Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001

วิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001

Description: วิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001
หนังสือเรียน กศน.รายวิชาบังคับ หลักสูตร 2551
สาระความรู้ สาระทักษะการดำเนินชีวิต
ระดับ ประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง (ทช11001) ระดับประถมศกึ ษา (ฉบับปรับปรงุ 2560) หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หามจาํ หนาย หนังสือเรยี นเลมนี้ จัดพมิ พด วยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพอ่ื การศึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลขิ สิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวิชา เศรษฐกิจพอเพยี ง (ทช11001) ระดบั ประถมศกึ ษา ฉบับปรบั ปรุง 2560 ลิขสทิ ธิเ์ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการลาํ ดับท่ี 18/2555

คาํ นํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เมือ่ วันท่ี 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ ความเชื่อพ้นื ฐานในการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี นทีม่ กี ลมุ เปา หมายเปน ผใู หญมีการเรยี นรแู ละส่งั สมความรู และประสบการณอยา งตอ เนอ่ื ง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธกิ ารไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย ทางการศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง รายไดท่ีมั่งค่ังและม่ันคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก รับผิดชอบตอ ตนเองและผอู ื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพ จิ ารณาทบทวนหลกั การ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการ เรียนรูท่ีคาดหวัง และเน้ือหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอมเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ กจิ กรรม ทาํ แบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นเรยี นรกู บั กลมุ หรือศกึ ษา เพม่ิ เติมจากภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ แหลง การเรยี นรูและสื่ออ่นื การปรบั ปรงุ หนังสือเรียนในคร้งั น้ี ไดร บั ความรว มมอื อยางดีย่งิ จากผทู รงคณุ วุฒใิ นแตละสาขาวิชา และผเู กีย่ วขอ งในการจดั การเรยี นการสอนทีศ่ ึกษาคนควา รวบรวมขอ มูลองคความรูจากสื่อตาง ๆ มาเรียบ เรยี งเนื้อหาใหค รบถวนสอดคลอ งกบั มาตรฐาน ผลการเรยี นรูท ีค่ าดหวงั ตัวช้ีวดั และกรอบเนื้อหาสาระของ รายวชิ า สาํ นกั งาน กศน.ขอขอบคุณผูม ีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียนชุดน้ี จะเปนประโยชนแ กผ ูเรียน ครู ผูสอน และผเู กย่ี วของในทกุ ระดบั หากมขี อ เสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน.ขอนอมรบั ดวยความขอบคุณยงิ่

สารบัญ หนา คาํ นํา 1 คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สือเรียน 8 โครงสรางรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง 14 บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพียง รากฐานการดาํ เนินชวี ติ ของคนไทย 25 บทที่ 2 ปฏิบตั ติ นดี มคี วามพอเพียง 35 บทที่ 3 รใู ช รจู าย บทท่ี 4 ชีวติ สดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพียง บทที่ 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือใหเกดิ ความม่ันคง มัง่ ค่ังและยั่งยืน แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานุกรม คณะผูจัดทํา

คําแนะนาํ ในการใชหนังสอื เรียน หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา เปน หนังสอื เรยี นทจี่ ัดทําขนึ้ สาํ หรบั ผเู รียนทเ่ี ปนนกั ศกึ ษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสอื เรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ผูเรียนควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวิชาใหเ ขา ใจในหัวขอ สาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวังและขอบขา ย เน้อื หา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตล ะบทอยา งละเอียดและทํากิจกรรมตามท่ีกําหนดแลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมท่กี าํ หนด ถา ผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเน้ือหา น้ันใหมใหเ ขาใจกอ นที่จะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมทายเร่อื งของแตละเรอื่ ง เพื่อเปน การสรปุ ความรู ความเขาใจของเนือ้ หาในเรื่อง นั้น ๆ อีกคร้งั และการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของแตละเน้ือหาแตละเรอื่ ง ผเู รียนสามารถนําไปตรวจสอบกบั ครแู ละ เพือ่ น ๆ ทรี่ วมเรียนในรายวชิ าและระดบั เดียวกนั ได 4. หนงั สอื เรียนเลม นี้มี 5 บทคือ บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพยี ง รากฐานการดําเนินชีวติ ของคนไทย บทที่ 2 ปฏบิ ัตติ นดี มคี วามพอเพยี ง บทที่ 3 รูใช รูจาย บทที่ 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพียง บทที่ 5 การประกอบอาชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพือ่ ใหเกดิ ความม่นั คง มัง่ ค่งั และยั่งยนื

โครงสรางรายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001) สาระสาํ คัญ เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน ปรัชญาทพ่ี ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รชั กาลท9ี่ ) ทรงพระราชดาํ รัสชแี้ นะแนวทางการดํารงอยแู ละการปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับใหด ําเนินชีวิตไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือใหก า วทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่จะตอ งมีระบบภูมิคุม กันในตัวท่ีดี พอสมควรตอผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลย่ี นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ท้ังน้ี จะตอ งอาศัยความ รอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางย่ิงในการนําวิชาการตา ง ๆ มาใชใ นการวางแผนและ ดาํ เนินการทุกขัน้ ตอน และขณะเดยี วกนั จะตองเสริมสรา งพน้ื ฐานจิตใจของคนในชาตใิ หม ีสํานึกในคุณธรรม ความซือ่ สัตยสจุ รติ และใหม คี วามรอบรูท ีเ่ หมาะสมดําเนนิ ชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มสี ตปิ ญญาและ ความรอบคอบ เพอ่ื ใหส มดลุ และพรอ มตอการรองรับการเปล่ยี นแปลงอยางรวดเรว็ และกวางขวาง ท้ังดาน วัตถุ สังคม สงิ่ แวดลอมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยา งดี ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวงั 1. อธบิ ายแนวคิด หลกั การ ความหมาย ความสาํ คญั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได 2. บอกแนวทางในการนําปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใชในการดาํ เนินชีวติ 3. เหน็ คณุ คา และปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4. แนะนาํ สง เสริมใหส มาชกิ ในครอบครัวเหน็ คุณคา และนาํ ไปปฏิบตั ใิ นการดําเนนิ ชวี ิต 5. บอกแนวทางและสามารถเริ่มตน ประกอบอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได ขอบขา ยเนอื้ หา บทที่ 1 เศรษฐกจิ พอเพยี ง รากฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนไทย บทที่ 2 ปฏบิ ัติตนดี มคี วามพอเพียง บทที่ 3 รูใช รูจา ย บทท่ี 4 ชวี ติ สดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง บทท่ี 5 การประกอบอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอื่ ใหเ กิดความม่นั คง มัง่ ค่งั และยั่งยืน

1 บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพียงรากฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนไทย สาระสาํ คญั เศรษฐกิจพอเพียงเปน ปรัชญาท่พี ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รชั กาลท่ี9) ทรงมพี ระราชดาํ รสั ช้แี นะทางการดําเนินชีวิตแกพ สกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดระยะเวลานานกวา 30 ป ตง้ั แตก อนเกดิ วกิ ฤตการณท างเศรษฐกจิ ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกบั ภาวะวกิ ฤติเศรษฐกิจนบั วาเปน บทเรียนสําคัญท่ีทําใหป ระชาชนเขาใจถึงผลการพัฒนา ซ่ึงใชเปน แนวทางการดําเนินชีวิตที่อยูบน พืน้ ฐานของทางสายกลางและความไมป ระมาท คาํ นึงถึงความพอประมาณ การมีเหตุผล การสรางภมู คิ มุ กนั ที่ดีตอ ตนเองตลอดจนใชค วามรูและคณุ ธรรมเปนพนื้ ฐานในการดาํ รงชีวิต ท่ีสําคัญจะตองมีสติปญญาและ ความขยนั หม่ันเพียร ซง่ึ จะนาํ ไปสูความสขุ ในการดาํ เนนิ ชวี ิตอยา งแทจริง ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง อธบิ ายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาํ คญั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความเปนมา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เร่อื งท่ี 2 ความหมาย ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เร่อื งท่ี 3 หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เรื่องท่ี 4 ความสาํ คญั ของเศรษฐกจิ พอเพียง

2 เร่ืองท่ี 1 ความเปนมาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน แนวทางการดาํ เนินชวี ติ และวถิ ปี ฏิบัตทิ พ่ี ระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลที9่ ) ทรงมีพระราชดาํ รัสช้ีแนะแกพ สกนิกรชาวไทยมานานกวา 30 ป ดังจะเหน็ ไดวา ปรากฏความหมายเปนเชิงนัยเปน ครั้งแรกในพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่9) ในป พ.ศ. 2517 ท่ีพระองคไดท รงเนนยํ้า แนวทางการพัฒนาบนหลกั แนวคิดทพ่ี ง่ึ ตนเอง เพ่ือใหเกิดความพอมี พอกิน พอใชข องคนสวนใหญ โดยใช หลักความพอประมาณ การคํานึงถึงการมีเหตุผล การสรางภูมิคุม กัน ท่ีดีในตัวเอง และทรงเตือนสติ ประชาชนคนไทยไมใ หป ระมาท ตระหนกั ถึงการพัฒนาอยา งเปน ขนั้ เปนตอนที่ถกู ตอ งตามหลกั วิชา และการ มีคุณธรรมเปน กรอบในการปฏิบัตแิ ละการดาํ รงชีวิต ในชว งทปี่ ระเทศไทยประสบกบั ภาวะวิกฤตเิ ศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 นับเปน บทเรียนสําคัญท่ีทํา ใหป ระชาชนเขาใจถึงผลจากการพฒั นาทไ่ี มคาํ นึงถึงระดับความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ พึ่งพิง ความรู เงินลงทุน จากภายนอกประเทศเปนหลัก โดยไมไดส รางความมนั่ คงและเขมแขง็ หรอื สรางภมู ิคุมกัน ทีด่ ีภายในประเทศ ใหสามารถพรอมรบั ความเส่ียงจากความผันผวนของปจจัยภายในและภายนอกจนเกิด วกิ ฤตการณท างเศรษฐกจิ ครง้ั ใหญสง ผลกระทบอยา งรุนแรงตอ สังคมไทย รฐั บาลตระหนกั ถึงความสาํ คญั ใน การแกไ ขปญ หาดังกลา วใหเกิดการพัฒนาที่ย่ังยืนในสังคมไทยอยางเปน ระบบดวยการกําหนดนโยบาย ดานการศกึ ษา โดยนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน แนวทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดบั ใชคุณธรรมเปนพ้นื ฐานของกระบวนการเรยี นรทู ่ีเชือ่ มโยงความรวมมือระหวางสถาบัน การศึกษา สถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา ใหม ีสว นรวมในการจัดการศึกษาเพื่อใหผูเ รียนเกิด ทักษะความรู ทกั ษะและเจตคติ สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชในชีวิตประจําวนั ไดอยางสมดลุ และยัง่ ยนื เรอื่ งที่ 2 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คอื อะไร เศรษฐกิจพอเพยี ง เปนปรัชญาช้ถี งึ แนวทางการดํารงอยูแ ละปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตง้ั แตครอบครัว ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดับรัฐ ทงั้ ในการพัฒนาและการบริหารประเทศใหดําเนินไปในทาง สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหกา วทันตอยุคโลกาภิวัตนค วามพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่ตอ งมีระบบคุม กันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งน้ี จะตอ งอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อยา งยงิ่ ในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชใ นการวางแผน

3 และการดาํ เนินการทกุ ขน้ั ตอนและขณะเดียวกัน จะตอ งเสริมสรา งพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจาหนา ที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตยสุจริตและ ใหม ีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดว ยความอดทน มีความเพียรพยายาม มีสติปญญา และความ รอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับความเปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็ว และกวา งขวาง ทงั้ ทางดา นวัตถุ สงั คม ส่งิ แวดลอ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่ตองมี ระบบภูมิคุม กันในตัวท่ีดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ท้ังน้ีจะตอ งอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยา งยิ่งในการนํา วิชาการตาง ๆ มาใชใ นการวางแผน และการดําเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะตอ ง เสริมสรา งพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจ ในทุกระดับ ใหม ีสาํ นึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสัตยสุจริต และใหม ีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ดว ยความอดทน ความเพียร มีสติปญ ญา และความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอ มตอ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็วและกวา งขวาง ทั้งทางดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอ ม และ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี เร่ืองท่ี 3 หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน ปรัชญาช้ีแนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจาก วิถชี ีวิตดั้งเดมิ ของสังคมไทย สามารถนาํ มาประยกุ ตใ ชไ ดต ลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงในระบบที่มี การเปลี่ยนแปลงอยูต ลอดเวลา มุงเนนการรอดพน จากภัย และวิกฤติ เพื่อความม่ันคงและความยั่งยืน ของการพัฒนา

4 คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชก ับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนน การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาตนอยางเปนขน้ั ตอน แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง ความพอเพยี งจะตอ งประกอบดว ย 3 หวง 2 เงื่อนไข ดงั นี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ี่ไมนอ ยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเบียดเบยี นตนเอง และผอู ่ืน เชน การผลติ และการบริโภคทอ่ี ยใู นระดับพอประมาณ

5 ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพียงน้ัน จะตอ งเปนไปอยา งมี เหตผุ ลโดยพจิ ารณาจากเหตุปจจยั ทเี่ กี่ยวของตลอดจนคํานงึ ถงึ ผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทําน้ัน ๆ อยางรอบคอบ การมีภูมิคุม กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลง ดานตา ง ๆ ที่จะเกิดข้ึนโดยคํานึงถึงความเปน ไปไดข องสถานการณตาง ๆ ท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคต ท้ังใกลแ ละไกล เงอื่ นไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงน้ัน ตอ งอาศัยท้ังความรู และ คุณธรรมเปนพ้ืนฐาน กลา วคอื  เง่อื นไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเก่ียวกับวิชาการตาง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ งอยางรอบดา น ความรอบคอบที่จะนําความรูเ หลาน้ันมาพิจารณาใหเชื่องโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผน และ ความระมัดระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ  เง่ือนไขคุณธรรม ทจี่ ะตองเสรมิ สรา งประกอบดวย มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซื่อสัตย สจุ ริตและมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใชส ติปญญาในการดาํ เนินชีวติ เร่อื งท่ี 4 ความสําคญั ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความสําคญั ของเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีสงผลตอประชาชน ดังนี้ 1. เกิดแนวคิดท่มี งุ เนนพึง่ พาตนเองเปนหลกั ทมี่ อี ยใู นตัวเอง เพ่อื นาํ มาพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ใหเ กิด ประโยชนส ูงสุดตอตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน ซึ่งจะทาํ ใหสามารถดาํ รงชวี ิตอยไู ดอ ยางยั่งยืน 2. ทาํ ใหม ีความเขม แข็งในจติ ใจ โดยยึดหลกั การพ่งึ พาตนเองเปนหลัก เม่ือพึ่งตนเองไดแ ลว ทําให จติ ใจสงบเขม แข็ง ไมวิตกกังวล 3. เกิดความรว มมือ ความกระตือรอื รน ความสามคั คีในชุมชน และประเทศชาติ 4. เกดิ การมสี ว นรว ม คิดวเิ คราะห แกปญหารว มกนั 5. ทาํ ใหม คี วามเปนอยู พอมี พอกิน ลดปญหาความยากจน

6 “เมือ่ สังคมไทยเปนสงั คมเศรษฐกิจพอเพยี ง คนไทยดํารงชวี ติ บนทางสายกลาง มสี ามหวงสําคญั คลอ งใจในการดําเนนิ ชีวติ ไดแ ก ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมภี ูมคิ ุมกนั ในตัวที่ดี มีสองเงือ่ นไขกํากับชวี ติ อยา งเครง ครัด ไดแ ก เงื่อนไขความรูท ป่ี ระกอบดว ยรอบรู รอบคอบ ระมดั ระวัง เง่ือนไขคณุ ธรรม ซง่ึ มคี วามซอ่ื สัตยส จุ ริต อดทน เพียร มสี ติปญ ญา อยูใ นชีวิต ชีวิตมีแตค วามสุข เศรษฐกิจ สดใส สังคม อุนใจ สิ่งแวดลอม อดุ มสมบรู ณ วฒั นธรรม เขม แข็งยั่งยนื ”

7 กิจกรรมที่ 1 ตอบคําถามตอไปนี้ 1. จงอธิบายความหมายของ “เศรษฐกจิ พอเพียง” ทถี่ ูกตอ งท่ีสดุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 2. หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปนอยา งไร ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญตอ การดําเนินชวี ติ ในปจจุบนั อยา งไร? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ผูเรียนสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในเร่ืองอะไรบาง ใชวิธีการ อยางไร? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8 บทท่ี 2 ปฏิบัติตนดี มคี วามพอเพียง สาระสาํ คญั การปฏิบัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดังพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิ พลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่9) ทรงมพี ระราชดํารสั นํามาปฏิบัตติ น คือ ยึดความประหยดั ประกอบอาชีพดว ย ความถกู ตอง สจุ ริตเลกิ แกงแยง ผลประโยชน และแขงขันกนั ในทางการคา ไมห ยุดนิง่ ที่จะหาทางใหช วี ิต หลุดพนจากความทุกขยากและปฏบิ ตั ิตนในแนวทางที่ดี ลด ละสิง่ ชัว่ ใหหมดส้ินไป ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวัง 1. เห็นคณุ คาและปฏิบตั ิตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. บอกแนวทางในการนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ ชในการดําเนนิ ชีวิตได ขอบขา ยเน้อื หา เร่ืองท่ี 1 วธิ คี ดิ วธิ ีปฏิบตั ิ วิธใี หค ณุ คาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เรือ่ งท่ี 2 การปฏิบตั ติ นตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

9 เร่ืองที่ 1 วิธคี ดิ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ วิธใี หค ณุ คาตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง วิธคี ดิ การจะนําปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใชใ หไดผลดใี นการดาํ เนินชวี ิต จําเปน จะ ตอง เร่ิมตนจากการมีความรู ความเขาใจท่ีถูกตองวา เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงอะไร และมีหลักการ สาํ คัญอะไรบางท่ีจะนําไปใชเปนแนวทางสูการปฏิบัติ ตลอดจนเห็นถึงประโยชนจ ากการที่จะนําไปใชใ น ชวี ิตประจาํ วนั เพอื่ ใหรอดพน และสามารถดาํ รงอยไู ดอยางมัน่ คงและย่งั ยืน วธิ ปี ฏิบัติ หลงั จากทีไ่ ดท าํ ความเขาใจอยา งถูกตอ งแลว ก็จําเปน จะตอ งทดลองนํามาประยุกตใ ช กับตนเอง ทง้ั ในชวี ติ ประจําวนั และการดําเนินชีวิตสามารถอยูร วมกับผูอื่นไดอ ยางมีความสุข โดยคํานึงถึง การพ่ึงพาตนเองเปน เบื้องตน การทําอะไรที่ไมสุดโตงไปขา งใดขางหน่ึง การใชเหตุผลเปนพ้ืนฐาน ในการตดั สินใจและการกระทําตา ง ๆ ตลอดจนการสรา งภูมิคุมกันที่ดี เพ่ือพรอ มรับตอ การเปล่ียนแปลง จะไมท าํ อะไรทเี่ สี่ยงจนเกินไปจนทาํ ใหตนเองหรือคนรอบขางเดือดรอนในภายหลัง การใฝร ูอ ยา งตอเน่ือง และใชความรดู วยความรอบคอบและระมัดระวัง ความซอ่ื สตั ย ความไมโลภ ความรูจ ักพอ ความขยันหมั่น เพยี ร การไมเ บียดเบียนกนั การรูจ ักแบง ปนและชว ยเหลือซ่ึงกันและกัน อยา งไรก็ตาม การท่ีจะสรางภาวะความรคู วามเขา ใจทถี่ กู ตอ งอยา งลึกซึ้งเกีย่ วกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อใหส ามารถนําไปประยกุ ตใ ชไ ดนน้ั จาํ เปนที่จะตองเรียนรูดว ยตนเองหรือรวมกบั ผอู ื่น วธิ ีการใหคณุ คา การเรยี นรูจ ากการปฏบิ ัติ การแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นและประสบการณระหวา ง ผูที่มีความสนใจรว มกันจะทําใหส ามารถตระหนักถึงประโยชนและความสุขที่จะไดร ับ จากการนําหลัก เศรษฐกิจพอเพียงไปใช แลว เกิดการปรับเปลี่ยนความคิดเห็นและนอ มนําเอาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน การดําเนินชวี ิตตอ ไป จิตสํานึกที่ตระหนักถึงความสุขท่ีเกิดจากความพอใจในการใชช ีวิตอยางพอดีและรูจักระดับ ความพอเพียงจะนาํ ไปสูก ารประกอบสมั มาอาชีพหาเล้ียงตนเองอยา งถูกตอ ง ไมใหอ ดอยากจนเบียดเบียน ตนเอง หรือไมเกิดความโลภจนเบียดเบยี นผูอ่นื แตม ีความพอเพียงท่ีจะคิดเผื่อแผแบงปนไปยังคนอ่ืน ๆ ในชมุ ชนหรอื องคกรและสงั คมได อยา งไรกต็ าม ระดับความพอเพียงของแตล ะคนจะไมเ ทา กนั หรอื ความพอเพียงของคนคนเดียวกนั แตต า งเวลาก็อาจเปลี่ยนแปลงไปได แลวแตเง่ือนไขภายในและภายนอก ตลอดจนสภาพแวดลอ มที่มี ผลตอ ความพอเพยี ง

10 เรือ่ งที่ 2 การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในฐานะทีเ่ ปนพสกนิกรชาวไทย จึงควรนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช (รัชกาลท่9ี ) ทรงมีพระราชดํารัสมาประพฤติปฏิบัติตน ดงั นี้* 1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคา ใชจ ายในทุกดาน ลดละความฟุม เฟอ ยในการดํารงชีวิตอยาง จริงจงั ดงั กระแสพระราชดาํ รัส ความวา “ ...ความเปนอยทู ่ตี องไมฟ มุ เฟอย ตอ งประหยัดไปในทางทีถ่ ูกตอง...” 2. ยึดถือการประกอบอาชีพดว ยความถูกตอ งสุจริต แมจ ะตกอยูในภาวะขาดแคลนใน การดาํ รงชวี ิตกต็ าม ดงั กระแสพระราชดํารสั ความวา “...ความเจริญของคนท้ังหลายยอมเกิดจากการประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพชอบเปน หลักสาํ คัญ...” 3. ละเลกิ การแกงแยง ผลประโยชนและแขง ขนั กันในทางการคาขาย ประกอบอาชีพแบบตอ สูกัน อยางรนุ แรงดงั อดีต ดังกระแสพระราชดํารัสในเรอื่ งนี้ ความวา “...ความสุขความเจริญอันแทจริงน้ัน หมายถึงความสุขความเจริญท่ีบุคคลแสวงหาไดด วย ความเปน ธรรม ทัง้ ในเจตนาและการกระทํา ไมใชไดม าดว ยความบังเอิญหรือดว ยการแกงแยง เบียดบังมา จากผูอ่ืน...” 4. ไมหยดุ นิ่งทีจ่ ะหาทางใหช ีวิตหลุดพน จากความทุกขย ากครง้ั นี้ โดยตอ งขวนขวายใฝหาความรูให เกิดมีรายไดเพิ่มพูนข้ึนจนถึงข้ันพอเพียงเปน เปาหมายสําคัญ ดังกระแสพระราชดํารัสตอนหน่ึงท่ีให ความหมายชัดเจนวา “...การท่ตี อ งการใหท ุกคนพยายามท่ีจะหาความรู และสรา งตนเองใหมั่นคงนี้ เพื่อตนเอง เพื่อจะ ใหตนเองมีความเปนอยทู ีก่ า วหนา ท่มี คี วามสุข พอมีพอกินเปนขั้นหนึ่ง และข้ันตอ ไปก็คือการมีเกียรติวา ยนื ไดด วยตนเอง...” 5. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลด ละ สิ่งชั่วใหห มดส้ินไป ทั้งดว ยสังคมไทยท่ีลม สลายลงในคร้ังนี้ เพราะยังมีบุคคลจํานวนมิใชนอยท่ีดําเนินการโดยปราศจากความละอายตอแผนดิน ดังกระแสพระราช ดาํ รสั ความวา “... พยายามไมก อ ความชว่ั ใหเ ปน เครือ่ งทําลายตัว ทําลายผอู ่ืน พยายามลด ละ ความช่ัวท่ีตัวเอง มอี ยู พยายามกอความดใี หแ กต ัวอยูเ สมอ พยายามรักษาและเพ่ิมพูนความดีท่ีมีอยูน ั้นใหง อกงามสมบูรณ ข้นึ ...” ----------------------------------- * จากหนงั สอื เศรษฐกจิ พอเพียง สาํ นักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ หนา 27 พิมพครัง้ ท่ี 3 กรกฎาคม 2548

11 หลักของความพอประมาณ (พอ ดี) 5 ประการ (จากขอ สรุปของสภาพฒั น) 1. พอดีดา นจติ ใจ เขมแขง็ มีจิตสาํ นึกทดี่ ี เอือ้ อาทร ประนปี ระนอมนึกถึงประโยชนส ว นรวม 2. พอดีดา นสังคม ชว ยเหลอื เกอ้ื กูล รูจกั สามคั คี สรา งความเขมแข็งใหค รอบครัว และชมุ ชน 3. พอดีดา นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจ ักใชแ ละจัดการอยางฉลาด และรอบคอบ เกดิ ความยัง่ ยืนสูงสุด 4. พอดีดา นเทคโนโลยี รูจ กั ใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมและสอดคลอ งตอ ความตองการเปน ประโยชน สภาพแวดลอ มและเกดิ ประโยชนต อสวนรวมและพัฒนาจากภูมิปญ ญาชาวบานกอ น 5. พอดีดานเศรษฐกิจ เพ่ิมรายได ลดรายจา ย ดํารงชีวิตอยางพอควรพออยู พอกิน สมควรตาม อตั ภาพและฐานะของตน หลกั ของความมเี หตุผล 1. ยึดความประหยดั ตดั ทอนคา ใชจายในทกุ ดา น ลดความฟมุ เฟอ ยในการดํารงชีวติ 2. ยึดถือการประกอบอาชีพดว ยความถูกตอ งสุจริต แมจ ะตกอยูใ นภาวะขาดแคลน ในการดํารงชวี ิต 3. ละเลิกการแกงแยง ผลประโยชน และแขงขันในทางการคา ขายประกอบอาชีพ แบบตอ สูก ัน อยางรนุ แรง 4. ไมห ยดุ นิ่งท่จี ะหาทางในชวี ติ ใหหลดุ พนจากความทกุ ขยาก 5. ปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ดี ี ลด เลกิ สงิ่ ยั่วยุกิเลสใหห มดส้นิ ไป ไมกอความช่วั ใหเปนเครื่องทําลาย ตวั เอง ทาํ ลายผอู ืน่ หลักของการมีภมู ิคุมกัน 1. มีความรู รอบคอบ และระมดั ระวัง 2. มคี ณุ ธรรม ซื่อสัตยสุจริต ขยนั อดทนและแบง ปน การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน แบบอยา งและแนวทางใหบ ุคคล ครอบครัว ชุมชน นํามาประ ยกุ ตใ ชในการดาํ รงชวี ติ ดงั นี้ 1. ยึดหลักความประหยัด ไมใชจ ายฟุมเฟอย ใชในส่ิงทจ่ี าํ เปน และรูจักเกบ็ ออมไวใชในอนาคต 2. ยึดหลักความซื่อสตั ยส จุ รติ ความถกู ตอ งในการประกอบอาชพี และการดําเนนิ ชีวิตไมเ หน็ แกต ัว 3. ยึดหลักความไมแ กง แยงชิงดีกัน รูจักการพึ่งพากัน ไมเอารัดเอาเปรียบและแขง ขัน โดยใชว ธิ รี ุนแรง

12 4. ยึดหลักการใฝรูใฝเรียน หมั่นศึกษาหาความรู ใชส ติปญญาในการดําเนินชีวิตการประกอบ อาชพี เพือ่ ใหม รี ายไดไ วใชจ า ย โดยยดึ ความพอเพยี งเปน หลกั 5. ยดึ หลกั การทําความดี ลด ละ ความช่ัวและส่ิงอบายมุขทั้งปวง เพื่อใหตนเอง ครอบครัว และ สงั คม อยูอยางเปน สุข กจิ กรรมท่ี 2 หลังจากผูเรยี นไดเ รียนรหู ลักการเศรษฐกจิ พอเพียงจนมีความรู ความเขาใจ ยอมรบั และตัดสินใจลงมือ ปฏิบัติ ประยุกตใชในการดําเนินชีวิต และประกอบอาชีพของตนเองน้ัน ผูเรียนมีแนวทางสามารถนํามา ปฏบิ ตั ิกบั ตวั เอง ครอบครวั อยางไร? เน้อื หา แนวทางปฏบิ ตั ิ 1.พอประมาณ ในการดาํ เนินชีวิต เชน (การช้ือสนิ คา การใชเงิน) .................................................................................................................................... 2.ความมเี หตุผล .................................................................................................................................... 3.มีภูมิคุม กนั ทีด่ ี ในการประกอบอาชพี เชน (การลงทนุ การแปรรูป) .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ในการดําเนินชีวิต เชน (การตัดสนิ ใจชือ้ สนิ คา การใชเงิน) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ในการประกอบอาชพี เชน (การตดั สินใจลงทุน) .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ในการดําเนนิ ชวี ติ เชน (การสาํ รองของใช การปอ งกนั อบุ ตั ภิ ยั ) .................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ในการประกอบอาชพี เชน (การสาํ รองเงนิ ลงทุน การสํารองสนิ คา) .................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

13 เนอื้ หา แนวทางปฏิบัติ 4.เงอื่ นไขความรู รอบรู เชน (ความรูเรอ่ื งอาชพี นนั้ ๆ) ......................................................................................................................................... 5.เง่อื นไขคณุ ธรรม รอบคอบ เชน (รอบคอบในการใช).................................................................................. ........................................................................................................................................ ระมดั ระวงั เชน (การทาํ บัญช)ี ......................................................................................... ซ่ือสตั ย เชน (ใชวตั ถุดบิ ท่ไี มม ีสารพษิ ปนเปอ น) …………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………….………………………… อดทน เชน (อดทนในการดาํ เนินการ)………………………………………..………………………….. แบง ปน เชน (มคี วามเอ้ือเฟอ เผอื่ แผ) ...............................................................................

14 บทที่ 3 รใู ช รูจาย สาระสําคัญ เมอื่ เราประกอบอาชพี มรี ายได การนําเงินไปใชจายส่ิงใดตอ งจดทุกอยา ง ทุกคร้ังท่ีจายออกไป การบันทึกรายรับ รายจา ยเปนหลักฐาน แสดงแหลงที่มาของรายได รายจา ยและเงินออม อีกท้ังเปน การเตอื นตนเองและครอบครวั วา ในแตละเดอื นมีคา ใชจ า ยอะไรบางที่ไมจ ําเปน รายการใดสามารถตัดท้ิง ไปไดในเดอื นตอไป ครอบครวั ควรเริม่ ตนจดรายรับ - รายจา ยจนเปน นสิ ยั ครอบครัวเราจะไดไ มยากจน ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง 1. วางแผนการใชจ ายของตนเองและครอบครวั ได 2. วิเคราะหส ภาพรายรบั - รายจา ยของครอบครัวได 3. บันทกึ รายรับ - รายจา ยของตนเองและครอบครวั ได 4. อธบิ ายวธิ ีการลดรายจายและเพ่มิ รายได 5. อธิบายวธิ ีการออมเงินได ขอบขา ยเนอื้ หา เรื่องที่ 1 การวางแผนการใชจา ยของตนเองและครอบครัว เร่ืองท่ี 2 การบันทึกรายรบั - รายจายของตนเองและครอบครัว เรอ่ื งท่ี 3 การลดรายจา ยและเพิม่ รายไดในครัวเรอื น เรื่องที่ 4 การออม

15 เรื่องท่ี 1 การวางแผนการใชจ ายของตนเองและครอบครัว กอ นทจ่ี ะใชจ ายเงิน เราควรจดั สรรเงินทมี่ อี ยใู หต รงกับความตอ งการ โดยการวางแผนการใชจาย เงนิ ไวกอ น การวางแผนการใชจ า ยเงิน หมายถึง การที่บคุ คลจดั สรรรายรบั - รายจาย ของตนเอง ซ่งึ มแี นวทาง ในการปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. การหารายได ทุกคนตองประกอบอาชพี เพื่อใหมีรายไดประจาํ และหากมเี วลาวา งควรหารายได เสรมิ เพอ่ื จะไดมรี ายไดพ อกบั การใชจายในการดํารงชีพ 2. การใชจ า ยใหพ ิจารณาใชจา ยในส่ิงท่ีจําเปน จริง ๆ เชน ใชจา ยเปนคา อาหาร เครื่องนุงหม ท่ีอยูอาศัย ยารักษาโรค โดยคํานึงถึงคุณคาของส่ิงท่ีซ้ือวามีคุณภาพและคุมคา เงิน ไมใชซ ้ือเพราะ คําโฆษณาชวนเชอ่ื การประหยดั ควรรูจักเก็บออมเงินไวใ ชจ ายเม่ือคราวจําเปน เชน เม่ือเจ็บปวย โดยวางแผนใหมี รายจา ยนอยกวารายไดมากที่สุดก็จะมีเงินเก็บ เครื่องใชท่ีชํารุดเสียหาย ควรซอมแซมใหใ ชไดอยูเ สมอ ประหยัดพลังงานและทะนุถนอมเคร่ืองใชใหมอี ายุการใชงานไดน าน การเปนหนี้โดยไมจ ําเปน เพราะยืมเงินมาใชจ ายสุรุยสุรา ย เชน การยืมเงินมาจัดงานเล้ียง ในประเพณีตา ง ๆ จะทําใหช ีวิตมีความลําบาก สรา งความเดือดรอนใหต นเองและครอบครัว แตถ า หาก เปนหน้ี เพราะนาํ เงนิ มาลงทุนในกจิ การท่สี ามารถใหผลคมุ คาก็อาจจะเปนหนี้ได 3. การบนั ทึกรายรบั - รายจา ย เปน วิธกี ารวางแผนทส่ี ําคญั การบันทึกรายรับ - รายจาย ในชีวิต ประจําวัน เพ่ือใหท ราบวา ในวันหน่ึง สัปดาหห นึ่ง เดือนหนึ่ง เรามีรายไดจากอะไร เทา ไรและจายอะไร อยางไร ควรจะวางแนวทางในการใชจา ยอยางไรจึงจะพอและท่ีเหลือสะสมไวเ ปนทุนหรือเก็บสะสมไว ใชจายในยามจาํ เปน การบนั ทึกรายรบั - รายจา ย จึงเปน ขอมลู หลักฐานแสดงใหเ ห็นแหลงที่มาของรายได และทไ่ี ปของรายจา ย ซึง่ จะนาํ ไปสกู ารตง้ั เปา หมายลดรายจา ย การเพิ่มรายได และการออมตอ ไป เรื่องท่ี 2 การบันทกึ รายรบั - รายจายของตนเองและครอบครัว เมื่อเรามรี ายไดแ ละนําเงินรายไดไปใชจ า ยซื้อสิ่งท่จี าํ เปน ส่ิงใดท่ีมีราคาสูงก็ไมจ ําเปนตอ งซ้ือทันที แตใหต้ังเปา หมายไวว า จะเก็บหอมรอมริบไวจนมากพอแลวจึงซ้ือ ดังนั้นเราจึงควรวางแผนการใชจ ายไว ลว งหนา วา เราตองซือ้ อะไร เทาไหร เมื่อใด เราคงเคยไดย ินขาวชาวนาขายที่นาไดเงินเปน แสนเปน ลา น แตเ มื่อเวลาผานไปไมก ่ีป เขากลับ ไมเ หลือเงนิ เลย ตองไปเชา ทน่ี าของคนอนื่ ทาํ กนิ เรื่องดังกลาวเปนตวั อยางของบคุ คลท่ไี มมกี ารวางแผน การใชเ งนิ ดงั นน้ั กอนที่เราจะใชจา ยเงนิ เราควรจดั สรรเงนิ ที่มีอยู ใหตรงกับความตอ งการดวยการวางแผนไว

16 วิธีการวางแผนท่ีสาํ คัญวธิ ีการหนงึ่ คอื การบนั ทกึ รายรับ - รายจาย “หากอยากมชี ีวติ ที่มั่งค่ังสมบูรณ ตอ งลงมือบันทึกรายรบั - รายจายตงั้ แตบ ดั นี”้ ขอควรคํานงึ ในการใชจ ายเงนิ และจดบนั ทกึ รายรับ รายจาย 1. กาํ หนดความคาดหวังและเปาหมายวา จดบันทกึ เพือ่ อะไร 2. วางแผนรบั - จา ยกอนใชเงิน 3. กอ นซอ้ื สง่ิ ใดตอ งพิจารณาใหด กี อนวา สง่ิ นน้ั จําเปนหรอื ไม 4. จดบันทกึ ทกุ คร้งั ทุกวัน ทุกบาท ทุกสตางคท ี่มกี ารรบั และจายเงนิ 5. หมั่นตรวจสอบบญั ชวี า มรี ายการใดท่ีใชเ งินไมเ หมาะสม หากมตี องแกไ ขทนั ที 6. เกบ็ ใบเสรจ็ หรือหลกั ฐานการรับเงิน - จายเงินไวเพอ่ื ตรวจสอบกบั บัญชที ีจ่ ด “การจดบนั ทึกรายรบั - รายจา ย” หรือการจดบัญชี จะชวยใหเราทราบวาเรามีรายรับมากนอย แคไหน เราสามารถลดคา ใชจา ยรายการใดออกไปไดบ า ง “การจดบัญชี” ทําใหเราสรางสมดุลระหวา ง รายไดและรายจา ยท่เี หมาะสมแกฐ านะการเงินของเราไดเปนอยา งดี การจดบญั ชคี รวั เรอื น เปน การจัดทาํ บัญชรี ายรบั รายจา ยของครอบครัว เราสามารถจัดทําบัญชี แบบท่ีงา ย ผูท่ีไมเ คยมีความรูเรื่องการบัญชีมากอ นก็ทําเองไดโดยการแยกรายการออกเปน รายรับและ รายจาย รายรับ ไดแ ก เงินเดือน คา จา ง ผลตอบแทนที่ไดจ ากการทํางาน เงินที่ไดจ ากการขาย ผลผลิต การเกษตร หรือทรัพยสิน เปนตน รายจายไดแก คาใชจา ยเพ่ือซื้อสินคา สําหรับในการอุปโภค บริโภค คานาํ้ ประปา คา ไฟฟา คาโทรศัพท คาซอ มแซม คา อปุ กรณเ คร่ืองใช เครอ่ื งไม เคร่ืองมือ คารถ คา อาหาร คา เชา เปนตน ตวั อยาง รายรับ รายจา ย ขายผลผลติ ทางการเกษตร 2,500 บาท จายเงนิ ซ้ือของใชในบาน 500 บาท 1 ม.ค. 52 จายเงนิ ซ้อื ขา วสาร 300 บาท 5 ม.ค. 52 จา ยคา น้ํา คาไฟ 250 บาท 7 ม.ค. 52 ขายผลผลติ ทางการเกษตร 1,250 บาท 10 ม.ค. 52 จายคาซอื้ ปยุ 300 บาท 15 ม.ค. 52 จายคา อาหาร 200 บาท 20 ม.ค. 52 25 ม.ค. 52

17 ตัวอยา ง การจดบัญชีครวั เรอื น วนั เดอื น ป รายการ รายรับ รายจาย คงเหลือ 1 ม.ค. 52 ขายผลผลติ 2,500 - 2,500 5 ม.ค. 52 ซ้ือของใช 500 - 2,000 7 ม.ค. 52 ซอ้ื ขา วสาร 300 - 1,700 10 ม.ค. 52 จา ยคา น้ํา คา ไฟ 250 - 1,450 15 ม.ค. 52 ขายผลผลติ ทางการเกษตร 1,200 - 2,650 20 ม.ค. 52 จา ยคา ซื้อปุย 300 - 2,350 25 ม.ค. 52 จายคา อาหาร 200 - 2,150 รวม 3,700 - 1,500 - 2,150 รายรบั สูงกวา รายจาย 2,150 การบันทกึ รายรับ - รายจา ย หรอื การจดบญั ชีท้ังของตนเองและครอบครวั มคี วามสําคัญตอชวี ิต ของคนไทยเปนอยา งย่ิง ดงั พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท9่ี ) พระราชทานแกคณะบคุ คลตา ง ๆ ทเ่ี ขา เฝาถวายพระพรชัยมงคลเน่อื งในวโรกาสวนั เฉลมิ พระ ชนมพรรษา วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสดิ าลยั พระราชวงั ดุสติ ความวา “...เม่อื 40 กวาป มี ผหู นึ่งเปนขา ราชการชนั้ ผนู อยมาขอเงิน ที่จริงไดเ คยใหเ งินเขาเลก็ ๆ นอ ย ๆ แตเ ขาบอกวา ไมพอเขาก็มาขอ ยมื เงิน ขอกเู งินก็บอก..เอาให.. แตขอใหเ ขาทาํ บญั ชีรายรับ - รายจาย รายรบั กค็ ือ เงินเดอื นของเขาและ รายรบั ทอี่ ุดหนนุ เขา สว นรายจายก็เปนของทใี่ ชใ นครอบครวั ...ทหี ลงั เขาทํา...ตอมา เขาทําบัญชีมาไม ขาดทุน แลวเขาสามารถท่จี ะมเี งนิ พอใช เพราะวา บอกใหเ ขาทราบวา มีเงนิ เดอื นเทา ไหรจะตอ งใชภ ายในเงิน เดือนของเขา...”

18 บคุ คลตัวอยา งการสรางชีวิตใหมอ ยางพอเพียงดวยบญั ชคี รวั เรอื น นายเจน ชูใจ ราษฎร หมู 4 ตาํ บลพนมทวน จงั หวัดกาญจนบรุ ี ผปู ระสบความสําเร็จจากการทํา บัญชีครัวเรือน กลาววา “จบเพียงประถมศึกษาปที่ 4 พอ แมยากจน มีอาชีพทํานาเปน หลัก ตอมาไดรับ มรดกเปน ท่ีนา 10 ไร จึงทาํ นาเรอ่ื ยมา แตก ็สามารถสงลูกเรียนสูง ๆ ได เน่ืองจากสรางวินัยในการใชจ าย เงินอยางมรี ะบบ มีพอ แมเปนแบบอยา งทดี่ ีในเรื่องความมรี ะเบยี บในการใชเ งินทองแตละบาทแตล ะสตางค โดยในสมัยพอ ใชถา นหุงขา ว เขียนคา ใชจ า ยในแตละวันท่ีขางฝาขา งบาน จึงจดจํามาปฏิบัติ เริ่มจาก จดบนั ทึกชัว่ โมงการทํางานวาภายใน 1 เดอื น มคี วามขยนั หรอื ขเ้ี กยี จมากนอยแคไหน ภายหลังมาทําบัญชี การใชจ ายในครวั เรอื นในชว งทาํ ไรน าสวนผสม เมอ่ื ป 2528” กวา 20 ป ที่ทําบัญชีครัวเรือนมาทําใหท ุกวันนี้มีชีวิตในครอบครัวอยูอยา งมีความสุข ปจจุบัน มีทีน่ ารวมกวา 50 ไร โดยการซ้ือสะสมมา มีเงินฝากธนาคาร โดยมีคติวา จากนํ้าที่ตักมาจนเต็มโอง เวลา น้ําพรองตองเติมใหเต็ม ถา ปลอยใหน ํา้ แหงขอด ชวี ิตกจ็ ะเหนอื่ ยจะทําใหช ีวิตบั้นปลายลาํ บาก” นายเจน กลา ว น่ันคือประโยชนที่เห็นไดชัดจากการทําบัญชีครัวเรือนที่ไมเพียงแตจ ะชว ยใหความเปนอยูข อง ครอบครวั ดีขึน้ เทาน้ัน แตย งั สรา งสังคมใหเปน ปก แผน สงผลไปถึงเศรษฐกิจอนั มน่ั คงของประเทศในอนาคต ขางหนา อกี ดวย (จตพุ ร สุขอินทร และ ปญ ญา มงั กโรทัย, 2552 : 30) เรอื่ งที่ 3 การลดรายจา ยและเพ่มิ รายไดในครัวเรือน การลดรายจายในครัวเรือน ปญหาเร่ืองหน้ีสินในครอบครัวหรือปญ หารายรับไมพอกับรายจาย เปนปญหาท่ีทําใหป ระชาชนหนักใจ การปองกันและแกไขปญ หาเรื่องหน้ีสิน มีหลักงาย ๆ วาตอ งลด รายจา ยและเพม่ิ รายไดใ หมากขนึ้ การลดรายจายสามารถทําไดโดยการสํารวจคาใชจา ยในเดือนท่ีผานมา แลวจดบนั ทกึ ดวู า ในครอบครัวมีการใชจายอะไรไปบางและรายการใดที่ไมจําเปน นาตัดออกไปได ก็ใหตัด ออกไปใหหมดในเดอื นถัดไปก็จะสามารถลดรายจา ยลงได แตท ุกคนในครอบครัวตอ งชวยกัน เพราะถา คน หนง่ึ ประหยัดแตอ ีกคนยังใชจ ายฟุมเฟอ ยเหมือนเดิมก็คงไมไ ดผ ล ตองช้ีแจงสมาชิกทุกคนในบา น เมื่อลด รายจายไดแลว ก็เอารายรบั ของท้งั บานมารวมกนั ดูวาจะพอกบั รายจา ยหรือไม ถาพอและยังเหลือ ก็คงตอง เอาไปทยอยใชหน้ีและเก็บออมไวเผื่อกรณีฉุกเฉิน เชน การเจ็บปวย อุบัติเหตุ เปน ตน แตถ ารายไดย ัง นอยกวารายจายก็ตอ งชวยกันคดิ วาจะไปหารายไดเพ่มิ มาจากไหนอกี โดยสรปุ การใชจา ยเงินมี 3 แบบ คือ 1. ใชตามใจชอบเปน การใชไ ปเรื่อย ๆ แลวแตว าตองการอะไรกซ็ ้อื เงินหมดก็หยุดซอื้ 2. ใชตามหมวดทแี่ บง ไว เชน - คา อาหารและคา เส้ือผา - คา รักษาพยาบาล

19 - คา ทาํ บุญกุศล - เกบ็ ออมไวใ ชใ นอนาคต ฉุกเฉิน - คาศกึ ษาเลา เรยี นของบตุ ร ฯลฯ 3. ใชต ามแผนการใชท กี่ าํ หนดไวล ว งหนา เปน การใชตามโครงการท่ีไดวางแผนไวล ว งหนาแลวน้ัน ซึ่งเปน วิธีการท่ีถูกตอง ซึ่งสามารถนําหลักการทางวิชาการมาใชใ นการปฏิบัติการวางแผนการใชจา ย ในครอบครัว ขอ ปฏบิ ตั ิของการใชจายภายในครอบครวั มสี ง่ิ ทพี่ งึ ปฏบิ ตั ิ 3 ประการคือ - การทาํ บญั ชีรายรับ - รายจาย - การประหยัด - การออมทรพั ย ครอบครัวตองมีการวางแผนจัดการรายรับ - รายจาย เพื่อใหม ีทรัพยส ินเพียงพอจะซ้ือหรือ จดั หาส่ิงท่ีครอบครัวตอ งการ เพ่อื ความสงบสุขและความเจริญของครอบครวั เร่อื งท่ี 4 การออม การออม คือ การสะสมเงินทีละเล็กทีละนอ ย เมื่อเวลาผานไปเงินก็จะเพ่ิมพูนข้ึน การออม สว นใหญจะอยูในรูปการฝากเงินกับธนาคาร จุดประสงคหลักของการออม เพ่ือใชจา ยในยามฉุกเฉิน ยามเราตกอยใู นสภาวะลาํ บาก การออมจงึ ถือวา เปน การลงทุนใหกบั ความมัน่ คงในอนาคตของชวี ิต หลักการออม ธนาคารออมสินไดใหแ นวคิดวา “ออม 1 สวนใช 3 สวน เน่ืองจากการออมมี ความสาํ คญั ตอ การดํารงชีวิต แมบางคนมรี ายไดไมม ากนัก คนเปน จํานวนมากออมเงินไมไ ด เพราะมีคาใช จา ยมาก ใชเ งนิ เกินตวั รายรบั มีไมพอกบั รายจา ย เม่ือเรามีรายไดเราจะตองบริหารจัดการเงินของตนเอง หากเราคิดวาเงินออมเปนรายจา ยอยางหน่ึงเชน เดียวกับรายจายอ่ืน ๆ เงินออมจะเปน รายการแรกท่ีตอ ง จา ยทุกเดือน โดยอาจกําหนดวาอยา งนอ ยตองจา ยเปน รอ ยละเทา ไรของรายไดและทําจนเปน นิสัย แลวคอ ยวางแผน เพอ่ื นาํ เงนิ สว นทเ่ี หลอื ไปเปน คาใชจ า ยตา ง ๆ เทานเ้ี รากม็ เี งนิ ออม การลดรายจา ย สามารถกระทาํ ไดดงั น้ี 1. ทําสวนครัวและเลี้ยงสัตวไวสําหรับบริโภค โดยใชพืชผักพื้นบานที่มีในทองถ่ิน ผักท่ีใชเปน ประจํา ผกั ทีป่ ลกู ไดง ายไมตองดูแลมากมาปลูกไวในครัวเรือน เชน ผักบุง ผักคะนา ผักขม ชะอม ฟกทอง แตงกวา มะเขือ ถ่ัวฝกยาว ขา ตะไคร ตนหอม กระเทียม ตําลึง และการเลี้ยงปลาดุก เลี้ยงกบ เล้ียงไก เปน ตน ซึ่งหากเราสามารถปลกู ผักสวนครวั เลย้ี งสัตวไวร ับประทานในครวั เรือนไดเอง โดยไมตองไปซื้อหา มาจากตลาด กจ็ ะทาํ ใหครัวเรือนสามารถลดรายจายได แตหากผลผลิตเหลือเฟอจากการบริโภคแลวเรา นาํ ไปขายกจ็ ะเปน การเพิ่มรายไดอกี ดว ย

20 2. การประหยดั การออมในครัวเรอื น โดยการรจู กั ใชท รัพยสนิ เวลา ทรัพยากรตามความจําเปน ดวยความระมดั ระวังโดยใหเกดิ ประโยชนคมุ คามากท่สี ุด รูจักดาํ รงชีวิตใหเหมาะสมกับสภาพความเปนอยู สวนตวั รวมท้งั การอดออม ลดรายจา ยท่ีไมจําเปน ประหยัดพลังงาน รูจักการใชพลังงานจากแสงอาทิตย เปนตน 3. การลด ละ เลกิ อบายมขุ โดยการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมตนเอง จากการทช่ี อบไปงานสังคม ดื่ม เหลา ฟงเพลง เตนรํา กลับบานดึก ก็ตองเลิกการกระทําที่ไมจําเปน และเปนผลเสียตอสุขภาพรางกาย สน้ิ เปลือง 4. การจัดทําบญั ชคี รวั เรือน คือ การรจู กั จดทุกครั้งทจ่ี าย บรหิ ารการใชจ า ยใหเ หมาะสมกับตนเอง สงิ่ ใดทเ่ี กนิ ความจําเปนในชีวติ ก็ตองไมใชจาย 5. การใชพ ลังงานอยา งประหยัด เชน การประหยัดนํ้า ประหยัดไฟ ใชเทา ท่จี ําเปน เปนตน การเพิม่ รายได การเพ่มิ รายไดน้นั มหี ลากหลายวธิ ี นอกจากการประกอบอาชีพหลกั แลว เรายังสามารถเพ่มิ รายได ได ดังน้ี 1. การปลูกผักสวนครวั สาํ หรบั ไวร ับประทานเองในครัวเรอื น และแบงปนใหเพื่อนบานที่เหลือ จึงนําไปขาย ก็จะทําใหมีรายไดเพ่ิมขึ้น เชน การปลูกพริก มะเขือ ชะพลู ตนหอม ผักชี ชะอม ตําลึง ผกั หวาน เปน ตน 2. การประกอบอาชีพเสริม โดยใชทรัพยากร วัตถุดิบท่ีมีอยูในครัวเรือน ในชุมชนมาใชใหเกิด ประโยชนสูงสุด และเปนการลดตนทุนการผลิตใหคุมคาและประหยัด เชน การถนอมอาหารแปรรูป งานหตั ถกรรมสิง่ ประดษิ ฐ การผลติ กลา ไมด อกไมประดบั การเลี้ยงไกพื้นเมือง การเพาะถั่วงอก การเพาะ เห็ด การทําปุยชีวภาพ การเล้ียงปลาดกุ ในบอซเี มนต การทาํ เฟอรน เิ จอรจ ากไมไ ผ เปนตน 3. การพัฒนาอาชีพเดิม เปนการพัฒนาอาชีพเดิมใหดีข้ึน โดยการหาความรูเพิ่มเติมจาก การเขารวมเวทีประชาคมในชุมชน การศึกษาดูงาน การเขารับการอบรม เพ่ือนําความรูมาพัฒนาอาชีพ ในการขยายพนั ธมุ ะนาวขาย กอ็ าจไปหาความรูเ พิม่ เตมิ เกย่ี วกับการขยายพันธมุ ะนาวไมมีเมล็ด มะนาวนํ้าดี ลูกดก ตนเล็กแตใหผลผลิตสูง และศึกษาเร่ืองการขายพันธุมะนาวทางเว็บไซต เพ่ือขยายการตลาด ใหสามารถขายผลผลติ ไดมากข้ึน เปนตน

21 กิจกรรมท่ี 3 1. ผเู รียนไดข อ คดิ อะไรบา งจากกรณีตวั อยา ง “สรา งชีวติ ใหมอยางพอเพียงดว ยบัญชคี รวั เรอื น” ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ผูเรียนไดจ ดั ทําบัญชีครัวเรอื นหรือไม อยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ในชุมชนของผูเ รียนมีใครจัดทําบัญชีครัวเรือน พรอมยกตัวอยา ง 1 ครอบครัววาเขาจัดทํา อยา งไรและไดผลอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

22 กิจกรรมท่ี 4 ใหผเู รียนตอบคําถามตอไปนี้ 1. การบนั ทกึ บญั ชคี รัวเรอื น หมายถงึ ผเู รียนและครอบครัวมกี ารวางแผนการใชจายอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. รายรบั หมายถงึ อะไร พรอ มยกตัวอยาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. รายจาย หมายถึงอะไร พรอ มยกตวั อยา ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ผูเรียนมวี ิธีลดรายจายและเพ่ิมรายไดอ ยา งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. ผูเ รยี นมวี ธิ กี ารออมเงินอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………..……………………………………………………….. .…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

23 6. ใหผ เู รียนบันทกึ บญั ชคี รวั เรอื นตามรายการดังตอไปน้ี ลงในแบบบันทึกรายรบั – รายจา ย ของครอบครัวภายใน 1 เดอื น 1 ม.ี ค. 52 ขายผลไมไ ดเ งิน 1,900 บาท 3 มี.ค. 52 ขายผลไมไดเงิน 1,500 บาท 5 ม.ี ค. 52 จายคา ของใชใ นบาน 500 บาท 7 มี.ค. 52 จายคา นํา้ - คา ไฟ 400 บาท 10 มี.ค. 52 จา ยคาปยุ 600 บาท 15 มี.ค. 52 จา ยคา อาหาร 500 บาท 20 ม.ี ค. 52 ขายผลไม 1,800 บาท 25 มี.ค. 52 จายคา ซอ มรถ 300 บาท 27 มี.ค. 52 จา ยคาของใช 700 บาท แบบบนั ทึกรายรบั - รายจา ย วัน เดือน ป รายการ รายรับ รายจาย คงเหลอื (บาท) (บาท) (บาท) ยอดรวมรายรับ ยอดรวมรายจาย คงเหลือ

24 สรปุ ผลการบนั ทึกรายรบั - รายจายของครอบครวั 1. ครอบครัวของฉนั มรี ายรบั มากกวา นอ ยกวา รายจา ยอยู ..............บาท 2. ในระยะเวลา 1 เดือน ครอบครัวของฉันมีเงินออมจํานวน .................บาท ครอบครัวของฉันไมม เี งนิ ออม 3. รายจายท่คี วรปรับลด ไดแก 1) ..................................จาํ นวนเงิน .......................บาท เพราะ .............................. 2) ..................................จาํ นวนเงนิ .......................บาท เพราะ .............................. 3) ..................................จํานวนเงิน .......................บาท เพราะ ............................. ฉนั สามารถลดรายจา ยไดท ้ังหมด ................................ บาท

25 บทที่ 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพยี ง สาระสาํ คญั เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติ เพื่อตอ งการใหค นสามารถพึ่งพาตนเองได อยา งเปน ข้นั ตอนโดยลดความเส่ยี งเก่ียวกบั ความผันแปรของธรรมชาติ โดยอาศัยความพอประมาณ ความมี เหตุมีผล การสรา งความรู ความขยันหม่ันเพียร การอดออม สติปญญา การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และความสามคั คี เมื่อเราศึกษาเรียนรูปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางถอ งแท และนําไปประยุกตใชในการ ดําเนินงานและการประกอบอาชีพจนเห็นผลจากการปฏิบัติแลว ควรจะสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัว มองเหน็ คณุ คา และนําแนวทางไปสกู ารปฏิบัติ ในการดํารงชวี ติ บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง แนะนํา สงเสริมใหส มาชกิ ในครอบครัวเห็นคุณคา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนําแนวทาง ไปสูก ารปฏิบตั ิในการดําเนนิ ชีวิตอยางยงั่ ยืน ขอบขา ยเนือ้ หา เรื่องที่ 1 ทฤษฎีใหม เรื่องที่ 2 แผนชีวติ

26 เร่ืองท่ี 1 ทฤษฎใี หม เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติ เพ่ือตอ งการใหคนสามารถพึ่งพาตนเองได ในระดับตาง ๆ อยา งเปนขั้นตอน โดยลดความเส่ียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยน แปลงของปจจัยตา ง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและความมีเหตุมีผล การสรา งความรู ความขยัน หมนั่ เพียร ความอดทน สตปิ ญญา การชว ยเหลอื ซง่ึ กันและกนั และความสามคั คี 1. ความเปนมาของทฤษฎีใหม ตลอดระยะเวลาทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลท9่ี ) ทรงครองรา ชยนน้ั พระองคไ ดเ สดจ็ พระราชดําเนนิ แปรพระราชฐานไปประทบั แรมยังภูมิภาคตา ง ๆ ท่วั ประเทศ พระ ราชประสงคทแ่ี ทจรงิ ของพระองคคอื การเสดจ็ ฯ ออก เพ่อื ซักถามและรับฟงความทุกขยากในการดาํ เนนิ ชีวิตของพสกนกิ รชาวไทย จงึ มพี ระราชดํารแิ นวคดิ ใหมในการบรหิ ารจดั การที่ดินของเกษตรกรใหม สี ดั สว น ในการใชพ นื้ ทีด่ ินใหเ กิดประโยชนส งู สดุ รูปแบบหนงึ่ คอื การเกษตรทฤษฎีใหม 2. หลักการและขัน้ ตอนของเกษตรทฤษฎีใหม แนวคิดใหมใ นการบริหารจัดการที่ดินของเกษตรกรใหม ีสัดสวน ในการใชพ ื้นที่ดินใหเกิด ประโยชนส งู สดุ ตามแนวทางทฤษฎใี หม มีหลกั การและขนั้ ตอนดังน้ี 1. ทฤษฎีใหมข ั้นตน หลกั การของทฤษฎใี หมข ้นั ตน ประกอบดว ย 1) มที ี่ดิน สําหรบั การจัดแบง แปลงท่ดี นิ เพอ่ื ใหเ กิดประโยชนส งู สุดนี้ พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่9ี ) ทรงคาํ นวณจากอัตราถอื ครองทีด่ นิ ถัวเฉล่ียครัวเรอื นละ 15 ไร อยางไรกต็ ามหากเกษตรกรมีพนื้ ทถ่ี อื ครองนอ ยกวาหรอื มากกวาน้ี กส็ ามารถใชอตั ราสวน 30 : 30 : 30 : 10 ดังน้ี พน้ื ท่ีสวนท่ี 1 รอ ยละ 30 ใหขดุ สระเก็บกกั นาํ้ เพ่อื ใชเกบ็ กกั นาํ้ ในฤดูฝนและใชเ สรมิ การปลูก พชื ในฤดแู ลง ตลอดจนการเล้ียงสัตวน้ํา และพชื น้าํ ตา งๆ พ้ืนทส่ี ว นท่ี 2 รอยละ 30 ใหปลูกขาวในฤดูฝน เพือ่ ใชเ ปน อาหารประจําวันสําหรับครอบครัว ใหเพยี งพอตลอดป เพอื่ ตดั คาใชจ ายและพง่ึ ตนเองได พื้นทีส่ วนท่ี 3 รอ ยละ 30 ใหปลกู พชื ผกั พชื ไร พืชสมุนไพร ไมผ ล ไมยืนตน ฯลฯ เพ่ือใชเปน อาหารประจําวัน หากเหลือบรโิ ภคก็นําไปจําหนาย พน้ื ทสี่ ว นที่ 4 รอ ยละ 10 เปน ทอ่ี ยอู าศยั เลย้ี งสัตว และโรงเรือนอื่น ๆ 2) มีความสามัคคี เนื่องจากการเกษตรทฤษฎีใหมขั้นตน เปนระบบการผลิตแบบพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองไดในระดับท่ีประหยัดกอ น ท้ังน้ีชุมชนตองมีความสามัคคีรว มมือรว มใจ ในการชวยเหลือซึง่ กนั และกนั ทํานองเดยี วกับการลงแขกแบบด้ังเดมิ เพือ่ ลดคาใชจ าย 3) ผลผลติ เน่อื งจากขา วเปนปจ จัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะตองบริโภค ดังนั้น จึงประมาณวา ครอบครวั หนง่ึ ทาํ นา 5 ไร จะทาํ ใหม ีขาวพอกินตลอดป โดยไมต องซอื้ เพื่อยึดหลกั พง่ึ ตนเองได

27 4) มีนา้ํ เนอ่ื งจากการทําการเกษตรทฤษฎใี หมตองมนี ํา้ เพือ่ การเพาะปลกู สํารองไวใ ช ในฤดู แลง ดังนนั้ จงึ จําเปนตอ งกนั ท่ีดินสว นหนงึ่ ไวข ุดสระน้าํ โดยมหี ลักวา ตองมีนา้ํ เพียงพอทจ่ี ะทําการเพาะปลูก ไดต ลอดป 2. ทฤษฎใี หมข ั้นทสี่ อง หรอื เรยี กวา ทฤษฎใี หมข ั้นกาวหนา เปน ขั้นที่เกษตรกรจะพัฒนาตนเอง ไปสูข ั้นพออยูพ อกิน เพ่ือใหม ีผลสมบูรณย ิ่งข้ึน โดยใหเ กษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุม หรือสหกรณ รวมแรงรวมใจกันดาํ เนินการในดานตาง ๆ ดงั น้ี 1) ดานการผลติ เกษตรกรจะตอ งรวมมอื ในการผลิตโดยเร่ิมตั้งแตขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ พืช ปยุ การหาน้ํา และอ่ืน ๆ เพื่อการเพาะปลกู 2) ดานการตลาด เมื่อมีผลผลิตแลวจะตอ งเตรียมการตาง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหได ประโยชนส งู สดุ เชน การเตรยี มลานตากขาวรว มกนั การจัดหายงุ รวบรวมขาว เตรยี มเครือ่ งสีขา ว ตลอดจน การรวมกันขายผลผลิตใหไดร าคาดี และลดคาใชจา ยลงดว ย 3) ดานความเปนอยู เกษตรกรตองมีความเปนอยูท่ีดีพอสมควร โดยมีปจ จัยพ้ืนฐานในการ ดาํ รงชีวิต เชน อาหาร ทอี่ ยอู าศัย เคร่ืองนุง หม เปน ตน 4) ดานสวัสดิการ แตล ะชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการที่จําเปน เชน สถานีอนามัย เมื่อยามเจ็บไขห รอื มีกองทุนไวก ูยืม เพอ่ื ประโยชนใ นกจิ กรรมตาง ๆ ของชมุ ชน 5) ดานการศึกษา ชมุ ชนควรมบี ทบาทในการสง เสริมการศกึ ษา เชน มีกองทุนเพื่อการศึกษา ใหแก เยาวชนในชมุ ชน 6) ดา นสังคมและศาสนา ชุมชนควรเปนที่รวมในการพัฒนาจิตใจและสังคม โดยมีศาสนา เปน ทยี่ ึดเหนย่ี ว 3. ทฤษฎีใหมข ้นั ทสี่ าม เปนข้ันพัฒนาเกษตรกรหรือกลุม เกษตรกรใหกาวหนาดว ย การติดตอ ประสานงาน เพื่อจัดหาทนุ หรือแหลง เงนิ เชน ธนาคาร หรือเอกชนมาชว ยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพ ชวี ิต ซ่งึ ทั้งสองฝา ยจะไดรับประโยชนร วมกนั ดังน้ี 1) เกษตรกรสามารถขายขา วไดในราคาสงู โดยไมถกู กดราคา 2) ธนาคารกับบริษัทสามารถซ้ือขา วบริโภคในราคาต่ํา เพราะซ้ือขา วเปลือกโดยตรงจาก เกษตรกรและนาํ มาสเี อง 3) เกษตรกรสามารถซ้ือเครอื่ งอุปโภคบริโภคไดใ นราคาตาํ่ เพราะรวมกนั ซอ้ื เปนจาํ นวนมาก เน่อื งจากเปนกลมุ สหกรณ สามารถซ้ือไดใ นราคาขายสง 4) ธนาคารกับบริษัทจะสามารถกระจายบุคคล เพ่ือไปดําเนินการในกิจกรรมตาง ๆ ใหเกิดผลดียง่ิ ข้นึ 3. ประโยชนของทฤษฎใี หม 1. การพึ่งตนเอง ทฤษฎีใหมย ดึ ถือหลกั การท่ีวา ตนเปน ที่พึ่งแหงตน โดยมงุ เนนการผลิตพชื ผลให เพียงพอกับความตองการบริโภคในครวั เรือนเปนอันดับแรก เมื่อเหลือพอจากการบริโภคแลว จึงคํานึงถึง การผลติ เพอ่ื การคาเปน อันดับรองลงมา ผลผลติ สว นเกินทอ่ี อกสูตลาดก็จะเปนกาํ ไรของเกษตรกร

28 2. ชุมชนเขม แข็ง ทฤษฎีใหมใหความสําคัญกับการรวมกลุม ของชาวบา น ท้ังนี้กลุมชาวบา น จะทําหนา ที่เปน ผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตา ง ๆ ใหหลากหลายครอบคลุมท้ังการเกษตรแบบ ผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจการคา ขาย การทอ งเที่ยวระดับชุมชน ฯลฯ เม่ือ องคก รชาวบา นเหลา น้ีไดรับการพัฒนาใหเ ขมแข็ง และมีเครือขา ยที่กวา งขวางมากข้ึนแลว เกษตรกรใน ชุมชนก็จะไดรับการดูแลใหมีรายไดเ พิ่มขึ้น รวมทั้งการไดรับการแกป ญ หาในทุกดา น เมื่อเปนเชน น้ี เศรษฐกจิ โดยรวม ของประเทศก็สามารถเติบโตไปไดอยา งมเี สถียรภาพ 3. ความสามคั คี ทฤษฎใี หมต้ังอยบู นพ้ืนฐานของการมีความเมตตา ความเอ้ืออาทร และความ สามคั คีของสมาชกิ ในชุมชน ในการรวมมอื รว มใจเพ่ือประกอบอาชีพตา ง ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จประโยชนที่ เกิดขนึ้ จึงมิไดห มายถงึ รายไดแ ตเพยี งดานเดียว หากแตรวมถงึ ประโยชนในดา นอื่น ๆ ดว ย ไดแ ก การสรา ง ความมนั่ คงใหก ับสถาบันครอบครวั สงั คม ชุมชน และความสามารถในการอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ ม ตัวอยางการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางปฏิบัติของเกษตรทฤษฎีใหม ซึ่งเปน แนวทางในการพฒั นาดานการเกษตรอยา งเปนขนั้ ตอนในพ้นื ท่ที ่ีเหมาะสม ซงึ่ แบง เปน 3 ขน้ั ดงั น้ี * กรณตี วั อยา ง ปลูกทกุ อยา งที่กิน กนิ ทกุ อยางท่ปี ลูก ชีวิตอยไู ดอ ยา งย่งั ยนื *

29 กรณตี วั อยา ง ปลกู ทุกอยางท่กี นิ กนิ ทุกอยา งท่ีปลูก ชวี ติ เปน สขุ ไดอยางยั่งยนื นายบุญเปง จันตะภา เกษตรกรบา นหว ยถางปูตา น ตําบลไมยา อําเภอพญาเม็งราย จังหวัด เชยี งราย ดําเนนิ ชีวติ โดยยดึ แนวทางเศรษฐกจิ พอเพียงจนเปนท่ียอมรบั โดยทัว่ ไป เดิมนายบุญเปง จันตะ ภา มีฐานะยากจน เคยออกไปขอทาน เพื่อหาอาหารมาใสท อ ง หลังจาก ไปเรียนในวัดไดน ําหลักคุณธรรมมาใชใ นชีวิตและการประกอบอาชีพ โดยยึดหลักอิทธิบาท 4 และ พรหมวหิ าร 4 ในป 2529 ไปทํางานประเทศบรูไน หวงั ใหฐ านะครอบครวั ดีข้นึ แตไ มสาํ เรจ็ จงึ เดินทางกลบั มาเก็บเงนิ ไดเพยี งสองพนั กวาบาท ตอ มาไดป รับความคิดวา ถามีความขยันเหมือนทํางานท่ีประเทศบรูไน อยเู มืองไทยก็มีรายไดอยางพอเพียง ป 2542 รัฐบาลใหม ีการพักชําระหนี้ แตบ ุญเปง พักไมได เนื่องจาก มียอดหน้ีเปนแสน ไดนําเอารูปในหลวงมาต้ังสัจอธิษฐานวา ขา พเจา และครอบครัวจะขยันเพิ่มข้ึน ลด ละ เลิก ในสง่ิ ท่ไี มจ ําเปน กินทกุ อยางทปี่ ลกู ปลูกทกุ อยา งท่ีกนิ และจะขอปลดหน้ภี ายใน 4 ป นายบุญเปง พึ่งพาตนเองดว ยการทําเกษตรทฤษฎีใหม ลงแรงทุกอยางดวยตนเอง ใชภูมิปญ ญา ทอ งถ่ินประยุกตกับความรใู หม ๆ ทไี่ ดไ ปศึกษาดูงานอีก การใชทรัพยากรอยา งรูคุณคา ทําใหประหยัดเงิน ลงทุน เกิดรายไดจากการขายผลผลิตการเกษตรตลอดทั้งป รูจักอดออม ไมเปนหนี้ทําใหดําเนินชีวิตไม เดอื ดรอ น ไมเบยี ดเบียนตนเองและผูอ่นื พัฒนา ปรับปรงุ การประกอบอาชีพจนประสบความสําเร็จและยัง ถา ยทอดความรู ชวยเหลอื สังคม บนพ้ืนท่ี 10 ไร 1 งาน 35 ตารางวา มีการแบงสัดสว นตามหลักทฤษฎีใหมไ ดอ ยางลงตัว เปนนาขาว 5 ไร ปลูกขาวเหนยี วปล ะ 1 ครั้ง โดยปลูกสลับกับขาวโพด แตงโม แตงไทย อีก 5 ไร ปลูกผัก สมนุ ไพร ไมผ ล เชน ลาํ ไย มะมวง กลวย และสวนสุดทา ยเปนเรือนพักอาศัยพอเหมาะกับครอบครัว มีโรง เลย้ี งสตั ว กระบือ สุกร ไกพ ้นื เมืองและจ้งิ หรีด ความสําเร็จในชีวิตของนายบุญเปง นับเปน บทพิสูจนไดเ ปน อยา งดีวา “เศรษฐกิจพอเพียง” สามารถนํามาปรับใช ใหเกิดประโยชนส ูงสุดตอครอบครัว ชุมชน หากรูจักคิด ใช กิน อยูอยางพอเพียง ชวี ิตกด็ ํารงไดอ ยางดียิ่งขึน้ และมนั่ คง * จากหนงั สือพมิ พเดลินิวส หนา 10 ฉบับวนั พฤหสั บดที ่ี 12 กุมภาพันธ พ.ศ. 2552 การแนะนําสง เสรมิ ใหสมาชกิ ในครอบครวั เห็นคุณคาและนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต ใช เมอื่ เราเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจนเกิดความเขาใจอยางถองแทแ ละนําสูก ารปฏิบัติ ในการดาํ เนินชีวิตและการประกอบอาชีพแลว เราจะเห็นประโยชนและคุณคาของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งสมควรอยางย่งิ ทีเ่ ราจะตอ งแนะนําสงเสรมิ ใหส มาชิกในครอบครัวเห็นคุณคาและนําปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใชใ นการดําเนินชีวติ และการประกอบอาชีพดว ยเชน กัน หลักในการแนะนํา คอื การทส่ี มาชิกในครอบครัวใชชีวิตบนพ้ืนฐานของการรูจักตนเอง สามารถพ่ึงตนเองไดและดําเนินชีวิต

30 อยา งพอกนิ พอใช โดยไมเบยี ดเบยี นผอู ื่น ทําใหเกดิ ความสขุ และความพอใจในการดาํ เนินชีวติ อยา งพอเพียง พยายามพัฒนาตนเองอยา งตอเนื่อง เพื่อใหสามารถอยูอยา งพอเพียงไดในทุกสถานการณ ทั้งน้ีสมาชิก ในครอบครวั อาจจะรว มกันทาํ แผนชีวติ เรอ่ื งท่ี 2 แผนชีวิต ในการดาํ เนินชวี ติ ทุกคนตองการไปใหถ งึ เปา หมายดว ยกันทั้งสิน้ แตก ารท่จี ะไปถึงเปา หมายไดจ ะ ตองมีการวางแผนชีวิตท่ดี ี มคี วามมงุ มนั่ ในการทีจ่ ะกาวไปใหถ งึ การวางแผนอยางนอยกท็ ําใหเ รารูวา เราจะเดินไปทิศทางไหน ยาํ้ เตือนวาตอ งทําอะไร ยงั ไมไดทํา อะไร แมแ ตแ มบ า นจะทาํ อาหารในแตล ะม้ือยงั ตองวางแผน และเห็นอาหารจานนั้นอยูใ นจิตนาการ เหลอื แตออกไปหาวตั ถดุ บิ และลงมอื ปรงุ อาหารใหสาํ เรจ็ ซงึ่ แมบ านกต็ องเขยี นรายการวตั ถดุ บิ ทตี่ อ งซ้อื เปนการวางแผนกอนปรงุ อาหารซึ่งจะไดไ มมีปญหาวา กลับบา นแลว ลมื ซ้ือ ซึง่ เหตุการณน ี้มักเกดิ ขน้ึ บอย ๆ ชวี ิตคนเรากเ็ ชนเดียวกนั ตอ งคดิ กอ นปรงุ โดยตองรวู าจะปรงุ ใหเ ปน อะไร ซง่ึ เรยี กวาแผนชวี ิต แตส ําหรับคน ทยี่ ังไมรกู ต็ องเขียนวา ตวั เองชอบอะไร หรอื ตอ งการอะไรจะดกี วา ดาํ เนนิ ชีวติ โดยไรจุดหมาย แผนชวี ติ คอื สง่ิ ทเ่ี ราฝนหรอื คาดหวงั อยากจะใหเกดิ ข้ึนจรงิ ในอนาคตโดยเราจะตอ งวางแผน กาํ หนด ทศิ ทางหรอื แนวทางในการดาํ เนนิ ชีวิต เพื่อใหเ ราไปถงึ เปา หมาย ทําใหเราเกิดความพึงพอใจ และความสุข แผนชีวิต มีหลายดา น เชน แผนชีวิตดา นอาชีพ แผนชีวิตดา นครอบครัว เปนตน แผนชีวิต แตละคนแตล ะครอบครัวจะแตกตา งกัน ขึ้นอยูก ับวา ใครจะใหความสาํ คญั กับแผนชีวิตดา นใดมากกวา กนั แผนดา นการพัฒนาอาชีพ ใหม องถงึ ศกั ยภาพท่มี กี ารพัฒนาได ความถนัด ความสามารถของตน เอง มองถึงทนุ ทม่ี ีในชุมชน เชน ทรัพยากร องคค วามรู ภูมิปญญา แหลงเงินทุน การตลาด ความตองการ ของคนในชุมชน โดยมีการจดั การความรขู องตนเอง เพอื่ ใหเ กดิ ความรูใหม แผนชีวิตดา นครัวเรือน ใหม องถึงหลักธรรมในการดํารงชีวิต การสรางภูมิคุมกันใหก ับคนใน ครอบครัวท่ีมีการเรยี นรตู ลอดชวี ติ เพือ่ นาํ องคค วามรูมาสรา งภมู ิคุม กันที่ดี นอกจากนกี้ ารนําบัญชีครัวเรือน มาวเิ คราะหร ายจา ยทไี่ มจําเปน มาจัดทําแผนการลดรายจา ย เพิม่ รายได และตอ งมีการประเมินแผนทท่ี ํา ดวยวาสาํ เรจ็ มากนอยเพียงใด แผนชวี ติ ดานครวั เรือน เชน (1)การจดั ทาํ บญั ชรี ายรบั - รายจายในครวั เรือน มกี ารวางแผนการใชจ าย เชน จา ย 3 สวน ออม 1 สว น เพื่อใหเกิดการมีระเบียบวินัยในการใชจ า ย การลด ละ เลิกอบายมุข การศึกษาใหรูเทาทัน กระแสบริโภคนยิ ม การวางแผนควบคมุ รายจายในครัวเรือน

31 (2)การลดรายจา ยในครวั เรอื น เชน การปลกู ผักสวนครัว การผลิตปยุ ชีวภาพไวใชทดแทนปยุ เคมี การผลิตผลติ ภัณฑเครื่องใชภายในครวั เรอื น (3)การเพมิ่ รายไดในครัวเรอื น แปรรูปผลผลิต การทําเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกพืชสมุนไพร ฯลฯ หรืออาจจะเร่มิ จาก การจดั ทาํ แผนชวี ิตครวั เรือน อาจจะดาํ เนินการ ดังนี้ 1. จดั ทาํ ขอ มูลของครวั เรือน 2. คน หาศักยภาพของตนเอง ทักษะในการประกอบอาชพี ทุน สถานการณในการประกอบอาชีพ 3. คน หาปญ หาของครวั เรือน 4. กําหนดเปา หมายของครัวเรือนเพ่ือใหหลดุ พน จากความยากจน 5. วางแผนการแกป ญ หาของครวั เรอื น 6. บันทกึ การปฏบิ ัติตามแผน 7. บนั ทกึ การประเมนิ ผล

32 กรณตี วั อยาง สรุ ชยั มรกตวิจิตรการ เกษตรพอเพียง แหง บา นปาไผ * บา นเกษตรกรพอเพียงตามแนวพระราชดาํ ริของ สุรชัย มรกตวจิ ติ รการ ตั้งอยทู ีบ่ านปา ไผ ต.แมโ ปง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม สุรชัย ไดเ ลา ชีวิตของตนเองวา “ชีวิตคงไมมาถึงวันนี้หากไมมศี รทั ธา แรงกลา ตอ องคพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท9่ี ) ผมเร่มิ ตน จากศนู ย เดิมผม คาขายเส้ือผาสําเรจ็ รูป ป 2540 เจอวกิ ฤตเศรษฐกจิ มหี นสี้ นิ แปดแสนบาท คดิ จะฆา ตวั ตาย แมใ หส ตวิ า ทําไมไมสู ทําใหผมคิดใหม ต้งั สตแิ ลวมงุ หนา ไปท่ศี นู ยการศึกษาการพฒั นาหว ยฮอ งไคร อนั เนอื่ งมาจากพระ ราชดาํ ริ ดวยใจทมี่ งุ มนั่ วามกี ินแนห ากเดินตามแนวทางของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ย เดช (รชั กาลที9่ ) ที่นีเ่ องไดเ รียนรแู ละทาํ ความเขาใจคาํ วา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง”อยางถองแท” เราเริ่มตน จากการเล้ียงสัตวต ามความถนัดท้ัง ปลา ไก วัว กบ ตอ มาปลูกพืชผักสวนครัว โรงเพาะเห็ด กลายเปนไรนาสวนผสมท่ที าํ ทุกอยางเชอ่ื มโยงกันอยางเปนระบบและมีประสิทธภิ าพ เวลาผานไปไมก ี่ป สุรชัย กลายเปนผูเ ชี่ยวชาญ มีความรูใ นสิ่งท่ีตนเองลงมือทํา ไมว าจะเปน การทําปุยหมัก ปุย อินทรีย การเลี้ยงหมูหลุม การเล้ียงไก วัว ปลา กบ การทํากา ซชีวภาพจากมูลสัตว การนาํ ของเหลวจากสัตวไปเลยี้ งพืช การนาํ ของเหลวจากพืชไปใชก บั สัตว “พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่9) สอนคนไทยมากวา 20 ป วา ใหเ ชื่อมธรรมชาตเิ ขา ดว ยกนั คนไทยไมช อบคดิ ไมชอบวเิ คราะห ไมลงมือทาํ แตใ ชเงินนาํ หนา ตองแกดวย 5 ร คอื รวมพลงั รว มคิด รว มกนั ทาํ รว มกนั สรปุ บทเรียน และรวมกันรบั ผล และยดึ คําสอนที่วา ตอ ง ระเบิดจากขางใน คอื เขาใจตวั เองกอน ส่ิงแรก คือตน ทนุ ตํา่ ทาํ บัญชคี รัวเรอื น ตัดส่งิ ฟุมเฟอยออกจากชีวติ คดิ อยางรอบคอบ ไมข เี้ กียจ สรางภมู ิคุมกนั ไมหลงกระแส ไมห ลงวตั ถนุ ิยม ทสี่ ําคญั ไมแ ขงกบั คนรวย แต ทกุ คนตอ งคดิ ตองฝน เองวาอะไรเหมาะทสี่ ุด จะสําเรจ็ หรอื ลมเหลวอยทู คี่ ุณภาพคน ปจจุบัน สุรชัย ยังเดินหนาตามแผนชีวิตของตนเอง เพ่ือหวังปลดหน้ีภายในไมเกิน 5 ป ดว ยการกูเงิน 2 ลานบาท ซอ้ื ทด่ี ินหลังบานเพือ่ สรา งฐานการผลติ ผมตองการพิสจู นวา คนจนหากมุง มน่ั ทจ่ี ะสแู บบเขาใจศักยภาพตนเองรบั รองอยูไ ดอ ยางมศี ักดศ์ิ รี และเปนชีวิตทีย่ งั่ ยืนปลอดภัย ------------------------------------ * จนิ ตนา กิจมี หนังสอื พมิ พมติชน หนา 10 วันเสารท่ี 28 มีนาคม พ.ศ. 2552

33 กจิ กรรมที่ 5 ใหผเู รียนวางแผนชีวิตของตนเองดานอาชีพและดานชวี ิตครอบครวั โดยคํานึงถึงหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง แผนชวี ิต รายละเอยี ดแผนชีวิต 1. ดานอาชพี 1. ตองการประกอบอาชพี …………………………………………………………….. ดา นครอบครัว 2. ปจจัยท่ีพจิ ารณาประกอบอาชีพนี้ .............................................................................. แผนชีวิต - เงินลงทนุ ....................บาท - มีความรูวชิ าชพี น้ี……………………………….…….……………………………. - ประสบการณท ่ีเก่ียวของกบั วิชาชีพ............................................................................ - ลูกคากลุมเปา หมาย ไดแก… ……………………………….……………………….. - สถานทป่ี ระกอบอาชีพ……………………………………………………………… - ความรู ความสามารถ................................................................................................... - เคร่ืองมือและอุปกรณ................................................................................................... - การประชาสัมพันธ /โฆษณา....................................................................................... - แรงงาน...................คน - วนั เวลา เปดบรกิ าร.................................................................................................. - สภาพ / สถานการณอาชพี น้ีในพน้ื ท่ปี ระกอบอาชีพ................................................... - คูแขงทางการคา…………………………………………………………………….. - กลยทุ ธการขาย……………………………………………………..……………… บา น / ท่อี ยอู าศยั - ปรับปรุง…………………….…………………………………..……………… - พัฒนา………………………………………………………..………………… สุขภาพ - ของตนเอง……………………………………………………..…….………… - สมาชกิ ในครอบครวั ……………………………………………….……..…… การปฏิบตั ิธรรม - ยึดหลักธรรม...............................ในการดาํ เนินชวี ติ - การรวมกิจกรรมท่ีวดั ……………………………………….……….……..…… - ปฏิบัตธิ รรมในครอบครัวโดย……………………………………………….…… เศรษฐกจิ

แผนชีวติ 34 รายละเอียดแผนชีวติ - ลดรายจายโดย............................................................................................... - เพิม่ รายไดโดย................................................................................................ (รายละเอียด/แนวทางปฏิบตั ิ) - ออม / ฝากเงินกบั ..................................................................... - ลงทุนโดย

35 บทท่ี 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เพ่ือการสรางรายได อยางม่ันคง มั่งค่ัง และยงั่ ยนื สาระสําคญั การประกอบอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการสรางรายได อยางม่ันคง ม่ังคั่ง และยง่ั ยนื มุงเนนใหผเู รียนมกี ารพจิ ารณาอยางรอบดาน มคี วามรอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผน และการดําเนินงานทุกขน้ั ตอน เพื่อมิใหเกดิ ความเสียหายตอการพัฒนา เปน การประกอบอาชีพที่คํานึงถึง การมรี ากฐานทม่ี ่นั คงแขง็ แรง ใหเจรญิ เตบิ โตอยางมลี ําดบั ขัน้ สามารถยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ทั้งทางกายภาพ และทางจิตใจควบคูกัน การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงมิไดขัดกับกระแส โลกาภิวัฒน ตรงกนั ขา มกลับสงเสรมิ ใหก ระแสโลกาภิวฒั นไ ดรับการยอมรับมากข้ึน ดวยการเลือกรับการ เปล่ียนแปลงท่ีสงผลกระทบในแงดีตอ ประเทศ ในขณะเดียวกันเปนการสรางภูมิคุมกันในตัวท่ีดีตอการ เปล่ยี นแปลงในแงที่ไมด แี ละไมอาจหลีกเลยี่ งได เพอื่ จํากัดผลกระทบใหอยูในระดับไมกอความเสยี หายหรือ ไมเปน อันตรายรา ยแรงตอ ประเทศ ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั ตระหนกั ในความสําคัญของการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ สรางรายได อยา งม่นั คง มงั่ คั่ง และยั่งยนื พัฒนาประเทศภายใตก ระแสโลกาภวิ ัฒนและเลือกแนวทางหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตใ ชใ นการดําเนินชีวิตอยา งสมดุล และพรอ มรับตอความเปล่ียน แปลงของประเทศภายใตกระแสโลกาภวิ ัฒน ขอบขา ยเนอื้ หา เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ ประเภท สาขาอาชีพตาง ๆ การตดั สินใจประกอบอาชีพ 1.1 ความหมาย ความสําคัญ 1.2 ประเภทของงานอาชพี 1.3 กลุมงานอาชีพตา งๆ 1.4 การตดั สนิ ใจประกอบอาชพี

36 เรอ่ื งท่ี 2 การสรา งงานอาชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5 กลมุ อาชพี ใหม ทีเ่ นนความเปน ไทย 2.1 เกษตรกรรม 2.2 อุตสาหกรรม 2.3 พาณชิ ยกรรม 2.4 ความคดิ สรา งสรรค 2.5 การอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง เรื่องท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชพี ทีส่ ง ผลตอ ความสาํ เรจ็ 3.1 มคี วามรู คอื ตอ งรอบรู รอบคอบ และระมดั ระวัง 3.2 คุณธรรมทส่ี งเสรมิ การประกอบอาชพี ประสบความสําเร็จ คือ ความสาํ เรจ็ สุจริต ขยนั อดทน แบงปน

37 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ ประเภท สาขาอาชีพตาง ๆ การตัดสินใจประกอบ อาชพี 1.1 ความหมาย ความสําคัญ 1.2 ประเภทของงานอาชีพ 1.3 กลมุ งานอาชพี ตาง ๆ 1.4 การตัดสนิ ใจประกอบอาชพี 1.1 ความหมาย ความสําคัญ อาชีพ หมายถึง ชนิดของงานหรือกิจกรรมของบุคคลประกอบอยู เปนงานท่ีทําแลวไดรับ ผลตอบแทนเปนเงินหรือผลผลิต อาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คืองานท่ีบุคคลทําแลวไดรับผลตอบแทนเปนเงิน ผลผลติ โดยยึดหลักสาํ คญั 5 ประการในการดาํ เนนิ การ ไดแก 1. ยดึ หลกั ทางสายกลางในการดาํ เนนิ ชีวติ 2. มคี วามสมดุลระหวา งคน ชมุ ชน และส่งิ แวดลอม 3. มีความพอประมาณ พอเพียงในการผลติ การบรโิ ภค และการบรกิ าร 4. มภี มู คิ ุมกนั ในการดําเนินชวี ิตและการประกอบอาชีพ 5. มคี วามเทา ทนั สถานการณชุมชน สังคม อาชีพมีความสําคัญตอชีวิตคนเราอยางมาก เพราะเปนความมั่นคงของตนเองและครอบครัว คนทีม่ อี าชพี จะเปน คนท่ไี ดรับการยกยอง ไดรบั การยอมรบั นับถือ เราตองทํางานหาเงิน มีเงินรายได หรือ สรา งผลผลิต เนื่องจากตองดํารงชีวิตดวยปจจัย 4 คือ อาหาร เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค และท่ีอยูอาศัย การประกอบอาชีพจงึ เปน สิ่งสําคัญย่ิงตอมนุษยทุกคน 1.2 ประเภทของงานอาชีพ อาชพี สามารถแบง ออกไดเ ปน 2 ประเภทคอื 1. อาชีพอสิ ระ คือ อาชพี ที่ตนเองเปน เจาของกจิ การ โดยลงทุนเอง วางแผนเอง ตัดสินใจ เอง จัดบรกิ ารและขายเอง 2. อาชีพรับจา ง คือ อาชีพที่อยูในกิจการของนายจาง มีรายไดจากคาจางและสวัสดิการ ตา ง ๆ 1.3 กลุมงานอาชีพตาง ๆ การสรางงานอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในที่น้ี แบงกลุมอาชีพเปน 5 กลุมอาชีพใหม คือ 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 3. พาณชิ ยกรรม 4. ดา นความคดิ สรางสรรค 5 การอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง

38 1.4 การตัดสนิ ใจประกอบอาชีพ การตัดสินใจที่จะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม จะตองมีสิ่งท่ีจะตองคิดหลายดานทั้งตองดู ขอมูล มีความรู มีทุน แรงงาน สถานท่ี มีกลวิธีการขายและคุณธรรมในการประกอบอาชีพดวย ขอควร คาํ นึงในการตดั สินใจประกอบอาชพี มดี ังน้ี 1. การตดั สินใจประกอบอาชพี โดยใชขอ มูลอยา งเหมาะสม ในการประกอบอาชพี ผูเรยี นตองใชขอมลู หลาย ๆ ดาน เพื่อการตัดสินใจ ขอมูลท่ีสําคัญ คอื ตองรจู ักตนเองวามคี วามชอบหรอื ไม มีสภาพแวดลอมในครอบครวั ชุมชน ทเ่ี หมาะสมกบั การประกอบ อาชีพนนั้ ๆ หรอื ไม และขอมลู ทีส่ าํ คัญ คอื ความรทู างวิชาการ 2. มีความรูวชิ าชพี น้ัน ๆ การประกอบอาชีพอะไรก็ตองมีความรูในวิชาชีพน้ัน ๆ อยางดี เพราะการมีความรูใน วชิ านนั้ ๆ อยางดี จะทาํ ใหส ามารถปรับปรุงพฒั นาอาชีพนัน้ ๆ ไดดยี ิ่งขึ้น 3. มีทนุ แรงงาน และสถานท่ี ทุน แรงงาน สถานท่ี เปน องคประกอบสาํ คัญในการประกอบอาชพี ทําใหเ กิดความมนั่ ใจ ในการประกอบอาชีพเปนไปอยา งราบรืน่ 4. มวี ธิ ีการปฏบิ ัติงานและจดั การอาชีพ มีขั้นตอน กระบวนการ การจัดการท่ีเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ทําใหงานประสบ ความสาํ เร็จ ลดตนทุนการผลิต มีผลผลติ ไดมาตรฐานตามทีต่ ั้งเปาหมายไว 5. มีกลวธิ ีการขาย การตลาด กลวิธีการขาย การตลาดที่สามารถตอบสนองความตองการ ความพึงพอใจของลูกคา ยอมทําใหย อดขายเปน ไปตามเปาหมาย 6. มีการจัดการการเงินใหมีเงินสดหมุนเวียนสามารถประกอบอาชีพไปไดอยางตอเน่ือง ไมข ัดขอ ง 7. การจดั ทาํ บัญชีรายรับ – รายจา ย เพ่ือใหทราบผลการประกอบการ 8. มีมนุษยสัมพันธและมีจิตบริการ การมีมนุษยสัมพันธท่ีดีกับลูกคา มีความเปนกันเอง โดยเฉพาะการใชค าํ พูดท่เี หมาะสม เพอ่ื สรางความพึงพอใจใหก ับลูกคา ไปพรอ มกับการมจี ติ บรกิ ารใหลูกคา ดว ยความจรงิ ใจ ตองการเหน็ ลูกคามีความสขุ ในการบริโภคสนิ คา

39 9. มคี ุณธรรมในการประกอบอาชีพ ผูผลิตและผูขายมีความซื่อสัตยตอลูกคาใชวัตถุดิบที่มี คุณภาพ ไมใชสารเคมที ่ีมพี ษิ ในผลติ ภณั ฑ ซึง่ สง ผลตอสุขภาพ สิ่งแวดลอ ม และการดําเนนิ ชีวติ ของลูกคา เรอ่ื งที่ 2. การสรางงานอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในที่นไ้ี ดแบงกลมุ อาชีพ 5 กลมุ อาชพี ใหม คอื 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 3. พาณิชยกรรม 4. ดานความคิดสรางสรรค 5. การอํานวยการและอาชีพเฉพาะ ทาง โดยวเิ คราะหแ บง กลมุ 5 กลมุ อาชพี ใหม ดานการผลติ กบั ดา นการบริการ กลุม อาชีพ ดา นการผลิต ดา นการบรกิ าร 1. เกษตรกรรม 1. แปรรปู ผลผลิต * พชื ตน ไม ตัวอยางการตบแตง - อาหารหลัก ตนไม การจัดดอกไมประดับใน - อาหารวา ง - ขนม งานมงคล งานศพ การดูแลตนไม - เครื่องด่ืม (น้ําตะไคร กระเจี๊ยบ การจัดสวน ใบเตย ขงิ สปั ปะรด เสาวรส ฯลฯ) * สัตว เชน เลี้ยงสุนัข การดูแล 2. เพาะเห็ด (แปรรูป) ตัดขน 3. เพาะพนั ธุไม 4.การเลีย้ งไกไข 5. ขยายพนั ธุพ ืช 6. ปลูกสมนุ ไพร 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 1. ไมนวดเทา ไมกดเทา * บรรจสุ ินคา 2. ผลิตภัณฑจากกะลามะพรา ว * สง สนิ คาตามบา น 3. ผลติ เครอ่ื งประดบั ทํามือ รา น โดยใชม อเตอรไ ซต 4. ผลิตสนิ คา จากวสั ดเุ หลอื ใช * ประกอบสนิ คา /ผลติ ภัณฑ เชน 5. รองเทา แตะ เคร่อื งใช ประดับตบแตง ประกอบชอดอกไม 6. ตะกราจะกาบหมาก 7. เกา อท้ี างมะพรา ว 3. พาณิชยกรรม 1. นาํ้ เตา หูกบั ปาทอ งโก * การขายตรง 2. เคร่ืองดื่ม นา้ํ เตา หู กาแฟ * การขายปลีก 3. ผลิตปยุ ชวี ภาพ นํา้ หมัก * การขายสง 4. ดานความคดิ สรางสรรค 1. ออกแบบบรรจุภัณฑ (ผา กระดาษ * บริการผูกผาตบแตงงานพิธี พลาสตกิ ฯลฯ) ตางๆ

40 กลมุ อาชีพ ดานการผลติ ดานการบริการ 2. ออกแบบเคร่ืองใชตาง ๆ (ดวยวัสดุ * ลําตดั หมอราํ เหลอื ใชต างๆ) * รอ งเพลงพื้นบาน 3. ออกแบบเฟอรนเิ จอร * เปา ขลยุ 4. ดนตรพี ื้นบา น (โปงลาง อังกะลงุ ) 5. การออกแบบเคร่อื งประดับ 5. การอํานวยการและอาชีพ การแพทยทางเลือก (การนวดแผนไทย * หัวหนางาน เฉพาะทาง ผอนคลาย บาํ บดั รกั ษา) * Organizer รับจัดงานวันเกิด ฉลองงานแตง * รบั ตกแตง สถานท่ี เรือ่ งท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชีพทส่ี ง ผลตอ ความสาํ เรจ็ แนวทางการประกอบอาชีพใหประสบผลสาํ เรจ็ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีเง่ือนไขความรูแ ละคณุ ธรรมดังนี้ 3.1 มีความรูคือ ตอ งรอบรู รอบคอบและระมัดระวงั ความรอบรู มคี วามหมายมากกวาคาํ วา ความรูคือนอกจากจะอาศัยความรใู นเชงิ ลกึ เกี่ยวกับ งานท่จี ะทําแลว ยังจาํ เปน ตอ งมคี วามรใู นเชงิ กวาง ไดแกความรู ความเขา ใจในขอเท็จจริงเกย่ี วกบั สภาวะแวดลอ มและสถานการณท เ่ี ก่ยี วพันกบั งานทจี่ ะทาํ ทัง้ หมด ความรอบคอบ คือ การทํางานอยางมีสติ ใชเวลาคิดวิเคราะห ขอมูลรอบดาน กอนลงมือทํา ซึง่ จะลดความผดิ พลาด ขอบกพรอ งตา ง ๆ ทําใหงานสาํ เร็จไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ใชต น ทนุ ตํ่า ระมัดระวงั คือ ความไมป ระมาท ใหค วามเอาใจใสในการทํางานอยางตอเน่อื งจนงานสําเรจ็ ไมเ กิดความเสียหายตอ ชีวติ และทรัพยสนิ หรืออบุ ัติเหตอุ นั ไมค วรเกิดขึ้น 3.2 คณุ ธรรมท่สี ง เสริมการประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จ คือ ความซ่อื สัตย สุจริต ขยัน อดทน แบงปน การประกอบอาชพี ตอ งสัมพนั ธเ กย่ี วขอ งกับบุคคล สงั คม และสิง่ แวดลอม อยางหลีกเลี่ยง ไมได เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย ไดรับการสนับสนุนจากผูเก่ียวของ ผูรว มงาน และลกู คา ผูป ระกอบอาชีพตองมคี ณุ ธรรม ซือ่ สตั ย สจุ ริต ขยนั อดทน แบงปน ความขยัน อดทน คือ ความต้ังใจเพียรพยายามทําหนาที่การงาน การประกอบอาชีพอยาง ตอเนอ่ื ง สมํ่าเสมอ ความขยันตอ งปฏิบตั ิควบคกู ับการใชส ตปิ ญ ญา แกปญ หาจนงานเกดิ ผลสาํ เรจ็ ผูท่ีมีความขยัน คือ ผูท่ีต้ังใจประกอบอาชีพอยางจริงจังตอเน่ือง ในเรื่องท่ีถูกท่ีควร มีความพยายาม เปน คนสงู าน ไมท อ ถอย กลาเผชิญอปุ สรรค รักงานทที่ ํา ตัง้ ใจทาํ หนา ท่อี ยางจริงจงั

41 ซื่อสัตย คือการประพฤตติ รง ไมเ อนเอียง จรงิ ใจ ไมม ีเลหเหลยี่ ม ผูท ม่ี ีความซื่อสตั ย คือ ผูท่ีประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคดโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุที่เปนอันตราย และ คาํ นงึ ถงึ ผลกระทบกบั สภาพแวดลอ ม ความอดทน คือ การรักษาสภาวะปกติของตนไวไมวาจะกระทบกระท่ังปญหาอุปสรรคใด ผูม ีความอดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญ ญาแลว ลวนตอ งอาศัย ขันติ หรือความอดทน ในการตอสูแกไขปญ หาตาง ๆ ใหง านอาชพี บรรลุความสําเรจ็ ดว ยกันทง้ั สิ้น การแบง ปน / การให คือ การแบงปนสิง่ ท่เี รามี หรือส่ิงทส่ี ามารถใหแ กผ ูอ่ืนไดแ ละเปนประโยชน แกผทู ีร่ บั การใหผูอนื่ ท่บี ริสุทธใิ จไมห วังส่งิ ตอบแทนจะทําใหผ ใู หไ ดร บั ความสขุ ท่ีเปนความทรงจําทยี่ าวนาน การประกอบอาชพี โดยรจู ักการแบง ปน หรอื ใหส งิ่ ตาง ๆ ทส่ี ามารถใหไ ดแก ลกู คาและชุมชนของเรา ยอ มไดรับการตอบสนองจากลูกคา ในดานความเชื่อถอื

42 กิจกรรมที่ 6 1. การประกอบอาชพี มีความสาํ คัญตอ การดาํ รงชีวิตของผูเรยี นอยา งไร? 1…………………………………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………………………………… 3………………………………………………………………………………………….. 4…………………………………………………………………………………………… 5…………………………………………………………………………………………… 2. จงยกตวั อยา งอาชีพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อาชีพกลมุ เกษตรกรรม เชน.................................................................................................... .............................................................................................................................................. อาชีพกลุมอุตสาหกรรม เชน................................................................................................... ............................................................................................................................................... อาชีพกลุมพาณิชยกรรม เชน................................................................................................... ............................................................................................................................................... อาชีพดา นความคดิ สรางสรรค เชน .......................................................................................... ............................................................................................................................................... อาชีพดา นการอํานวยการและอาชพี เฉพาะทาง เชน ............................................................... ............................................................................................................................................... 3. เม่อื ผูเรยี นประกอบอาชีพแลว จะนาํ คุณธรรม.........................มาใชในการประกอบอาชีพ และจะมี แนวทางปฏิบตั ิตามคณุ ธรรมน้อี ยางไร............................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

43 กิจกรรมที่ 7 ใหผูเรียนวางแผนแนวทางการประกอบอาชีพของตนเองท้ังที่เขาสูอาชีพใหมและพัฒนาอาชีพ โดยมีขน้ั ตอนดงั น้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 ใหผเู รยี นแบง กลมุ ออกเปนกลุม ละ 5 – 7 คน แตล ะกลุม ใหเลอื ก หัวหนากลมุ 1 คน และเลขากลมุ 1 คน รว มระดมพลังสมองแลกเปลีย่ นเรยี นรูตามหัวขอ ดังตอ ไปนี้ 1. การประกอบอาชีพตามแนวของหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. อาชพี ท่ีเชือ่ ม่ันวาสามารถทาํ ไดใ นครอบครวั ชุมชนของเรา 3. รวมกันรางรายละเอียด ส่ิงท่ีตองใช สิ่งท่ีตองทําในการประกอบอาชีพนั้น ๆ (ทาํ 1- 2 อาชพี ) ทงั้ นีใ้ หประธานเปน ผูดาํ เนินการ เลขากลุมจดบันทึกสรปุ สาระสาํ คัญ เพอ่ื นําเสนอ ข้ันตอนที่ 2 ใหท กุ กลุมรว มกนั คัดเลอื กอาชีพจากกจิ กรรมท่ี 1 ตามท่กี ลมุ ตกลงรวมทงั้ อาชีพท่สี ามารถ ทําเปนรายบุคคล และเปน กลุม นาํ มาเขยี นเปน โครงการประกอบอาชีพท่สี ามารถนาํ ไปปฏบิ ัติไดจริง ขัน้ ตอนที่ 3 ใหผ ูเรียนแตละคน แตละกลมุ นาํ โครงการประกอบอาชีพทน่ี ําเสนอ (ตรวจสอบความสมบูรณ) ไปประกอบอาชพี โดยมีการรว มระดมทุน จัดหาทนุ การแบงงานกันทํา การลงมตริ วมกนั ตดั สินใจ ระยะเวลา ดาํ เนินการตามความเหมาะสม แลวสรปุ ผลการประกอบอาชีพเสนอครู กศน.