึกษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการจดั การศึกษา ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดการบริหารจัดการความรู้ตามพระบรมราโชวาทของรัชกาลท่ี 9 พระบรม ราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตรัสถึงความสำคัญของการจัดการความรู้ไว้ว่า “ความรู้ที่จะศึกษามีสาม ส่วน คือ ความรู้วิชาการ ความรู้ปฏิบัติการ และความคิดอ่านตามเหตุผลท่ีเป็นจริง ซ่ึงแต่ละคนควรเรียนรู้และนำไปใช้ ประกอบการงาน การแก้ไขปัญหาท้ังปวงอย่างมีประสิทธิภาพ” ดังน้ันการจัดการความรู้ (Knowledge Management) รู้จึงเป็นกลยุทธ์ที่มีบทบาทและความสำคัญๆย่ิงในการสร้างความเข้มแข็งทางปัญญาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง อัน เปน็ เคร่ืองมอื สำคญั ในการพัฒนาคน พัฒนางานและพัฒนาองค์กรเพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน I (Inspiration) หมายถึง การสร้างแรงบันดาลใจ เป็นการเสริมสร้างพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ให้เกิดความตระหนักและจิตวิญญาณ ความคิดและการกระทำ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ โรงเรียน ทั้งด้านการบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน ท่ีพึงประสงค์ให้ บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายของการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการจดั การศึกษา ดว้ ยกระบวนการ SUCCESS ประกอบด้วย S : Strive lihk สร้างความมุ่งม่ันเพื่อเป้าหมาย U : Understand สร้างความเข้าใจและรู้จัก ตนเอง C : Create พัฒนาแปลความคิดให้เป็นการกระทำที่จับต้องได้ C: Condition พัฒนาเตรียมความพร้อมด้าน จิตใจ อารมณ์และร่างกายให้พร้อมฟันฝ่าไปให้ถึงเป้าหมาย E : Envision สร้างภาพฝันแห่งความสำเร็จ S: Savor ร่วม ชื่นชมกบั ความสำเรจ็ S: Soar สรา้ งความฮึกเหมิ ทีจ่ ะวางเป้าหมายเพ่อื นำไปสคู่ วามสำเรจ็ ในครั้งตอ่ ไป ซึ่งสอดคล้องกับหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ท่ีว่าการทำงานต้องมี ความสุขด้วย ถ้าเราทำอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการทำงานเพียงเท่านั้น ถือว่า เราชนะแล้ว หรือจะทำงานโดยคำนึงถึงความสุขที่เกิดจากการได้ทำประโยชน์ให้กับผู้อื่นก็สามารถทำได้ “…ทำงานกับ ฉัน ฉันไมม่ อี ะไรจะให้ นอกจากการมีความสขุ ร่วมกัน ในการทำประโยชนใ์ หก้ บั ผอู้ ่นื …” N (NITES) หมายถึง เป็นกระบวนการพัฒนาการนิเทศกำกับติดตามเพ่ือให้เกิดการขับเคลื่อนการ พฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ โดยการสร้างพันธมิตรเครือข่ายการนิเทศ (N : Networking) การพัฒนานวัตกรรมที่ทันสมัย (I : Innovation) การมุ่งพัฒนาส่งเสรมิ ให้เกิดความศรัทธา (T : Trust) การพัฒนาให้เกิด ประสิทธิภาพและความเป็นเลิศ ( E : Efficiency & Excellence ) เปน็ การให้การบริการและพัฒนาด้วยใจ (S : Service mind)

ซ่ึงสอดคล้องกับหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ท่ีทรงเป็น นักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วมแสดงความคิดเห็น “สำคัญ ที่สดุ จะต้องหดั ทำใจให้กวา้ งขวาง หนักแน่น รจู้ กั รับฟังความคิดเห็น แม้กระท่ังการวพิ ากษ์วิจารณ์จากผู้อนื่ อย่างฉลาดน้ัน แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อันหลากหลายมาอำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสำเร็จท่ี สมบูรณน์ ัน่ เอง” G (Growth & Participation) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาไดพ้ ัฒนาตนเอง โดยเน้นการมีสว่ นรว่ มของภาคีผ้มู ีสว่ นเกย่ี วข้องในการจดั การศึกษา นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการ จัดการศกึ ษาอย่างมมี าตรฐานทง้ั ตวั ผเู้ รยี น ผูบ้ รหิ ารครูและบุคลากรทางการศึกษา และโรงเรียน ซ่ึงสอดคล้องกับหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ท่ีพระองค์ทรงมุ่งเน้น เรื่องการพัฒนาคน ทรงตรัสว่า \"ต้องระเบิดจากข้างใน\" หมายความว่า ต้องสรา้ งความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เราเข้าไป พัฒนาให้มสี ภาพพร้อมทจ่ี ะรับการพฒั นาเสียก่อน แลว้ จึงออกมาสสู่ ังคมภายนอก B (Being Professional) หมายถึง การพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ประสบ ความสำเรจ็ ในวชิ าชีพครู สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างดีจนประสบความสำเร็จในหน้าท่กี ารงานและมคี วามเจรญิ งอกงาม ก้าวหน้าในอาชีพครูอย่างต่อเน่ือง ด้วยกระบวนการ 3I ประกอบด้วย การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspiration) การพัฒนา ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและทักษะส่ือสาร (IT & Communication skills) และการออกแบบการเรียนรู้ (Instructional design) หรือออกแบบวิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกันได้ ให้เหมาะกับบริบทของโรงเรียน เหมาะสมกับ นักเรียนในแต่ละระดับช้ันเรียน เพ่ือพัฒนาให้นักเรียนเป็นบุคคลที่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จน สามารถเปน็ แบบอย่างทดี่ แี กผ่ อู้ ่นื ซึ่งสอดคล้องกับพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ท่ี พระราชทานในโอกาสต่าง ๆ คือ “ในการประกอบการงานท้ังปวงนั้น ทุกคนต้องมีความตั้งใจจริงและขยันหมั่นเพียรต้อง ร้จู กั คิดพจิ ารณาด้วยปัญญา และความรอบคอบยึดม่ันในความ สามัคคีและความซ่อื สตั ย์สุจริต ถอื เอา ประโยชนส์ ่วนรวม เปน็ จุดประสงค์สำคัญจงึ จะ สามารถปฏิบัตงิ านตา่ ง ๆ ให้สำเรจ็ ผลโดย สมบูรณ์ได”้ (พระราชดำรัส ในพิธีพระราชทานพระพุทธนวราชบพติ รประจำจงั หวดั น่าน วนั ท่ี 10 มีนาคม 2512) H (H – 9) หมายถึง การพัฒนาส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือก่อให้เกิดกระบวนการการ พัฒนางานอย่างสรา้ งสรรค์ นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ด้วยกระบวนการ 9 H ไดแ้ ก่ (H : Hand) ส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากรให้มีการทำงานมือสะอาดมีความซ่ือสัตย์สุจริตโปร่งใส (H : Heart) ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีน้ำใจ เต็มใจทำงาน (H : Head) ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้หัวดีมีการพัฒนาความรู้ความสามารถ (H : Health) ส่งเสริม และพัฒนาบุคลากรให้มีสุขภาพดี (H : Humor) ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มอี ารมณข์ นั ในการทำงานให้มีความสขุ (H : Humanity) ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีมนุษย-สัมพันธ์ท่ีดีกับเพื่อนร่วมงาน (H : Humility) ส่งเสริมและพัฒนา บคุ ลากรให้อ่อนน้อมถอ่ มตน และ(H : Honor) ส่งเสริมและพฒั นาบคุ ลากรให้มเี กียรติตามตำแหน่งหน้าที่ ซ่ึงสอดคล้องกับหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เกี่ยวกับเร่ืองการมีส่วน ร่วม โดยจะต้องหัดทำใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระท่ังความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่าง

ฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาและประสบการณ์อันหลากหลายมาอำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบ ผลสำเร็จที่สมบูรณ์ อีกท้ังยังต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม มีความสุจริตและบริสุทธ์ิใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทำ ประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธ์ิใจ และทำงานต้องมีความสุข ด้วย ถ้าเราทำอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการทำงานถือว่าเราชนะแล้ว และรู้ ปัญหา รูว้ ิธแี กป้ ญั หาดว้ ยความรักทจี่ ะลงมือทำ ลงมือแก้ไขปญั หาโดยอาศยั ความร่วมมือรว่ มใจกันอย่างสร้างสรรค์ U (Understand) หมายถึง การพัฒนาและเสริมสร้างครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนทุก คน ให้เข้าใจในกระบวนการบริหารทั้งระบบทุกขั้นตอนและมีเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน ในการพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาของโรงเรียนบ้านห้วยไคร้ นำไปสู่โรงเรียนคุณภาพ ด้วยกระบวนการทำงานแบบกลุ่ม (Work Groups Process) ซ่ึง เป็นการรวมกลุ่มท่ีมีกระบวนการบริหารท้ังระบบไปในทิศทางเดียวกันภายใต้ขอบข่ายและวัตถุประสงค์ให้นำไปสู่โรงเรียนท่ีมี คุณภาพตามมาตรฐานอย่างมีคุณภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ที่พระราชทานในโอกาสต่าง ๆ คือ “การทำงานใด ๆ ไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ควรอย่างย่ิงท่ีจะตั้งเป้าหมาย ขอบเขต และ หลักการไว้ให้แน่นอน เพราะจะช่วยให้สามารถปฏิบัติมุ่งเข้าสู่ผลสำเร็จได้โดยตรงและถูกต้องพอเหมาะพอดี เป็นการ ป้องกันและขจัดความล่าช้า ความส้ินเปลือง ความเสียเปล่า ทุกอย่างได้อย่างสิ้นเชิง”(พระบรมราโชวาท ในพิธี พระราชทานปริญญาบตั รของจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั วนั ที่ 17 กรกฎาคม 2530) M (Mental model building) หมายถึง การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือก่อให้เกิดการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ท่ีให้ผลการคิดเป็นสิ่งแปลกใหม่ มีคุณค่า และมีประโยชน์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบันได 5 ข้ัน (Five Steps) ประกอบด้วย ขั้นการตั้งคำถาม/สมมติฐาน (Learning to Question) เป็นข้ันตอนท่ีครูต้องรู้จักคิด สังเกต และต้ังคำถาม ข้ันการสืบค้นความรู้และสารสนเทศ (Learning to Search) ครูต้องแสวงหาความรู้ สืบค้นข้อมูลและสารสนเทศต่างๆ ขั้นการสร้างความรู้ (Learning to Construct) ครูต้อง นำความรู้จากการศึกษาค้นคว้า มาใช้ในการอภิปรายความรู้ร่วมกัน เพ่ือนำไปสู่การสรุปและสร้างองค์ความรู้ ขั้นการส่ือสาร และนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (Learning to Communication) เป็นการนำความรู้ที่ได้มาสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และ ข้ันการบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve) คือการที่ครูต้องฝึกนำความรู้ท่ีเกิดจากการสรุปและสร้างองค์ ความรู้ มาสู่การปฏิบัติ สามารถเชื่อมโยงความรู้ไปสู่การทำประโยชน์ให้กับสังคม นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตาม มาตรฐานสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ท่ีพระราชทานในโอกาสต่าง ๆ คือ “การรู้จักประมาณตน ได้แก่ การรู้จักและยอมรับว่าตนเองมีภูมิปัญญาและ ความสามารถด้านไหนเพียงใด และควรจะทำงานด้านไหน อย่างไร การรู้จักประมาณตนน้ี จะทำให้คนเรารู้จักใช้ความรู้ ความสามารถท่ีมีอยู่ได้ถูกต้องเหมาะสมกับงาน และได้ประโยชน์สูงสุดเต็มตามประสิทธิภาพ ท้ังยังทำให้รู้จักขวนขวาย ศึกษาหาความรู้ และเพ่ิมพูนประสบการณ์อยู่เสมอ เพ่ือปรับปรุงส่งเสริมศักยภาพที่มีอยู่ในตนเองให้ยิ่งสูงข้ึน” (พระบรม ราโชวาท ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั วันท่ี 18 กรกฎาคม 2541)

I (Integration) หมายถึง การพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้หลักการการบูรณาการเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่าง รอบด้านอย่างมีคุณภาพตามมาตรท้ังมาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการ มาตรฐานด้านการ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมุ่งเน้นการดำเนินงานอย่างมีเป้าหมายที่เช่ือมโยงกันของปัจจัย นำเข้า กระบวนการและผลลพั ธ์ ด้วยการระดมทรัพยากรที่หลากหลาย การวางแผนกลยุทธ์ การมีส่วนรว่ มของภาคีท่ี มีส่วนเก่ียวข้อง และมีความเป็นอิสระคล่องตัวในการบริหารจัดการที่มีขอบเขตและคงความเป็นเอกลักษณ์สอดรับกับ บริบทของโรงเรียน รวมท้ังมีการติดตามกำกับตามตัวบ่งชี้คุณภาพท่ีชัดเจน จนบรรลุผลสัมฤทธ์ิอย่างมีประสิทธิผล ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประโยชนส์ งู สุดต่อการพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี นและคุณภาพการจัดการศกึ ษาตามมาตรฐานการจัด การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ซึ่งสอดคล้องกับหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 เร่ือง“ทำงานแบบองค์ รวม” ใช้วธิ ีคิดเพ่ือการทำงาน โดยวิธีคดิ อยา่ งองค์รวม คือการมองส่งิ ตา่ งๆ ที่เกิดอยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร ทกุ สิ่งทุกอย่าง มมี ติ ิเช่ือมต่อกัน มองสง่ิ ที่เกดิ ข้นึ และแนวทางแก้ไขอย่างเชือ่ มโยง B (Best practice to innovative school) หมายถึง การพัฒนาและเสริมสร้างครูและ บุคลากรทางการศึกษาให้เกิดการพัฒนางานและวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุด เพื่อให้การพัฒนาโรงเรียนบ้านห้วยไคร้เป็น โรงเรียนแห่งคุณภาพตามมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยการพัฒนาระบบบริหาร เทคนิควิธีการต่าง ๆ ท่ีทำ ให้ผลงานบรรลุเป้าหมายระดับสูงสุด และมีผลงานคุณภาพเชิงประจักษ์ที่มีมาตรฐาน มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง มี หลักฐานทีแ่ สดงผลงานหรอื ความสำเร็จของงานอยา่ งชดั เจน เป็น Best Practice to Innovative School ซึ่งสอดคล้องกับพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ท่พี ระราชทานในโอกาสต่างๆ คือ “การศึกษาที่มงุ่ ทำเพอ่ื สง่ เสริมบุคคลให้มคี วามรคู้ วามสามารถ สรา้ งหลักฐานความมน่ั คงในชีวติ และทำ ประโยชน์แก่ส่วนรวมได้นนั้ ต้องจัดอบรมใหไ้ ดพ้ ร้อมท้ังดา้ นวชิ าการ ด้านการลงมือปฏิบตั ิ ดา้ นความคิดวินิจฉัยและความ ประพฤติปฏิบัติ” (พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 28 มิถุนายน 2523) “ในฐานะท่ีเป็นผู้ได้รับการศึกษาสูง ท่านทั้งหลายย่อมมีความมุ่งหมายท่ีจะ ได้ใช้ความรู้ความสามารถ ทำงาน ตามแนวถนัด เพ่ือสร้างสรรค์ประโยชน์คือ ความเจริญม่ันคงให้แก่ตนเอง แก่งาน และแก่ชาติบ้านเมือง ให้ประจักษ์ ผล” (พระบรมราโชวาท วันท่ี 15 ธันวาคม 2526) O (Organization of Quality) หมายถึง องค์กรคุณภาพหรือโรงเรียนคุณภาพ ที่มีการพัฒนาเปล่ียนแปลง ทางด้านกระบวนทัศน์ทางความคิด ด้านการบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร

ทางการศึกษา และการพัฒนาผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ ก่อให้เกิดการพัฒนาสิ่งใหม่ๆนำไปสู่โรงเรียนคุณภาพท่ีมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีประกอบด้วยผู้บริหาร ครูและบุคลากร นักเรียน ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สถานศึกษา ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชดำรัสและพระบรมราโชวาทของพระบ าทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ท่ีพระราชทานในโอกาสตา่ งๆ คอื “การสรา้ งสรรคน์ ้ันมักเข้าใจกันโดยมากวา่ คอื การสร้างขนึ้ ใหม่ ทำขน้ึ ใหม่ นักวิชาการก็ดี นักปฏิบัตกิ ารกด็ ี มุ่ง แต่จะสร้างสรรค์และทำส่ิงใหม่ ของใหม่ โดยไม่คำนึงถึงความเจริญที่มีอยู่ก่อนแล้ว ว่าแท้จริงคือพื้นฐานเสริมส่ิงใหม่ต่อ ข้ึนไปนั้นเอง เม่ือต่างคนต่างมุ่งจะทำเป็นของใหม่ ให้เป็นผลงานของตนเป็นสำคัญ ความเจริญท่ีบังควรจะบังเกิดอย่าง ต่อเน่ืองกันอย่างม่ันคงตามลำดับก็หยุดชะงัก กลับกลายเป็นความติดขัดล้าช้า และเป็นปัญหายุ่งยากนานา ประกา ร เพราะงานที่ทำใหม่ดำเนินต่อจากงานเก่าไม่ได้ ต้องเร่ิมต้นกันใหม่ตลอดเวลา ท่ีถูกควรจะเข้าใจว่า การสร้างสรรค์ความ เจริญก้าวหน้าทุกอย่างนั้น ต้องเร่ิมต้นท่ีการศึกษาพื้นฐานเดิมก่อน เม่ือได้ศึกษาทราบชัดถึงส่วนดีส่วนเสียแล้ว จึงรักษา สว่ นทด่ี ีที่มีอยู่แล้วให้คงไว้ แล้วพยายามปรับปรุงสร้างเสรมิ ด้วยหลักวิชา ด้วยความคิดพิจารณา อันประกอบด้วยเหตุผล และความสุจริตจริงใน ให้ค่อยเจริญงอกงามม่ันคงบริบรู ณ์ยิ่งๆ ข้ึนไป ตามความเหมาะสม ตามกำลังความสามารถและ ตามกำลังเศรษฐกิจท่ีมีอยู่ การงานทุกสิ่งทุกอย่างในบ้านเมืองจึงจะเจริญก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นได้อย่างต่อเน่ืองไม่หยุดชะงัก หาไม่ ความขดั ข้องลา้ ช้าตา่ งๆ ที่เกิดขึน้ จะทำให้ต้องส้ินเปลอื งกำลังงาน กำลังสมอง กำลังเงินทองไปอย่างนา่ เสียดายโดย ไม่มีโอกาสจะกู้กลับคืนมาได้” (พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2528) L = (leadership in the Quality) หมายถึง เป็นกระบวนการพัฒนาผู้นำแห่งคุณภาพ ซึ่งเป็น ผลลัพธ์ความสำเร็จจากการพัฒนาตามกระบวนการท้ังผู้บริหารโรงเรียน ข้าราชการครูบุคลากรทางการศึกษา และ นกั เรียน ก่อให้เกิดการพัฒนาให้มภี าวะผู้นำแห่งคุณภาพ นำไปสู่โรงเรียนแห่งคุณภาพตามมาตรฐานการจัดการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชดำรัสและพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทพี่ ระราชทานในโอกาสต่างๆ คือ “เมื่อจะเร่ิมงานสง่ิ ใด ใหพ้ ยายามคิด พิจารณาให้เห็นจุดหมายเห็นสาระและประโยชน์ ที่แท้จรงิ ของงานน้ันอย่าง แจ่มแจง้ แล้วจึง ลงมือทำดว้ ยความตัง้ ใจ มั่นใจ ด้วยความ รบั ผิดชอบอยา่ งสงู ให้ดำเนินลุลว่ งตลอดไปอย่าง ต่อเนือ่ ง โดย มิให้บกพร่องเสียหาย’’ (พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 5 กรกฎาคม 2533) ซ่ึงการขับเคลื่อนการพัฒนาการดำเนินการภายใต้ “นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนา คณุ ภาพสถานศึกษา ด้วย KING BHUMIBOL MODEL” ดังกล่าวเป็นการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างรอบด้านโดย

การนำนวัตกรมน้ีไปพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา นกั เรียนและภาคีผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้อง ใหเ้ กิด ความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนอย่างรอบด้าน ในปัจจุบันนี้ทางโรงเรียน ได้นำแนวคิดจากนวตั กรรมดังกล่าวสูก่ ารพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา ประกอบดว้ ย “นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วย KING BHUMIBOL MODEL” “นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้วย KING BHUMIBOL MODEL” “นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสร้างสรรค์ ด้วย KING BHUMIBOL MODEL” “นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ด้วย KING BHUMIBOL MODEL” “นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาคุณภาพโรงเรียนพ้ืนสูงในถิ่นทุรกันดาร ด้วย KING BHUMIBOL MODEL” เปน็ ตน้ ผลจากการขับเคลื่อนการพัฒนาตาม“นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา ด้วย KING BHUMIBOL MODEL”ดงั กล่าวก่อให้เกิดผลงานคณุ ภาพเชิงประจักษ์เป็นที่ยอมรับของ สาธารณชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook