Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเล่มPLC65

สรุปเล่มPLC65

Published by thamsook, 2023-04-20 09:54:24

Description: สรุปเล่มPLC65

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาํ เนินงาน การมีสว นรว มชมุ ชนการเรยี นรูทางวิชาชีพ Professional Learning Community : PLC เรอ่ื ง การสง เสรมิ ความสามารถในการใชก ลามเน้ือมดั เลก็ สาํ หรับเด็กปฐมวยั โดยใชกจิ กรรมศิลปะสรางสรรคการปน ดินน้าํ มันประกอบภาพ ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565 จัดทาํ โดย นางสาวพรนํา้ ทพิ ย ทาํ สขุ ตาํ แหนง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการ โรงเรยี นเทศบาลแมเ มาะ สังกดั กองการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เทศบาลตําบลแมเ มาะ อําเภอแมเ มาะ จังหวัดลําปาง

TMS-PLC-01: Team Building บนั ทึกขอ ความ บนั ทกึ ขอความ สว นราชการ โรงเรียนเทศบาลแมเมาะ กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โทร. ๐5๔ ๒๖๖๑๔๑ ทล่ี ป53804.3/ พิเศษ วันท่ี 1 มถิ ุนายน ๒๕๖5 เรอ่ื ง ขออนุมตั ิจัดตั้งกลุมการเรยี นรทู างวิชาชีพ (Professional Learning Team: PLT) และแผนการดำเนินงาน เรยี น ผอู ำนวยการโรงเรียนเทศบาลแมเมาะ ดว ย ขาพเจา นางสาวพรนำ้ ทิพย ทำสุข ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนเทศบาลแมเ มาะ มีความประสงคจะดำเนินการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ในภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา ๒๕๖5 โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ชอื่ ทีม การพัฒนากลามเน้อื มัดเลก็ อนุบาล 1/65 ๑. Model Teacher นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสุข ๒. Buddy Teacher ๒.๑ นางคำนอ ย มาทา ๒.๒ นางฐติ พิ ร สายธารวนาวาส 3. Mentor นางวณชิ ชา ประมาณ 4. Administrator นายปริญญา รตั นเพญ็ 5. Expert นางวณชิ ชา ประมาณ ดังน้ัน ขาพเจาจึงขออนุมัติจัดตั้งกลุมการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Team: PLT) และ แผนการดำเนนิ งานชมุ ชนแหงการเรียนรูทางวชิ าชพี ตาม TMS-PLC-01-09 : PLC Action Plan ทีแ่ นบมาพรอ มนี้ จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณาอนุมัติ ลงชื่อ ..........................................................ผูขออนุมัติ (นางสาวพรนำ้ ทิพย ทำสขุ ) ประธานกลมุ PLT เรยี น ผูอำนวยการสถานศึกษา คำสง่ั ผอู ำนวยการสถานศึกษา - เหน็ ควรอนุมตั ิ  อนุมตั ิ ลงชอ่ื ............................................  .................................................................. (นางวณชิ ชา ประมาณ) หวั หนาฝา ยวชิ าการ ................................................................. วันที่ ............................................ ลงชื่อ ................................................................. (นายปรญิ ญา รตั นเพญ็ ) รองผอู ำนวยการสถานศึกษา รักษาการในตำแหนง ผูอำนวยการสถานศึกษา วนั ท่ี .............................................

ตัวแปร (เปาหมายทีจ่ ะพฒั นา) ปญหา การสงเสริมความสามารถในกา สำหรับเดก็ ปฐมวัยผา นกจิ กรรม จากการจดั กิจกรรมศลิ ปะสรางสรรค การปน ดินนำ้ มนั ประกอบภาพ เด็กขาดความคลองแคลว ผลการประเมินการจัดกจิ กรรมศิลปะส ในการใชกลา มเนอ้ื มอื การปนดนิ น้ำมันประกอบภาพ ของเดก็ และไมสามารถควบคุม หลังการทำกิจกรรมส ทิศทางในการ ระบายสไี ด (t-test) ตัวช้ีวดั ความสำเร็จ

TMS-PLC-02: Competency/Characteristic ) กลมุ เปา หมายนกั เรียน ารใชกลา มเนื้อมดั เล็ก กลมุ สาระ/วิชา การศกึ ษาปฐมวัย มศลิ ปะสรา งสรรค ชน้ั อนบุ าลปท ่ี 1/6 จำนวน 24 คน สรางสรรค ก อ.1/6 แบบทดสอบการใชกลา มเน้อื มดั เล็ก กอนและหลังการจดั ประสบการณ สงู กวากอ นการทำกจิ กรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม วธิ กี ารวัด/ประเมิน

แบบบันทกึ กรอบความคดิ การออกแบบการจดั ประส ผูออกแบบ (Model Teacher) นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสุข ชือ่ ทีม การพฒั นากล วตั ถปุ ระสงคหลักของการแกปญหา เพือ่ พฒั นากล ข้นั ตอน ชื่อยอของขั้นตอน วตั ถุประสงคข องขั้นตอน กิจกรรมทีค่ รตู อ งปฏิบัติ ท่ี ๑ ข้ันเตรียมความพรอม เตรยี มความพรอมกอน ๑. จัดเตรียมวัสดอุ ปุ กรณ ไดแก (๕ นาที) เขาสกู จิ กรรม กระดานรองปน ดนิ นำ้ มนั แล แบบจำลอง ๒ ขั้นนำเขาสบู ทเรียน ๑.เดก็ สามารถรอ งเพลง 1. ครูอธิบายแบบทดสอบการใ น้วิ โปงมาเจอกันพรอ มทำ กลา มเน้ือมัดเลก็ ใหกับเดก็ (๑๐ นาที) ทาทางประกอบได 2. ครูใหเด็กทำแบบทดสอบกา ใชก ลา มเน้อื มดั เล็ก (กอ นการจ ประสบการณ) 3. ครใู หเดก็ นง่ั เรยี งแถวตอนล 4. ครูรอ งเพลง “น้วิ โปง มาเจอ กนั ” ใหเ ด็กฟง ๑ รอบพรอม ทำทาประกอบ 5. ครูใหเดก็ ทอ งเนื้อเพลง ตาม ครทู ลี ะวรรคพรอ มทำทา ประก 6. ครแู ละเดก็ รองเพลง “นว้ิ โป มาเจอกนั ” และทำทา ประกอ พรอมกัน

TMS-PLC-๐๓: Instructional Design (ID) สบการณเ พ่ือแกไขปญ หาการเรยี นรูของนักเรียน ลา มเนือ้ มัดเล็ก อนุบาล 1/65 รอบที่ ๑ (สอนวนั ท่ี 20 กรกฎาคม 2565) ลา มเนื้อมัดเลก็ นกั เรียนช้นั อนบุ าลปท่ี 1/6 กจิ กรรมทนี่ กั เรยี นตอ งปฏิบัติ ผลงาน/รอ งรอยทจี่ ะ เครอ่ื งมอื วัด/ประเมนิ เกิดขนึ้ จากนกั เรยี น ก ๑. เตรียมความพรอมของตนเอง ภาพถายประกอบกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ละ เขาสูกจิ กรรมดว ยความผอ นคลาย เพอื่ ลดความตึงเครียด ใช 1. เดก็ รบั ฟง การทำแบบทดสอบ ภาพถา ยประกอบกิจกรรม 1.แบบทดสอบการใช 2. เด็กทำแบบทดสอบการใช กลา มเนือ้ มดั เล็ก (กอน าร กลา มเนื้อมัดเล็ก (กอนการจดั การจดั ประสบการณ) จัด ประสบการณ) 2.แบบสงั เกตพฤตกิ รรม 3. เด็กนัง่ เรยี งแถวตอนลึก ลกึ 4. เดก็ ทองเนื้อเพลงตามครูทลี ะ อ วรรคพรอ มทำทา ประกอบ 5. เด็กรองเพลง “น้ิวโปง มาเจอ กัน” และทำทาประกอบพรอม ม กนั กอบ ปง อบ

ข้นั ตอน ชอื่ ยอของขนั้ ตอน วตั ถุประสงคข องข้ันตอน กจิ กรรมทีค่ รูตองปฏิบตั ิ ที่ ขัน้ สอน ๑.เด็กสามารถใชก ลา มเนือ้ ๑. ครแู ละเดก็ สนทนากันเก่ียว ๓ (๓๐ นาท)ี เล็กไดอยา งคลองแคลว การปนดินน้ำมนั เปน เสน วา เด มีการประสานสมั พันธของ คนไหนเคยปน ดนิ น้ำมันโดยคล กลา มเนื้อมือกับสายตา เปนเสน ตรงมาแลวบาง ๒.เดก็ สามารถปน ดนิ ๒. ครใู หเ ด็กทกุ คนปนดนิ น้ำมัน นำ้ มนั ประกอบภาพทีเ่ ด็ก โดยปนคลึงเปนเสน ขนาดยาว สนใจได และขนาดสัน้ สลับกนั ไป ๓. ครคู อยดูแลและใหคำแนะน ในขณะทำกจิ กรรม ๔. ครมู ภี าพสตั วต า ง ๆ มาใหเด และรวมสนทนาเกยี่ วกับภาพส ถามเด็กๆ เคยไปสวนสัตวห รอื และเดก็ ๆสังเกตเห็นหรือไมว าส ท่ีอาศัยอยูในสวนสตั วน ัน้ มีสตั ว อะไรบางท่ีอยใู นกรง 5.ครูแบงเดก็ เปน กลุมๆ 4-5 ค และใหเ ดก็ ๆภายกลมุ เลือกภาพ สัตวที่เดก็ สนใจ 6.ครใู หเ ดก็ แตล ะกลุม ชว ยกันป กรงสัตวต ามภาพที่เด็กเลือก แ รวมกันตง้ั ชอื่ ผลงานของกลมุ

กิจกรรมทน่ี ักเรยี นตองปฏิบัติ ผลงาน/รอ งรอยที่จะ เครื่องมอื วดั /ประเมนิ เกิดข้นึ จากนกั เรียน แบบสงั เกตพฤติกรรม วกับ ๑. เด็กสนทนากันเกยี่ วกบั การปน ๑.ผลงานของเดก็ ด็ก ดินนำ้ มันเปนเสน วา เด็กคนไหน ๒.ภาพถายประกอบ ลึง เคยปน ดนิ น้ำมนั โดยคลงึ เปน กจิ กรรม เสน ตรงมาแลว บา ง น ๒. เดก็ ปน ดนิ นำ้ มันโดยปน คลึง เปน เสนขนาดยาว และขนาดสนั้ สลับกันไป นำ 3. เดก็ ดแู ละรว มสนทนาเกยี่ วกับ ภาพสัตว ดก็ ดู 4.เดก็ จัดกลุม ๆ 4-5 คนและเดก็ ๆ สตั ว ภายกลมุ เลอื กภาพสตั วท่ีเดก็ สนใจ อไม 5.เดก็ แตล ะกลมุ ชว ยกนั ปนกรง สัตว สตั วตามภาพที่เด็กเลอื ก และ รว มกนั ต้ังชื่อผลงานของกลมุ ว 6.เดก็ แตละกลุม ออกมาเลา ผลงาน คน ของตนเองใหเ พื่อนกลุมอน่ื และครู พ ฟง ทห่ี นา หองเรียน ปน และ

ข้นั ตอน ชอ่ื ยอของข้นั ตอน วัตถปุ ระสงคข องขน้ั ตอน กิจกรรมทคี่ รูตอ งปฏิบัติ ท่ี ขัน้ สรุป (๑๕ นาท)ี 7.ครูใหเ ดก็ แตล ะกลุม ออกมาเ 4 ผลงานของตนเองใหเพ่ือนกลุม อ่นื และครฟู งท่ีหนาหองเรียน ๑.เดก็ สามารถสนทนา ๑. ครูและเด็กรว มกันสรุปผลง เกย่ี วกับผลงานท่ีเด็กปน ได ทเ่ี ด็กไดปนดินนำ้ มันประกอบ ๒.เดก็ ปฏิบตั ติ ามขอตกลง ภาพสัตว ได ๒. เมอ่ื เดก็ ทำงานเสร็จครใู หเ ด นำผลงานออกมาวางโตะท่ีครู จดั เตรยี มไว ๓. เดก็ ชว ยกนั เก็บอปุ กรณที่ทำ เขา ท่ใี หเ รียบรอ ย

กิจกรรมทน่ี ักเรียนตองปฏิบัติ ผลงาน/รอ งรอยท่จี ะ เคร่อื งมือวัด/ประเมนิ เกิดข้นึ จากนักเรยี น เลา ม งาน ๑.เดก็ เลา เรื่องผลงานของตนเอง ภาพถา ยประกอบกจิ กรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ๒.เดก็ เกบ็ อุปกรณเขาท่ี ผลงานของเด็ก ด็ก ำ

ภาคผน เพลงเดก็ นิว้ โป น้วิ โปงมาเจอกนั ถามวา ไปไหนม น้ิวชีม้ าเจอกนั ถามวาไปไหน น้วิ กลางมาเจอกัน ถามวาไปไหนม น้ิวนางมาเจอกัน ถามวาไปไหน นว้ิ กอ ยมาเจอกนั ถามวา ไปไหนม นว้ิ ทง้ั สบิ มาเจอกนั ถามวา ไปไหนม

นวก ปง มาเจอกนั มา หมนุ น้ิวแลวขอลา พรุง น้มี าเจอกัน นมา หมุนน้วิ แลวขอลา พรงุ น้มี าเจอกนั มา หมุนนิ้วแลว ขอลา พรุงนมี้ าเจอกัน นมา หมุนนิ้วแลวขอลา พรงุ น้ีมาเจอกัน มา หมุนนวิ้ แลว ขอลา พรุงนี้มาเจอกัน มา หมุนนว้ิ แลวขอลา พรุงนม้ี าเจอกัน

แบบสะทอนการปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณ จรรยาบรรณวิชาชีพครู รกั เมตตา เอาใจใส ชว ยเหลอื สงเสรมิ ใหกำลังใจแกศิษยแ ละ สรางความรูสึกเปนมติ ร เป ผรู บั บริการ ตามบทบาทหนาท่ีโดยเสมอหนา ตอบสนองขอเสนอและกา แตล ะคนและทุกคน เสนอและแนะแนวทางการ แสดงผลงานท่ีภมู ใิ จของศิษ สงเสริมใหเ กดิ การเรียนรู ทกั ษะ และนสิ ยั ท่ีถูกตองดีงามแกศ ิษย และ อบรม สัง่ สอน ฝก ฝนและจ ผูรบั บรกิ าร ตามบทบาทหนาทีอ่ ยา งเต็มความสามารถ ดว ยความ อบรม สง่ั สอน ฝก ฝนและจ บริสุทธใิ์ จ อบรม สั่งสอน ฝก ฝนและจ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเปนแบบอยา งท่ดี ีทงั้ ทางกายวาจา และจติ ใจ ตระหนักวาพฤติกรรมการ พูดจาสภุ าพและสรา งสรรค กระทำตนเปน แบบอยางท ไมก ระทำตนเปน ปฏปิ ก ษตอความเจรญิ ทางกายสตปิ ญ ญา จติ ใจ ละเวนการกระทำทท่ี ำใหศ อารมณ และสังคมของศษิ ย ละเวน การกระทำทเี่ ปน อัน ใหบรกิ ารดวยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเรยี กรับหรือยอมรบั ละเวน การกระทำทสี่ กดั กน้ั ผลประโยชนจากการใชต ำแหนงหนาทโ่ี ดยมชิ อบ ไมรบั หรอื แสวงหาอามิสสนิ ไมใ ชศษิ ยเปนเคร่ืองมือหา ชอ่ื -นามสกุล (Model Teacher) ช้นั อนุบาลปที่ 1/6 ช่อื หนวยการเรยี นรู การปนดินน้ำมนั ประกอบภาพ

TMS-PLC-๐๔: Instructional Design (ID) ณวชิ าชพี ครูในการสอนศษิ ย(รอบที่ ๑) การปฏิบตั ิในระหวางสอนศิษย ปนทพ่ี ึ่งพาและไวว างใจไดของศิษย แตล ะคนและทกุ คน ารกระทำของศษิ ยใ นทางสรา งสรรคตามสภาพปญ หาความตอ งการและศกั ยภาพของศิษย รพฒั นาของศิษยแตละคนและทุกคนตามความถนัด ความสนใจ และศกั ยภาพของศษิ ย ษยแ ตล ะคนและทกุ คนทงั้ ในและนอกสถานศกึ ษา จดั ประสบการณเ พ่อื พฒั นาศิษยอยา งมุงม่ันและต้ังใจ จัดประสบการณเ พื่อพฒั นาศิษยอยางเต็มศักยภาพ จัดประสบการณเ พ่ือพัฒนาศิษยดว ยความบรสิ ุทธิ์ใจ แสดงออกของครูมีผลตอ การพัฒนาพฤติกรรมของศิษยอยเู สมอ คโดยคำนึงถงึ ผลท่ีจะเกิดขึน้ กับศษิ ยแ ละสงั คม ที่ดี สอดคลองกบั คำสอนของตน และวฒั นธรรมประเพณีอันดงี าม ศษิ ยเ กิดความกระทบกระเทือนตอ จิตใจ สตปิ ญญา อารมณแ ละสงั คมของศิษย นตรายตอ สุขภาพและรา งกายของศษิ ย นพฒั นาการทาง สตปิ ญ ญา อารมณ จิตใจ และสังคมของศิษย นจางหรือผลประโยชนอันมิควรจากศษิ ย าประโยชนใหก ับคนโดยมชิ อบดว ยกฎหมาย ขนมธรรมเนยี ม ประเพณหี รอื ความรูส ึกของสังคม ) นางสาวพรนำ้ ทิพย ทำสขุ (การปนเปนเสนตรง การปน กรงสตั วประกอบรูปภาพสตั วท กี่ ำหนดให)

Buddy Teacher ผูวิพากษ แบบสะทอ นคดิ ตอ แนวคิดการแกป ชอื่ -นามสกลุ นางคำนอ ย มาทา (รอบที่ Model Teacher เจาของแผน กรอบความคดิ ดา นจิต ช่อื -นามสกลุ นางสาวพรนำ้ ทิพย ทำสขุ กเี ซล กลา ววา ความสามารถในกา เด็กสามารถแบง ออกเปน ระยะแล เร่มิ จากขนั้ แรก คอื การใชม ือตะป 4 น้วิ ติดกนั กับฝามือ โดยเริ่มใชฝ เลือ่ นไปใชใจกลางมือ จากนั้นหวั แ จับขัน้ สดุ ทา ยคอื การหยิบของดวย ความเปน ไปไดของลำดับขั้นการจัดการเรยี นรู เปาหมายการพ มีความเปนไปไดใ นการเชื่อมโยงทฤษฎกี ับ กระบวนการจัดประสบการณ ควรทำกจิ กรรม การพัฒนากลา เปน รายบคุ คลและเพมิ่ เวลาในการทำกจิ กรรม เลือกสือ่ / ใชส่อื ไดอยางเหมาะสม ขอเสนอแนะเพอื่ กับนกั เรียนและเนอ้ื หา ควรใหเด็กไดออกมามีส ทุกคน สอ่ื และเทคนคิ วิธกี ารมคี วามเหมาะสมสอดคลอง ตามหลกั ทฤษฎี แตในกจิ กรรมกลมุ เดก็ ยงั ไมร ูจักการ ชว ยเหลอื ซึ่งกนั และกัน

TMS-PLC-๐๕: ID Reflection & Discussion ปญ หาการเรียนรขู องนกั เรียน ๑) ตวิทยาการเรยี นรู การวเิ คราะหพ้ืนฐานเดิม/ขอจำกดั ของนักเรยี น เด็กขาดความคลองแคลว ในการใชกลา มเน้อื มอื และไมส ามารถ ารใชกลา มเนือ้ มดั เลก็ ของ ควบคุมทศิ ทางในการระบายสไี ด ละมีขน้ั ตอนพัฒนาการ โดย ปบ ขัน้ ตอมาจับของดว ยนิว้ โอกาสการมีสว นรวมในกิจกรรมการเรยี นของนกั เรียนรายคน ฝา มือตอนใกลๆสนั มือ ตอมา มีการเปด โอกาสใหเ ด็กไดตอบคำถามเก่ียวกับสัตวทอี่ ยใู นกรง แมมือจึงคอ ย เคลอ่ื นมาชวย ยหวั แมม ือกบั ปลายน้วิ วา มสี ตั วชนิดใดบา ง และออกมาบอกเลา ผลงานของกลุม ตนเอง พัฒนา (ตัวแปร) ามเน้ือมดั เลก็ กระบวนการที่สรางผลกระทบสงู เปน อยางไร การปนดินนำ้ มนั เปนรายกลมุ เด็กบางคนไมใ หเ พื่อนรวม กจิ กรรม ยังไมร จู กั การทำงานเปน กลมุ อการปรบั ปรุง ความเหมาะสมของวิธวี ดั และเครือ่ งมือวดั ผล สว นรวมในกจิ กรรม การวัดและประเมินผลมรี ปู แบบทห่ี ลากหลาย

Buddy Teacher ผวู พิ ากษ แบบสะทอ นคิดตอแนวคิดการแกป ชอื่ -นามสกุล นางฐิติพร สายธารวนาวาส (รอบท่ี Model Teacher เจา ของแผน กรอบความคดิ ดานจติ ว ชอ่ื -นามสกุล นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสขุ กีเซล กลา ววา ความสามารถในการใช สามารถแบง ออกเปน ระยะและมขี ั้นต แรก คือ การใชมอื ตะปบ ขั้นตอมาจับข มอื โดยเรม่ิ ใชฝามอื ตอนใกลๆสันมอื ต จากนั้นหวั แมมอื จึงคอ ย เคลือ่ นมาชวย ดวยหัวแมมือกับปลายน้ิว ความเปนไปไดของลำดับขน้ั การจดั การเรียนรู เปาหมายการพัฒ การจัดลำดบั ขัน้ ตอนในการจัดกิจกรรม ควรเพ่มิ การพฒั นากลา เวลาในการทำกิจกรรมเพือ่ ใหเ ดก็ ท่ที ำชาไดนำเสนอ ผลงานของตนเอง ขอเสนอแนะเพ่อื ควรจัดกิจกรรมอยางตอ เลือกสอ่ื / ใชส่อื ไดอยางเหมาะสม คุนเคยกบั การปน ขยำ สัม กับนักเรยี นและเนอื้ หา สื่อที่ใชมีขนาดทเี่ หมาะสม มีความนาสนใจ สอดคลองกับผูเรยี น การทำกิจกรรมควรสรา งสื่อสำ หรือรายบุคคล มากกวา การทำเปน กลมุ

TMS-PLC-๐๕: ID Reflection & Discussion ปญหาการเรยี นรขู องนกั เรียน ๑) วทิ ยาการเรยี นรู การวเิ คราะหพนื้ ฐานเดมิ /ขอจำกดั ของนักเรียน เดก็ ขาดความคลองแคลว ในการใชก ลา มเน้อื มอื และไม ชกลา มเน้ือมดั เล็กของเดก็ ตอนพัฒนาการ โดยเร่ิมจากขัน้ สามารถควบคมุ ทิศทางในการระบายสีได ของดวยน้วิ 4 น้ิว ติดกันกับฝา ตอ มาเลอื่ นไปใชใจกลางมือ ยจบั ขัน้ สุดทา ยคอื การหยิบของ ฒนา (ตัวแปร) โอกาสการมีสว นรวมในกจิ กรรมการเรียนของนักเรียนรายคน มกี ารเปด โอกาสใหเ ดก็ ไดม สี ว นรวมแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับ ามเนอื้ มัดเล็ก สตั วต าง ๆ ที่อาศัยอยูในกรงสัตว และบอกกบั สง่ิ ทส่ี งั เกตเห็น กระบวนการท่สี รางผลกระทบสงู เปนอยา งไร การสรา งผลงานของตนเอง เนอ่ื งจากกลามเนือ้ มยี ังไม แขง็ แรงทำใหผลงานออกมายงั มขี นาดไมส มำ่ เสมอกัน อการปรับปรุง ความเหมาะสมของวธิ ีวดั และเครือ่ งมอื วดั ผล อเนอื่ ง เพ่ือใหเ ดก็ ได เคร่ืองมอื ในการวัดและประเมินผลมคี วามเหมาะสมสอดคลอ ง มผสั การคลงึ กบั กิจกรรมการเรยี นรู

Buddy Teacher ผวู พิ ากษ แบบสะทอ นตอ แผนจ ชอื่ -นามสกลุ นางคำนอย มาทา (รอบที่ Model Teacher เจาของแผน วัตถุประสงคข องแผ ชื่อ-นามสกุล นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสขุ ระบุวัตถุประสงคทชี่ ัดเจน กำหนดกิจกรรมไดชดั เจน ความเปนไปไดของวิธสี อนกับการแกป ญหาเปา หมาย รูปแบบวิธีการมีความเปน ไปไดใ นการแกไ ขปญหา เปาหมายการ เด็กขาดความคลองแคลวในการใชกลามเน้ือมือและไม การพัฒนาก สามารถควบคุมทศิ ทางในการระบายสีได แผนฯสรา งโอกาสการ ขอ เสนอแนะ/ขอ สังเกตอน่ื ๆ มกี ารเปด โอกาสใหเ ควรปรบั เพมิ่ ระยะเวลาในการใหเด็กทที่ ำงานเสร็จชา หรือเด็กท่ีไมไ ดรวมกจิ กรรมกลมุ คอยช้ีแนะและชวยเหลือ

จัดประสบการณ TMS-PLC-๐๖: ID Reflection & Discussion ๑) ความละเอยี ดและความชัดเจนของแผน ? ผนจดั ประสบการณ มคี วามชดั เจนและมคี วามตอเนอ่ื งของกิจกรรม นในการแกปญหาและมีการ แตควรเพ่ิมกจิ กรรมใหม ีความกระตอื รอื รน ในการ เรียนรู รพฒั นา (ตวั แปร) การวัดและประเมินความกาวหนา ในการเรยี นรูของ นกั เรียน กลา มเน้ือมดั เลก็ ระบกุ ารวดั และวิธกี ารทีเ่ หมาะสมกับการพัฒนา กลามเนือ้ มดั เล็ก รเรียนรแู กนกั เรียนทั่วทุกคน เดก็ อยา งทั่วถึงทกุ คน โดยมีครู อานแผนแลวเห็นภาพการปฏิบัตกิ ารจดั ประสบการณ ? อ มคี วามชัดเจน ควรเพม่ิ เตมิ ในสว นของกจิ กรรมทเี่ ดก็ ตอ งปฏิบตั ิ การใหข อ มลู ยอนกลับ/การเสรมิ แรงนักเรียนอยา งทัว่ ถงึ มกี ารใหคำชมเชยตอ เด็กเม่ือเดก็ ทำไดแ ละ ใหคำชมเชยเด็ก ทที่ ำงานชา เกินเวลาทีก่ ำหนด

Buddy Teacher ผูว ิพากษ แบบสะทอนตอ แผนจ ชื่อ-นามสกุล นางฐติ ิพร สายธารวนาวาส (รอบที่ Model Teacher เจาของแผน วัตถุประสงคข องแ ชือ่ -นามสกลุ นางสาวพรนำ้ ทพิ ย ทำสขุ ระบุวตั ถุประสงคไ ดชัดเ แผนการจดั ประสบการณแ ต ความเปน ไปไดข องวิธสี อนกับการแกป ญ หาเปาหมาย มคี วามเปน ไปไดใ นการแกป ญ หา เด็กขาดความ เปา หมายการ คลองแคลว ในการใชกลา มเนือ้ มือและไมสามารถ การพฒั นาก ควบคมุ ทศิ ทางในการระบายสีได แผนฯสรา งโอกาสการเรีย ขอ เสนอแนะ/ขอสงั เกตอื่น ๆ มีการเปดโอกาสใหเ ดก็ ได อ ควรเพิม่ การพดู สรปุ กิจกรรมโดยใหเ ด็กออกมาสังเกต เรียน การปน ดนิ นำ้ มนั ขนาดตา ง ๆ ของแตล ะคนวามีขนาด เทา กันหรอื ไม

จัดประสบการณ TMS-PLC-๐๖: ID Reflection & Discussion ๑) ความละเอยี ดและความชัดเจนของแผน ? แผนจดั ประสบการณ ระบรุ ายละเอียดตามลำดบั ข้ันตอนทชี่ ัดเจนตอ เน่ือง เจนมีความสอดคลอ งกบั ตล ะกจิ กรรม ควรเพ่มิ รายละเอยี ดของกิจกรรมท่เี ด็กตองปฏิบัติ รพฒั นา (ตวั แปร) การวดั และประเมินความกา วหนา ในการเรียนรขู อง นกั เรียน กลา มเนื้อมัดเล็ก การวัดมคี วามสอดคลองกบั การจัดประสบการณท ำ ยนรูแกนักเรยี นท่ัวทุกคน ใหเดก็ ไดรับการพัฒนากลา มเน้อื มดั เลก็ ออกมาทำกิจกรรมหนา ชั้น อานแผนแลว เหน็ ภาพการปฏิบตั กิ ารจัดประสบการณ ? แผนการจดั ประสบการณม ีความชดั เจนและตอ เนื่อง อา นแลว เขาใจงา ย การใหขอมูลยอนกลับ/การเสรมิ แรงนักเรยี นอยาง ทวั่ ถงึ มีการใหแรงเสรมิ กบั เดก็ ทุกคนอยา งท่ัวถึงไมเ ลือก ปฏบิ ตั ิ

TMS-PLC-๐๗: Implementation & Classroom Observation แบบสงั เกตชัน้ เรียน (Classroom Observation) ประเด็นการพฒั นานักเรียนตามเปาหมายของทีม PLT ท่กี ำหนดไว การพฒั นากลามเนื้อมัดเล็ก ปฏิบตั กิ าร PLC วงรอบท่ี ๑ วนั ท่เี ขาสังเกตชนั้ เรยี น 20 กรกฎาคม 2565 1. ชื่อ - นามสกุล Model Teacher นางสาวพรน้ำทิพย ทำสขุ 2. ระดบั ชั้นอนบุ าลปท ่ี 1/6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา ๒๕๖5 จำนวนนกั เรียนท่มี าเรียน ๒4 คน 3. มกี ารบนั ทึกภาพ / บันทึกวีดิทัศน  มี  ไมมี 4. เริม่ กิจกรรมการจัดประสบการณ เวลา ๐8.0๐ น. - 09.3๐ น. 5. บันทกึ การใชเวลาในการจดั ประสบการณของครู ลำดบั กิจกรรม การใชเวลา (ประมาณ - นาที) ๑ ขน้ั เตรียมความพรอม ๔ ๒ ข้นั นำเขาสูบ ทเรียน 9 ๓ ขน้ั สอน ๓2 ๔ ขั้นสรุป ๑5 6. บันทึกกิจกรรมท่เี กิดขึ้น ลำดบั กจิ กรรม การปฏิบตั ิ ใชเ วลา ขอ สงั เกต มี ไมช ัดเจน ไมม ี (นาท)ี 1 การนำเขาสบู ทเรียน  ๔ 2 การตง้ั คำถามกระตนุ การคิด  10 3 อธบิ ายกจิ กรรม  ๑0 4 การมีสว นรวมของนกั เรียน  ๑๕ 5 นกั เรียนถามคร/ู แสดงความคิดเหน็  ๓ 6 ครูตอบคำถามนักเรยี น  3 7 ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ นกั เรยี นรายคน  - 8 ครไู มต อบคำถามนักเรียนบางคน - 9 ครใู หค ำชมเชยนักเรียน  ๒ 10 ครูลงโทษนกั เรียน - 11 ครูใหน ักเรยี นทำกจิ กรรมระหวาง  การจัดประสบการณ 12 ครสู รปุ บทเรียน  ๑5 13 การประเมนิ การเรียนรู  ๑2

๗. ครูดำเนินการจัดประสบการณเ ปน ไปตามแผนการท่อี อกแบบการจดั ประสบการณรวมกับทีม PLC หรือไม  ใช  ไมใช ๘. ผลการใชวธิ กี ารจัดประสบการณตามท่อี อกแบบ ๘.๑ กระบวนการท่ีสรางผลกระทบเปลี่ยนแปลงนักเรยี นไดมากที่สุด (High Impact Process: HP) คือ การปน ดนิ นำ้ มนั เปน รายกลุม เดก็ บางคนไมใ หเพ่อื นรวมกิจกรรม ยังไมรูจักการทำงานเปน กลมุ 8.2 ประเด็นท่ีตอ งพัฒนา คือ การพฒั นากลา มเนอ้ื มัดเลก็ ๙. หากประเมินจากการสงั เกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรยี น 9.1 มีนักเรยี นทเ่ี รยี นรูได ประมาณ ๒4 คน 9.2 นักเรยี นทคี่ าดวายังเรียนรูเรื่องทค่ี รูจดั ประสบการณไมไ ด ประมาณ ....4...... คน ๑๐. ตัวอยา งคำถามสำคญั ท่ีกระตนุ ใหน กั เรยี นคดิ / เกดิ การเรยี นรู คอื 10.1 การปนขนาดตา ง ๆ ควรปน อยา งไร ๑๑. ตัวอยา งคำถามสำคัญทน่ี ักเรยี นถามครู ทสี่ ะทอ นความเขา ใจในเนอ้ื หาทเี่ รียนรู 11.1 เดก็ ปนขนาดเทาใดจึงจะสามารถสรางกรงสัตวไ ด ๑๒. ตัวอยางคำถามสำคญั ที่นักเรียนถามครู ท่สี ะทอ นวา ยงั เรียนรูเรื่องน้ันไมได ทำไมเดก็ ปน เปนรปู กรงสตั วไ มไ ดคะ นองมารคกป้ี น ไมเปน ปนไดแตเ สนเล็กๆ ๑๓. ขอ เสนอแนวทางการปรับกระบวนการจดั ประสบการณค รงั้ ตอไป ควรทำกจิ กรรมเปนรายบุคคลและเพ่ิมเวลาในการทำกิจกรรม ๑๔. เสรจ็ ส้นิ การสอน เวลา 09.30 น. ลงชอ่ื ..............................................................ผสู ังเกตชัน้ เรยี น (นางคำนอ ย มาทา) วันที่ 20 กรกฎาคม 2565

TMS-PLC-๐๗: Implementation & Classroom Observation แบบสังเกตชนั้ เรียน (Classroom Observation) ประเด็นการพฒั นานักเรยี นตามเปา หมายของทมี PLT ทกี่ ำหนดไว การพัฒนากลามเนื้อมดั เลก็ ปฏิบตั ิการ PLC วงรอบท่ี ๑ วันทเ่ี ขาสังเกตชั้นเรยี น 20 กรกฎาคม 2565 7. ช่อื - นามสกลุ Model Teacher นางสาวพรนำ้ ทพิ ย ทำสขุ 8. ระดบั ช้นั อนบุ าลปที่ 1/6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา ๒๕๖5 จำนวนนักเรยี นทมี่ าเรียน ๒4 คน 9. มีการบันทึกภาพ / บนั ทึกวดี ทิ ัศน  มี  ไมมี 10.เร่มิ กจิ กรรมการจัดประสบการณ เวลา ๐8.3๐ น. - 09.3๐ น. 11.บนั ทกึ การใชเ วลาในการจัดประสบการณของครู ลำดับ กจิ กรรม การใชเวลา (ประมาณ - นาที) ๑ ข้ันเตรยี มความพรอม ๔ ๒ ขั้นนำเขา สบู ทเรียน 9 ๓ ขน้ั สอน ๓2 ๔ ขั้นสรุป ๑5 12.บันทกึ กิจกรรมท่ีเกดิ ขึน้ ลำดบั กิจกรรม การปฏบิ ตั ิ ใชเ วลา ขอสังเกต มี ไมช ัดเจน ไมม ี (นาที) 1 การนำเขา สูบทเรยี น  ๔ 2 การตง้ั คำถามกระตนุ การคดิ  10 3 อธิบายกิจกรรม  ๑0 4 การมสี ว นรว มของนักเรยี น  ๑๕ 5 นกั เรียนถามครู/แสดงความคิดเห็น  ๓ 6 ครูตอบคำถามนักเรยี น  3 7 ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมนักเรียนรายคน  - 8 ครูไมต อบคำถามนักเรยี นบางคน - 9 ครใู หค ำชมเชยนักเรียน  ๒ 10 ครลู งโทษนกั เรียน - 11 ครูใหนกั เรียนทำกิจกรรมระหวา ง  การจดั ประสบการณ 12 ครสู รปุ บทเรียน  ๑5 13 การประเมินการเรยี นรู  ๑2

๗. ครูดำเนนิ การจดั ประสบการณเ ปนไปตามแผนการท่ีออกแบบการจดั ประสบการณรว มกบั ทีม PLC หรือไม  ใช  ไมใช ๘. ผลการใชวธิ ีการจัดประสบการณต ามทอ่ี อกแบบ ๘.๑ กระบวนการทส่ี รางผลกระทบเปล่ียนแปลงนักเรยี นไดมากทีส่ ดุ (High Impact Process: HP) คอื การสรางผลงานของตนเอง เนือ่ งจากกลา มเนื้อมียงั ไมแข็งแรงทำใหผ ลงานออกมายังมขี นาดไมส ม่ำเสมอกนั 8.2 ประเดน็ ทตี่ องพฒั นา คอื การพฒั นากลา มเนือ้ มัดเล็ก ๙. หากประเมนิ จากการสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของนกั เรยี น 9.1 มีนกั เรยี นที่เรียนรไู ด ประมาณ ๒4 คน 9.3 นกั เรยี นท่คี าดวายังเรียนรเู ร่ืองที่ครูจดั ประสบการณไมไ ด ประมาณ ....4...... คน ๑๐. ตวั อยางคำถามสำคัญท่ีกระตนุ ใหน ักเรียนคดิ / เกดิ การเรียนรู คือ 10.1 การปน ขนาดตา ง ๆ ควรปนอยา งไร ๑๑. ตัวอยางคำถามสำคญั ทีน่ ักเรยี นถามครู ทสี่ ะทอ นความเขาใจในเนือ้ หาทเ่ี รียนรู 11.1 เดก็ ปน ขนาดเทาใดจึงจะสามารถสรางกรงสตั วไ ด ๑๒. ตวั อยางคำถามสำคัญที่นักเรียนถามครู ท่ีสะทอนวา ยังเรยี นรเู รือ่ งน้ันไมไ ด ทำไมเด็กปนเปน รปู กรงสัตวไมไ ดค ะ นองมารค กป้ี นไมเปนปน ไดแตเสน เลก็ ๆ ๑๓. ขอ เสนอแนวทางการปรับกระบวนการจดั ประสบการณค ร้ังตอไป ควรจัดกจิ กรรมอยา งตอเน่ือง เพ่ือใหเ ด็กไดคนุ เคยกับการปน ขยำ สมั ผสั การคลึง ๑๔. เสร็จสิน้ การสอน เวลา 09.30 น. ลงชื่อ ..............................................................ผูส งั เกตช้ันเรยี น (นางฐิตพิ ร สายธารวนาวาส) วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2565

TMS-PLC-๐๗: Implementation & Classroom Observation แบบสังเกตช้นั เรียน (Classroom Observation) ประเดน็ การพัฒนานักเรยี นตามเปาหมายของทีม PLT ท่กี ำหนดไว การพฒั นากลามเนื้อมัดเลก็ ปฏบิ ัติการ PLC วงรอบที่ ๑ วันทีเ่ ขา สงั เกตชัน้ เรียน วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2565 13.ช่อื - นามสกุล Model Teacher นางสาวพรนำ้ ทิพย ทำสุข 14.ระดับช้นั อนุบาลปท่ี 1/6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา ๒๕๖5 จำนวนนกั เรียนท่มี าเรยี น ๒4 คน 15.มกี ารบนั ทึกภาพ / บันทึกวีดิทศั น  มี  ไมม ี 16.เริม่ กจิ กรรมการจดั ประสบการณ เวลา ๐8.3๐ น. - 09.3๐ น. 17.บนั ทกึ การใชเวลาในการจดั ประสบการณของครู ลำดบั กจิ กรรม การใชเ วลา (ประมาณ - นาที) ๑ ขั้นเตรียมความพรอม ๔ ๒ ขั้นนำเขา สบู ทเรยี น 9 ๓ ข้นั สอน ๓2 ๔ ขน้ั สรุป ๑5 18.บนั ทกึ กิจกรรมทเี่ กิดข้ึน ลำดบั กิจกรรม การปฏบิ ตั ิ ใชเ วลา ขอ สงั เกต มี ไมชัดเจน ไมม ี (นาท)ี 1 การนำเขาสบู ทเรียน  ๔ 2 การต้งั คำถามกระตุน การคิด  10 3 อธิบายกจิ กรรม  ๑0 4 การมสี ว นรว มของนักเรยี น  ๑๕ 5 นกั เรียนถามคร/ู แสดงความคิดเห็น  ๓ 6 ครตู อบคำถามนกั เรียน  3 7 ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ นักเรียนรายคน  - 8 ครไู มตอบคำถามนักเรียนบางคน - 9 ครใู หค ำชมเชยนกั เรยี น  ๒ 10 ครูลงโทษนกั เรียน - 11 ครใู หน กั เรียนทำกจิ กรรมระหวา ง  การจดั ประสบการณ 12 ครสู รปุ บทเรียน  ๑5 13 การประเมินการเรียนรู  ๑2

๗. ครูดำเนินการจัดประสบการณเ ปนไปตามแผนการท่ีออกแบบการจดั ประสบการณร ว มกับทีม PLC หรอื ไม  ใช  ไมใ ช ๘. ผลการใชว ิธีการจดั ประสบการณต ามท่ีออกแบบ ๘.๑ กระบวนการท่สี รางผลกระทบเปลี่ยนแปลงนักเรยี นไดมากทส่ี ดุ (High Impact Process: HP) คือ การปน ดนิ นำ้ มันเปน เสน ตรง 8.2 ประเด็นท่ีตองพฒั นา คือ การพฒั นากลา มเนอ้ื มัดเล็ก ๙. หากประเมนิ จากการสงั เกตพฤติกรรมการแสดงออกของนกั เรียน 9.1 มีนักเรียนทเ่ี รียนรไู ด ประมาณ ๒4 คน 9.4 นกั เรยี นทคี่ าดวายงั เรียนรเู ร่ืองที่ครูจัดประสบการณไ มได ประมาณ .....4..... คน ๑๐. ตัวอยา งคำถามสำคญั ที่กระตนุ ใหน ักเรยี นคดิ / เกดิ การเรียนรู คือ 10.1 กรงสตั วควรจะเปนรปู รางอะไร ๑๑. ตวั อยางคำถามสำคัญที่นักเรียนถามครู ที่สะทอนความเขาใจในเนอื้ หาที่เรยี นรู - ๑๒. ตัวอยางคำถามสำคัญท่ีนักเรยี นถามครู ทส่ี ะทอนวา ยังเรยี นรเู รอ่ื งนน้ั ไมได - ๑๓. ขอ เสนอแนวทางการปรับกระบวนการจัดประสบการณค ร้งั ตอไป การมตี วั อยา งชิ้นงานใหเดก็ ในแตล ะกลมุ ชวยใหเดก็ ไดมองเหน็ ภาพจะทำใหเ ดก็ สรา งช้ินงานไดด ขี น้ึ ๑๔. เสรจ็ ส้ินการสอน เวลา 09.30 น. ลงช่ือ ..............................................................ผูสงั เกตชนั้ เรยี น (นายปรญิ ญา รตั นเพ็ญ) ตำแหนง รองผูอำนวยการสถานศึกษา รักษาการในตำแหนง ผูอำนวยการสถานศึกษา วันที่ 20 กรกฎาคม 2565

TMS-PLC-๐๘: After class Reflection & Discussion แบบรายงานการสรุปผลการดำเนินงาน (รอบที่ ๑) ๑. ชอื่ - นามสกุล Model Teacher นางสาวพรนำ้ ทพิ ย ทำสขุ ๒. ระดับช้ันอนบุ าลปท่ี 1/6 ๓. เปาหมายการพฒั นา (ตัวแปร) เด็กขาดความคลองแคลว ในการใชกลา มเน้ือมือและไมสามารถควบคุมทิศทางในการ ระบายสไี ด ๔. แนวทางท่ี Model Teacher นำมาใชในการแกปญ หา โดยใชก จิ กรรมศลิ ปะสรา งสรรคการปน ดนิ นำ้ มนั ประกอบภาพ ๕. ผลการปฏบิ ตั ิ / ผลที่เกิดขน้ึ การทำกิจกรรมเปนรายบุคคลเดก็ สามารถปน ดินนำ้ มนั เปนเสน ตรงได แตมขี นาดตา งกัน กิจกรรมกลุม เด็กบางคน ไมใ หเพือ่ นรวมทำ และบางคนยงั ไมรวมกจิ กรรมกลมุ กบั เพ่ือน ๖. ประเด็นท่ี Model Teacher ปฏบิ ตั ไิ ดด ี การกระตนุ และแนะนำใหเ ด็กรวมกนั ปนกรงสัตว ๗. ประเด็นท่ี Model Teacher ควรเพ่มิ เติม/ควรพัฒนา ควรเพม่ิ กจิ กรรมระยะเวลา และรอคอยเด็กท่ีทำชากวา เพื่อนเพอ่ื ใหไ ดส รปุ ผลพรอ มกนั ๘. การสงเสริม / ตอยอด การปนดินน้ำมนั เปนรูปรางอ่ืน ๆ ตามเน้ือหาตาง ๆ ลงช่อื ..............................................................ผรู ายงาน (BT) (นางคำนอย มาทา) วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2565

TMS-PLC-๐๘: After class Reflection & Discussion แบบรายงานการสรปุ ผลการดำเนนิ งาน (รอบท่ี ๑) ๑. ชอ่ื - นามสกุล Model Teacher นางสาวพรน้ำทิพย ทำสุข ๒. ระดบั ชน้ั อนบุ าลปที่ 1/6 ๓. เปาหมายการพัฒนา (ตัวแปร) เด็กขาดความคลองแคลว ในการใชกลา มเนื้อมือและไมสามารถควบคมุ ทิศทางในการ ระบายสีได ๔. แนวทางที่ Model Teacher นำมาใชใ นการแกป ญ หา โดยใชกจิ กรรมศลิ ปะสรางสรรคการปน ดินน้ำมันประกอบภาพ ๕. ผลการปฏิบัติ / ผลท่เี กิดขน้ึ การทำกิจกรรมเปนรายบุคคลเดก็ สามารถปน ดนิ น้ำมันเปน เสนตรงได กจิ กรรมกลมุ บางกลุม ทำไดด ี ยังมบี างกลมุ ยงั ไมใหความรว มมือ ๖. ประเด็นท่ี Model Teacher ปฏบิ ัตไิ ดด ี การมีตวั อยางในการปนกรงสตั วช นิดตา ง ๆ ๗. ประเดน็ ท่ี Model Teacher ควรเพม่ิ เติม/ควรพฒั นา ควรเพมิ่ กิจกรรมระยะเวลา และรอคอยเด็กทท่ี ำชากวาเพอ่ื นเพ่ือใหไดส รุปผลพรอมกนั ๘. การสง เสริม / ตอ ยอด การปน ดนิ นำ้ มันประกอบภาพอื่น ๆ เพอ่ื เชื่อมโยงกับเนือ้ หาท่เี ด็กเรียนรู ลงช่อื ..............................................................ผูร ายงาน (BT) (นางฐติ ิพร สายธารวนาวาส) วันที่ 20 กรกฎาคม 2565

TMS-PLC-๐๘: After class Reflection & Discussion แบบรายงานการสรปุ ผลการดำเนนิ งาน (รอบที่ ๑) ๑. ช่ือ - นามสกลุ Model Teacher นางสาวพรน้ำทิพย ทำสขุ ๒. ระดับชัน้ อนบุ าลปท่ี 1/6 ๓. เปา หมายการพัฒนา (ตัวแปร) เดก็ ขาดความคลองแคลว ในการใชกลา มเนอ้ื มอื และไมส ามารถควบคุมทิศทางในการ ระบายสีได ๔. แนวทางท่ี Model Teacher นำมาใชในการแกปญ หา การปน ดนิ น้ำมนั เพ่ือสรางความแข็งแรงใหกบั กลามเนอ้ื มัดเลก็ ๕. ผลการปฏบิ ัติ / ผลทเ่ี กดิ ข้ึน เด็กสามารถปน รูปทรงตามคำสง่ั ของครไู ด ๖. ประเด็นที่ Model Teacher ปฏิบตั ิไดด ี การกระตนุ ใหเด็กทำกิจกรรมและเกิดการเรยี นรู ๗. ประเด็นที่ Model Teacher ควรเพม่ิ เตมิ /ควรพฒั นา การเพ่มิ ตัวอยา งชนิ้ งานใหเดก็ ดู ๘. การสงเสริม / ตอยอด ควรตอ ยอดกิจกรรมใหเ พมิ่ ระดบั ความยากมากขน้ึ อกี ระดับ ลงชอ่ื .............................................................. (นายปริญญา รตั นเพญ็ ) ตำแหนง รองผูอำนวยการสถานศึกษา รกั ษาการในตำแหนง ผูอำนวยการสถานศกึ ษา วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2565

แบบบันทกึ กรอบความคดิ การออกแบบการจดั ประส ผอู อกแบบ (Model Teacher) นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสขุ ช่ือทมี การพัฒนาก วตั ถุประสงคหลักของการแกปญหา เพอ่ื พฒั นาพัฒนา ข้นั ตอน ช่อื ยอของขน้ั ตอน วัตถุประสงคข องข้นั ตอน กจิ กรรมที่ครูตอ งปฏิบตั ิ ท่ี ๑ ข้นั เตรยี มความพรอม เตรียมความพรอมกอน ๑. จัดเตรยี มวัสดอุ ปุ กรณ ไดแก (๕ นาที) เขาสูกิจกรรม กระดานรองปน ดินน้ำมนั และ แบบตวั อยา ง ๒ ขั้นนำเขาสบู ทเรยี น ๑.เดก็ สามารถรองเพลง ๑. ครใู หเดก็ น่งั เรยี งแถว (๑๐ นาท)ี มอื ของฉัน ได ๒. ครรู อ งเพลง “มือของฉัน” เดก็ ฟง ๑ รอบพรอมทำทา ประกอบ ๓. ครใู หเดก็ ทองตามทีละวรรค พรอมทำทา ประกอบ ๔. ครแู ละเดก็ รอ งเพลง “มือข ฉัน” และทำทา ประกอบพรอ ม 3 ขั้นสอน ๑.เด็กสามารถสนทนา ๑. ครูและเด็กสนทนาเก่ียวกับ (๓๐ นาท)ี โตตอบกบั ครูได แบบตัวอยางปนดินน้ำมนั ประกอบภาพรูปทรงตางๆ และ ใหเด็กตอบทลี ะคน

TMS-PLC-๐๓: Instructional Design (ID) สบการณเพ่อื แกไขปญ หาการเรียนรขู องนกั เรยี น กลา มเนื้อมัดเลก็ อนบุ าล 1/65 รอบท่ี 2 (สอนวนั ที่ 22 สงิ หาคม 2565) ากลา มเน้ือมดั เลก็ นกั เรียนช้นั อนุบาลปท่ี 1/6 กจิ กรรมที่นักเรียนตองปฏิบัติ ผลงาน/รอ งรอยท่จี ะ เครื่องมอื วดั /ประเมนิ เกิดขน้ึ จากนกั เรยี น แก ๑. เตรยี มความพรอมของตนเอง ภาพถา ยประกอบกจิ กรรม - แบบสงั เกต ะ เขาสกู ิจกรรม ดว ยความผอ น พฤติกรรม คลาย เพ่อื ลดความตึงเครยี ด ๑.เด็กน่งั เรยี งเปน แถว ในทาที่ ภาพถายประกอบกิจกรรม - แบบสังเกต ให สบาย พฤติกรรม ๒.เด็กรอ งเพลง “มือของฉนั ” พรอมทำทาประกอบ ค ของ ภาพถายประกอบกิจกรรม - แบบสงั เกต มกนั พฤติกรรม บ ๑.เด็กสนทนาเกีย่ วกบั การปน ตามแบบตวั อยาง สามารถปน ะ ประกอบภาพอะไรบาง

ข้นั ตอน ชอ่ื ยอของขน้ั ตอน วตั ถปุ ระสงคของขั้นตอน กจิ กรรมที่ครตู องปฏิบตั ิ ท่ี ขัน้ สอน (ตอ) (๓๐ นาที) ๒.เดก็ สามารถใชกลา มเนือ้ ๒. ครใู หเดก็ ทกุ คนปนดินนำ้ มัน เลก็ ไดอยางคลองแคลว แลว คลึงเปนกอ นกลม ๆ หลาย มกี ารประสานสมั พันธของ ขนาด กลามเนื้อมอื กับสายตา ๓. ครูคอยดแู ลและใหค ำแนะน ๓.เดก็ สามารถปน ดิน ในขณะทำกิจกรรม น้ำมันประกอบภาพตาม ๔. ครใู หเ ด็กเลือกภาพทีเ่ ด็กสน ความสนใจของตนเองได ทจ่ี ะนำไปปนดนิ น้ำมันประกอบ ภาพตามรูปทรงตามที่กำหนดใ เม่ือเสร็จแลว ยกมือขน้ึ และเลา ผลงานของตนเองใหเพื่อนและ ฟง ทห่ี นา หองเรยี น ๔ ขน้ั สรุป ๑.เดก็ สามารถอธิบายส่งิ ท่ี ๑. ครูและเดก็ รวมกนั สรุปผลง (๑๕ นาท)ี เดก็ ปนได ที่เด็กไดล งปฏิบตั ิ ๒.เด็กปฏิบตั ติ ามขอตกลง ๒. เม่อื เดก็ ทำงานเสรจ็ ครูใหเ ด ได นำผลงานออกมาวางโตะทคี่ รู จัดเตรยี มไวให ๓. เด็กชวยกันเกบ็ อุปกรณท ี่ทำ เขาทใ่ี หเ รยี บรอย

กิจกรรมที่นักเรยี นตอ งปฏิบัติ ผลงาน/รอ งรอยท่ีจะ เคร่อื งมอื วดั /ประเมิน เกดิ ข้นึ จากนักเรียน -การตรวจชิน้ งาน น 2. เดก็ ปน ดนิ น้ำมัน แลว คลึงเปน ผลงานการปน ดินน้ำมัน -แบบสงั เกต ย กอ นกลมๆหลายขนาด พฤติกรรม 3. เด็กเลอื กภาพทเ่ี ดก็ สนใจจะ นำ นำไปปน ดินน้ำมนั ประกอบภาพ เมือ่ เสร็จแลว ยกมือขน้ึ และเลา นใจ ผลงานของตนเอง บ ให า ะครู งาน ๑. เดก็ รว มกันสรุปผลงาน ภาพถา ยประกอบกจิ กรรม -แบบสังเกต ๒. เด็กทำงานเสรจ็ นำผลงาน พฤติกรรม ดก็ ออกมาวางโตะ ๓. เดก็ ชวยกนั เก็บอปุ กรณท่ีทำ เขาท่ีใหเรยี บรอย ำ

ภาค เพลง มือของฉันน้ันมีสองม มือของฉนั มนี ้วิ ท้งั หา (รอ งซำ้

คผนวก มือของฉนั มอื นี่มอื ซาย นมี่ ือขวา กอย นาง กลาง ช้ี และหัวแมม ือ ำ 2 รอบ)

แบบสะทอ นการปฏิบัตติ นตามจรรยาบรรณ จรรยาบรรณวิชาชีพครู รกั เมตตา เอาใจใส ชว ยเหลือ สงเสรมิ ใหกำลงั ใจแกศ ษิ ยแ ละ สรางความรูสกึ เปน มิตร เป ผรู ับบรกิ าร ตามบทบาทหนา ท่ีโดยเสมอหนา ตอบสนองขอเสนอและกา แตละคนและทกุ คน เสนอและแนะแนวทางการ แสดงผลงานทีภ่ ูมิใจของศษิ สงเสรมิ ใหเ กดิ การเรยี นรู ทักษะ และนสิ ยั ท่ีถูกตองดีงามแกศิษย และ อบรม ส่งั สอน ฝกฝนและจ ผรู บั บริการ ตามบทบาทหนา ที่อยา งเต็มความสามารถ ดวยความ อบรม ส่ังสอน ฝกฝนและจ บริสทุ ธใ์ิ จ อบรม สัง่ สอน ฝกฝนและจ ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเปนแบบอยา งทดี่ ที ั้งทางกายวาจา และจติ ใจ ตระหนกั วา พฤติกรรมการ พดู จาสภุ าพและสรางสรรค กระทำตนเปนแบบอยา งท ไมก ระทำตนเปนปฏิปก ษตอความเจรญิ ทางกายสติปญญา จิตใจ ละเวนการกระทำทที่ ำใหศ อารมณ และสังคมของศษิ ย ละเวน การกระทำทเ่ี ปนอัน ใหบริการดวยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเรียกรับหรือยอมรบั ละเวน การกระทำทส่ี กดั ก้นั ผลประโยชนจ ากการใชตำแหนง หนาท่โี ดยมชิ อบ ไมรับหรือแสวงหาอามิสสนิ ไมใ ชศษิ ยเปนเครอ่ื งมอื หา ชอื่ -นามสกุล (Model Teacher) ช้นั อนุบาลปท ่ี 1/6 ชื่อหนวยการเรยี นรู การปน ดินน้ำมันประกอบ

TMS-PLC-๐๔: Instructional Design (ID) ณวชิ าชีพครูในการสอนศษิ ย(รอบท่ี ๒) การปฏิบัติในระหวา งสอนศษิ ย ปนทพ่ี ง่ึ พาและไวว างใจไดของศิษย แตล ะคนและทุกคน ารกระทำของศษิ ยใ นทางสรางสรรคต ามสภาพปญ หาความตอ งการและศกั ยภาพของศษิ ย รพฒั นาของศิษยแตล ะคนและทุกคนตามความถนัด ความสนใจ และศกั ยภาพของศษิ ย ษยแ ตล ะคนและทุกคนทัง้ ในและนอกสถานศึกษา จดั ประสบการณเ พ่อื พัฒนาศษิ ยอยา งมุงมนั่ และต้ังใจ จดั ประสบการณเ พือ่ พัฒนาศิษยอยา งเตม็ ศักยภาพ จดั ประสบการณเ พื่อพัฒนาศษิ ยด วยความบริสุทธิ์ใจ แสดงออกของครมู ีผลตอการพัฒนาพฤติกรรมของศิษยอยูเ สมอ คโดยคำนงึ ถึงผลทจี่ ะเกิดขึน้ กับศษิ ยและสังคม ที่ดี สอดคลอ งกบั คำสอนของตน และวฒั นธรรมประเพณีอนั ดงี าม ศิษยเ กิดความกระทบกระเทือนตอจิตใจ สติปญ ญา อารมณแ ละสงั คมของศษิ ย นตรายตอ สขุ ภาพและรางกายของศษิ ย นพฒั นาการทาง สติปญญา อารมณ จิตใจ และสงั คมของศษิ ย นจา งหรอื ผลประโยชนอ นั มคิ วรจากศษิ ย าประโยชนใ หกับคนโดยมิชอบดวยกฎหมาย ขนมธรรมเนียม ประเพณหี รอื ความรูสกึ ของสงั คม ) นางสาวพรนำ้ ทิพย ทำสุข บภาพ (การปนเปนรปู ทรงกลมและเสน โคง ตามภาพทก่ี ำหนดให)

Buddy Teacher ผวู พิ ากษ แบบสะทอ นคดิ ตอแนวคดิ การแกป ชอื่ -นามสกุล นางคำนอย มาทา (รอบที่ Model Teacher เจา ของแผน กรอบความคดิ ดานจิต ชอ่ื -นามสกลุ นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสขุ กเี ซล กลาววา ความสามารถในกา เด็กสามารถแบงออกเปน ระยะแล เรม่ิ จากข้นั แรก คอื การใชมอื ตะปบ นิว้ ตดิ กันกับฝามอื โดยเริ่มใชฝามอื เล่ือนไปใชใ จกลางมือ จากน้ันหวั แม จับข้นั สุดทายคอื การหยิบของดวยห ความเปน ไปไดของลำดับขั้นการจดั การเรียนรู เปาหมายการพฒั มีความเปนไปไดใ นการเช่อื มโยงทฤษฎกี บั กระบวนการจดั ประสบการณ การพัฒนากลา เลือกส่ือ / ใชส่ือไดอยางเหมาะสม ขอเสนอแนะเพ่อื กบั นกั เรยี นและเนือ้ หา ควรทำตวั อยางการปน เพอ่ื ใหเ ดก็ สามารถเรียนรูไ สื่อและเทคนิควิธกี ารมคี วามเหมาะสมสอดคลอ ง ตามหลักทฤษฎี

TMS-PLC-๐๕: ID Reflection & Discussion ปญหาการเรียนรูของนกั เรียน ๒) ตวทิ ยาการเรียนรู การวิเคราะหพื้นฐานเดิม/ขอจำกัดของนกั เรยี น ารใชกลา มเนอ้ื มดั เล็กของ เดก็ ขาดความคลอ งแคลว ในการใชกลา มเน้ือมดั เล็ก ละมขี น้ั ตอนพัฒนาการ โดย บ ขัน้ ตอ มาจับของดว ยนว้ิ 4 ในการปนดนิ นำ้ มนั ขนาดตาง ๆ อตอนใกลๆสนั มอื ตอ มา โอกาสการมีสวนรวมในกจิ กรรมการเรยี นของนักเรียนรายคน มมือจึงคอ ย เคล่ือนมาชวย มีการเปด โอกาสใหเ ด็กไดออกมาแสดงผลงานของตนเอง และ หัวแมมือกับปลายนว้ิ เลาผลงานของตนเอง ฒนา (ตัวแปร) ามเนื้อมัดเลก็ กระบวนการทส่ี รางผลกระทบสงู เปนอยา งไร การปนดนิ น้ำมันเปนทรงกลม หลาย ๆ ขนาด อการปรบั ปรุง ความเหมาะสมของวิธีวดั และเครอื่ งมอื วัดผล นทรงกลมขนาดตา ง ๆ การวดั และประเมนิ ผลมคี วามเหมาะสมกับวยั ไดงาย

Buddy Teacher ผวู พิ ากษ แบบสะทอนคิดตอแนวคดิ การแกป ช่ือ-นามสกุล นางฐติ พิ ร สายธารวนาวาส (รอบที่ กรอบความคิดดา นจติ กีเซล กลาววา ความสามารถในการใ สามารถแบง ออกเปน ระยะและมีขัน้ แรก คอื การใชมือตะปบ ขนั้ ตอมาจับ มือ โดยเร่มิ ใชฝามอื ตอนใกลๆสันมือ จากนั้นหวั แมม อื จงึ คอย เคลอื่ นมาชว ดว ยหวั แมม ือกับปลายน้ิว Model Teacher เจาของแผน ชือ่ -นามสกุล นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสขุ ความเปนไปไดข องลำดบั ข้นั การจดั การเรยี นรู เปา หมายการพ การจดั ลำดบั ข้ันตอนมีการเรียบเรียงไดดี การพัฒนากลา เลือกส่อื / ใชสื่อไดอยา งเหมาะสม ขอ เสนอแนะเพื่อก กับนกั เรียนและเนอ้ื หา ควรจัดวางอุปกรณเ พื่อให ตอการทำกจิ กรรม สอื่ ทใี่ ชม ีขนาดทเี่ หมาะสม มีความนาสนใจ สอดคลองกบั ผเู รยี น

TMS-PLC-๐๕: ID Reflection & Discussion ปญหาการเรียนรขู องนักเรียน ๒) ตวิทยาการเรียนรู การวิเคราะหพนื้ ฐานเดิม/ขอจำกดั ของนักเรยี น เดก็ ปน ดินนำมันตามแบบได แตยังไมค ลองแคลว และ ใชก ลา มเนือ้ มดั เลก็ ของเดก็ นตอนพัฒนาการ โดยเรม่ิ จากข้ัน ขนาดของเสน ดินนำ้ มันยงั ไมส มำ่ เสมอกนั บของดวยน้ิว 4 น้วิ ตดิ กันกับฝา ตอ มาเลอื่ นไปใชใจกลางมอื วยจบั ขน้ั สุดทา ยคือการหยิบของ โอกาสการมีสว นรวมในกิจกรรมการเรยี นของนักเรียนรายคน มกี ารเปด โอกาสใหเ ด็กไดมโี อกาส แสดงผลงานและแสดงความ คดิ เหน็ เกย่ี วกบั ผลงานของตนเอง ทำใหเกดิ ความภูมใิ จใน ผลงานของตนเอง พัฒนา (ตวั แปร) ามเน้อื มดั เล็ก กระบวนการท่ีสรา งผลกระทบสูงเปนอยา งไร การปน ดินนำ้ มนั ประกอบภาพทเี่ ดก็ สนใจ และปน ดนิ น้ำมนั ตามแบบตวั อยา ง การปรับปรงุ ความเหมาะสมของวธิ วี ดั และเครอ่ื งมอื วดั ผล หเ ดก็ ไดหยบั จับงา ย เครื่องมอื ในการวัดและประเมนิ ผลมีความเหมาะสมสอดคลอง กับกจิ กรรมการเรียนรู

Buddy Teacher ผวู พิ ากษ แบบสะทอ นตอแผนจ ชอ่ื -นามสกลุ นางคำนอ ย มาทา (รอบที่ Model Teacher เจาของแผน วตั ถุประสงคข องแผ ชอื่ -นามสกลุ นางสาวพรน้ำทิพย ทำสุข ระบวุ ตั ถุประสงคท ช่ี ดั เจน ขน้ั ตอนการสอน ความเปน ไปไดของวธิ ีสอนกบั การแกป ญ หาเปา หมาย รูปแบบวิธกี ารมีความเปน ไปไดใ นการแกไ ขปญ หา เปาหมายการ เดก็ ขาดความคลอ งแคลวในการใชก ลา มเน้ือมือและไม การพัฒนาก สามารถควบคุมทิศทางในการระบายสีได ขอ เสนอแนะ/ขอ สังเกตอืน่ ๆ แผนฯสรางโอกาสการ ครพู ูดสรปุ กิจกรรม การปนดินนำ้ มันประกอบภาพตาม มีการเปดโอกาสใหเ รปู ทรงตามทก่ี ำหนดให นำไปปน ดนิ นำ้ มันประกอ ไดเลา ผลงานของตนเองใ

จัดประสบการณ TMS-PLC-๐๖: ID Reflection & Discussion ๒) ความละเอียดและความชัดเจนของแผน ? ผนจัดประสบการณ มคี วามชัดเจนและมีความตอ เนอื่ งทกุ กจิ กรรม ระบุ นในการแกป ญ หาทุก รายละเอียดของกิจกรรมที่เด็กปฏบิ ตั ิเพิม่ มากข้ึน รพัฒนา (ตวั แปร) การวัดและประเมินความกาวหนา ในการเรยี นรขู อง นักเรียน กลามเน้ือมัดเล็ก ระบกุ ารวดั และวิธกี ารทเี่ หมาะสมกบั กจิ กรรม การพัฒนากลามเนื้อมัดเล็ก รเรยี นรูแ กนักเรยี นทว่ั ทกุ คน เด็กเลอื กภาพท่ีเด็กสนใจจะ อา นแผนแลวเหน็ ภาพการปฏิบตั กิ ารจัดประสบการณ ? อบภาพ และเปด โอกาสใหเ ดก็ มคี วามชดั เจนตอ เนอ่ื งทำใหเ หน็ ภาพตามลำดบั ของ ใหเ พอ่ื นฟง การจัดประสบการณใ นแตล ะข้นั ตอนการสอน การใหข อมูลยอ นกลับ/การเสรมิ แรงนกั เรยี นอยา งทวั่ ถงึ มีการใหคำชมเชยตอเดก็ และใหเด็กคนอ่นื รว มใหก ำลงั ใจ ดวยการปรบมอื

Buddy Teacher ผูว ิพากษ แบบสะทอนตอ แผนจ ชอ่ื -นามสกลุ นางฐติ ิพร สายธารวนาวาส (รอบท่ี Model Teacher เจา ของแผน วัตถปุ ระสงคข องแ ชอื่ -นามสกุล นางสาวพรน้ำทิพย ทำสขุ ระบวุ ตั ถปุ ระสงคไ ดช ัดเ แผนการจดั ประสบการณแต ความเปน ไปไดของวธิ ีสอนกบั การแกป ญหาเปา หมาย รูปแบบวธิ กี ารมีความเปน ไปไดใ นการแกป ญหา เปา หมายการ เด็กขาดความคลอ งแคลว ในการใชกลามเนอ้ื มอื และไม การพฒั นาทกั สามารถควบคุมทศิ ทางในการระบายสีได แผนฯสรา งโอกาสการเรยี ขอเสนอแนะ/ขอสงั เกตอ่ืน ๆ มกี ารเปดโอกาสใหเ ดก็ ไดเ ล กระตนุ ใหเ ด็กออกมารว มกจิ กรรมทกุ คน กระตุนใหเ ด็กปน ดินน้ำมัน ออกมาเลาผลงานของตนเอ

จัดประสบการณ TMS-PLC-๐๖: ID Reflection & Discussion ๒) ความละเอยี ดและความชัดเจนของแผน ? แผนจดั ประสบการณ ระบุรายละเอียดตามลำดบั ขั้นตอนที่ชัดเจนตอ เน่ือง เจนมคี วามสอดคลอ งกับ ตละกิจกรรม ระบกุ จิ กรรมทเี่ ดก็ ควรปฏิบัตไิ ดช ดั เจน รพัฒนา (ตัวแปร) การวัดและประเมนิ ความกาวหนา ในการเรยี นรขู อง นกั เรียน กษะการคดิ รวบยอด การวัดมคี วามสอดคลอ งกับวธิ กี ารจดั ประสบการณ ยนรแู กน กั เรยี นทั่วทุกคน การพฒั นากลา มเน้อื มัดเล็ก ลอื กภาพที่เด็กสนใจ ครคู อย นตามแบบ และใหเดก็ ได อา นแผนแลว เหน็ ภาพการปฏิบตั กิ ารจัดประสบการณ ? อง แผนการจดั ประสบการณม ีความชัดเจนและตอ เน่อื ง ทกุ กิจกรรม การใหข อ มลู ยอนกลบั /การเสรมิ แรงนกั เรยี นอยา ง ทวั่ ถึง มกี ารใหแรงเสรมิ กับเดก็ ทกุ คนอยา งทั่วถงึ ท้ังการพดู และการแสดงออกทางสีหนา ทาทาง

TMS-PLC-๐๗: Implementation & Classroom Observation แบบสงั เกตชั้นเรียน (Classroom Observation) ประเดน็ การพัฒนานักเรียนตามเปา หมายของทมี PLT ทีก่ ำหนดไว การพัฒนากลามเน้ือมดั เลก็ ปฏบิ ัติการ PLC วงรอบท่ี 2 วันทเ่ี ขา สงั เกตชน้ั เรียน 22 สิงหาคม 2565 1. ชื่อ - นามสกลุ Model Teacher นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสขุ 2. ระดบั ชนั้ อนบุ าลปท ่ี 1/6 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา ๒๕๖5 จำนวนนักเรยี นทมี่ าเรียน ๒4 คน 3. มกี ารบันทึกภาพ / บันทึกวีดทิ ศั น  มี  ไมม ี 4. เร่มิ กจิ กรรมการจัดประสบการณ เวลา ๐๙.3๐ น. - ๑๐.3๐ น. 5. บนั ทกึ การใชเ วลาในการจดั ประสบการณของครู ลำดับ กิจกรรม การใชเ วลา (ประมาณ - นาที) ๑ ข้นั เตรยี มความพรอม ๔ ๒ ขั้นนำเขา สบู ทเรยี น 9 ๓ ขนั้ สอน ๓2 ๔ ขัน้ สรปุ ๑5 6. บนั ทกึ กจิ กรรมท่ีเกิดข้นึ ลำดับ กจิ กรรม การปฏิบตั ิ ใชเ วลา ขอสังเกต มี ไมช ดั เจน ไมมี (นาท)ี 1 การนำเขาสูบทเรยี น  ๔ 2 การตง้ั คำถามกระตุน การคดิ  10 3 อธิบายกจิ กรรม  ๑0 4 การมีสวนรว มของนกั เรียน  ๑๕ 5 นกั เรยี นถามครู/แสดงความคิดเห็น  ๓ 6 ครูตอบคำถามนกั เรยี น  3 7 ครูอธิบายเพิ่มเตมิ นักเรียนรายคน  - 8 ครไู มต อบคำถามนักเรยี นบางคน - 9 ครใู หคำชมเชยนกั เรียน  ๒ 10 ครูลงโทษนกั เรยี น - 11 ครูใหน กั เรียนทำกิจกรรมระหวา ง  การจัดประสบการณ 12 ครูสรุปบทเรยี น  ๑5 13 การประเมินการเรยี นรู  ๑2

๗. ครูดำเนนิ การจดั ประสบการณเปนไปตามแผนการทอี่ อกแบบการจัดประสบการณรวมกับทีม PLC หรือไม  ใช  ไมใช ๘. ผลการใชวธิ กี ารจดั ประสบการณต ามที่ออกแบบ ๘.๑ กระบวนการทีส่ รา งผลกระทบเปล่ยี นแปลงนกั เรยี นไดมากที่สุด (High Impact Process: HP) คือ การปนดนิ นำ้ มนั เปนทรงกลม หลาย ๆ ขนาด 8.2 ประเดน็ ท่ตี องพฒั นา คือ การพัฒนากลามเน้อื มัดเลก็ ๙. หากประเมนิ จากการสงั เกตพฤติกรรมการแสดงออกของนกั เรียน 9.1 มนี ักเรยี นท่เี รยี นรไู ด ประมาณ ๒4 คน 9.2 นักเรียนทีค่ าดวา ยงั เรยี นรูเ รื่องท่คี รูจัดประสบการณไ มไ ด ประมาณ .....-..... คน ๑๐. ตวั อยา งคำถามสำคญั ท่ีกระตุนใหน ักเรยี นคดิ / เกดิ การเรียนรู คือ 10.1 การปน ดนิ นำ้ มันเปนรูปทรงกลม ตองทำอยา งไร ๑๑. ตัวอยา งคำถามสำคัญที่นักเรียนถามครู ท่ีสะทอนความเขา ใจในเนอื้ หาทเ่ี รียนรู 11.1 การปน ดินน้ำมันประกอบภาพรูปทรงไหนท่ีเด็กสามารถทำไดด ว ยตนเอง ๑๒. ตัวอยา งคำถามสำคญั ท่ีนักเรยี นถามครู ท่ีสะทอนวา ยังเรยี นรูเรอื่ งนนั้ ไมได เด็กๆ ทำอยา งไรถงึ จะปนดินน้ำมนั ทม่ี ีขนาดเทา กัน ๑๓. ขอเสนอแนวทางการปรับกระบวนการจัดประสบการณค รั้งตอไป ควรทำตัวอยางการปน ทรงกลมขนาดตาง ๆ เพ่ือใหเดก็ สามารถเรียนรไู ดง า ย ๑๔. เสร็จสิน้ การสอน เวลา ๑๐.30 น. ลงชือ่ ..............................................................ผสู งั เกตชัน้ เรียน (นางคำนอย มาทา) วนั ท่ี 22 สิงหาคม 2565

TMS-PLC-๐๗: Implementation & Classroom Observation แบบสังเกตช้นั เรียน (Classroom Observation) ประเด็นการพัฒนานักเรยี นตามเปา หมายของทมี PLT ทีก่ ำหนดไว การพัฒนากลามเน้ือมดั เลก็ ปฏบิ ัติการ PLC วงรอบท่ี 2 วันทเ่ี ขา สงั เกตชน้ั เรียน 22 สิงหาคม 2565 1. ชือ่ - นามสกลุ Model Teacher นางสาวพรน้ำทพิ ย ทำสขุ 2. ระดบั ช้นั อนบุ าลปท ี่ 1/6 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา ๒๕๖5 จำนวนนักเรยี นทมี่ าเรียน ๒4 คน 3. มีการบันทึกภาพ / บันทึกวดี ทิ ัศน  มี  ไมม ี 4. เร่มิ กิจกรรมการจัดประสบการณ เวลา ๐๙.3๐ น. - ๑๐.3๐ น. 5. บนั ทึกการใชเวลาในการจัดประสบการณของครู ลำดับ กิจกรรม การใชเ วลา (ประมาณ - นาที) ๑ ข้นั เตรยี มความพรอม ๔ ๒ ขั้นนำเขา สบู ทเรียน 9 ๓ ขั้นสอน ๓2 ๔ ขนั้ สรุป ๑5 6. บนั ทกึ กจิ กรรมทเ่ี กดิ ขึน้ ลำดบั กจิ กรรม การปฏิบตั ิ ใชเ วลา ขอสังเกต มี ไมช ดั เจน ไมมี (นาท)ี 1 การนำเขา สูบทเรียน  ๔ 2 การตง้ั คำถามกระตุนการคิด  10 3 อธบิ ายกิจกรรม  ๑0 4 การมีสว นรวมของนกั เรียน  ๑๕ 5 นกั เรียนถามคร/ู แสดงความคิดเหน็  ๓ 6 ครูตอบคำถามนกั เรยี น  3 7 ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ นักเรยี นรายคน  - 8 ครไู มตอบคำถามนักเรียนบางคน - 9 ครูใหค ำชมเชยนกั เรียน  ๒ 10 ครลู งโทษนักเรยี น - 11 ครูใหนักเรียนทำกจิ กรรมระหวาง  การจัดประสบการณ 12 ครสู รุปบทเรยี น  ๑5 13 การประเมินการเรียนรู  ๑2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook