Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน262_นางสาวศิรินภา ดวงบุญมี_ครู ศรช

วิจัยในชั้นเรียน262_นางสาวศิรินภา ดวงบุญมี_ครู ศรช

Description: งานวิชาการ

Search

Read the Text Version

ผลการจดั การเรยี นการสอนแบบบทบาทสมมุติ (Role Playing) โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ เร่อื ง การสือ่ สารในชวี ติ ประจาวัน สาระความรู้พืน้ ฐาน สาหรบั นกั ศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น กศน.อาเภอวังสามหมอ นางสาวศริ นิ ภา ดวงบุญมี ตาแหน่งครปู ระจาศนู ยก์ ารเรียนชุมชน ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

1 บทท่ี 1 บทนา การทผ่ี นู้ าประเทศสมาชกิ อาเซียนได้เหน็ ชอบให้จดั ต้งั “ประชาคมอาเซียน” ในปี 2558 และ ไดม้ มี าตรการสนบั สนนุ ให้ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียนมีความเช่ียวชาญภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ เป็นเคร่ืองมือในการส่ือสารอันก่อให้เกิดความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันและความเป็นเอกภาพในหมู่ ประชาชาตแิ ละประชาชนอาเซยี นและสามารถเขา้ ไปมีส่วนร่วมกับชุมชนนานาชาติได้ รวมทั้ง ส่งเสริม การใชภ้ าษาองั กฤษเป็นภาษาทางธรุ กจิ ระหว่างประเทศในสถานท่ีทางาน (กรมอาเซียน กระทรวงการ ต่างประเทศ, 2555) ประเทศไทยจึงต้องเร่งพัฒนาสังคมเพ่ือการก้าวสู่การเป็นสมาชิกประชาคม เศรษฐกจิ อาเซยี นทเ่ี ข้มแขง็ คนไทยตอ้ งพัฒนาศักยภาพด้านการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษให้ทัดเทียม กับประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มสมาชิกประชาคมอาเซียน เพราะต้องใช้ภาษาอังกฤษเป็นเคร่ืองมือในการ ประกอบอาชพี หรือการทาธุรกิจอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เน่อื งจากปจั จบุ ันประเทศในแถบเอเชียเป็นศูนยก์ ลางทางการค้าและอตุ สาหกรรมการท่องเท่ยี ว สาหรับประเทศไทย อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวถือเป็นรายได้หลักของประเทศ จากสถิติ พบวา่ ในปี 2561 มีนักธุรกิจและนักท่องเท่ียวชาวต่างประเทศเข้ามาเยือนเมืองไทยมากถึง 38 ล้าน คน (กระทรวงการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2561) และมีแนวโน้มท่ีนักท่องเที่ยวจะมาเยือน เมืองไทยเพมิ่ มากข้ึนอย่างต่อเนือ่ ง อนึ่ง ส่ิงทตี่ ามมาพร้อมกับอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวคือธุรกิจการ ใหบ้ ริการ ทง้ั การให้บริการในหน่วยงานราชการและเอกชน ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการด้านท่ีพัก การ เดินทาง ร้านอาหาร ศูนย์การค้า การธนาคาร ขอ้ มลู แหล่งทอ่ งเทย่ี ว การรกั ษาความปลอดภัย รวมท้ัง การให้บริการด้านสุขภาพ การให้บริการที่ดีและเป็นมิตรไมตรีเป็นหัวใจของอุตสาหกรรมการ ท่องเท่ียว เพราะจะก่อให้เกิดความประทับใจและส่งผลให้นักท่องเท่ียวชาวต่างประเทศแวะมาเยือน เมืองไทยอยา่ งสม่าเสมอ อันนามาซ่งึ รายไดข้ องประเทศจานวนมหาศาล อนึ่ง การที่จะเป็นผู้ให้บริการ ทีด่ กี ับชาวตา่ งประเทศได้ คนไทยจะตอ้ งมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษซ่ึงเป็นภาษานานาชาติ และเป็นภาษาโลก (วิจารณ์ พานิช, 2555) เพราะต้องใช้เป็นเครื่องมือในการส่ือสารกับผู้รับบริการ และการให้บริการแก่ลูกค้า รวมทั้งใช้เป็นเคร่ืองมือในการส่ือสารความรู้สึกนึกคิดเพ่ือให้เกิดความ เข้าใจซ่ึงกนั และกนั และทาใหก้ ารประกอบอาชีพเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสาเร็จ ดงั นั้น ผู้ท่ีจะไปประกอบอาชีพด้านธุรกิจการให้บริการควรเตรียมความพร้อมในการใช้ทักษะการพูด ภาษาองั กฤษเพอื่ ประโยชนใ์ นการทางานในอนาคต ดังที่ เอกอนงค์ ปวง (2550) และ ปาริชาต เตชะ (2553) กล่าวว่า ผู้ท่ีมีความรู้และมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษโดยเฉพาะทักษะการพูดจะเป็นผู้ท่ี ไดเ้ ปรยี บในด้านการประกอบอาชีพ เป็นที่ต้องการของสถานประกอบการ มีโอกาสที่จะได้งาน และ ได้รับการสนับสนุนในงานอาชีพมากข้ึน ความต้องการและความจาเป็นของสมรรถนะด้าน ภาษาอังกฤษดังกล่าว ส่งผลต่อการกาหนดจุดมุ่งหมายของรายวิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อาเภอวงั สามหมอ ทีก่ าหนดไวว้ ่า “ให้นกั ศึกษามคี วามร้คู วามสามารถ

2 ในการใช้ภาษาอังกฤษซงึ่ เปน็ องคป์ ระกอบสาคัญทีท่ าให้การสอ่ื สารในชีวิตประจาวันได้ และสอดคล้อง กับสถานการณ์” (หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 พ.ศ. 2559: 8) เพอ่ื ให้นกั ศึกษาสามารถใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือสอื่ สารกับผู้รับบรกิ ารและประกอบอาชพี ได้ การจัดกิจกรร มการ เรียนการสอน โดยใช้การแสดง บทบาทสมมุติเป็นวิธีที่ผู้สอนสามาร ถ จาลองสถานการณ์จรงิ จากโลกภายนอกท่ีนักศึกษาต้องเผชิญเม่ือไปประกอบอาชีพมาไว้ในห้องเรียน ใหน้ กั ศกึ ษาฝึกหดั ใช้ภาษาติดต่อส่ือสารกันในสถานการณ์นั้นๆ การได้ฝึกทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ในกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมุติเป็นประจาจะทาให้นักศึกษาเกิดความคล่องแคล่วในการใช้ ภาษาอังกฤษ กล้าพูด กล้าแสดงออก มีความมั่นใจในความสามารถด้านทักษะการพูดของตนเอง ความมั่นใจจะทาใหน้ ักศึกษาคลายความกงั วลในการพูดภาษาองั กฤษ อนั จะทาให้การเรียนการสอนได้ ประโยชน์อย่างเต็มท่ี และการได้ใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อส่ือสารกันจริง ๆ จะทาให้นักศึกษามี ความกระตือรือร้นในการเรียน มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ อันจะส่งผลให้สามารถนา ประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตจริงท้ังในชีวิตประจาวันและการประกอบอาชีพได้ (อดิศา เบญจ รัตนานนท์ และสุชาดา ทิพยม์ นตรี, 2550) ศศิภา ไชยวงค์ (2553) กล่าวว่า กิจกรรมบทบาทสมมุติเป็นวิธีการเรียนการสอนวิธีหน่ึงที่ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในสถานการณ์ท่ีใกล้เคียงกับความเป็นจริง ทาให้ผู้เรียนเรียนด้วย ความสนุกสนาน โดยจัดการเรียนท่ีเน้นการพัฒนาความสามารถในด้านการฟังพูดภาษาอังกฤษเพื่อ การส่ือสาร ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาและมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนภาษามากยิ่งขึ้น อีกท้ังตัว ผู้เรียนเองยังจะได้มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมบทบาทสมมุติในห้องเรียนและสถานการณ์จริงนอก ห้องเรียน กิจกรรมบทบาทสมมุติจะช่วยให้ผู้เรียนลดความวิตกกังวลและมีความเชื่อม่ันในการใช้ ความสามารถในการฟังพูดภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกใช้ภาษาให้ เหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ นอกจากกิจกรรมบทบาทสมมุติจะเอื้อประโยชน์ให้ผู้เรียนมี พัฒนาการด้านความสามารถในด้านการฟังพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแล้ว ยังเป็นเทคนิคการ สอนวิธีหนึ่งท่จี ะช่วยให้ผูเ้ รียนมีแรงจงู ใจในการเรียนอีกด้วย เน่ืองจากผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม การเรียนท่ีมีอิสระในการเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ เป็นกิจกรรมการเรียนภาษาท่ีมี ความหมาย ซ่งึ มีความสอดคลอ้ งกบั การกระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นทส่ี ง่ เสรมิ การใช้สมองท้ังสองซีก อยา่ งสมดุล และเป็นไปตามแนวคิดของนกั จิตวิทยากลุ่มปัญญานิยมหรือกลุ่มความเข้าใจ (Cognitive Psychology) และมนุษยนิยม (Humanistic Psychology) ที่เน้นความเข้าใจ (Cognitive Domain) และพงึ พอใจ (Affective Domain) ของผเู้ รียน เพราะกจิ กรรมบทบาทสมมุติเป็นการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนเพ่ือการส่ือสารท่ีมุ่งเน้นการแสดงออกเพ่ือให้ได้มาซ่ึงข้อความและการส่ือสารใน สถานการณ์จริง ซึ่งประกอบด้วยการใช้ภาษาท่ีส่ือความหมายตามหน้าที่ภาษา การปฏิสัมพันธ์และ การสื่อสารโดยใช้โครงสร้างภาษาท่สี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงหน้าทีข่ องภาษา และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร อย่างมีความหมาย

3 การแสดงบทบาทสมมุติเป็นวิธีกระตุ้นสถานการณ์ในชีวิตจริงให้เกิดข้ึนภายในห้องเรียน ผู้เรียนจะได้ใช้ภาษาในการสื่อสารเหมือนกับกาลังเผชิญสถานการณ์นั้นในชีวิตจริง และเน้นการสื่อ ความหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ การแสดงบทบาทสมมตุ จิ งึ เปน็ กิจกรรมท่ีชว่ ยเสริมแรงจูงใจและสร้าง ทัศนคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษให้แก่ผู้เรียน การใช้กิจกรรมการแสดงบทบาทสมมุติในการ ส่งเสรมิ และพัฒนาสมรรถนะการพูดจงึ เปน็ แนวทางและกลวิธกี ารสอนท่ีเหมาะสมกับนักศึกษาซ่ึงเป็น ผู้เรยี นทเ่ี ป็นผใู้ หญ่ เพราะสมคิด อิสระวัฒน์ (2555) กล่าวว่าเมื่อมีทัศนคติท่ีดี ผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่จะ เกิดแรงจงู ใจ จะเกดิ ความอยากเรียน และจะเกิดการเรยี นรู้ได้ดขี นึ้ มากเพราะผเู้ รียนรูส้ ึกว่าส่ิงทีเ่ รียนมี ประโยชน์กับตัวเขา สิง่ ที่เรียนเป็นสิ่งที่มีความหมาย เป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต ผู้เรียนก็จะเห็น ความจาเปน็ ทีจ่ ะต้องใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารใหไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ต้อง โดยผู้เรียนมีความรู้สึกว่าตัวเองมีความสามารถท่ีจะทาได้ เพราะผู้สอนให้โอกาสในการ ทดลองพดู ให้โอกาสในการฝกึ พูด เม่อื ตนเองทาได้ก็จะได้รับการชื่นชม ได้รับการยกย่องและยอมรับ จากบุคคลอ่ืน เมื่อผู้เรียนมีความรู้สึกว่าตนมีความสาคัญก็จะเกิดความชื่นชอบและประทับใจ มี ความรสู้ ึกภาคภมู ใิ จ และมคี วามรู้สกึ ว่าตนเองไดร้ ับความสาเร็จ นอกจากนแ้ี ลว้ สมคิด อสิ ระวฒั น์ (2555) กล่าวเพิม่ เตมิ วา่ ผู้เรียนไม่ชอบวิธีการสอนท่ีผู้เรียน ต้องนั่งนิ่งอยู่กับที่ เช่น การบรรยายแบบเก่า ผู้เรียนชอบมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การแสดง บทบาทสมมุติเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษท่ีให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอยู่ ตลอดเวลาอยา่ งเป็นธรรมชาติ ผ้เู รยี นต้องมคี วามตนื่ ตัว เพราะต้องคดิ ต้องตดิ ตาม มีโอกาสแสดงออก มีความสนุกสนาน มีความรู้สึกสบายใจ ไม่บีบค้ันทางจิตใจ สภาพการเรียนที่สนุกสนาน ยืดหยุ่น ไม่ เครียด จะทาใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความอยากเรียน และเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามเป้าหมาย ท่ีต้องการ การใช้กจิ กรรมการแสดงบทบาทสมมุติในการสอนทักษะการพดู ภาษาอังกฤษจึงเป็นแนวทาง ในการจดั การเรยี นการสอนท่ชี ่วยพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษเพ่ือการบริการให้กับ นักศึกษาได้อยา่ งเร่งด่วนและเปน็ รปู ธรรม สามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้จริงในห้องเรียนปกติ สามารถทาได้ ในทนั ทโี ดยไม่ต้องลงทุนเพิ่มเติม และคาดว่าจะเห็นประสิทธิผลที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาได้อย่างชัดเจน รวดเร็ว สะดวกและประหยัด และเป็นกิจกรรมท่ีมีคุณค่ามากในการจัดการศึกษาท่ีช่วยเตรียมความ พรอ้ มให้กับบณั ฑิตไทยในการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพในอนาคต และสามารถดารงชีวิต ในศตวรรษท่ี 21 ได้อยา่ งมคี วามสขุ ท้ังตอ่ ผลสาเร็จของงานและต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต บัณฑิตไทย จะได้ออกไปเป็นคนทางานที่ใช้ความรู้ (Knowledge Worker) และเป็นบุคคลที่พร้อมเรียนรู้ (Learning Person) ซงึ่ เปน็ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ที่สนองความต้องการของประเทศในการพัฒนา สังคมสู่ประชาคมอาเซียน คนทางานท่ีใช้ความรู้ (Knowledge Worker) และเป็นบุคคลท่ีพร้อม เรียนรู้ (Learning Person) ซ่ึงเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสนองความต้องการของประเทศใน การพัฒนาสังคมสูป่ ระชาคมอาเซยี น

4 ปราณี จิณฤทธิ์ (2552: 32) ได้กล่าวว่า แบบฝึก หมายถึง งานท่ีครูมอบหมายให้นักเรียนทา ด้วยตนเองภายหลังจากไดเ้ รียนบทเรียน เพ่อื เปน็ การทบทวนและฝกึ ทักษะในเร่อื งทเ่ี รยี นผา่ นมาแล้ว ประภาพร ถิ่นอ่อง (2553: 29) ได้กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนที่ สร้างขน้ึ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิดความรู้ ความเข้าใจเพ่ิมขึ้น โดยที่กิจกรรมท่ีได้ ปฏิบัติในแบบฝึกนั้นจะครอบคลุมเนื้อหาท่ีเรียนไปแล้ว ทาให้นักเรียนมีความรู้และทักษะมากขึ้น เพราะมีรปู แบบหรือลักษณะท่ีหลากหลาย สมพร ตอยยีบี (2554: 32) ได้กล่าวว่า แบบฝกึ ทักษะเป็นส่ือการเรียนรู้ท่ีช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึก ปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะและความรู้ต่างๆ จนเกิดความชานาญ และสามารถนาความรู้ไปใช้ได้อย่าง ถูกต้อง แบบฝึกเป็นส่ือการเรียนการสอนที่สร้างข้ึนเพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิด ความรู้ ความเข้าใจเพิม่ ข้ึน โดยท่ีกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติในแบบฝึกน้ันจะครอบคลุมเน้ือหาท่ีเรียนไปแล้ว ทาให้นักเรียนมีความรู้และทักษะมากขึ้น และทาให้ผู้เรียนมองเห็นความก้าวหน้าจากผลการเรียนรู้ ของตนเองได้ จากการศึกษาสภาพปัญ หาการเรียน การสอน ภาษาอัง กฤษใน รายวิชา ภาษาอัง กฤษ ใน ชวี ิตประจาวนั ของนกั ศกึ ษาระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.อาเภอวังสามหมอ พบว่า นักศึกษาไม่ สามารถการสื่อสารในชีวิตประจาวันภาษาอังกฤษได้ คนที่อ่านได้ก็มีจานวนน้อยมาก จึงเป็นปัญหา ส่งผลใหน้ ักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงสร้างแบบฝึกทักษะการ สื่อสารในชีวิตประจาวันเพ่ือใช้ในการสอนเพื่อพัฒนาการการสื่อสารในชีวิตประจาวัน ซึ่งจะทาให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนและเพื่อเป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษให้มี ประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป ดว้ ยความสาคัญและปญั หาทก่ี ล่าวมาข้างตน้ ผวู้ ิจยั จงึ ทาการศกึ ษาค้นคว้าและพัฒนาเอกสาร ประกอบการสอน จึงได้จัดทาแบบฝึกทักษะชุดการสื่อสารในชีวิตประจาวัน สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศให้สอดคล้องกับความต้องการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึง กาหนดความรู้ทั้งทางทฤษฎีและการปฏิบัติที่มีความสอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียน เพ่ือพัฒนา นิสัยของผู้เรียน ให้เห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษกับชีวิตประจาวัน และเพื่อเป็นประโยชน์สาหรับ ครูผู้สอนและสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ท่ีจะนาวิธีการสอนและนวัตกรรมไปใช้ในพัฒนา ผเู้ รยี นให้มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนใหส้ ูงขึน้ ต่อไป วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบบทบาทสมมุติ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เร่ืองการส่ือสารใน ชวี ิตประจาวัน วิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน สาระความรู้พื้นฐาน (ภาษาอังกฤษ) ระหว่างหลัง การเรียนรู้กบั ก่อนการเรยี นรู้

5 2. เพอ่ื ศกึ ษาระดับความพึงพอใจเจตคติของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนด้วย การจัดการเรียนรู้แบบบทบาทสมมุติ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องการส่ือสารในชีวิตประจาวัน วิชา ภาษาองั กฤษในชีวิตประจาวนั สาระความร้พู ้นื ฐาน (ภาษาอังกฤษ) 3. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ท่ีเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบบทบาทสมมุติ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องการส่ือสารใน ชีวติ ประจาวนั วิชาภาษาองั กฤษในชวี ิตประจาวัน สาระความรู้พ้ืนฐาน (ภาษาอังกฤษ) ระหว่างหลัง เรียนกับเกณฑ์ สมมุตฐิ านการวจิ ัย 1. นักศกึ ษาที่เรยี นดว้ ยบทเรยี นการสอนแบบบทบาทสมมุติ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง การ ส่ือสารในชีวิตประจาวัน วิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน สาระความรู้พ้ืนฐาน (ภาษาอังกฤษ) มี ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นหลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน 2. นกั ศึกษาทเี่ รียนด้วยบทเรียนการสอนแบบบทบาทสมมุติ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องการ ส่ือสารในชีวิตประจาวัน วิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน สาระความรู้พื้นฐาน (ภาษาอังกฤษ) มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวา่ เกณฑ์

6 ขอบเขตของการวจิ ัย ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 1. ประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อาเภอวังสามหมอ จานวน 5 หอ้ งเรียน 180 คน ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อาเภอวังสามหมอ ท่ีเรียน วิชา ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน จานวน 25 คน ซ่ึงได้มาด้วยวิธีการสุ่ม (Cluster Random Sampling) ตัวแปรท่ศี ึกษา ตัวแปรตน้ คือ วิธีการสอนแบบบทบาทสมมตุ ิ แบบฝึกทักษะ ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เรียนด้วย การจัดการเรียนรู้แบบบทบาทสมมุติ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เร่ืองการส่ือสารในชีวิตประจาวัน สาระ ความรูพ้ ้นื ฐาน (ภาษาอังกฤษ) เน้ือหา ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 5 แผน ไดแ้ ก่ 1) แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การทกั ทาย การกล่าวลา 2) แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 เรื่อง การแนะนาตนเองและผูอ้ ่นื 3) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง การโต้ตอบทางโทรศัพท์ (Telephone Conversation) 4) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การแสดงความรู้สึกต่างๆ (Expression of feeling) 5) แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5 เรือ่ ง การพูดแสดงความคดิ รูปแบบต่างๆ ระยะเวลาในการทาวจิ ัย ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยใน ปีการศึกษา 2562 จัดกิจกรรมท้ังหมด 5 แผน แผนละ 3 ชวั่ โมง รวมเวลาทง้ั สิ้น 15 ช่ัวโมง ใชเ้ วลา 12 สัปดาห์ นยิ ามศัพท์เฉพาะ การแสดงบทบาทสมมุติ หมายถึง สถานการณ์ของการแสดงโดยไม่มีการเตรียมตัว โดยเน้น ความสาคัญทบี่ ุคคลและบทบาท นักศึกษาสวมบทบาทคนใดคนหนึ่งและแสดงหรือปฏิบัติบทบาทใน สถานการณ์เฉพาะทก่ี าหนดขนึ้ จดุ มงุ่ หมายสาคัญเพื่อเพ่ิมพูนความรู้ ความเข้าใจลึกซึ้ง ในความรู้สึก ของนกั ศึกษาเกีย่ วกบั สถานการณ์เฉพาะนน้ั ๆ

7 การสอนแบบแสดงบทบาทสมมุติ เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนกาหนดหัวข้อเรื่อง ปัญหาต่างๆ หรือ สร้างสถานการณ์ข้ึนมาให้คล้ายกับสภาพความเป็นจริง แล้วให้ผู้เรียนได้เตรียมการล่วงหน้า แล้วจึง แสดงบทบาทตามที่สมมติข้ึนมาอันเป็นแนวทางท่ีสามารถนาไปแก้ปัญหาต่างๆ ท่ีอาจจะประสบใน ชีวติ ประจาวนั ตรรกพร สขุ เกษม (2555: 6) การแสดงบทบาทสมมตุ ิเป็นสถานการณ์ ของการแสดงโดยไม่มี การเตรียมตัว เน้นความสาคัญท่ีบุคคลและบทบาท ผู้เรียนสวมบทบาท คนใดคนหนึ่งและแสดงหรือ ปฏิบตั ิบทบาทของผู้ท่ีเขาเป็นในสถานการณ์เฉพาะท่ีกาหนดข้ึน จุดมุ่งหมายสาคัญเพ่ือเพิ่มพูนความ เขา้ ใจลึกซึ้ง (insight) ในความรสู้ ึกของผเู้ รียนเกยี่ วกบั สถานการณ์เฉพาะนน้ั ๆ วารี ถิรจิตร (2554: 186 อ้างอิงใน กรมวิชาการ, 2543 ข: 18) กล่าวว่า บทบาทสมมุติ หมายถงึ การสมมติบทบาทและจัดสถานการณ์ใหผ้ ้แู สดงบทบาทได้แสดงความรู้สึกนึกคิดอารมณ์จาก สถานการณ์ท่ีสมมติข้ึนซึ่งอาจจะเตรียมมาก่อน ภายหลังของการแสดงบทบาทสมมุติ จะต้องมีการ อภิปรายเกี่ยวกับการแสดงบทบาทความรู้สึกนึกคิดของผู้แสดง ผู้ดูและมีการสรุปผลของการแสดง บทบาทน้ันด้วยการแสดงบทบาทสมมุติ เป็นการฝึกให้ผู้แสดงได้ประสบกับสถานการณ์จริงในสภาพ ของการสมมติข้ึนมา ท้ังนี้เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้ทดลองและเรียนรู้ท่ีจะปรับพฤติกรรมของตนอย่างมี ประสิทธภิ าพในสภาวะต่างๆ การสอนโดยการแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) คือ เทคนิคการสอนท่ีให้ผู้เรียนแสดง บทบาทในสถานการณ์ที่สมมติข้ึน นั่นคือ แสดงบทบาทที่กาหนดให้การแสดงบทบาทสมมุติ มี 2 ลักษณะ คือ 1. ผู้แสดงบทบาทสมมุติจะต้องแสดงบทบาทของคนอื่น โดยละท้ิงแบบแผนพฤติกรรมของ ตนเองหรือการเปลยี่ นบทบาทซึ่งกนั และกันกับเพอ่ื นหรือเป็นบคุ คลสมมติ 2. ผู้แสดงบทบาทจะยังคงรักษาบทบาทและแบบแผนพฤติกรรมของตน แต่ปฏิบัติอยู่ใน สถานการณ์ทอ่ี าจพบในอนาคต บทบาทสมมุติประเภทน้ีเปน็ ประโยชน์ต่อการฝึกฝนทกั ษะเฉพาะ บทบาทสมมุติท่ใี ชป้ ระกอบการเรียนการสอนอยูใ่ นปจั จุบันน้ี แยกได้เปน็ 3 วิธี ดงั นี้ 1. การแสดงบทแสดงละคร วิธนี ี้ผ้ทู ี่จะแสดงต้องฝึกซ้อมแสดงท่าทางตามบทที่กาหนดข้ึนไว้ แล้ว เช่นการแสดงละครเร่ืองที่เกี่ยวกับบทเรียนในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ ผู้แสดงบทบาทสมมุติ แบบละครจะตอ้ งพดู ตามบทบาททผี่ เู้ ขียนกาหนดขึ้น 2. การแสดงบทบาทสมมุติแบบไม่มีบทเตรียมไว้ ผู้แสดงต้องไม่ฝึกซ้อมมาก่อนเรียนไปถึง เร่ืองใดตอนใดก็ออกมาแสดงได้ทันที โดยแสดงไปตามความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เช่น แสดงเป็น บคุ คลตา่ งๆ ในชุมนมุ เป็นหมอ เป็นทหาร เป็นตารวจ นักศึกษาได้คิด ได้พูดและแสดงพฤติกรรมจาก ความรู้สกึ นกึ คดิ ของเขาเอง 3. การใช้บทบาทสมมุติแบบเตรยี มบทไว้พรอ้ มผู้สอนไดเ้ ตรียมบทมาไวล้ ่วงหน้าบอกความคิด รวบ ยอดให้ผู้แสดงทราบ ผู้แสดงอาจต้องแสดงตามบทบาทบ้าง คิดบทบาทข้ึนแสดงเองตามความ พอใจบ้าง แต่ต้องตรงกับเน้ือเร่ืองทีก่ าหนดให้

8 ขนั้ ตอนการจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรแู้ บบแสดงบทบาทสมมตุ ิ มีขน้ั ตอนดังตอ่ ไปนี้ 1. ขั้นเตรยี มการใช้บทบาทสมมุติ แบง่ เปน็ 2 ข้นั ตอน ดังน้ี 1) ขั้นการกาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะ ผู้สอนควรศึกษาและทาความเข้าใจพื้นฐาน เสยี กอ่ นวา่ ตอ้ งการใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับความรู้อะไรบา้ งจากการแสดงและกรรมวิธีในการใช้บทบาทสมมุติ นาไปเพ่อื ต้องการให้เกิดอะไรขึ้น 2) ข้ันสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมุติ เม่ือผู้สอนได้ศึกษาและเข้าใจรายละเอียด เก่ียวกับวัตถุประสงค์เฉพาะในการเตรียมใช้บทบาทสมมุติแล้ว ก็จาเป็นต้องสร้างสถานการณ์และ บทบาทสมมุติให้สอดคล้องต้องกันกับวัตถุประสงค์ดังกล่าว ซ่ึงจาเป็นต้องเล็งเห็นถึงวัยของผู้เรียน เนื้อหาสาระ ปญั หา ความเป็นจริง ข้อโต้แย้ง ตลอดจนอุปสรรคที่จาเป็นต่างๆ ท่ีผู้สอนต้องให้ผู้เรียน ไดร้ จู้ ักคดิ ปฏบิ ตั ิและแกไ้ ขดว้ ยตนเอง 2. ขน้ั แสดงบทบาทสมมตุ ิ แบ่งเป็น 7 ขั้นตอน ดังน้ี 1) การนาเข้าสู่สถานการณ์ ผู้สอนเตรียมเร่ืองหรือสถานการณ์ให้ผู้เรียน แล้วนา เร่ืองราวมาเล่าให้ผู้เรียนฟัง เพ่ือเป็นการเร้าความสนใจเป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียนอยากเรียนและ อยาก ติดตาม และควรให้ผู้เรียนได้เล็งเห็นประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการที่เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง บทบาทสมมตุ ินนั้ ๆ 2) การกาหนดตัวผู้แสดง การเลือกผู้แสดงขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการสอนและการ แสดงสาหรบั การเลือกตัวผแู้ สดง ควรใหผ้ ู้เรยี นอาสาสมัครมาแสดงบทบาทดว้ ยความเต็มใจ 3) การจัดสถานท่ี ผู้สอนควรให้ผู้เรียนได้ร่วมมือในการจัดสถานที่สาหรับการแสดง บทบาทสมมุติ ซงึ่ ควรจัดและดัดแปลงให้เหมาะสมกบั เนือ้ เรือ่ งท่ีกาหนดไว้ 4) การกาหนดตัวผู้สังเกตการณ์ โดยผู้สอนอาจจะกาหนดผู้เรียนกลุ่มหนึ่งให้เป็น ผู้ สังเกตการณ์ในการแสดงบทบาท โดยฝึกให้เป็นคนช่างสังเกตและรวบรวมข้อมูลต่างๆ เพ่ือนามา วเิ คราะห์ อภปิ ราย และแกป้ ญั หารว่ มกัน หลงั จากสิ้นสดุ การแสดงบทบาทสมมุติแล้ว 5) การเตรยี มพร้อมก่อนการแสดง วิธีเตรียมความพร้อมน้ันผู้สอนต้องเป็นผู้ช่วยเหลือ ไม่ให้ผู้เรียนต้องมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการแสดงให้มากเกินไป ควรช้ีแจงให้ผู้แสดงทราบว่า การ แสดงก็เหมอื นกบั การพดู คยุ และเลน่ กันธรรมดา เพยี งแตต่ อ้ งแสดงบทบาทต่างๆ ตามท่ีได้กาหนดไว้ เท่านน้ั 6) การลงมือแสดง เมื่อผู้แสดงพร้อมแล้วก็เริ่มลงมือแสดงได้เลย ควรเปิดโอกาสให้ ผู้ แสดงได้ใช้ความสามารถของตนได้เตม็ ที่ ถ้าเกิดปัญหาข้ึนในขณะที่แสดง ผู้สอนควรมีส่วนร่วมในการ แกไ้ ขสถานการณ์ เพอ่ื ให้การแสดงเปน็ ไปตามธรรมชาติและราบร่ืนต่อไป

9 7) การตัดบท ถ้าบังเอิญการแสดงของผู้เรียนยืดเย้ือและใช้เวลานานเกินความจาเป็น และผสู้ อนที่ความคิดเหน็ ว่าได้ข้อมูลในการแสดงพอสมควรแลว้ สามารถขอให้ยุติการแสดง เพ่ือจะได้ นาข้อมลู มาวเิ คราะห์และอภปิ รายและแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ต่อไป 3. ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผล การนาข้อมูลที่ได้จากการแสดงมาวิเคราะห์และ อภปิ ราย ผู้สอนและผู้เรียนต้องร่วมมือกัน แต่ควรอภิปรายในรูปแบบของความมีเหตุมีผลเฉพาะการ แสดงออกของผูแ้ สดงทางพฤติกรรมเทา่ น้นั แตจ่ ะไม่มกี ารวพิ ากษ์วจิ ารณเ์ ก่ียวกับตัวผู้แสดง 4. ข้ันแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป เมื่อได้วิเคราะห์และอภิปรายผลของการแสดง แล้ว ผู้สอนจะเปน็ ผูเ้ ร้าและจงู ใจใหผ้ ู้เรียนไดแ้ ลกเปล่ยี นประสบการณ์ต่างๆ เพ่ือให้มีแนวคิดกว้างขวา ขึ้น โดยให้ข้อคดิ ว่าสง่ิ ทีไ่ ด้เรียนรหู้ รอื ประสบพบเหน็ นั้นๆ จะเก่ียวข้องกับความเป็นจริงทั้งสิ้น แล้วให้ ผ้เู รียนช่วยกันใหแ้ นวมโนทัศน์และช่วยกันสรุปประเด็นให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการแสดงบทบาท สมมตุ ิที่กาหนดไว้ บุญชม ศรีสะอาด (2541: 62 อ้างอิงใน กรมวิชาการ, 2543 ข: 20) ได้เสนอแนะเพื่อ เพิ่มประสทิ ธภิ าพของการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมตุ ิ ไวด้ ังน้ี 1. ผสู้ อนควรชแี้ จงจดุ ประสงคข์ องการแสดงบทบาทสมมุติ และสง่ิ ที่ต้องการให้ผู้สังเกต ศกึ ษาจากการแสดงบทบาทสมมุตินน้ั 2. ผู้สอนต้องเตรียมสถานการณ์ และมีคาอธิบายสถานการณ์ให้ชัดเจนสาหรับผู้ท่ีจะ แสดงบทบาทแต่ละคน ซ่ึงจะต้องจดจาสถานการณ์ท่ีตนจะต้องแสดงบทบาทไว้ให้แม่นยา มีความ เข้าใจในบทบาทของตนอย่างรู้แจ้ง สถานการณ์และบทบาทท่ีกาหนดมักพิมพ์ลงในแผ่นกระดาษเพื่อ มอบใหผ้ ูแ้ สดงไดศ้ กึ ษา 3. ควรให้เวลาในช่วงสั้นๆ สาหรับผู้ท่ีจะแสดงบทบาทสมมุติได้ประมวลความคิด ซักซ้อมและ เตรยี มการ 4. ใน ก าร แส ดง บทบ าท สม มุติ จะ ต้ อ ง มีบ ร ร ยาก าศ ที่เ สรี และ คว าม รู้ สึ ก ปลอดภยั 5. อาจมกี ารปรบั ปรงุ และแสดงกจิ กรรมบางตอนใหม่ 6. หลังจากการแสดงบทบาทสมมุติควรมีการอภิปรายถึงพฤติกรรมท่ีแสดงและ ประเมินผลการปฏิบตั ขิ องผู้เรยี น โดยใช้คาถามต่อไปนี้ 1) แต่ละคนแสดงบทบาทได้สมจริงเพียงใด 2) มีความแตกตา่ งของบทบาทท่ีแสดงในทางใด 3) การแสดงบทบาทเปล่ียนแปลงแนวคิดของท่านเกี่ยวกับตัวละครที่แสดง อยา่ งไร 4) อะไรคือจดุ ประสงค์ของการแสดงบทบาทสาหรับบทเรียนนี้

10 แบบฝึกทักษะ หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนชนิดหน่ึง ที่ใช้ฝึกทักษะให้กับผู้เรียน หลังจาก เรียนจบเน้อื หาในช่วงหนึ่งๆ เพื่อฝกึ ฝนใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจ รวมทงั้ เกิดความชานาญในเรื่องนั้นๆ อย่างกว้างขวางมากขึน้ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนความร้คู วามเขา้ ใจในเนื้อหาตามบทเรียนหลังเรียน ของนกั ศึกษาท่ไี ด้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนที่ผู้วจิ ยั สรา้ งข้ึน ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนะคติหรือระดับความพึงพอใจของบุคคลต่อกิจกรรมต่างๆ ซ่ึง สะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพของกิจกรรมนั้นๆ โดยเกิดจากพ้ืนฐานของการรับรู้ ค่านิยมและ ประสบการณ์ทีแ่ ตล่ ะบุคคลไดร้ บั ประสทิ ธภิ าพ ตามเกณฑ์ 70/70 หมายถงึ ระดบั คะแนนท่ีกาหนดขึ้นเพ่ือประเมินผลสัมฤทธิ์ แบบฝึกทักษะ เรอ่ื งการสอ่ื สารในชีวติ ประจาวนั ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบบทบาทสมมุติของ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ทีผ่ ้วู จิ ยั สร้างขน้ึ 70 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการทาแบบฝึกทักษะและ คะแนนเฉลี่ยไม่ตา่ กว่ารอ้ ยละ 70 70 ตัวหลงั หมายถงึ ร้อยละของคะแนนเฉล่ียที่ได้จากการทาแบบทดสอบหลังเรียน และคะแนนเฉล่ยี ไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 70 ดัชนีประสิทธิผล หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียนโดยการ เทียบคะแนนที่เพ่มิ ขนึ้ จากคะแนนการทดสอบก่อนเรียนกับคะแนนทดสอบหลังเรียนและคะแนนเต็ม หรอื คะแนนสงู สุดกบั คะแนนทไี่ ด้จากการทดสอบก่อนเรียน ประโยชน์ของการวจิ ยั 1. การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นของนกั ศกึ ษา กศน.ทเี่ รียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ บทบาทสมมตุ ิ โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ จะมีแนวโน้มผลการเรยี นท่ีดขี ้นึ 2. การจัดการเรียนรู้แบบบทบาทสมมุติ โดยใช้แบบฝึกทักษะ จะช่วยสร้างบรรยากาศของ กระบวนการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรยี น กศน. ใหเ้ กิดความหลากหลาย 3. การพัฒนากิจกรรมสาหรับครูภาษาอังกฤษ ในการจัดการเรียนการสอนที่มีความ หลากหลาย เหมาะสมกับนกั ศกึ ษา กศน. ที่มีวัยหรืออายุทีแ่ ตกตา่ งกนั

11 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง การวิจัยเร่ือง การจัดการเรียนการสอนแบบบทบาทสมมุติ (Role Playing) โดยใช้แบบฝึก ทักษะ เร่ือง การสื่อสารในชีวิตประจาวัน วิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน สาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ สาหรับนักศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.อาเภอวังสามหมอ ผู้วิจัยได้ศึกษา แนวคิดเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ดงั นี้ 1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันฐานพทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระความรู้พ้ืนฐาน 2. การจัดการเรยี นรแู้ บบบทบาทสมมตุ ิ (Role Playing) 3. แบบฝกึ ทักษะ 4. แผนการจัดการเรียนรู้ 5. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 6. การประเมนิ แบบฝกึ ทักษะ 7. ดชั นปี ระสทิ ธผิ ล 8. ความพงึ พอใจ 9. งานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระความรูพ้ ้ืนฐาน (ภาษาองั กฤษ ) ในสังคมโลกปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งใน ชวี ติ ประจาวนั เน่อื งจากเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การ ประกอบอาชพี การสร้างความเข้าใจเก่ยี วกบั วฒั นธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึง ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นามาซ่ึงมิตรไมตรีและความร่วมมือกับ ประเทศตา่ งๆ ชว่ ยพัฒนาผูเ้ รยี นให้มีความเข้าใจตนเองและผู้อ่ืนดีขึ้น เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่าง ของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี การคิด สงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง การปกครอง มี เจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้ รวมทั้งเข้าถึง องค์ความรู้ตา่ งๆ ไดง้ า่ ยและกวา้ งขน้ึ และมีวิสยั ทัศน์ในการดาเนนิ ชวี ติ ภาษาต่างประเทศทีเ่ ป็นสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน ซ่ึงกาหนดให้เรียนตลอดหลักสูตรการศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน คอื ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาตา่ งประเทศอื่น เช่น ภาษาฝรัง่ เศส เยอรมนั จีน ญ่ีปนุ่ อาหรับ บาลี และภาษากลุ่มประเทศเพ่ือนบ้าน หรือภาษาอ่ืนๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะจัดทา รายวิชาและจดั การเรยี นรตู้ ามความเหมาะสม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใชภ้ าษาต่างประเทศ สอื่ สารในสถานการณ์ต่างๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษา

12 ต่อ ในระดับท่ีสูงขึ้น รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของ ประชาคมโลก และสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ ประกอบดว้ ยสาระสาคญั ดงั นี้ ภาษาเพอื่ การสือ่ สาร การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สกึ และความคิดเหน็ ตีความ นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและความคิดเห็น ในเร่อื งตา่ งๆ และสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม ภาษาและวฒั นธรรม การใชภ้ าษาต่างประเทศตามวฒั นธรรมของเจ้าของภาษาความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากบั วัฒนธรรมไทย และนาไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน การใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยง ความร้กู บั กล่มุ สาระการเรียนรูอ้ ื่นเป็นพนื้ ฐานในการพฒั นาแสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทัศน์ของตน ภาษากบั ความสัมพันธก์ ับชุมชนและโลก การใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลกเป็นเครื่องมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ ประกอบ อาชีพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสงั คมโลก คณุ ภาพผเู้ รยี น จบชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 1. ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาช้ีแจง และคาอธิบายท่ีฟังและอ่าน การสื่อสารใน ชีวิตประจาวันข้อความ ข่าว โฆษณา นิทาน และบทร้อยกรองส้ันๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/ เขียนส่ือที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความที่ฟังหรืออ่าน เลือก/ระบุ หัวข้อเร่ือง ใจความสาคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่าน จากสอ่ื ประเภทตา่ งๆ พรอ้ มทั้งใหเ้ หตผุ ลและยกตัวอยา่ งประกอบ 2. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องทอี่ ยใู่ นความสนใจของสงั คมและส่ือสารอย่างต่อเน่ืองและเหมาะสม ใช้คาขอร้อง คาชี้แจง และ คาอธิบาย ให้คาแนะนาอยา่ งเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความตอ้ งการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ พูดและเขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรยี บเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับเรอ่ื งทีฟ่ ังหรอื อา่ นอยา่ งเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย ความร้สู กึ และความคิดเห็นของตนเองเก่ยี วกับเรอ่ื งต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์ พร้อมทง้ั ให้เหตุผลประกอบอยา่ งเหมาะสม

13 3. พูดและเขยี นบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็นต่างๆ ที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ/แก่นสาระ หัวข้อเรื่องท่ีได้จากการ วิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น เก่ยี วกบั กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณ์ พรอ้ มให้เหตผุ ลประกอบ 4. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของ เจา้ ของภาษา เขา้ ร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ 5. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยค ชนิดต่างๆ และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาอังกฤษ เปรยี บเทียบและ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชวี ิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของ เจา้ ของภาษากับของไทย และนาไปใชอ้ ย่างเหมาะสม 6. ค้นคว้า รวบรวมและสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงท่ีเก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนจาก แหลง่ การเรยี นรู้ และนาเสนอดว้ ยการพดู และการเขยี น 7. ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม 8. ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากส่ือ และแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชมุ ชน และทอ้ งถิน่ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ 9. มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) ส่ือสารตามหัวเรื่อง เกย่ี วกับตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น สิง่ แวดล้อม อาหาร เครื่องด่ืม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพ และสวัสดิการ การซ้ือ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานท่ี ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคาศัพท์ประมาณ 2,100 – 2,250 คา (คาศัพทท์ เี่ ป็นนามธรรมมากขนึ้ ) 10.ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อน (Complex Sentences) ส่ือความหมายตามบริบท ตา่ งๆ ในการสนทนาทง้ั ที่เปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ

14 ตัวชวี้ ัดช้ันปี สาระที่ 1 ภาษาเพ่ือการสอ่ื สาร มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเร่อื งท่ีฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความ คดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล ม.1 ตัวชีว้ ัดชัน้ ปี ม.3 1. ปฏบิ ตั ิตามคาส่ัง คาขอรอ้ ง ม.2 1. ปฏิบตั ติ าม คาขอร้อง คาแนะนา และ คาช้แี จงงา่ ยๆ คาแนะนาคาชแ้ี จง และ ทีฟ่ ังและอ่าน 1.ปฏิบัตติ าม คาขอรอ้ ง คาอธิบายท่ฟี งั และอ่าน 2. การสือ่ สารในชวี ิตประจาวัน คาแนะนา คาชแี้ จง และ 2. การสอื่ สารใน ขอ้ ความ นทิ าน และบทร้อย คาอธบิ ายง่ายๆ ทฟ่ี งั และอ่าน ชวี ติ ประจาวนั ข้อความ ข่าว กรอง (poem) สนั้ ๆ ถูกต้อง 2. การส่ือสารในชีวิตประจาวัน โฆษณา และบทร้อย-กรอง ตาม หลกั การอา่ น ข้อความ ข่าว ประกาศ และบท สนั้ ๆ ถกู ตอ้ งตาม หลักการ 3. เลอื ก/ระบุ ประโยคและ ร้อย-กรองส้ันๆ ถูกตอ้ งตาม อา่ น ขอ้ ความ ใหส้ ัมพนั ธ์กบั หลักการอา่ น 3. ระบแุ ละเขียนส่ือท่ีไมใ่ ช่ สอ่ื ท่ไี มใ่ ช่ความเรยี ง (non- 3. ระบ/ุ เขียนประโยค และ ความเรียง รปู แบบต่างๆ ให้ text information) ท่ีอ่าน ข้อความ ให้สัมพันธก์ ับสอ่ื ท่ีไมใ่ ช่ สมั พนั ธ์กับประโยค และ 4. ระบุหวั ขอ้ เรื่อง (topic) ความเรียง รปู แบบต่างๆ ขอ้ ความท่ีฟังหรืออา่ น ใจความสาคัญ (main idea) ทอี่ ่าน 4.เลอื ก/ระบุหัวขอ้ เร่ือง และตอบคาถามจากการฟัง 4. เลอื กหัวข้อเรือ่ ง ใจความ ใจความสาคญั รายละเอียด และอ่านบทสนทนา นิทาน สาคญั บอกรายละเอียดสนับสนุน สนบั สนนุ และแสดงความ และเรื่องสั้น (supporting detail) และแสดง คิดเหน็ เกยี่ วกับเรอื่ งทฟี่ ังและ ความคิดเหน็ เก่ยี วกับเร่อื งทฟี่ ัง อา่ นจากส่ือประเภทต่างๆ และอา่ น พรอ้ มทง้ั ให้เหตผุ ลและ พร้อมทงั้ ใหเ้ หตผุ ลและ ยกตัวอยา่ งงา่ ยๆ ประกอบ ยกตัวอย่าง ประกอบ ตารางที่ 1 ตวั ชว้ี ัดชั้นปี สาระท่ี 1 ภาษาเพือ่ การสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 (ทม่ี า: กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2560)

15 สาระท่ี 1 ภาษาเพ่อื การสอื่ สาร มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร แสดง ความร้สู กึ และความคิดเหน็ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ตัวชว้ี ัดช้ันปี ม.1 ม.2 ม.3 1. สนทนา แลกเปลย่ี นขอ้ มูล 1. สนทนา แลกเปล่ยี น ขอ้ มลู 1. สนทนาและเขยี นโต้ตอบ เกย่ี วกับตนเอง กิจกรรม และ เก่ียวกบั ตนเอง เรือ่ งต่างๆ ใกล้ ข้อมูลเกีย่ วกับตนเอง สถานการณต์ ่างๆ ใน ตัว และสถานการณ์ตา่ งๆ ใน เร่อื งต่างๆ ใกลต้ ัวสถานการณ์ ชวี ติ ประจาวัน ชวี ติ ประจาวนั อยา่ งเหมาะสม ขา่ ว เรอ่ื งท่ีอยู่ในความสนใจ 2. ใชค้ าขอร้อง ให้คาแนะนา 2. ใช้คาขอรอ้ ง ให้คาแนะนา ของสังคม และส่อื สารอย่าง และคาช้ีแจง ตามสถานการณ์ คาชี้แจงและ คาอธิบาย ตอ่ เน่ืองและเหมาะสม 3. พูดและเขียนแสดงความ ตามสถานการณ์ 2. ใชค้ าขอรอ้ ง ใหค้ าแนะนา ตอ้ งการ ขอความช่วยเหลอื 3. พดู และเขยี นแสดงความ คาชีแ้ จง และคาอธิบาย ตอบรับและปฏเิ สธการใหค้ วาม ตอ้ งการ เสนอและให้ความ อย่างเหมาะสม ช่วยเหลือในสถานการณต์ ่างๆ ชว่ ยเหลือ ตอบรับ และปฏเิ สธ 3. พดู และเขียนแสดงความ อยา่ งเหมาะสม การให้ ความช่วยเหลือ ต้องการ เสนอและให้ความ 4. พดู และเขยี นเพ่ือขอและให้ ในสถานการณ์ตา่ งๆ อย่าง ช่วยเหลือตอบรับและปฏเิ สธ ขอ้ มลู และแสดงความคดิ เห็น เหมาะสม การใหค้ วามช่วยเหลือใน เกย่ี วกบั เร่ืองท่ฟี งั หรอื อา่ น 4. พูดและเขียนเพ่อื ขอและให้ สถานการณต์ ่างๆอย่าง อยา่ งเหมาะสม ขอ้ มลู บรรยาย และแสดง เหมาะสม 5. พูดและเขียนแสดง ความคิดเห็นเก่ียวกับ เรื่องที่ฟงั 4. พูดและเขยี นเพ่ือขอและให้ ความรูส้ ึก และความคดิ เหน็ หรืออา่ น อย่างเหมาะสม ขอ้ มลู อธบิ าย เปรียบเทยี บ ของตนเอง เกีย่ วกับเร่ืองตา่ งๆ 5. พดู และเขยี นแสดงความรู้สึก และแสดงความคิดเห็น ใกล้ตัว กิจกรรมต่างๆพรอ้ มทัง้ และความคดิ เหน็ ของตนเอง เกี่ยวกับเรอ่ื งที่ฟังหรอื อา่ น ใหเ้ หตุผลสัน้ ๆประกอบอย่าง เกี่ยวกบั เรอื่ งต่างๆกจิ กรรม อย่างเหมาะสม เหมาะสม และประสบการณ์ 5.พดู และเขยี นบรรยาย พร้อมทัง้ ให้เหตุผลประกอบ ความร้สู ึก และความคดิ เหน็ อย่างเหมาะสม ของตนเองเกี่ยวกบั เรอ่ื งตา่ งๆ กจิ กรรมประสบการณ์ และ ขา่ ว/เหตุการณ์พรอ้ มท้งั ให้ เหตผุ ลประกอบอย่างเหมาะสม ตารางที่ 2 ตัวช้ีวัดชัน้ ปี สาระท่ี 1 ภาษาเพอื่ การสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.2 (ท่ีมา: กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2560)

16 สาระที่ 1 ภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเร่ืองต่างๆ โดยการพูดและการเขยี น ตัวช้ีวัดช้ันปี ม.1 ม.2 ม.3 1. พดู และเขียนบรรยายเก่ยี วกับ 1. พดู และเขยี นบรรยาย 1. พูดและเขียนบรรยาย ตนเอง กิจวตั รประจาวัน เกย่ี วกบั ตนเอง กิจวตั ร เกยี่ วกับตนเองประสบการณ์ ประสบการณ์ และส่ิงแวดลอ้ ม ประจาวนั ประสบการณ์ และ ขา่ ว/เหตกุ ารณ์/เรือ่ ง/ ใกล้ตวั ข่าว/เหตกุ ารณ์ ทอ่ี ยใู่ นความ ประเด็นตา่ งๆ ที่อยู่ในความ 2. พูด/เขยี น สรุปใจความสาคัญ/ สนใจของสงั คม สนใจ ของสงั คม แก่นสาระ (theme) ที่ไดจ้ ากการ 2. พูดและเขียนสรุปใจความ 2. พูดและเขยี นสรุปใจความ วิเคราะห์เรอ่ื ง/เหตุการณ์ท่ีอยใู่ น สาคัญ/แกน่ สาระ หวั ขอ้ เรื่อง สาคญั /แก่นสาระ หวั ข้อเรอ่ื ง ความสนใจของสงั คม (topic) ท่ไี ด้จากการวเิ คราะห์ ทีไ่ ด้จากการวเิ คราะหเ์ ร่ือง/ 3. พูด/เขียนแสดงความคิดเห็น เรอื่ ง/ข่าว/เหตกุ ารณ์ทอี่ ยใู่ น ขา่ ว/เหตกุ ารณ์/สถานการณ์ เกยี่ วกบั กิจกรรมหรอื เร่อื งต่างๆ ความสนใจของสังคม ท่อี ย่ใู นความสนใจของสังคม ใกล้ตัวพร้อมท้งั ใหเ้ หตผุ ลส้นั ๆ 3. พูดและเขยี นแสดงความ 3. พดู และเขียนแสดงความ ประกอบ คิดเหน็ เกีย่ วกบั กิจกรรม คดิ เหน็ เกยี่ วกับกจิ กรรม เรื่องต่างๆ ใกลต้ ัว และ ประสบการณ์ และ ประสบการณ์ พรอ้ มทงั้ เหตุการณพ์ รอ้ มท้ังใหเ้ หตผุ ล ให้เหตุผลสน้ั ๆประกอบ ประกอบ ตารางที่ 3 ตวั ชีว้ ัดช้ันปี สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการส่ือสาร มาตรฐาน ต 1.3 (ทีม่ า: กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2560)

17 สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และ นาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ ม.1 ตัวชวี้ ัดชัน้ ปี ม.3 1.ใชภ้ าษา นา้ เสยี ง และกิรยิ า ม.2 1.เลอื กใชภ้ าษา นา้ เสยี ง ท่าทาง สุภาพ เหมาะสม ตาม และกริ ยิ าทา่ ทาง เหมาะกับ มารยาทสงั คม และวฒั นธรรม 1. ใชภ้ าษา นา้ เสียง และกริ ิยา บคุ คลและโอกาส ตาม ของเจ้าของภาษา ท่าทาง เหมาะกับบุคคลและ มารยาทสังคม และ 2. บรรยาย เก่ียวกบั เทศกาลวนั โอกาส ตามมารยาทสงั คม และ วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา สาคัญ ชวี ติ ความเป็นอยู่ และ วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา 2. อธิบาย เกย่ี วกับชวี ติ ประเพณี ของเจา้ ของภาษา 2. อธิบายเกี่ยวกบั เทศกาลวัน ความเปน็ อยู่ 3. เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษา สาคญั ชีวิตความเป็นอยู่และ ขนบธรรมเนียม และ และวัฒนธรรมตามความสนใจ ประเพณีของเจ้าของภาษา ประเพณี ของเจ้าของภาษา 3. เข้ารว่ ม/จัดกจิ กรรมทาง 3.เข้าร่วม/จดั กิจกรรมทาง ภาษาและวฒั นธรรมตามความ ภาษาและวฒั นธรรมตาม สนใจ ความสนใจ ตารางท่ี 4 ตวั ชวี้ ดั ชัน้ ปี สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 (ท่มี า: กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2560)

18 สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษากบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใชอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม ตวั ช้วี ัดช้นั ปี ม.1 ม.2 ม.3 1. บอกความเหมือนและความ 1. เปรยี บเทยี บและอธบิ าย 1. เปรียบเทียบและอธบิ าย แตกตา่ งระหว่างการออกเสียง ความเหมอื นและความ ความเหมอื นและความ ประโยคชนดิ ตา่ งๆ การใช้ แตกตา่ งระหวา่ งการออกเสยี ง แตกต่างระหว่างการออก เครือ่ งหมายวรรคตอน และการ ประโยคชนดิ ต่างๆ และการ เสยี งประโยคชนดิ ตา่ งๆ ลาดับคา ตามโครงสร้างประโยค ลาดบั คา ตามโครงสรา้ ง และการลาดับคา ตาม ของ ภาษาตา่ งประเทศและ ประโยค ของภาษาตา่ งประเทศ โครงสร้างประโยค ของ ภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษ ภาษาต่างประเทศ 2 .เปรยี บเทียบความเหมอื นและ 2. เปรยี บเทียบและอธิบาย และภาษาอังกฤษ ความแตกต่างระหว่างเทศกาล ความเหมือนและความ 2. เปรยี บเทียบและอธบิ าย งานฉลอง วันสาคญั และชวี ติ แตกตา่ งระหวา่ งชวี ิตความ ความเหมอื นและความ ความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา กบั เป็นอยแู่ ละวฒั นธรรมของ แตกต่างระหว่างชวี ติ ความ ของไทย เจา้ ของภาษา กับของไทย เป็นอยู่และวัฒนธรรมของ เจา้ ของภาษา กับของไทย และ นาไปใช้อย่างเหมาะสม ตารางที่ 5 ตัวชีว้ ัดชนั้ ปี สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต 2.2 (ท่ีมา: กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2560)

19 สาระที่ 3 ภาษากบั ความสัมพันธก์ ับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อนื่ มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพนื้ ฐานใน การพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทศั นข์ องตน ตวั ช้วี ัดชั้นปี ม.1 ม.2 ม.3 1. คน้ คว้า รวบรวม และสรุป ข้อมลู /ขอ้ เทจ็ จริงที่เกีย่ วข้อง 1. คน้ คว้า รวบรวม และสรุป 1. คน้ คว้า รวบรวม และสรปุ กับกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ่ืน จากแหล่งเรียนรูแ้ ละนาเสนอ ขอ้ มลู /ข้อเท็จจรงิ ที่เกี่ยวข้องกบั ขอ้ มลู /ขอ้ เท็จจรงิ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ด้วยการพดู /การเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้อนื่ จาก กับกลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่น แหล่งเรียนรูแ้ ละนาเสนอด้วย จากแหล่งเรยี นรแู้ ละนาเสนอ การพูด/การเขยี น ดว้ ยการพูดและการเขียน ตารางที่ 6 ตัวช้ีวัดช้นั ปี สาระท่ี 3 ภาษากับความสัมพันธก์ ับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่นื มาตรฐาน ต 3.1 (ท่มี า: กระทรวงศึกษาธิการ, 2560) สาระที่ 4 ภาษากบั ความสมั พันธ์กับชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และ สังคม ตัวชว้ี ัดช้ันปี ม.1 ม.2 ม.3 1. ใช้ภาษาสื่อสาร ใน 1. ใช้ ภาษาส่ื อสารใ น 1 .ใ ช้ ภ า ษ า สื่ อ ส า ร ใ น สถานการณ์จริง/สถานการณ์ สถานการณ์จริง/สถานการณ์ สถานการณ์จริง/สถานการณ์ จาลองที่เกิดข้ึนในห้องเรียน จาลองท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียน จาลองท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียน และสถานศึกษา สถานศึกษา และชุมชน สถานศึกษาชมุ ชน และสังคม ตารางท่ี 7 ตัวช้ีวดั ชัน้ ปี สาระท่ี 4 ภาษากบั ความสัมพันธก์ บั ชุมชนโลก มาตรฐาน ต 4.1 (ที่มา: กระทรวงศึกษาธิการ, 2560)

20 สาระท่ี 4 ภาษากับความสมั พันธก์ บั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเคร่ืองมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพ และการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กับสังคมโลก ตวั ชวี้ ัดช้ันปี ม.1 ม.2 ม.3 1. ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ 1. ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ 1. ใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสบื ค้น/คน้ คว้า รวบรวม และสรปุ ความรู้/ ในการสืบคน้ /คน้ ควา้ ความรู/้ ขอ้ มูล ในการสบื ค้น/ค้นคว้า ข้อมูลต่างๆ จากสอื่ และ แหล่งการเรยี นรู้ตา่ งๆใน ต่างๆ จากสื่อและแหลง่ การเรยี นรู้ รวบรวมและสรุปความรู้/ การศกึ ษาต่อและประกอบ อาชีพ ตา่ งๆในการศกึ ษาตอ่ และ ประกอบ ขอ้ มูลต่างๆ จากสอื่ และ 2. เผยแพร่/ ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล อาชีพ แหลง่ การเรยี นรตู้ ่างๆใน ข่าวสารของโรงเรยี นชมุ ชน และทอ้ งถ่ิน เป็น การศกึ ษาต่อและประกอบ ภาษาต่างประเทศ อาชีพ 2. เผยแพร/่ ประชาสมั พนั ธ์ ข้อมูล ขา่ วสารของโรงเรยี น เปน็ ภาษาต่างประเทศ ตารางที่ 8 ตัวชวี้ ดั ชนั้ ปี สาระท่ี 4 ภาษากบั ความสมั พนั ธ์กบั ชุมชนโลก มาตรฐาน ต 4.1 (ท่ีมา: กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2560) การจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมุติ ขัน้ ตอนการจัดการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมุติ มขี ้ันตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ขัน้ เตรียมการใช้บทบาทสมมตุ ิ แบง่ เปน็ 2 ข้นั ตอน ดงั นี้ 1) ขัน้ การกาหนดวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ ผู้สอนควรศกึ ษาและทาความเขา้ ใจพ้นื ฐานเสียก่อน วา่ ตอ้ งการให้ผ้เู รียนไดร้ ับความรู้อะไรบา้ งจากการแสดงและกรรมวธิ ใี นการใช้บทบาทสมมุตินาไปเพื่อ ตอ้ งการใหเ้ กดิ อะไรข้นึ 2) ข้ันสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมุติ เมื่อผู้สอนได้ศึกษาและเข้าใจรายละเอียด เก่ียวกับวัตถุประสงค์เฉพาะในการเตรียมใช้บทบาทสมมุติแล้ว ก็จาเป็นต้องสร้างสถานการณ์และ

21 บทบาทสมมุติให้สอดคล้องต้องกันกับวัตถุประสงค์ดังกล่าว ซึ่งจาเป็นต้องเล็งเห็นถึงวัยของผู้เรียน เนอื้ หาสาระ ปัญหา ความเปน็ จรงิ ขอ้ โตแ้ ย้ง ตลอดจนอุปสรรคท่ีจาเป็นต่าง ๆ ท่ีผู้สอนต้องให้ผู้เรียน ได้รจู้ ักคดิ ปฏบิ ตั ิและแกไ้ ขดว้ ยตนเอง 2. ข้ันแสดงบทบาทสมมตุ ิ แบง่ เปน็ 7 ขน้ั ตอน ดังน้ี 1) การนาเขา้ สู่สถานการณ์ ผู้สอนเตรียมเร่ืองหรือสถานการณ์ให้ผู้เรียน แล้วนาเรื่องราว มาเล่าให้ผู้เรียนฟัง เพ่ือเป็นการเร้าความสนใจเป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียนอยากเรียนและอยาก ติดตาม และควรให้ผู้เรียนได้เล็งเห็นประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการที่เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง บทบาทสมมุติน้นั ๆ 2) การกาหนดตัวผู้แสดง การเลือกผู้แสดงข้ึนอยู่กับจุดมุ่งหมายของการสอนและการ แสดงสาหรบั การเลอื กตวั ผูแ้ สดง ควรให้ผู้เรยี นอาสาสมัครมาแสดงบทบาทด้วยความเตม็ ใจ 3) การจัดสถานท่ี ผู้สอนควรให้ผู้เรียนได้ร่วมมือในการจัดสถานที่สาหรับการแสดง บทบาทสมมุติ ซ่ึงควรจดั และดดั แปลงให้เหมาะสมกบั เนื้อเรอื่ งท่กี าหนดไว้ 4) การกาหนดตัวผู้สังเกตการณ์ โดยผู้สอนอาจจะกาหนดผู้เรียนกลุ่มหนึ่งให้เป็นผู้ สังเกตการณ์ในการแสดงบทบาท โดยฝึกให้เป็นคนช่างสังเกตและรวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อนามา วิเคราะห์ อภิปราย และแก้ปญั หาร่วมกัน หลงั จากสิ้นสุดการแสดงบทบาทสมมุติแล้ว 5) การเตรียมพร้อมก่อนการแสดง วิธีเตรียมความพร้อมนั้นผู้สอนต้องเป็นผู้ช่วยเหลือ ไม่ให้ผู้เรียนต้องมีความวิตกกังวลเก่ียวกับการแสดงให้มากเกินไป ควรช้ีแจงให้ผู้แสดงทราบว่า การ แสดงกเ็ หมอื นกบั การพดู คยุ และเล่นกันธรรมดา เพียงแตต่ ้องแสดงบทบาทต่าง ๆ ตามทีไ่ ด้กาหนดไว้ เท่านั้น 6) การลงมือแสดง เม่ือผู้แสดงพร้อมแล้วก็เร่ิมลงมือแสดงได้เลย ควรเปิดโอกาสให้ ผู้ แสดงได้ใชค้ วามสามารถของตนได้เตม็ ที่ ถ้าเกิดปัญหาข้ึนในขณะที่แสดง ผู้สอนควรมีส่วนร่วมในการ แก้ไขสถานการณเ์ พือ่ ใหก้ ารแสดงเปน็ ไปตามธรรมชาตแิ ละราบร่ืนตอ่ ไป 7) การตดั บท ถ้าบังเอญิ การแสดงของผ้เู รยี นยดื เยอื้ และใช้เวลานานเกินความจาเป็นและ ผู้สอนทคี่ วามคดิ เหน็ วา่ ได้ขอ้ มูลในการแสดงพอสมควรแล้ว กส็ ามารถขอให้ยุติการแสดง เพ่ือจะได้นา ขอ้ มลู มาวิเคราะห์และอภิปรายและแก้ไขปญั หาต่างๆ ตอ่ ไป 3. ข้ันวิเคราะห์และอภิปรายผล การนาข้อมูลที่ได้จากการแสดงมาวิเคราะห์และ อภปิ ราย ผู้สอนและผู้เรียนต้องร่วมมือกัน แต่ควรอภิปรายในรูปแบบของความมีเหตุมีผลเฉพาะการ แสดงออกของผู้แสดงทางพฤตกิ รรมเท่านัน้ แตจ่ ะไมม่ ีการวพิ ากษ์วิจารณ์เกย่ี วกบั ตัวผแู้ สดง 4. ข้ันแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป เมื่อได้วิเคราะห์และอภิปรายผลของการแสดง แล้ว ผู้สอนจะเป็นผู้เร้าและจูงใจให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ต่างๆ เพ่ือให้มีแนวคิด กว้างขวางขึ้น โดยให้ข้อคิดว่าสิ่งท่ีได้เรียนรู้หรือประสบพบเห็นน้ันๆ จะเกี่ยวข้องกับความเป็นจริง ทง้ั สน้ิ แลว้ ให้ผู้เรียนช่วยกันให้แนวมโนทัศน์และช่วยกันสรุปประเด็นให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการ แสดงบทบาทสมมุตทิ ีก่ าหนดไว้

22 แบบฝกึ ทักษะ ความหมายของแบบฝกึ ทักษะ การเรียนภาษาอังกฤษการฝึกทักษะเป็นส่ิงจาเป็นมาก เพราะต้องอาศัยการฝึกฝน จนเกิด ความชานาญ แบบฝกึ ทักษะมีช่ือเรียกต่างๆ กัน เช่น ชุดฝึก แบบฝึก เป็นต้น การศึกษาค้นคว้ามีผู้ให้ ความหมายของแบบฝกึ ทกั ษะ ดังน้ี ไพบูลย์ มูลดี (2556: 48) ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะว่า แบบฝึกทักษะเป็นชุดการ เรียนรู้ที่ครูจัดทาข้ึน ให้ผู้เรียนได้ทบทวนเนื้อหาท่ีเรียนรู้มาแล้วเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจจะช่วย เพม่ิ ทักษะความชานาญ และช่วยฝึกทกั ษะการคดิ ให้มากขึ้น ทัง้ ยงั มีประโยชนใ์ นการลดภาระให้กับครู อกี ท้ังพฒั นาความสามารถของ ผูเ้ รยี นทาให้ผเู้ รียนมองเห็นความกา้ วหนา้ จากผลการเรียนรู้ของตนเอง ได้ พินิจ จนั ทรซ์ า้ ย (2556: 90) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง งานกจิ กรรม หรอื ประสบการณท์ ่ผี สู้ อนจัดใหผ้ เู้ รยี นได้ฝกึ ปฏิบัติ เพ่ือทบทวนความรู้ท่ีเรียนมาแล้ว ให้ สมารถนาความรู้ทไี่ ปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน อานวย เลอื่ มใส (2556: 89) ได้ใหค้ วามหมายของแบบฝกึ ทักษะไว้ว่า หมายถึง แบบตัวอย่าง ปัญหาหรือคาสั่ง เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นร้มู าแล้ว เพอื่ ความรู้ ความเข้าใจ และเป็นการเพิ่มทักษะความชานาญ ให้แก่ผเู้ รยี น ทาให้การเรียนมปี ระสทิ ธภิ าพดียง่ิ ขน้ึ สมศักดิ์ สนิ ธุระเวชญ์ (2550: 40) ได้กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง การจัดประสบการณ์ ฝกึ หัด เพือ่ ให้นกั เรียนศึกษาและเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถแก้ปัญหาได้ถูกต้องอย่างหลากหลาย และแปลกใหม่ ปราณี จณิ ฤทธิ์ (2552: 32) ได้กล่าวว่า แบบฝึก หมายถึง งานที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทา ด้วยตนเองภายหลงั จากได้เรียนบทเรียน เพอื่ เป็นการทบทวนและฝึกทักษะในเร่ืองที่เรียนผา่ นมาแล้ว ประภาพร ถ่ินอ่อง (2553: 29) ได้กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนที่ สรา้ งข้นึ เพือ่ ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิดความรู้ ความเข้าใจเพิ่มข้ึน โดยท่ีกิจกรรมที่ได้ ปฏิบัติในแบบฝึกน้ันจะครอบคลุมเนื้อหาที่เรียนไปแล้ว ทาให้นักเรียนมีความรู้และทักษะมากขึ้น เพราะมรี ูปแบบหรือลกั ษณะทหี่ ลากหลาย สมพร ตอยยีบี (2554: 32) ไดก้ ลา่ ววา่ แบบฝกึ ทักษะเป็นสื่อการเรียนรู้ท่ีช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึก ปฏิบัติเพ่ือพัฒนาทักษะและความรู้ต่างๆ จนเกิดความชานาญ และสามารถนาความรู้ไปใช้ได้อย่าง ถูกต้อง ดังท่ีกล่าวมาแล้วสรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นส่ือการเรียนการสอนที่สร้างขึ้นเพ่ือให้นักเรียนได้ฝึก ปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิดความรู้ ความเข้าใจเพ่ิมขึ้น โดยที่กิจกรรมท่ีได้ปฏิบัติในแบบฝึกน้ันจะ ครอบคลุมเนื้อหาท่ีเรียนไปแล้ว ทาให้นักเรียนมีความรู้และทักษะมากขึ้น และทาให้ผู้เรียนมองเห็น ความก้าวหนา้ จากผลการเรียนรขู้ องตนเองได้

23 ประเภท/ชนิดของแบบฝกึ สาลี รักสุทธี (ม.ป.ป., 31-32) กล่าวไวว้ ่า แบบฝกึ จะมีอยู่ 3 ประเภท ดงั น้ี 1. แบบฝึกทกั ษะเปน็ แบบฝกึ ท่ีนาไปใช้กับนักเรียนที่มีความสามารถเป็นเลิศ ความคิด ความ จาเป็นพิเศษ สามารถเรียนรู้ได้เร็ว เพียงแนะนานิดหน่อยก็เข้าใจได้ หรือกลุ่มนักเรียนที่เรียกว่า อุฆฎิตัญญู คือกลุ่มนักเรียนที่มีสติปัญญาเป็นเลิศนั่นเอง ดังนั้น แบบฝึกทักษะ จึงนาไปใช้เสริมเพื่อ พัฒนาความเปน็ เลิศของนักเรียนกลุ่มนใี้ ห้ก้าวไปกอ่ นเพ่ือน 2. แบบฝึกทกั ษะ เป็นแบบฝึกท่ีนาไปใช้กับนักเรียนที่มีความสามารถระดับปานกลาง หรือที่ เรียกว่า เนยยะบุคคล คือกลมุ่ นกั เรยี นสามารถฝึกได้ สอนได้ ใช้สอ่ื นวัตกรรม หรือแบบฝึกทักษะแล้ว สามารถเขา้ ใจเนือ้ หาได้ นักเรียนกลุม่ นสี้ ่วนใหญ่แลว้ จะเปน็ กล่มุ ใหญ่ เปน็ กลุ่มปกติ 3. แบบฝึกซ่อมทักษะ เป็นแบบฝึกท่ีนาไปใช้กับนักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียน มีความ บกพรอ่ งด้านใดดา้ นหนึง่ เป็นนักเรียนท่ีมสี ติปญั ญาระดบั ตา่ หรอื เด็กแอลดี (LD-Learning Disability) หรอื ท่เี รยี กวา่ ปทปรมะ คือ นกั เรยี นมปี ัญหาข้นั วกิ ฤต หลกั การสร้างแบบฝกึ ทกั ษะ นิตยา กิจโร (2553: 40) ได้สรุปหลกั การสร้างแบบฝึกไว้ ดงั นี้ 1. ก่อนสร้างแบบฝึกจาเปน็ ต้องกาหนดโครงร่างไวก้ ่อนว่ามีวตั ถปุ ระสงค์อย่างไร แบบฝึกเกยี่ วกับเรอ่ื งอะไร 2. ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง 3. เขยี นวตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 4. แจง้ วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรมยอ่ ย โดยคานึงถึงความเหมาะสมของผเู้ รยี น 5. กาหนดอุปกรณท์ ่ีใช้ในแต่ละกิจกรรม 6. กาหนดเวลาและข้ันตอนใหเ้ หมาะสม 7. การประเมนิ ผลอยา่ งไร ประภาพร ถ่ินอ่อง (2553: 35) ได้กล่าวว่า หลักการสร้างแบบฝึกทักษะควรคานึงถึงหลัก จิตวิทยาในการเรียนรู้โดยมีจุดมุ่งหมายในการฝึก แบบฝึกควรเร่ิมจากง่ายไปหายากมีหลายแบบ มี ตัวอยา่ งประกอบ มีภาพประกอบ และสามารถศึกษาได้ดว้ ยตนเอง 4.หลกั การสร้างแบบฝกึ ทกั ษะ การสรา้ งแบบฝึกทักษะใหม้ ีประสิทธภิ าพต้องมีหลักการสร้างท่ีสอดคล้องกับลักษณะที่ดีของ แบบฝกึ ทกั ษะดว้ ย ซ่ึงในเรอื่ งนไ้ี ด้มีผู้เสนอแนะไว้ดังนี้ วรนาถ พว่ งสุวรรณ (2558: 34 – 37) ได้ใหห้ ลกั การสร้างแบบฝกึ ทักษะไว้ดงั น้ี 1.ตงั้ จดุ ประสงค์ 2.ศกึ ษาเกี่ยวกับเนื้อหา

24 3.ขั้นตา่ ง ๆ ในการสรา้ ง 1. ศึกษาปัญหาในการเรยี นการสอน 2. ศกึ ษาหลกั จติ วทิ ยาของเด็กและจิตวทิ ยาการเรยี นการสอน 3. ศกึ ษาเนือ้ หาวิชา 4. ศกึ ษาลกั ษณะของแบบฝึกทกั ษะ 5. วางโครงเรอ่ื งและกาหนดรูปแบบให้สัมพนั ธก์ ับโครงเรื่อง 6. เลอื กเนื้อหาตา่ ง ๆ ท่เี หมาะสมมาบรรจุในแบบฝึกทักษะใหค้ รบตามท่กี าหนด เกสร รองเดช (2552: 36 – 37) ไดเ้ สนอแนะแนวทางในการสร้างแบบฝึกทักษะดังน้ี 1. สรา้ งแบบฝึกทกั ษะให้เหมาะสมกบั วัยของนักเรยี น คอื ไม่ง่ายไมย่ ากจนเกนิ ไป 2. เรียงลาดับแบบฝึกทักษะจากง่ายไปหายาก โดยเริ่มจากการฝึกออกเสียงเป็น พยางค์ คา วลี ประโยค และคาประพนั ธ์ 3. แบบฝกึ ทักษะบางแบบควรใชภ้ าพประกอบ เพอ่ื ดึงดูดความสนใจของนักเรียน ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนประสบความสาเร็จในการฝึก และจะช่วยย่ัวยุให้ติดตาม ต่อไปตามหลกั ของการจูงใจ 4. แบบฝึกทักษะที่สร้างข้ึนเป็นแบบฝึกส้ันๆ ง่ายๆ ใช้เวลาในการฝึกประมาณ 30 ถึง 45 นาที 5. เพือ่ ปอ้ งกันความเบื่อหน่าย แบบฝกึ ต้องมีลักษณะต่างๆ เช่น ประสมคาจากภาพ เลน่ กับบัตรภาพ เติมคาลงในชอ่ งวา่ ง อา่ นคาประพนั ธ์ ฝกึ ร้องเพลง และใช้เกมต่างๆ ประกอบ บอ็ ค (Bock 1993 : 3) ได้ใหข้ ้อพจิ ารณาในการสรา้ งแบบฝึกทักษะ ดังน้ี 1. กาหนดจุดประสงค์ให้ชัดเจน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบจุดมุ่งหมายของแบบฝึก ทกั ษะ 2. ให้รายละเอียดต่างๆ เช่น คาแนะนาในการทาแบบฝึกทักษะหรือขั้นตอนในการ ทาอยา่ งละเอยี ด 3. สร้างแบบฝึกทกั ษะให้มรี ูปแบบทหี่ ลากหลาย เพื่อสรา้ งความเข้าใจให้กับนักเรียน มากทีส่ ุด เชน่ แบบฝึกทกั ษะอาจใช้รูปแบบง่ายๆ โดยเริ่มจากการให้นักเรียน ตอบคาถามในลักษณะ ถูกผดิ จนถงึ การให้นกั เรียนแสดงความคดิ เห็น 4. แบบฝึกทักษะควรสร้างความเข้าใจให้กับนักเรียน เช่น การให้นักเรียนเขียน เรียงลาดับเหตุการณท์ ่ีเกิดขน้ึ ลงในตารางหรือแผนภูมทิ กี่ าหนดให้ จากแนวคิดขา้ งตน้ สามารถสรุปไดว้ า่ การสรา้ งแบบฝกึ ทักษะควรมหี ลกั ในการสร้างดงั น้ี 1. ต้องยึดหลักจิตวิทยาการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละวัย ต้อง คานงึ ถงึ ความสามารถ ความสนใจ แรงจูงใจของนกั เรยี น 2. ตอ้ งตง้ั จดุ ประสงค์ในการฝึกว่าต้องการฝึกเสริมทักษะใด เนื้อหาใด ต้องการให้ ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรอู้ ะไร

25 3. แบบฝึกทักษะต้องไม่ยากไม่ง่ายจนเกินไป คานึงถึงความสามารถของเด็กและ ตอ้ งเรยี งลาดับจากงา่ ยไปหายาก 4. ต้องศกึ ษาขนั้ ตอนต่างๆ ในการสร้างแบบฝึกทักษะ ปัญหาและข้อบกพร่องของ นักเรยี น 5. แบบฝึกทักษะต้องมีคาช้ีแจง และควรมีตัวอย่างเพ่ือให้นักเรียนมีความเข้าใจ มากข้ึน และสามารถทาไดด้ ้วยตนเอง 6. แบบฝึกทักษะควรมีหลายรูปแบบ หลายลักษณะ เพ่ือจูงใจในการทา ทาให้ นักเรียนมีความร้สู ึกวา่ มีจานวนไมม่ าก 7. ควรมีรปู ภาพประกอบทส่ี วยงามเหมาะสมกบั วยั ของเดก็ 8. ควรใช้ภาษาสน้ั ๆ ง่ายๆ ไมว่ ่าจะเปน็ เนื้อหาหรอื คาส่ัง 9. ควรมกี ารทดลองใช้เพือ่ หาขอ้ บกพร่องต่างๆ ก่อนนาไปใช้จริง 10. ควรจัดทาเป็นรูปเล่ม ซึ่งสามารถเก็บรักษาได้ง่าย นักเรียนสามารถนามา ทบทวนกอ่ นสอบได้ 5. หลกั จิตวทิ ยาที่นามาใช้ในการสรา้ งแบบฝึกทักษะ การนาหลักจิตวิทยามาเป็นกรอบแนวคิดในการสร้างแบบฝึก ทาให้แบบฝึกทักษะ มีความ สมบรู ณ์ และมีความเหมาะสมทจ่ี ะนามาใช้กับนกั เรียน และนกั เรียนมโี อกาสทจี่ ะตอบสนองสง่ิ เร้าด้วย การแสดงออกทาความสามารถ ความรู้ความเข้าใจที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความสนใจ ของผูเ้ รียน หลกั จติ วทิ ยาทเ่ี กี่ยวข้องกบั การสร้างแบบฝึกมีหลายประการ (สาลี รักสุทธี, ม.ป.ป., หน้า 34-36) ดังนี้ กฎการเรยี นร้ขู อง ธอร์นไดด์ (Thorndike) ในการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้ 1. กฎแห่งการฝึกฝน (Law of Exercise) คือการให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัดมากๆ จะทาให้เกิด ความคลอ่ งและชานาญ การสร้างแบบฝึก จึงช่วยให้ผู้เรียนทาแบบฝึกท่ีเสริม จากแบบฝึกในบทเรียน และมีหลายรปู แบบ 2. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) คือการให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเรียน จะ ทาใหเ้ กิดความพอใจในการเรียน 3. กฎแห่งผล (Law of Effect) คือ แบบฝึกต้องมีเน้ือหาท่ีสนใจของผู้เรียน ความยากง่ายท่ี เหมาะสมกับวัยและสติปัญญา มีส่ิงกระตุ้นให้ผู้เรียนพอใจในการเรียน การประเมินผลควรกระทา อย่างรวดเร็ว หลงั จากผู้เรียนทาเสร็จแล้ว ทฤษฏีการเรียนรู้ของกาเย่ ซ่ึงเขามีความเห็นว่าการเรียนรู้มีลาดับขั้น และผู้เรียนจะต้อง เรียนรเู้ น้ือหาทงี่ ่ายไปหายาก แนวคิดของกาเย่มีว่า “การเรียนรู้มีลาดับข้ันตอน ดังน้ันก่อนท่ีจะสอน เดก็ แก้ปญั หาไดน้ น้ั เด็กจะตอ้ งเรียนรคู้ วามคิดรวบยอดหรือหลักเกณฑม์ าก่อน ซงึ่ ในการสอนให้เด็กได้

26 ความคิดรวบยอดหรือกฎเกณฑ์น้ัน จะทาให้เด็กเป็นผู้สรุปความคิดรวบยอดด้วยตัวเองแทนที่ครูจะ เป็นผบู้ อก” การสรา้ งแบบฝึกจงึ ควรคานงึ ถงึ การฝกึ ตามลาดับข้นั จากงา่ ยไปยาก แนวคิดของบลูม ซึ่งกล่าวถึงธรรมชาติผู้เรียนแต่ละคนว่ามีความแตกต่างกัน ผู้เรียนจะ สามารถเรียนรู้เนอื้ หาในหนว่ ยยอ่ ยต่าง ๆ ได้โดยใชเ้ วลาเรียนทแี่ ตกต่างกนั ดังนน้ั การสร้างแบบฝึกจึง ต้องมกี ารกาหนดเง่ือนไขท่ีจะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนทกุ คนสามารถผ่านลาดบั ข้ันตอนของทุกหน่วยการเรียนได้ ถา้ นักเรยี นไดเ้ รยี นตามอัตราเวลาเรียนของตนก็จะทาใหป้ ระสบความสาเรจ็ มากข้ึน ทฤษฏีการเรียนรู้ ของ โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) เขาเชื่อว่ามีบุคคลมีเชาวน์ ปัญญาแตกต่างกัน แต่ละคนจะมีความสามารถแตกต่างกัน คนหน่ึงอาจเรียนรู้ดนตรีได้ง่าย อีกคน เรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ได้ดี ขณะที่อีกคนเรียนภาษาได้เก่ง เป็นต้น ครูควรคานึงถึงนักเรียนแต่ละคนว่ามี ความรู้ ความถนัด ความสามารถและความสนใจท่ีแตกต่างกนั ดังน้นั การสรา้ งแบบฝึกจึงควรพิจารณา ถึงความเหมาะสมกับบคุ คล ไม่ยากและไม่งา่ ยเกนิ ไป ควรมคี ละกนั หลายแบบ การจูงใจผู้เรียนสามารถทาได้ โดยการทาแบบฝึกจากง่ายไปหายาก เพื่อดึงดูด ความสนใจ ของผู้เรียน เป็นการกระตุ้นให้ติดตามต่อไป และทาให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จ ในการทาแบบฝึก ควรเป็นแบบส้ันๆจะช่วยใหผ้ ้เู รยี นไม่เบื่อหน่ายการนาส่ิงท่ีมีความหมายต่อชีวิต และการเรียนรู้มาให้ นักเรียน โดยทดลองทา่ ภาษาท่ใี ช้พูดใช้ในชวี ิตประจาวัน ทาให้ผู้เรียนได้เรียนและทาแบบฝึกหัดในส่ิง ทใ่ี กล้ตวั ทาใหจ้ าไดแ้ ม่นยา นักเรียน ยังสามารถนาหลกั และความรูท้ ่ไี ด้รับไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ีกดว้ ย 4.แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มีความสาคัญหลายประการเพื่อเป็นแนวทางให้กับผู้สอนสอนด้วย ความม่ันใจ ในการจัดการเรียนรู้นั้นจาเป็นต้องศึกษาวิเคราะห์ วางแผนและออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้มาใช้ในการจัดการช้ันเรียนเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายเกิดการเรียนรู้ท่ี เหมาะสมกับวัย คานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนรู้ตามแผนการ จัดการเรียนรู้ช่วยให้ผู้สอนจัดกิจกรรมได้อย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สร้างแนวทางการสอนทเ่ี ป็นขั้นตอนและตอบสนองวตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร ความหมาย แผนการจัดการเรียนรู้ คือ การนาวิชาหรือกลุ่มประสบการณ์ที่จะต้องทาแผนการจัดการ เรียนรู้ตลอดภาคเรียนมาสร้างเป็นกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ การใช้สื่อ อุปกรณ์การจัดการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล โดยจัดเนื้อหาสาระและจุดประสงค์การเรียนย่อยๆ ให้สอดคล้องกับ วัตถปุ ระสงคห์ รือจุดเนน้ ของหลักสตู ร สภาพของผูเ้ รยี น ความพร้อมของโรงเรียนในด้านวัสดุ อุปกรณ์ และตรงกบั ชีวติ จริงในห้องเรยี น ชนาธิป พรกุล (2552: 85) ได้ให้ความหมายไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้เป็นแนวทางการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนที่เขียนไว้ล่วงหน้า ทาให้ผู้สอนมีความพร้อม และม่ันใจว่าสามารถสอนได้ บรรลุจดุ ประสงคท์ ก่ี าหนดไว้และดาเนนิ การสอนได้ราบร่นื

27 เอกรนิ ทร์ ล่ีมหาศาล (2552) ได้ให้ความหมายไว้ว่า วัสดุหลักสูตรท่ีควรพัฒนามาจากหน่วย การเรียนรู้ ที่กาหนดไว้เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนบรรลุป้าหมายตามมาตรฐานการเรียนรู้ของ หลักสูตร เป็นส่วนที่แสดงการจัดการเรียนการสอนตามบทเรียน และประสบการณ์การเรียนรู้เป็น รายวันหรอื รายสัปดาห์ ชวลิต ชูกาแพง (2553) ได้อธิบายไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง เอกสารท่ีเป็นลาย ลักษณ์อักษรของครูผู้สอน ซึ่งเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละคร้ัง โดยใช้ส่ือและ อุปกรณก์ ารเรยี นการสอนให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั เนอ้ื หา เวลา เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียนให้เป็นไปอยา่ งเตม็ ศักยภาพ วิมลรัตน์ สุนทรวิโรจน์ (2553) ได้อธิบายไวว้ า่ แผนการจัดการเรียนรู้เป็นแผนการจดั กจิ กรรม การเรยี น การจดั การเรยี นรู้ การใชส้ อ่ื การจดั การเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลให้สอดคล้องกับเนื้อหา และจุดประสงค์ทีก่ าหนดไวใ้ นหลักสูตร หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นแผนที่ จดั ทาข้นึ จากคมู่ ือครู หรือแนวทางการจัดการเรียนรู้ของกรมวิชาการ ทาให้ผู้จัดการเรียนรู้ ทราบว่า จะจัดการเรียนรูเ้ น้อื หาใด เพือ่ จดุ ประสงค์ใด จดั การเรยี นรอู้ ยา่ งไร ใช้สอ่ื อะไร และวัดผล ประเมินผล โดยวธิ ีใด อาภรณ์ ใจเท่ียง (2553: 216) ได้อธิบายไว้ว่า แผนการสอนมีความหมายเช่นเดียวกันกับ แผนการจัดการเรียนรู้ กล่าวคือ เป็นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้สื่อการเรียนรู้ และการ วดั ผลประเมนิ ผลทีส่ อดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นรู้ และจุดประสงค์การเรยี นร้ทู ี่กาหนด สรปุ ได้วา่ แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถงึ แนวการจดั การเรยี นการสอนของครู ภายใต้กรอบ เน้อื หาสาระท่ตี อ้ งการใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ โดยกาหนดจุดประสงค์ วธิ กี ารดาเนินการหรือกิจกรรม ให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย และวิธีวัดผลประเมินผลที่สอดคล้องกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ ความสาคัญของแผนการจดั การเรียนรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้มสี ว่ นสาคัญทีท่ าให้การจัดการเรียนรู้ประสบความสาเร็จ หรือ ล้มเหลวน้ัน จาเป็นต้องศึกษาวิเคราะห์และออกแบบหลายประการ จากการศึกษารวบรวมข้อมูล ทศั นะของนกั วชิ าการได้อธบิ ายความสาคัญของแผนการจัดการเรยี นรู้ไว้ดงั นี้ ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย (2558: 347-348) ได้อธิบายไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้มี รายละเอียดสาคัญ ดังนี้ 1.แผนการจัดการเรียนรู้เป็นหลักฐานท่ีแสดงถึงการเป็นครูมืออาชีพ มีการเตรียมล่วงหน้า แผนการจัดการเรียนรู้จะสะท้อนให้เห็นถึงการใช้เทคนิคการสอน ส่ือนวัตกรรม และจิตวิทยาการ เรยี นรู้มาผสมผสานกนั หรอื ประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมกับสภาพของนกั เรียนท่ตี นเองสอนอยู่ 2.แผนการจัดการเรียนรู้ช่วยส่งเสริมให้ผู้สอนได้ศึกษาค้นคว้า หาความรู้เกี่ยวกับหลักสูตร เทคนคิ การสอน สอ่ื นวัตกรรม และวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล

28 3.แผนการจัดการเรียนรู้ทาให้ครูผู้สอนและครูที่จะปฏิบัติการสอนแทน สามารถปฏิบัติการ สอนแทนได้อย่างมนั่ ใจและมปี ระสิทธิภาพ 4.แผนการจัดการเรียนรู้ที่เป็นหลักฐานที่แสดงข้อมูลด้านการเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผลที่จะนาไปใช้ประโยชนใ์ นการจัดการเรียนรู้ในคร้งั ตอ่ ไป 5.แผนการจดั การเรียนรู้เปน็ หลกั ฐานที่แสดงถึงความเชยี่ วชาญในวิชาชีพครู ซ่ึงสามารถนาไป เสนอเป็นผลงานทางวิชาการ เพื่อขอเลอ่ื นวทิ ยฐานะหรอื ตาแหน่งได้ อาภรณ์ ใจเท่ียง (2553: 20) ได้อธิบายไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้มีความสาคัญหลาย ประการดังนี้ 1.ทาให้ผู้สอนสอนด้วยความมั่นใจเมื่อเกิดความม่ันใจในการสอนย่อมจะสอนด้วยความ คล่องแคล่ว เปน็ ไปตามลาดบั ขั้นตอนอยา่ งราบรน่ื ไม่ติดขดั การสอนจะดาเนินไปสู่จุดหมายปลายทาง อยา่ งสมบูรณ์ 2. ทาใหเ้ ป็นการสอนทมี่ ีคณุ คา่ คมุ้ กบั เวลาทผี่ า่ นไป เพราะผู้สอนอย่างมีแผนมีเป้าหมาย และ มีทศิ ทางในการสอน มิใช่สอนอย่างเล่ือนลอย ผู้เรียนจะได้รับความรู้ ความคิด เกิดเจตคติ เกิดทักษะ เกิดประสบการณใ์ หมต่ ามทีผ่ ู้สอนวางแผนไว้ ทาให้เป็นการจดั การเรยี นการสอนที่มีคุณค่า 3.ทาใหเ้ ป็นการสอนที่ตรงตามหลักสูตร ทั้งนี้เพราะในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ต้องศึกษาหลกั สูตรทง้ั ด้านจุดประสงค์ เน้ือหาสารทจี่ ะสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้ สื่อการสอน และการวดั ผลและประเมนิ ผล แลว้ จัดทาออกมาเป็นแผนการจดั การเรียนรูห้ ลักสตู ร 4.ทาให้การสอนบรรลุผลอย่างมีประสิทธิ เน่ืองจากผู้สอนต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้ อย่างรอบคอบในทุกองค์ประกอบของการ รวมทั้งการจัดเวลาเวลา สถานที่ และส่ิงอานวยความ สะดวกตา่ ง ๆ ดงั น้ัน เมื่อมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีรอบคอบ และปฏิบัติตามแผนการจัดการ เรียนรูท้ วี่ างไว้ ผลของการสอนย่อมสาเร็จได้ดกี ว่าการไม่ไดว้ างแผนการจดั การเรียนรู้ 5.ทาให้ผูส้ อนมเี อกสารเตือนความจา สามารถนาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการสอนต่อไป ทาให้ไม่ เกิดความซ้าซ้อนและเป็นแนวทางในการทบทวนหรือการออกข้อสอบเพื่อวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนได้ นอกจากนี้ทาให้ผู้สอนมีเอกสารไว้เป็นแนวทางแก่ผู้ท่ีเข้าสอนในกรณีจาเป็น เมื่อผู้สอนไม่ สามารถเขา้ สอนเองได้ ผเู้ รยี นจะไดร้ ับความรแู้ ละประสบการณ์ที่ต่อเนื่องกนั 6.ทาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดีต่อผู้สอนและต่อวิชาท่ีเรียน ท้ังน้ีเพราะผู้สอนสอนด้วยความ พร้อมเป็นความพร้อมท้ังทางด้านจิตใจคือ ความมั่นใจในการสอนและความพร้อมทางด้านวัตถุ คือ การที่ผูส้ อนไดเ้ ตรยี มเอกสาร หรอื ส่อื การสอนไว้อย่างพร้อมเพรียง เม่อื ผู้สอนมีความพร้อมในการสอน ย่อมสอนด้วยความกระจ่างแจ้ง ทาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอย่างชัดเจนในบทเรียน อันจะส่งให้ ผู้เรยี นเกดิ เจตคตทิ ี่ดตี ่อผ้สู อนและตอ่ วิชาท่เี รยี น สงบ ลกั ษณะ (2533 ; อา้ งอิงจากศศธิ ร เวียงวะลัย.2556 : 51) ได้อธิบายไว้ว่า ผลดีของการ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ มดี งั นี้

29 1.ทาใหเ้ กดิ การวางแผนวิธีการจัดการเรียนรู้ วิธีเรียนที่มีความหมายมากขึ้น เพราะเป็นการ จดั ทาอยา่ งมีหลักการท่ีถกู ตอ้ ง 2.ช่วยให้ครมู ีส่ือการจดั การเรยี นรทู้ ่ที าด้วยตนเอง ทาให้เกิดคามสะดวกในการจัดการเรียนรู้ ทาให้การจดั การเรียนร้คู รบถว้ นตรงตามหลักสูตรและจดั การเรยี นรไู้ ดท้ ันเวลา 3.เป็นผลงานทางวิชาการทส่ี ามารถเผยแพรเ่ ป็นตัวอยา่ งได้ 4.ช่วยอานวยความสะดวกแก่ครูผู้จัดการเรียนรู้แทน ในกรณีท่ีผู้จัดการเรียนรู้ไม่สามารถ จดั การเรยี นรไู้ ด้เอง สรปุ ไดว้ า่ การวางแผนการจัดการเรียนรู้มคี วามสาคญั ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นอย่างมาก คือ ทาให้ผู้สอนสอนด้วยความมั่นใจ ทาให้เป็นการสอนท่ีมีคุณค่าคุ้มกับเวลาท่ีผ่านไป ทาให้เป็นการสอนท่ีตรงตามหลักสูตร ทาให้การสอนบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ผู้สอนมี เอกสารเตอื นความจา และทาใหผ้ ู้เรียนเกดิ เจตคติทดี่ ตี อ่ ผูส้ อนและตอ่ วิชาท่ีเรียน ประเภทของแผนการจดั การเรียนรู้ ประเภทของแผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนร้สู าหรับการจดั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ตามหลักสูตรอิงมาตรฐาน สามารถสรุปได้เป็น 2 ประเภท (ชนาธิป พรกุล.2552: 85-86 ; นาตยา ปลิ นั ธนานนท.์ 2545 : 168) มีรายละเอียดดังนี้ 1) แผนการจดั การเรียนรรู้ ะดับหน่วยการเรยี นรู้ เป็นแผนทีร่ ะบุเป้าหมายหลักและระบเุ ฉพาะ กจิ กรรมหลกั ๆ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ระดับบทเรียนหรือแผนรายช่ัวโมง เป็นแผนที่ระบุกิจกรรมหลัก และกจิ กรรมย่อยอยา่ งละเอียดชัดเจนเป็นรายช่วั โมงหรอื รายครงั้ สรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ระดับหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ระดับ บทเรียน มีลักษณะท่ีคล้ายคลึงกัน และจะสอดคล้องสัมพันธ์กันด้วย เพราะแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับบทเรยี น จะให้รายละเอียดของเป้าหมายการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เนื้อหา สาระ สอ่ื การเรียนการสอน การวัดประเมินผล ในบทเรียนยอ่ ยๆ ที่ประกอบกนั เป็นหน่วยการเรียนรู้ ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ทด่ี ี แผนการจัดการเรียนรู้ถือเป็นเครื่องมือสาคัญของผู้สอนที่จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการ เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ซึง่ สามารถสรปุ ลกั ษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีดีได้ จากการศกึ ษานกั วิชาการได้อธิบายลกั ษณะของแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ดี ดังน้ี นาตยา ปิลันธนานนท์ (2555: 172-173) ไดอ้ ธิบายไว้ว่า ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ ทด่ี ี ตอ้ งประกอบไปด้วย 1. เจตคตทิ ่ดี ี ผู้สอนควรมคี วามรูส้ ึกทดี่ ตี อ่ การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ไม่ควรมองว่างาน เขียนแผนการจัดการเรียนรู้เป็นการสร้างภาระ ความยุ่งยาก เพราะแผนการจัดการเรียนรู้จะเป็น

30 ประโยชนต์ ่อทงั้ ผู้สอน ผ้เู รียน ผ้บู ริหาร สถานศึกษาและตอ่ สังคม ท่ีจะจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ หาก ผู้สอนมคี วามรูส้ กึ มีเจตคติที่ดีต่อการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ก็จะทาให้แผนการจัดการเรียนรู้มี คุณภาพและ นาไปใช้ได้จรงิ 2. นกั วางแผน นกั คิด การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ก็เช่นเดียวกับประมวลการสอนหรือ แนวการสอน หรือกาหนดการสอน คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สามารถสะท้อนความเป็นนัก วางแผน นักคิดสร้างสรรค์ของผูส้ อนได้ 3. เครื่องมือสอ่ื สาร แผนการจัดการเรียนรู้ก็เช่นเดียวกับประมวลการสอนท่ีใช้เป็นเครื่องมือ ส่ือสารความเข้าใจสาหรับตัวผู้สอน ผู้บริหาร พ่อแม่ ผู้ปกครองและชุมชน ได้รับทราบว่า โรงเรียน จดั การศกึ ษาอยา่ งไร ผเู้ รยี นได้รบั การศึกษาที่มีคณุ ภาพอย่างไร 4. เฉพาะเจาะจง ครอบคลุม พอเพียง การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ควรต้องระบุสิ่งที่จะ เรยี นจะสอนใหช้ ดั เจน ครอบคลุมและพอเพียงที่จะทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ ความรู้ ความสามารถตาม มาตรฐานทจ่ี ะกาหนดไวใ้ นหลักสูตร ไม่ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการกาหนดจุดประสงค์ที่ กว้างมากเกินไปหรือน้อยเกินไป และตอ้ งเป็นประโยชนก์ บั ผเู้ รยี น 5. ยดื หย่นุ ปรบั เปล่ียนได้ แผนการจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งท่ีได้เตรียมการล่วงหน้าก่อนจะมีการ เรียนการสอนจริงๆ การกาหนดข้อมูลใดๆ ไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ ควรมีความยืดหยุ่นท่ีจะ สามารถปรับเปล่ียนแก้ปัญหาได้ ในกรณีที่มีปัญหาเม่ือมีการนาไปใช้ หรือไม่สามารถดาเนินการตาม แผนการจัดการเรียนรู้น้ัน สามารถปรับเปล่ียนเป็นอย่างอื่นได้ โดยไม่กระทบกระเทือนต่อการเรียน การสอนและผลการเรยี นรู้ สรุปไดว้ ่า แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ีดี ควรมีลักษณะท่ีช่วยส่งเสริมเจตคติท่ีดี ช่วยสะท้อนให้ ผู้สอนเป็นนกั คดิ นกั วางแผน เป็นเคร่ืองมือส่ือสารท่ีดี มีความเฉพาะเจาะจง ครอบคลุม และมีความ ยดื หยุ่น สามารถปรับเปลย่ี นได้ตามความเหมาะสม ตลอดจนมีความชัดเจน ทุกคนสามารถแปลความ ไดต้ รงกนั และมกี ารนาไปใช้และพัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื ง องค์ประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้เป็นส่ิงท่ีควรตระหนักถึงเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากการ เขยี นแผนการจัดการเรียนรู้จาเป็นต้องเขียนตามลาดับองค์ประกอบและหากขาดองค์ประกอบใดก็มิ อาจทาใหแ้ ผนการจัดการเรยี นรูน้ ้ันสมบูรณ์ เมื่อพิจารณาแล้วการศึกษา วิเคราะห์ องค์ประกอบของ แผนโดยท่ัวไปจะมี 7 องค์ประกอบดังนี้ (เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ, 2552) 1. สาระสาคญั เปน็ การเขียนในลักษณะเป็นความคิดรวบยอด หรือ Concept 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ เขียนในลักษณะจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซ่ึงเม่ือผู้เรียนได้ลงมือ ปฏิบัติทุกพฤติกรรมในแต่ละแผนการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้แล้วบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ตวั ชีว้ ัด และมาตรฐานผลการเรียนรู้ทก่ี าหนดไว้ในแตล่ ะหน่วย

31 3. สาระการเรยี นรู้ เป็นการเขยี นเนื้อหาสาระในลักษณะเป็นประเด็นสาคัญสั้น ๆ สอดคล้อง กับเนื้อหาสาระทกี่ าหนดไว้ในแผนการจัดการเรยี นรู้ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ ระบุวิธีสอน กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคนิคการสอนท่ี หลากหลาย เม่ือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครบถ้วนบรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ เมื่อเรียนครบทุก แผนการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้รับความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ครบถว้ นตามเป้าหมายการเรียนรขู้ องตัวชวี้ ัด และมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ โดยออกแบบการ จัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ผูเ้ รียนตอ้ งปฏิบตั ใิ นแตล่ ะรายชว่ั โมงอยา่ งชดั เจน 5. ส่ือ แหล่งการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ จะกาหนดสื่อการเรียนรู้ท่ีใช้ ประกอบการเรียนการสอนไว้อย่างชัดเจน มีใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกทักษะการเรียนรู้เอกสาร เพ่ิมเติมสาหรบั ผสู้ อนตามความเหมาะสมและบอกแหล่งเรยี นร้ทู ีส่ าคัญท่จี ะช่วยให้การจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้เป็นไปตามเปา้ หมายทก่ี าหนด 6. การวัดและประเมินผล ทุกแผนการจดั การเรยี นรู้ จะระบรุ ายละเอียดเก่ียวกบั เรื่อง การวัด และประเมินผล ทกุ แผนการการจดั การเรียนรูจ้ ะระบุรายละเอียดเกยี่ วกับ เร่อื งการวัดและประเมินผล คือ หลักฐานการเรียนรู้ ร่องรอยการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล เคร่ืองมือในการวัดและ ประเมนิ ผล 7.บันทกึ ผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละแผนการ จัดการเรียนรูเ้ พือ่ นาไปปรับปรงุ และพัฒนาวิธีการจดั การเรียนรใู้ ห้บรรลเุ ปา้ หมาย สรุปได้วา่ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย สาระสาคญั จดุ ประสงคก์ าร เรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล บันทึกผล หลงั สอน หลักในการเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ควรคานึงถึงหลักในการเขียนว่าจะต้องเขียนอะไร เขียน อยา่ งไร และเพ่ือให้เกิดความเข้าใจง่ายในการนาไปใช้ศึกษา หรือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทาง ในการสอนผเู้ รียน ควรคานงึ ถงึ รายละเอยี ดดงั นี้ 1.ควรเขียนให้ชัดเจน แจ่มแจ้งในทุกหัวข้อ เพื่อให้ความกระจ่างแก่ผู้อ่าน มีรายละเอียด พอสมควร ไม่ย่นยอ่ และไม่ละเอียดเกินไป 2. ใช้ภาษาเขยี นที่สอ่ื ความหมายใหเ้ ข้าใจได้ตรงกัน เป็นประโยคท่ีได้ใจความ ไม่ใช่ความค้าง ไมย่ ดื ยาว เย่ินเย้อ 3. เขียนทกุ หัวข้อเรื่องให้สอดคลอ้ งกัน 4. สาระสาคัญต้องสอดคล้องกบั เนอ้ื หา 5. จดุ ประสงคต์ ้องสอดคลอ้ งกบั เนื้อหา กิจกรรมและการวดั ผล 6. ส่ือการสอนต้องสอดคล้องกบั กจิ กรรมและการวัดผล

32 7. เขยี นใหเ้ ปน็ ลาดับขนั้ ตอนกอ่ นหลงั ในทุกหัวข้อ 8. เขยี นหัวข้อใหถ้ กู ตอ้ งชัดเจน เช่น จุดประสงคต์ ้องเขยี นให้เปน็ จดุ ประสงค์เขงิ พฤตกิ รรม 9. จัดเน้อื หากิจกรรม ใหเ้ หมาะสมกบั เวลาทีก่ าหนด 10. คิดกิจกรรมท่นี า่ สนใจอยูเ่ สมอ 11. เขียนใหเ้ ป็นระเบยี บ งา่ ยแกก่ ารอ่าน และสะอาดชวนอา่ น 12. เขยี นในสิง่ ท่สี ามารถปฏบิ ัติได้จริงและสอนตามแผนทว่ี างไว้ สรุปได้ว่า หลักในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้เขียนจะต้องวางแผนล่วงหน้าก่อนการ เรียนการสอน โดยศึกษาเน้ือหาท่ีจะเขียนให้ละเอียดและตามลาดับข้ันตอน แบ่งหน่วยเนื้อหาย่อย แบ่งเวลาท่ีใช้การสอนทุกหัวข้อมีความสอดคล้องกัน ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย รวมทั้งต้องมีการหา ประสทิ ธภิ าพของแผนการจัดการเรียนรู้ รูปแบบของแผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนร้ไู มม่ ีรปู แบบทีต่ ายตวั แตแ่ ผนจะมีลักษณะทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั โดย นักวิชาการท่ีได้ศึกษา วิเคราะห์ไว้ว่า ลักษณะของแผนน้ันสถานศึกษาให้อิสระในการ ออกแบบ แผนการจดั การเรยี นรู้ ซงึ่ มีหลายรูปแบบ โดยรายละเอยี ดมีดงั นี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย ซึ่งจะมีวิธีการเขียนโดยใช้ประเด็นที่สาคัญ 10 ประเด็นมากากับ แต่การลาดับกิจกรรมการเรียนการสอนจะเขียนเป็นเชิงบรรยายกิจกรรมที่ครู จดั เตรียมไว้โดยไม่ระบชุ ดั เจนว่านักเรยี นทาอะไร ข้ันตอนการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ การเขยี นแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ดี ี ควรเขยี นเปน็ ขนั้ ตอนโดยนามาตรฐานหลักสูตรการศึกษา ข้นั พนื้ ฐานมาจดั การเรยี นรู้ ดงั น้ี (วิมลรตั น์ สนุ ทรวิโรจน์. 2553) 1. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ันของกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ี จดั ทาหลกั สตู รเพ่ือใหเ้ ขา้ ใจเปา้ หมายและทิศทางของการจัดการเรยี นรู้ 2. วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน เพื่อกาหนดสาระการเรียนรู้ช่วงช้ัน และกาหนดผล การเรียนร้ทู ีค่ าดหวงั รายปี รายภาค (เฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนปลายกาหนดสาระการเรียนรู้เป็น รายภาคเรียน) สาระการเรียนรู้ช่วงช้ันเป็นการกาหนดเนื้อหาท่ีจะต้องเรียนโดยคานึงถึงจุดเน้นของ หลกั สตู ร ความตอ้ งการของผ้เู รียน ความต้องการของท้องถ่ินและชุมชน จานวนเวลาท่ีจัดการเรียนรู้ ในแต่ละสัปดาห์ วัยและระดับชั้น ส่วนการกาหนดผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปี รายภาคเรียนน้ัน เปน็ การระบุถงึ ความรู้ทักษะ และคุณลักษณะของผู้เรียนซึ่งจะเกิดขึ้นหลังจากการเรียนรู้ในแต่ละปี/ ภาค 3. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ช่วงชั้นและผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปี/รายภาคเรียน เพ่ือ กาหนดเปน็ สาระการเรียนรู้รายปี รายภาค กล่าวคือเป็นเนื้อหาที่จะต้องเรียนให้สอดคล้องกับสภาพ และความตอ้ งการของท้องถิ่นและชมุ ชน

33 4. นาผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปี รายภาค และสาระการเรียนรู้รายปี/รายภาค มา พิจารณาเพ่อื จัดทาคาอธบิ ายรายวชิ า 5. นาคาอธิบายรายวิชามากาหนดเป็นหน่วยการเรียนรู้ ซ่ึงอาจอธิบายได้ว่าเป็นหน่วยการ เรียนรู้เปรยี บเสมอื นบทเรียนหนง่ึ ๆ ซง่ึ ประกอบด้วยเน้ือหาหายเรื่องที่มีความสัมพันธ์กัน นอกจากนี้ การจดั ทาหนว่ ยอาจใชห้ ลกั การบรู ณาการหลายกลมุ่ สาระการเรียนร้เู ข้าด้วยกัน โดยใช้วิชาใดวิชาหนึ่ง เช่น สังคมศึกษา แล้วนาลักษณะเนื้อหาของกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นท่ีมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงเข้า ดว้ ยกัน 6. นาหนว่ ยการเรยี นรูแ้ ตล่ ะหน่วยมาจัดทาแผนการจดั การเรียนรเู้ ป็นรายหน่วย 7. นาแผนการจัดการเรยี นร้รู ายหนว่ ยมาจัดทาแผนการเรียนรู้รายชว่ั โมง สรปุ ไดว้ า่ ขัน้ ตอนการจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ ตอ้ งเรม่ิ จากการศึกษาหลักสูตรการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน โดยศึกษามาตรฐานการเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น สาระการเรียนร้ตู วั ชี้วัดรายปี รายภาค แล้วกาหนดเป็นสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพบริบท และความต้องการของท้องถ่ินและชุมชน หลังจากน้ันจึงนาตัวชี้วัดช้ันปี และสาระการเรียนรู้รายปีมา พจิ ารณาจดั ทาคาอธบิ ายรายวชิ า แลว้ จึงกาหนดเปน็ หน่วยการเรียนรแู้ ละจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อใชก้ ารจดั การเรียนรูต้ อ่ ไป อาภรณ์ ใจเท่ียง (2553 : 230-231) ไดอ้ ธิบายไว้ว่า ข้นั ตอนการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สามารถจดั ทาไดต้ ามขน้ั ตอนดังนี้ 1) วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา เพื่อนาไปใช้ในการจัดทาโครงสร้างรายวิชาที่ประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด หรือผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลาเรียนและน้าหนัก คะแนนในแต่ละหน่วย ซึง่ จะเหน็ ในภาพรวมในระดับรายวิชาว่าผู้สอนจะต้องจัดการเรียนรู้ในแต่ละปี การศกึ ษา หรือภาคการศึกษาทง้ั หมดกีห่ นว่ ยการเรยี นรู้ ใช้เวลาเรียนเทา่ ใด 2) วิเคราะห์จุดประสงค์รายวิชา และมาตรฐานรายวิชา โดยพิจารณาจากมาตรฐานการ เรียนรู้ และตัวช้ีวัด หรือผลการเรียนรู้ เพ่ือนามาเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยให้ครอบคลุม พฤติกรรมท้งั ดา้ นความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ เจตคตแิ ละคา่ นยิ ม 3) วเิ คราะหส์ าระการเรียนรโู้ ดยวเิ คราะหจ์ ากตัวช้ีวดั หรอื ผลการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในแต่ละ รายวชิ า เพ่ือนามาใช้ในการเลือกและขยายสาระท่ีเรียนรู้ให้สอดคล้องกับผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น รวมทั้งวทิ ยาการและเทคโนโลยใี หม่ ๆ ท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อผ้เู รยี น 4) วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชวี้ ัด หรอื ผลการเรยี นรู้ ตลอดจนสาระการเรียนรู้ โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียน เป็นสาคญั ทีใ่ หผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วม ลงมอื ปฏบิ ัติจริง มีความน่าสนใจ สอดคล้องกับวัยและธรรมชาติของ ผเู้ รียน สามารถนาความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจาวันและชีวิตจริงได้ 5) วเิ คราะหก์ ระบวนการประเมินผล โดยเลอื กใชว้ ธิ กี ารวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย ใช้ เครอ่ื งมือวัดท่ีมีความนา่ เชือ่ ถือ และเกณฑ์การประเมินที่สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรียน

34 6) วิเคราะห์แหลง่ การเรยี นรู้ โดยคัดเลือกสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ทั้งในและนอก ห้องเรยี นให้เหมาะสมสอดคล้องกบั กระบวนการเรยี นรู้ สรุป การวางแผนการจัดการเรียนรู้ ควรเป็นสิ่งท่ีครูสร้างข้ึน ด้วยนความรู้สึกท่ีดีท่ีสะท้อน การเป็น นักคิด นักวางแผนเป็นเคร่ืองมือในการส่ือสาร มีความยืดหยุ่น ทุกคนแปลความได้ตรงกัน และมีการ นาไปใชแ้ ละพฒั นาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง กระบวนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้รายช่ัวโมงซึ่งมี องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้และการเขียนองค์ประกอบต่างๆ ควรเขียนให้มีความ สอดคล้องสัมพันธ์กัน และผสู้ อนสามารถนาไปสอนได้จรงิ เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ กับผ้เู รยี นต่อไป 5. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 5.1 ความหมายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ ซ่ึงเกิดจากนักเรียน ได้รับประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) เป็นผลการ เรียนรู้ตามแผนท่ีกาหนดไว้ล่วงหน้าอันเกิดจากกระบวนการเรียนการสอนในช่วงระยะเวลาใดเวลา หนงึ่ ทผ่ี ่านมามนี กั การศกึ ษาให้ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นไว้ดงั น้ี วัชลี บัวตา (2550: 42) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากแบบทดสอบ ซ่ึง เป็นแบบประเมินผลตามสภาพจริงวชิ าภาษาอังกฤษท่ีผวู้ จิ ัยสรา้ งข้นึ พิมพ์ประภา อรัญมิตร (2552: 18) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คณุ ลกั ษณะและความรคู้ วามสามารถทแ่ี สดงถงึ ความสาเรจ็ ที่ได้จากการเรียนการสอนในวิชา ต่างๆ ซึ่ง สามารถวัดเปน็ คะแนนได้จากแบบทดสอบทางภาคทฤษฎหี รือภาคปฏิบัตหิ รือท้ังสองอยา่ ง วุฒิชัย ดานะ (2553: 32) ได้กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ระดับความรู้ ความสามารถและทักษะทไ่ี ดร้ ับและพัฒนามาจากการเรียนการสอนวิชาต่างๆ โดยอาศัยเครื่องมือใน การวัดผลหลงั จากการเรียนหรอื จากการฝกึ อบรม สรุปความหมายของผลสัมฤทธิ์ได้ว่า ความรู้ความสามารถและทักษะที่ได้รับและพัฒนามา จากการเรียนการสอนวิชาต่างๆ คุณลักษณะและความรู้ความสามารถท่ีแสดงถึงความสาเร็จ ท่ี สามารถสงั เกตและวัดได้ดว้ ยเครือ่ งมือหรอื แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทั่วไป 5.2 องคป์ ระกอบทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้น้ัน ผลสัมฤทธ์ิเป็นเคร่ืองในการชี้วัดความสามารถ ในการเรียนรู้ ของผู้เรียน ดังน้ีผู้สอนจึงควรให้ความสาคัญกับองค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เพื่อประโยชนใ์ นการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น ดงั น้ี บลูม (Bloom,1975: 167-176) ได้ทาการศึกษาตัวแปรท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการ เรียนซึง่ แบ่งออกเป็น 3 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1) พฤตกิ รรมดา้ นความรู้ หมายถงึ ความสามารถในด้านต่างๆ ของผ้เู รยี น

35 2) ด้านจิตพิสัย หมายถึง สภาพการณ์ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ใหม่ ได้แก่ ความ สนใจเจตคติต่อการเรียน การยอมรับ ความสามารถของบุคคล ซ่ึงลักษณะเหล่านี้อาจเปลี่ยนแปลง หรือคงอยไู่ ด้ 3) คุณภาพการสอน หมายถึง ผลที่ผู้เรียนจะได้รับผลสาเร็จในการเรียนรู้ ได้แก่ การมสี ่วนร่วมในการเรียนการสอน การเสริมแรงจากครู การแก้ไขข้อผิดพลาดและผลย้อนกลับของ การกระทา กาเย่ (Gagne,1970: 42-45) กล่าวถึงองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่า ในกระบวนการเรียนรู้ใด ๆ มอี งคป์ ระกอบหลกั 2 ประการ ทีม่ ีอทิ ธพิ ลต่อการเรยี นรู้ ได้แก่ 1) องคป์ ระกอบด้านพนั ธกุ รรม เป็นส่วนที่บุคคลได้รับปัจจัยทางชีววิทยาซ่ึงมี อิทธิพล ต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่หลายองค์ประกอบด้วยกัน ซ่ึงนักจิตวิทยาให้ความสนใจเป็นพิเศษ ได้แก่ สติปัญญา และความถนัด สติปัญญาเป็นความสามารถทางสมองที่เก่ียวกับ ความสามารถใน การปรับตัวสถานการณ์ใหม่และเป็นที่ยอมรับว่าสติปัญญาของคน ได้รับการถ่ายทอดมาก ทาง พันธุกรรม แต่ยังมีองค์ประกอบบางอย่างที่เข้ามาเก่ียวข้องด้วย เช่น ประสบการณ์เรียนและความ สนใจ เปน็ ต้น 2) องค์ประกอบด้านส่ิงแวดล้อม เป็นส่วนที่บุคคลได้รับมาจากการเรียนรู้สังคม ซ่ึงมี อิทธพิ ลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจและสังคมของผู้เรียน ด้าน บคุ ลิกภาพของครู ด้านอิทธิพลต่อคณุ ภาพการศึกษา คลอสแมร์ (Klausmeir,1961: 29) กล่าวถึง องค์ประกอบท่ีเป็นตัวกาหนด ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียน ได้แก่ คุณลักษณะของผู้เรียน คุณลักษณะของครูผู้สอน คุณลักษณะทาง กายภาพ พฤติกรรมระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน คุณลักษณะกับกลุ่มและแรงผลักดัน ภายนอก และได้ สรปุ วา่ คุณลกั ษณะของผูเ้ รยี นเป็นสง่ิ สาคัญมากท่ีสดุ ในการอธิบายถึงประสทิ ธผิ ลของการเรียน

36 5.3 ประเภทของการทดสอบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น การทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน โดยการเขียนตอบนั้นสามารถกระทาได้ 2 ลักษณะ คือ การทดสอบแบบอิงกลุ่ม หรือการวัดผลแบบอิงกลุ่ม ( Norm References Measurement) กบั การทดสอบแบบอิงเกณฑ์หรือการวัดผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion References Measurement) (รุ่งนภา อิศเรนทร์, 2555: 30 อ้างใน พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2540: 31-32) ซึ่งการ ทดสอบทง้ั 2 แบบนี้มีคณุ ลักษณะท่สี าคัญ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) การทดสอบแบบองิ กลุม่ หรือการวัดผลแบบอิงกลุ่ม (Norm Referenced Testing or Norm References Measurement) เปน็ การทดสอบหรือการวัดท่ีเกิดจากแนวความคิดเช่ือในเรื่อง ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่ว่าความสามารถของบุคคลใด ๆ ในเร่ืองใดน้ันมีไม่เท่ากัน บางคนมี ความสามารถเดน่ บางคนทม่ี ีความด้อย และส่วนใหญ่จะมีความสามารถปานกลาง การกระจายของ ความสามารถของบุคคล ถ้านามาเขียนกราฟจะมีลักษณะคล้าย ๆ โค้งรูประฆังหรือ ท่ีเรียกว่า โค้ง ปกติ (Normal Curve) ดังนั้นการทดสอบแบบนี้จึงยึดคนส่วนใหญ่เป็นหลักในการ เปรียบเทียบโดย พิจารณาคะแนนผลการสอบของบุคคลเทียบกับคนอ่ืน ๆ ในกลุ่ม คะแนนจะมี ความหมายก็ต่อเมื่อ นาไปเปรียบเทียบกับคะแนนของบุคคลอื่นท่ีสอบด้วยข้อสอบฉบับเดียวกัน จุดมุ่งหมายของการ ทดสอบแบบน้ี ก็เพ่ือจะกระจายบุคคลท้ังกลุ่มไปตามความสามารถของแต่ละ บุคคล นั่นก็คือคนที่มี ความสามารถสูงจะได้คะแนนสูง คนท่ีมีความสามารถด้อยกว่าก็จะได้คะแนน ลดหลั่นลงมาจนถึง คะแนนตา่ สดุ 2) การทดสอบแบบอิงเกณฑ์ หรือการวัดผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced Testing or Criterion Referenced Measurement) ยึดความเชื่อในเรื่องการเรียนเพ่ือรอบรู้ กล่าวคือยึดว่าในการเรียนการสอนนั้นจะต้องมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนท้ังหมดหรือเกือบทั้งหมดประสบ ความสาเรจ็ ในการเรียนแม้วา่ ผ้เู รียนจะมลี กั ษณะแตกต่างกันก็ตาม แต่ทุกคนควรได้รับการส่งเสริมให้ พฒั นาไปถึงขดี ความสามารถสงู สดุ ของตน โดยอาจใชเ้ วลาแตกตา่ งกันในแตล่ ะบุคคล 5.4 การจาแนกประเภทของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน รุ่งนภา อิศเรนทร์ (2555: 32-33 อ้างใน พวงรตั น์ ทวีรตั น์ 2540: 20-23) ได้จาแนกประเภท แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ จาแนกตามลกั ษณะการสรา้ งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1) แบบทดสอบท่ีครูสร้าง (Teacher Made Test) เป็นแบบทดสอบที่ครูสร้าง ขึ้นเพ่ือ วดั และประเมินผลการเรยี นการสอนในหอ้ งเรียน ส่วนมากเป็นการวัดผลสัมฤทธ์ิในวิชาต่าง ๆ โดยยึด เนอื้ หาตามท่กี าหนดไวใ้ นหลกั สูตร โดยปกตใิ ช้เพอื่ วัตถุประสงค์ 2 กรณี คือ 1.1) เพื่อการสอบย่อย (Formative Test) คือ ใช้เพ่ือวัดผลการเรียนภายหลังการ ส้นิ สดุ การเรยี นการสอนในแต่ละตอนหรือหน่วยการเรียนรู้ โดยเนื้อแท้แล้วการสอบย่อยมุ่งจะนาผล การสอบไปปรับปรุงการเรียนการสอนของนักเรียนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องในการเรียนหน่วยที่ผ่านมา ก่อนทจ่ี ะผา่ นไปเรยี นในหนว่ ยต่อไป

37 1.2) เพ่อื การสอบรวม (Summative Test) คือ ใชเ้ พอ่ื วัดผลรวบยอด ภายหลังการ เรียนการสอนวชิ าหนึง่ ๆ จนจบ จงึ มกั เป็นการสอบเมอื่ ส้ินสุดการเรยี นหรือเม่ือสน้ิ ปี 2) แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็นแบบทดสอบท่ีสร้างข้ึนอย่างมี หลกั เกณฑ์ มกี ารตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ วิเคราะห์และแก้ไขปรับปรุงจน แบบทดสอบมี ประสิทธิภาพสูง สามารถนาไปใช้กวา้ งขวางทว่ั ประเทศเป็นการสอบความรู้ท่ีเรียนตามหลักสูตรในแต่ ละรายวิชานอกจากน้ีแบบทดสอบมาตรฐานยังมีคณุ สมบตั ิทีส่ าคญั 2 ประการ 1) มีมาตรฐานในวิธีดาเนินการสอบ หมายถึง แบบทดสอบนั้นจะมี วิธีดาเนินการ สอบที่เป็นเช่นเดียวกัน โดยตัวแบบทดสอบจะบอกวิธีปฏิบัติ ซ่ึงต้องดาเนินให้เหมือนกันหมด ไม่ว่า ใครก็ตามจะนาแบบทดสอบน้นั ไปสอบในท่ใี ดๆ กต็ าม 2) มมี าตรฐานในการแปลความหมายคะแนน หมายถงึ ว่าแบบทดสอบ นั้นจะมีสเกล มาตรฐานไวเ้ ทยี บคะแนนเรียกว่า เกณฑ์ปกติ (Norm) เพื่อที่นาไปสู่การแปลความหมายว่าบุคคลท่ีได้ คะแนนการสอบแตล่ ะคา่ นน้ั มคี วามสารถเป็นอยา่ งไร 5.5 คณุ ลักษณะของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นทดี่ ี รุ่งนภา อิศเรนทร์ (2555: 32-33 อ้างใน ชวาล แพรัตกุล, 2544: 123-125) กล่าวถึง คณุ ลักษณะของแบบทดสอบที่ดีไวด้ ังน้ี 1) ตอ้ งเทีย่ งตรง (Validity) หมายถึง คุณสมบัติที่จะทาให้ผู้ใช้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ แบบทดสอบที่มีความเที่ยงตรงสูง คือ แบบทดสอบที่สามารถทาหน้าท่ีวัดสิ่งที่เราจะ วัดได้อย่าง ถกู ตอ้ งตามความม่งุ หมาย 2) ต้องยุติธรรม (Fair) คอื โจทยค์ าถามทงั้ หลายไม่มีช่องทางแนะให้เด็กเดาคาตอบ ได้ไม่เปิดโอกาสใหเ้ ดก็ เกยี จครา้ นทจี่ ะดูตาราแตต่ อบได้ดี 3) ต้องถามลึก (Searching) วัดความลึกซ้ึงของวิทยาการตามแนวดิ่งมากกว่าที่จัด ตามแนวกว้างวา่ ร้มู ากนอ้ ยเพียงใด 4) ต้องยว่ั ยุเปน็ เยี่ยงอยา่ ง (Exemplary) คาถามทลี่ กั ษณะท้าทายชักชวนให้คิดเด็ก สอบแล้วมคี วามอยากรมู้ ากนอ้ ยเพยี งใด 5) ตอ้ งจาเพาะเจาะจง (Definite) เด็กอ่านคาถามแล้วต้องเข้าใจแจ่มชัดว่าครูถาม ถึง อะไร หรอื ให้คิดอะไร ไม่ถามคลุมเครือ 6) ต้องเปน็ ปรนัย (Objectivity) หมายถึง คุณสมบัติ 3 ประการ คอื (1) แจม่ ชัดในความหมายของคาถาม (2) แจ่มชดั ในวิธีตรวจหรอื มาตรฐานการให้คะแนน (3) แจ่มชดั ในการแปลความหมายของคะแนน 7) ต้องมีประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ สามารถให้คะแนนท่ีเท่ียงตรงและเชื่อถือ ได้มากที่สุดภายในเวลา

38 8) ต้องยากพอเหมาะ (Difficulty) 9) ตอ้ งมีอานาจจาแนก (Discrimination) คือ สามารถแยกเด็กออกเป็นประเภทได้ ทกุ ระดบั ตงั้ แต่อ่อนสุดจนถงึ เกง่ ทีส่ ุด 10) ต้องเช่ือมั่นได้ (Reliability) คือ ข้อสอบน้ันสามารถให้คะแนนได้คงท่ีแน่นอน ไมแ่ ปรผัน สรปุ ได้วา่ แบบทดสอบทดี่ ีจะตอ้ งมคี ณุ ลักษณะสาคัญ คอื ต้องเท่ียงตรง ยุติธรรม ถาม ลึก คาถามยั่วยุ ต้องจาเพาะเจาะจง เป็นปรนัย มีประสิทธิภาพยากพอเหมาะ มีอานาจจาแนกและ ต้องมเี ชื่อม่นั

39 5.6 การสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555: 30) ได้กล่าวถึงแนวทางในการ สรา้ งแบบทดสอบให้มีคุณภาพ สรุปเป็นขน้ั ตอนได้ดังน้ี 1) ศึกษาจุดมุ่งหมายของการวัดผลประเมินผล สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรยี นรู้ ตัวชี้วดั และเนอื้ หาที่ตอ้ งการ 2) วิเคราะห์เน้อื หาและระดับพฤตกิ รรมท่ตี ้องการวดั 3) กาหนดรูปแบบของข้อสอบท่ีจะใช้ในแบบทดสอบให้สอดคล้องกับเนื้อหาและ ระดบั พฤติกรรมท่ีต้องการวัด และควรใช้รูปแบบท่ีหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงความรู้ ความสามารถอยา่ งเตม็ ศักยภาพ 4) กาหนดจานวนขอ้ สอบ การกระจายของเนอ้ื หาสาระท่ีต้องการทดสอบและเวลา ทใ่ี ช้ทดสอบ 5) สร้างข้อสอบตามท่ีกาหนด โดยคานึงถึงเทคนิคของการสร้างข้อสอบและ สอดคล้อง กับจุดม่งุ หมายของการวัดผลประเมินผล 6) ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา ความเท่ียงตรง และความเป็นปรนัยของ ข้อสอบการสร้างแบบทดสอบให้มีคุณภาพจะต้องคานึงถึงรูปแบบของข้อสอบด้วย ข้อสอบ แต่ละ รปู แบบมีลักษณะเฉพาะและมจี ดุ ประสงค์ในการใช้แตกต่างกัน ผู้สอนจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจถึง ลักษณะสาคัญ แนวทางในการสร้าง ข้อดีและข้อจากัดของข้อสอบเหล่านั้น เพ่ือให้สามารถเลือกใช้ และสร้างข้อสอบได้ตามต้องการ 6. การประเมนิ ประสทิ ธิภาพ ประสิทธิภาพของส่ือ หมายถึง ข้ันตอนและวิธีการของส่ือในการสร้างผลสัมฤทธ์ิให้ผู้เรียน บรรลุวัตถุประสงค์ตามระดับท่ีคาดหวัง โดยการทาแบบทดสอบหรือแบบฝึกหัดระหว่างส่ือและ แบบทดสอบหลังเรียน วิธีการหาประสิทธิภาพส่ือ จะใช้คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบหรือกิจกรรม ระหวา่ งเรียนมาคานวณร้อยละซงึ่ จะเรียกว่า Event1 หรือ E1 มาเปรียบเทียบกบั คะแนนเฉล่ีย ใน รูปของรอ้ ยละจากการทาแบบทดสอบหลังเรียนซ่ึงเรยี กว่า Event2 หรอื E2 โดยนามาเปรียบเทียบใน รูปแบบ E1/E2 อย่างไรก็ตามค่าร้อยละของ E1/E2 ท่ีคานวณได้จะต้องนามาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ มาตรฐานท่ีตงั้ ไว้ เกณฑ์มาตรฐานเป็นสิ่งท่ีกาหนดขึ้นมาเพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการวัดและประเมินประสิทธิภาพ ของส่ือ เกณฑ์ที่ใช้วัดโดยทั่วไปจะกาหนดไว้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 เช่น 70/70 โดยค่าที่กาหนดไว้มี ความหมายดังนี้

40 70 ตัวแรก คือ เกณฑ์ของประสิทธิภาพของส่ือจากการทาแบบฝึกหัด หรือการ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในระหวา่ งเรยี นสือ่ 70 ตัวหลงั คอื เกณฑ์ของประสทิ ธภิ าพของสื่อจากการทาแบบทดสอบหลังการเรยี น การกาหนดเกณฑ์มาตรฐานไมค่ วรกาหนดให้มคี า่ สูงเกินไปหรือต่าเกินไป แต่ควรกาหนดให้ สอดคลอ้ งกับระดับผเู้ รยี นทจ่ี ะเปน็ ผ้ใู ชส้ ่ือ โดยมแี นวทางการกาหนดไว้กวา้ งๆ ดงั น้ี 1) สือ่ สาหรับเด็กเลก็ ควรจะกาหนดเกณฑ์ไว้ระหวา่ งรอ้ ยละ 95-100 2) ส่ือสาหรับเน้ือหาทฤษฎี หลักการความคิดรวบยอดและเนื้อหาพ้ืนฐานควรกาหนด เกณฑ์ไวร้ ะหว่างรอ้ ยละ 90-95 3) ส่ือมีเนื้อหาวิชาท่ียากและซับซ้อนต้องใช้ระยะเวลาในการศึกษามากกว่าปกติควร กาหนดไว้ระหวา่ งร้อยละ 85-90 4) ส่ือวิชาปฏิบัติ วิชาประลองหรือวิชาทฤษฎีถึงปฏิบัติ ควรกาหนดไว้ ระหว่างร้อยละ 80-85 5) สื่อสาหรับบุคคลท่ัวไปได้ระบุกลุ่มเป้าหมายท่ีชัดเจน ควรกาหนดไว้ ระหว่างร้อยละ 75-80 6.1 การหาประสทิ ธิภาพ การทดสอบหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบหรือแบบฝึกทักษะสรุปได้ว่า การหา ประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทักษะสามารถทาได้ 3 ขั้นตอน คือ (อรนภา ปกั กะสัง, 2555: 20-21 อ้างใน กรองกาญจน์ อรณุ รัตน์, 2546: 155) 6.1.1 แบบหนึ่งตอ่ หน่ึง (one – to – one Test) เป็นการนาแบบฝึกทักษะไปทดลองใช้ กบั นกั เรียน 1 คน โดยเลือกนักเรียนท่ีมผี ลการเรยี นอ่อน ปานกลาง และเก่ง เปน็ การทดลองใช้เพื่อฝึก เพื่อทดสอบการสอื่ ความหมาย กลา่ วคือ จะดูความสามารถด้านการส่ือความหมายของแบบฝึกทักษะ เป็นหลัก ขนั้ น้มี ิไดม้ ่งุ เน้นที่จะนาคะแนนผลสัมฤทธข์ิ องนักเรียนหลังเรียนเสร็จมาเป็นเคร่ืองมือในการ ตัดสินประสทิ ธิภาพของแบบฝกึ ทักษะ 6.1.2 แบบกล่มุ (Small Group Test) เป็นการนาแบบฝกึ ทักษะ ท่ีปรับปรุงแก้ไขแล้วไป ทดลองใช้กบั นักเรยี น 6-10 คน โดยคละกนั ระหว่างนกั เรียนเกง่ กับอ่อน การทดลองมีจุดมุ่งหมายเพื่อ ดคู วามสามารถของแบบฝึกทกั ษะ โดยก่อนเรยี นนักเรยี นจะทาแบบดสอบกอ่ นเรียน หลังจากนักเรียน ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนแล้วครูจะให้นักเรียนศึกษาจากแบบฝึกทักษะ เมื่อนักเรียนศึกษาเนื้อหาจบ แล้วให้นกั เรียนทาแบบทดสอบชดุ เดียวกนั 6.1.3 ภาคสนาม (Field Testing) เป็นการนาแบบฝึกทักษะที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไป ทดลองใช้ในช้ันเรียนที่มีนักเรียนต้ังแต่ 30-100 คน ดาเนินการทดลองในภาคสนาม ตามข้ันตอน เช่นเดียวกับการทดลองแบบกลุ่ม โดยปกติเกณฑ์ประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนท่ีเนื้อหา ความรู้ความจา ที่ตั้งไว้ 70/70,80/80, 85/85 หรือ 90/90 โดยท่ี 80 85 และ 90 ตัวแรก หมายถึง

41 คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนท้ังหมดที่ทาแบบทดสอบระหว่างเรียนได้ถูกต้องร้อยละ 80 85 และ 90 ส่วน 80 85 และ 90 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉล่ียของนักเรียนท้ังหมดท่ีทาแบบทดสอบหลังเรียน ไดถ้ ูกต้องรอ้ ยละ 80 85 และ 90 ภายหลงั จากที่นาแบบฝึกทักษะไปทดลอง เพอ่ื หาประสทิ ธิภาพ ในกรณีท่ีประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนที่สร้างข้ึนไม่ถึงเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เน่ืองจากตัว แปรที่ควบคมุ ไม่ได้ เชน่ สภาพห้องเรียน ความพร้อมของนกั เรยี น บทบาท และความชานาญ ในการ ใช้แบบฝึกทักษะของครู อาจอนุโลมให้มีระดับผิดพลาดให้ต่ากว่ามาตรฐานท่ีกาหนด ไว้ประมาณ 2.5%-5% โดยการยอมรบั ประสิทธิภาพของแบบฝึกทกั ษะ ทีส่ รา้ งข้ึนไว้ 3 ระดับ 1) สูงกว่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะสูงกว่าเกณฑ์ ที่กาหนดไว้คือมี ค่าเกนิ กว่า 2.5% ขึน้ ไป 2) เท่ากัน เมื่อประสิทธิภาพของแบบฝกึ ทักษะเทา่ เกณฑ์ หรือสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด ไว้แตไ่ มเ่ กิน 2.5% 3) ตา่ กวา่ เกณฑ์ เมอ่ื ประสิทธภิ าพของแบบฝกึ ทกั ษะตา่ กว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือมีค่า ต่ากว่า 2.5% ก็ถือว่ายังมีประสิทธิภาพท่ียอมรับได้ การยอมรับประสิทธิภาพ ของชุดการเรียนการ สอนดังกว่าให้ถือความแปรปรวน 2.5%-5% นั่นคือประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะไม่ควรต่ากว่า เกณฑ์ 5% แต่โดยปกตจิ ะกาหนดไว้ 2.5% เทา่ นนั้ 7. ดชั นีประสทิ ธิผล ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness : E.I.) หมายถึง ค่าท่ีแสดงการเรียนรู้ที่ก้าวหน้าข้ึนจาก พื้นฐานความรู้เดิมท่ีมีอยู่แล้ว หลังจากที่ผู้เรียนได้เรียนจากส่ือนวัตกรรมหรือแผนการจัดการเรียนรู้ นนั้ ๆ (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2553: 58-159) การหาค่าดชั นปี ระสทิ ธิผล กรณรี ายบุคคล ตามแนวคดิ ของ Hofland จะใชส้ ูตรดงั นี้ ดชั นปี ระสิทธผิ ล (E.I.) = คะแนนหลังเรียน - คะแนนก่อนเรยี น คะแนนเต็ม - คะแนนก่อนเรียน โดยท่วั ไปการหาดชั นีประสทิ ธิผลมักหาโดยใช้คะแนนของกลุ่ม ซ่ึงทาใหม้ ีสูตรเปลีย่ นไป ดงั นี้ ดัชนีประสิทธิผล(E.I.) = ผลรวมคะแนนหลงั เรยี นของทกุ คน – ผลรวมคะแนนกอ่ นเรียนของทุกคน (จานวนนักเรียน x คะแนนเต็ม) – ผลรวมคะแนนกอ่ นเรยี นของทกุ คน การหาค่าดัชนีประสิทธิผล เป็นการพิจารณาพัฒนาการในลักษณะท่ีว่าเพิ่มขึ้นเท่าไรไม่ได้ ทดสอบว่าเพมิ่ ขนึ้ อย่างน่าเชอ่ื ถือไดห้ รอื ไม่ มขี อ้ สังเกตบางประการเก่ียวกับค่าดชั นปี ระสทิ ธผิ ล ดังน้ี

42 คา่ ดชั นปี ระสทิ ธิผล เป็นเร่ืองของอัตราส่วนของผลต่างจะมีค่าสูงสุดเป็น 1.00 ส่วนค่าต่าสุด ไม่สามารถกาหนดได้เพราะมีค่าต่ากว่า -1.00 ก็ได้ และถ้าเป็นค่าลบแสดงว่าคะแนนสอบก่อนเรียน มากกว่าหลงั เรียน ซ่งึ มีความหมายวา่ ระบบการเรยี นการสอนหรือสอ่ื ไม่มีคณุ ภาพ 1. ถา้ ผลสอบก่อนเรยี นของนกั เรียนทกุ คนไดค้ ะแนนรวมเท่าไรก็ได้ (ยกเว้นได้คะแนน เตม็ ทุกคน) และถ้าผลการสอบหลังเรียนของนกั เรยี นทกุ คนทาได้ถูกหมดทุกข้อ (ได้คะแนนเต็มทุกคน) ค่าดัชนีประสทิ ธผิ ลจะเปน็ 1.00 2. ถ้าผลการสอนก่อนเรียนมากกวา่ หลงั เรยี นค่าดัชนีประสิทธิผลมีคา่ ตา่ กว่า1.00 ได้ 3. การแปลความหมายของค่าดัชนีประสิทธิผลไม่น่าจะแปลความหมายเฉพาะค่าท่ี คานวณไดว้ ่านกั เรยี นมีพฒั นาการขน้ึ เทา่ ใด คิดเป็นร้อยละเท่าไร แต่ควรจะดูข้อมูลเพิ่มประกอบด้วย ว่าหลงั จากนักเรยี นมีคะแนนเพมิ่ ขนึ้ เท่าไร ในบางคร้งั คะแนนหลังเรียนเพ่ิมข้ึนเล็กน้อยเป็น เพราะว่า กลุม่ น้นั มคี วามร้เู ดมิ ในเร่อื งนน้ั มากอยแู่ ลว้ ซง่ึ ไมใ่ ช่เรือ่ งเสียหาย ดงั นน้ั ค่าดัชนีประสิทธิผล ทเ่ี กดิ ขึ้นแตล่ ะกล่มุ ไมส่ ามารถเปรียบเทียบกันได้ เพราะไม่ได้ เร่ิม จากฐานความรทู้ เ่ี ท่ากัน คา่ ดัชนปี ระสทิ ธผิ ลของแตล่ ะกลุ่มจะอธบิ ายเฉพาะกลมุ่ เทา่ น้ัน 8. ความพึงพอใจ วลัยพร เกษมสานต์ (2554: 90) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความคิด ทัศนคติ ผลสืบ เน่ืองมาจาก ข่าวสารต่าง ๆ ท่ีอยู่ในสภาพแวดล้อมของการติดต่อส่ือสาร ท่ีสามารถตอบสนองต่อ ความต้องการได้ โดยระดบั ความพงึ พอใจสามารถวดั ไดจ้ ากการตอบสนองความตอ้ งการต่อสิ่งเร้าน้ันๆ ความพงึ พอใจเป็นความรู้สึกบวกของบุคคลที่มตี อ่ สิ่งใดส่ิงหนึ่ง อันเน่ืองมาจากความสาเร็จ ความสม ประสงค์ในส่ิงที่ตนคาดหมายไว้เป็นความรู้สึกที่สามารถปรับเปลี่ยนได้เสมอขึ้นอยู่กับสถานการณ์ สภาพแวดลอ้ มช่วงเวลาในขณะนั้น ๆ ความพึงพอใจเป็นพลังแห่งการสร้างสรรค์ สามารถกระตุ้นให้ เกิดความภาคภูมใิ จ ม่ันใจทีจ่ ะปรบั เปล่ียนพฤติกรรมให้เปน็ ไปในแนวทางอันพงึ ปรารถนาได้ ทองสุข นะธะศิริ (2555: 44) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่บุคคล ส่ิงใดสิ่ง หน่งึ จะเกิดขึ้นกับบุคคลทไ่ี ด้รบั สง่ิ ทตี่ อ้ งการ หรือทากิจกรรมใดกิจกรรมหนงึ่ แล้ว วิชาการ (2556) ความพึงพอใจ หมายถึง ความพอใจ ชอบใจ และมีความสุขท่ีความต้องการ หรอื เป้าหมายทต่ี ้งั ใจไว้บรรลุผลหรือสมหวังน้ันเอง สาหรับนักเรียนแล้วก็ใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วนใหญ่ก็ย่อมจะมีความต้องการหรือความคาดหวังว่าส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะสามารถช่วยให้ ตัวเองสามารถเข้าใจบทเรียนได้ดีย่ิงข้ึนหรือได้ผลการเรี ยนดีข้ึนนั้นเอง ซ่ึงสามารถวัดได้จาก แบบสอบถามวัดระดบั ความพงึ พอใจ หรือผลการสอบ สรุปได้ว่า ความพึงพอใจ ความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่อสิ่งใดส่ิงหนึ่งที่สามารถตอบสนอง หรือ ความชอบต่อความตอ้ งการของบคุ คลน้นั โดยการเอาใจใส่หรอื ทาบรรลเุ ป้าหมายที่คาดหวังไว้ แล้วทา ใหเ้ กดิ ความพงึ พอใจ เกดิ ความภาคภูมใิ จจากความสาเร็จในสิง่ น้นั ๆ ในการวดั หรือประเมนิ ประสิทธภิ าพของชุดแบบฝกึ ทักษะ การประเมินในด้านความพึงพอใจ ของผู้ใช้ชุดแบบฝกึ ทักษะ อาจจะเปน็ ผสู้ อนหรอื ผู้เรยี น เป็นวธิ กี ารหนึ่งในการวัดประสิทธิภาพของชุด

43 แบบฝึกทักษะ ถ้าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อบทเรียน เป็นผลทาให้ผู้เรียนยอมรับและสนองต่อการ เรียนด้วยความเต็มใจ โดยการสนใจในการเรยี นหรอื การเข้าร่วมกจิ กรรม ซึ่งมีผลทาให้ผู้เรียนมีผลการ เรยี นดยี ง่ิ ขึ้น ในการวดั หรือประเมินความพงึ พอใจจะใช้แบบสอบถาม วัดทัศนคติตามวิธี ของลิเคิร์ท (Likert) ซึ่งจะแบ่งความรู้สกึ ออกเปน็ 5 ช่วงหรือ 5 ระดับ ดังน้ี (ไพบูลย์ พรมมากุลม, 2556: 54-55 อา้ งใน พิสุทธา อารีราษฎร์, 2551: 174) ระดบั 5 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมากทส่ี ดุ ระดับ 4 หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก ระดบั 3 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจปานกลาง ระดบั 2 หมายถึง มีความพงึ พอใจน้อย ระดับ 1 หมายถงึ มีความพึงพอใจนอ้ ยท่ีสุด เกณฑ์การพิจารณาระดับความพึงพอใจของผู้เรียน แปรความจากค่าเฉลี่ยน้าหนัก คะแนนเฉลยี่ คานวณไดจ้ าแนกเป็น 5 ระดับ ดงั นี้ 4.50 - 5.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมากทสี่ ดุ 3.50 - 4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 1.50 - 2.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อย 1.00 - 1.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อยทสี่ ุด รายการสาหรับการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานโดยทั่วไปจะเก่ียวกับองค์ประกอบ ด้านการนาเข้า การประมวลผลและการแสดงผล โดยพิจารณาแต่ละส่วนว่าควรจะมีคาถามอะไรบ้าง ทเ่ี กี่ยวกบั ความพงึ พอใจของผู้เรยี น 9.งานวิจัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง ขวญั ดาว แจง่ แจ้ง (2551) ผลของการสอนโดยใช้บทบาทสมมตุ ิทม่ี ตี ่อผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นรายวชิ าเคมอี นิ ทรยี ์ 2 เรื่องกลไกการเกดิ ปฏิกริ ยิ าการเตมิ กลุม่ ของนักศึกษาโปรแกรมวิชาเคมี ชน้ั ปีท่ี 2 ผลการศึกษาพบว่าผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรายวชิ าเคมีอนิ ทรีย์ 2 เร่อื ง กลไกการ เกิดปฏกิ ิริยาการเติมกลมุ่ ของนักศกึ ษาโปรแกรมวชิ าเคมี ช้ันปที ่ี 2 หลังจากท่ไี ดร้ ับการสอนโดยใช้ บทบาทสมมุติ มคี ่าเทา่ กับร้อยละ 63.81 สูงกว่าก่อนการสอนโดยใช้บทบาทสมมตุ ิซง่ึ มีค่าผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียน รอ้ ยละ 33.3 อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.05 โดยมีคา่ ร้อยละความก้าวหน้าของ ผลการเรียนรู้ เป็นร้อยละ 14.52 และผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนหลังจากทไี่ ดร้ ับการสอนโดยใช้บทบาท สมมตุ ิ พบว่ามีคา่ สงู กวา่ เกณฑ์รอ้ ยละ 60 อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05 กรรณิกา สร้อยบุดดา (2553) การใชก้ ิจกรรมบทบาทสมมุติในการพัฒนาความสามารถด้าน การพดู ภาษาอังกฤษของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ผลการวิจัยสรปุ ว่า 1) กิจกรรมบทบาทสมมตุ ิ ในการพัฒนาความสามารถด้านการพดู ภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 มปี ระสทิ ธิภาพ เท่ากบั 81.30/77.16 2.) ดัชนปี ระสิทธิผล ของการจดั กิจกรรมการพัฒนาความสามารถด้านการพูด

44 ภาษาองั กฤษโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมตุ ขิ องนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 มีคา่ เทา่ กับ 0.6017 แสดงว่า ผู้เรียนมีความก้าวหนา้ ในการเรยี นรอ้ ยละ 60.17 3.) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีเรยี นโดยการจัดกิจกรรมการพัฒนาความสามารถดา้ นการพูดภาษาองั กฤษโดยใช้ กจิ กรรมบทบาทสมมตุ หิ ลังเรียนเพิ่มขึ้นจากก่อนเรยี นอยา่ งมีนยั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 4.) ความพงึ พอใจของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่มี ีตอ่ การจดั กิจกรมมการพัฒนาความสามารถด้านการพูด ภาษาองั กฤษโดยใชก้ ิจกรรมบทบาทสมมุติอยใู่ นระดับมาก วิศณี ไชยรักษ์ (2557) การศกึ ษาการสอนโดยใช้วธิ ีสอนแบบแสดงบทบาทสมมุติ เรื่องการหา ความคิดในการออกแบบ ระดับปริญญาตรี ชั้นปีท่ี 3 จานวน 25 คน สาขาสถาปัตยกรรมภายใน มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ผลการวิจัยพบว่า 1.ผลการศึกษาวิธีการสอนแบบแสดง บทบาทสมมตุ ิเร่ืองการหาความคิดในการออกแบบตามรูปแบบ 4 ข้ันตอน ข้ันเตรียมการสอน ขั้นการ สอนแบบบทบาทสมมุติ ข้ันตอนวิเคราะห์ผลการแสดง และขั้นแลกเปล่ียนประสบการณ์และสรุปผล 2.ผลการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการสอนแบบแสดงบทบาทสมมุติ เรื่องการหาแนวความคิดใน การออกแบบโดยทดสอบค่า (T –test) พบว่า -18.68 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 3.ผล การศึกษาความพึงพอใจนักศึกษาท่ีมีต่อการสอนโดยใช้วิธีสอนแบบแสดงบทบาทสมมุติเร่ืองการหา แนวความคิดในการออกแบบ ความพึงพอใจระดับมาก ค่าเฉล่ีย (x̅ )=4.47 ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)=0.50 ศนั สนะ มลู ทาดี (2557) การพัฒนาทักษะการพดู ภาษาองั กฤษของนกั ศกึ ษาช้นั มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ดว้ ยวธิ แี สดงบทบาทสมมตุ ิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2557 จานวน 20 คน ผลการวิจัยสรุปว่า 1.ทกั ษะในการพดู ภาษาอังกฤษด้วยวธิ ีแสดงบทบาทสมมุติของผู้เรียน หลังทดลองสูงขึ้นกว่าก่อนการ ทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 2.ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการเรียนด้วยวิธีแสดง บทบาทสมมตุ ิ ในระดับมาก ณัฐธิดา อาจปรุ (2559 ) การพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรม บทบาทสมมุติ ของนักศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ นักศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นเทศบาล 2 มขุ มนตรี อาเภอเมือง อุดรธานีจังหวัดอุดรธานี ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 36 คน ซ่ึงได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม ผลการวิจัยสรุปได้ดังน้ี 1. นกั ศกึ ษามีคะแนนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยกอ่ นเรียนเท่ากับ 32.45 คิดเป็น รอ้ ยละ 32.45 และคะแนนหลงั เรียนเฉล่ียเท่ากับ 77.44 คิดเป็นร้อยละ 77.44 ซึ่งนักศึกษามีคะแนน หลังเรียนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 70 และมีคะแนนเฉลีย่ หลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี น 2. นกั ศกึ ษามีเจตคติต่อ การสอนพูดภาษาองั กฤษโดยใชก้ ิจกรรมบทบาทสมมตุ อิ ยู่ในระดับดมี าก

45 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการวิจยั การวิจัยเรื่อง การจัดการเรียนการสอนแบบบทบาทสมมุติ (Role Playing) โดยใช้แบบฝึก ทักษะ เร่ือง การสื่อสารในชีวิตประจาวัน วิชาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อาเภอวังสามหมอ ครั้งนี้มี จดุ ประสงค์ เพอ่ื พัฒนาผลการเรียนโดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ โดยผวู้ จิ ยั ดาเนินการวิจยั ดงั นี้ 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2. เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย 3. การสร้างเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั 4. การดาเนนิ การและเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะหข์ ้อมลู 1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อาเภอวังสามหมอ จานวน 5 หอ้ งเรยี น 180 คน ปีการศึกษา 2562 กลมุ่ ตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อาเภอวังสามหมอท่ีเรียนวิชา ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจาวัน จานวน 25 คน ซงึ่ ได้มาด้วยวิธกี ารสมุ่ (Cluster Random Sampling) แบบแผนการวิจยั ผศู้ ึกษาได้ดาเนินการวิจัยเชิงทดลองเบ้ืองตน (Pre-Experimental Design) โดยใชแบบวิจัย The Single Group Pretest - Posttest Design (สมชาย วรกิจเกษมสกุล, 2558: 130) ดังตารางที่ 3.1 ตารางท่ี 3.1 รปู แบบการวจิ ยั The Single Group, Pretest - Posttest Design วันก่อนทดลอง จดั ทาตามโปรแกรม วดั หลังการทดลอง T1 X T2 สญั ลกั ษณ์ท่ใี ชในการศึกษา T1 แทน วดั กอ่ นการทดลอง X แทน จัดการเรยี นรูดว้ ยแบบฝกึ ทักษะการส่อื สารในชีวติ ประจาวนั T2 แทน วดั หลังการทดลอง

46 2. เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั ในการวิจัยครั้งน้เี คร่ืองมือทใี่ ช้ประกอบไปด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการสื่อสารในชีวิตประจาวัน จานวน 5 แผน แผนละ 3 ชั่วโมง รวม 15 ชัว่ โมง 2) แบบฝึกทักษะชดุ การสื่อสารในชวี ิตประจาวัน 3) แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาภาษาองั กฤษในชีวิตประจาวัน ก่อนเรียนและ หลงั เรยี นเปน็ แบบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ มี 4 ตวั เลือก จานวน 30 ข้อ 3. การสร้างเครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัย ในการศึกษาครั้งนี้ มีข้นั ตอนการสรา้ งเครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการทดลองมี ดังน้ี 3.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการส่ือสารในชีวิตประจาวัน จานวน 5 แผน แผนละ 3 ชว่ั โมง รวม 15 ช่วั โมง ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนินการสร้างตามข้นั ตอน ดงั นี้ 3.1.1 ศกึ ษาหลักสูตรสถานศกึ ษาของ กศน.อาเภอวงั สามหมอ จังหวัดอุดรธานี ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเอกสารแผนจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาอังกฤษ ประกอบด้วยหลักการ จุดหมาย สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียน สาระ การเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัดช้ันปี หน่วยการเรียน หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ช้ัน มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 3.1.2 ศึกษาความหมาย ทฤษฎี องค์ประกอบรูปแบบกระบวนการเรียนและ ประโยชน์ของแบบฝึกทกั ษะ 3.1.3 ศกึ ษาเนอ้ื หาของวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จาก หนังสือและเอกสารท่ีเก่ียวข้อง 3.1.4 กาหนดข้ันตอนการจดั การเรยี นรู้แบบฝึกทักษะการส่อื สารในชวี ิตประจาวัน 3.1.5 คัดเลือกเนื้อหาเพ่ือใช้ในการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการสื่อสารใน ชีวิตประจาวนั ของนักศึกษาชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ 3.1.6 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ตามเนื้อหา ข้ันตอนการจัดการเรียนรู้แบบฝึก ทกั ษะการสอื่ สารในชีวติ ประจาวัน โดยผวู้ ิจยั ได้แบ่งเน้อื หาและเวลา ดงั นี้ 1) เรื่อง การทักทาย การกล่าวลา เวลา 3 ชั่วโมง 2) เร่อื ง การแนะนาตนเองและผ้อู ืน่ เวลา 3 ชั่วโมง 3) เรื่อง การโตต้ อบทางโทรศพั ท์ เวลา 3 ชว่ั โมง 4) เรอ่ื ง การแสดงความรู้สึกต่างๆ เวลา 3 ชั่วโมง 5) เรื่อง การพูดแสดงความคิดรูปแบบตา่ งๆ เวลา 3 ชัว่ โมง 3.1.7 นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ท่ี ปรึกษาวิจัยแล้วนาไปให้ผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เช่ียวชาญวิชาภาษาอังกฤษ ด้านหลักสูตรและ

47 การสอน การวิจัยและการวัดผลประเมินผล ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม ความสอดคล้องและ ความเป็นไปได้ระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้และการวัดผล ประเมินผลโดยใชผ้ ู้เชย่ี วชาญพจิ ารณาตรวจสอบโดยมีเกณฑก์ ารให้คะแนน ดังนี้ - ให้คะแนนเป็น +1 เม่ือแน่ใจว่าองค์ประกอบน้ันของแผนการจัดการ เรยี นรมู้ คี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกัน - ให้คะแนนเป็น 0 เม่ือไม่แน่ใจว่าองค์ประกอบน้ันของแผนการจัดการ เรยี นรู้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกนั - ให้คะแนนเปน็ -1 เมือ่ แน่ใจว่าองค์ประกอบนน้ั ของแผนการจัดการเรียนรู้ ไม่มคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หา นาคะแนนท่ีได้จากแบบประเมินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการ ส่อื สารในชีวิตประจาวนั ของนกั ศึกษาช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น ท่ีส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ นักศึกษาช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ท้ัง 3 ท่าน มาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item- Objective Congruence: IOC) จากการหาค่า IOC มีคา่ ระหว่าง 0.67 – 1.00 ซงึ่ เปน็ คา่ ทผ่ี า่ นเกณฑ์ 3.1.8 แก้ไขปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรียนรตู้ ามขอ้ เสนอแนะของผเู้ ชย่ี วชาญ จากน้ัน เสนอแผนการจดั การเรียนรทู้ ป่ี รับปรุงแล้วตอ่ อาจารย์ท่ปี รกึ ษาวิจยั เพื่อตรวจสอบอกี ครง้ั 3.1.9 นาเสนอแผนการจดั การเรียนรู้ โดยใช้ในการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะ การสอื่ สารในชีวติ ประจาวนั ท่ีสง่ ผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ไม่ใช่กลุ่มประชาการเพ่ือพิจารณา ความเหมาะสมของจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ การวัดผลแบบประเมินผล และเวลาท่ีใช้ในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ แล้วทาการปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ให้สมบูรณ์ เพื่อนาไปใช้สอนจริง กบั กลุ่มตวั อย่างต่อไป 3.1.10 จดั พมิ พแ์ ผนการจัดการเรยี นรู้ โดยใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ด้วยแบบฝึกทักษะ การสอื่ สารในชวี ติ ประจาวนั ของนกั ศึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ของ กศน.อาเภอวังสามหมอ จังหวัด อดุ รธานี ฉบับสมบูรณ์จานวน 5 แผน เพอื่ นาไปใชใ้ นการทดลองกบั กลุ่มประชากรตอ่ ไป 3.2 การสร้างแบบฝึกทักษะการสื่อสารในชีวิตประจาวัน วิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้น มธั ยมศึกษาตอนตน้ มขี น้ั ตอนดังน้ี การวิเคราะห์ (A: Analysis) 1) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ทธศักราช 2551 วิชา ภาษาอังกฤษ 2) ศกึ ษามาตรฐานการเรยี นรู้ของหลกั สูตรวิชาภาษาอังกฤษ สาหรับช้ันมัธยมศึกษา ตอนต้น 3) กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรมให้สอดคล้องกับคาอธิบายรายวิชา และจุดประสงค์การเรยี นรูใ้ นหลักสตู ร และวเิ คราะหเ์ นือ้ หา

48 4) ศึกษาหลักการ วิธกี าร ทฤษฎี และเทคนคิ การสอื่ สารในชีวิตประจาวัน จากตารา เอกสารต่างๆ และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง นาไปปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบและเห็นชอบจึง ดาเนนิ การขั้นต่อไป การออกแบบ (D: Design) 1) ศึกษาเนื้อหาแบบฝกึ ทกั ษะการการสื่อสารในชีวติ ประจาวัน วิชาภาษาองั กฤษ 2) ออกแบบปกแบบฝึกทักษะการสื่อสารในชวี ิตประจาวนั เนื้อหา 3) สร้างแบบฝึกทักษะการสื่อสารในชีวิตประจาวัน วิชาภาษาอังกฤษ แล้วนาไป ปรกึ ษาอาจารย์ทปี่ รึกษาตรวจพจิ ารณาและเห็นชอบจงึ ดาเนินการขน้ั ต่อไป การพัฒนา (D: Development) หลังจากได้รับคาเสนอแนะจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ผู้ศึกษาได้พัฒนาแบบฝึกทักษะ การส่ือสารในชีวิตประจาวัน ตามท่ีออกแบบไว้ แล้วนาเสนอต่อกรรมการพิจารณาโครงงานวิจัย จานวน 3 ทา่ น เพ่อื ตรวจสอบคณุ ภาพบทเรยี นโดยใช้แบบฝึกทักษะการส่ือสารในชีวิตประจาวัน วิชา ภาษาองั กฤษ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ และนามาปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนา การทดลองใช้ (I: Implementation) 1) สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 5 แผน รวม 15 ชวั่ โมง ประกอบการแบบฝึก ทักษะ ซึ่งไม่นบั รวมเวลาท่ใี ชใ้ นการทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรยี น 2) นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เช่ียวชาญ 3 ท่านตรวจประเมิน ความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะในด้านต่าง ๆ และตรวจสอบประเมิน ความสอดคล้องของ องคป์ ระกอบในแผนการจดั การเรียนร้ดู ้านความเทีย่ งตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) 3) ผู้เช่ียวชาญประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) ของ องค์ประกอบในแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ และ วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใช้สตู รการค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ ง (IOC) 4) นาข้อมูลท่ีรวบรวมจากความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ มาวิเคราะห์หาค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) ของแผนการจดั การเรยี นรู้ 5) จัดเตรยี มแบบฝกึ ทกั ษะและจดั พมิ พ์แผนการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื นาไปทดลองใช้ การประเมนิ ผล (E : Evaluation) ดาเนินการทดลองภาคสนามกับนักศึกษา กลุ่มประชากร ตามแบบแผนการทดลอง และประเมินผลแบบฝึกทักษะตามวัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา

49 การสรา้ งแบบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 1) ศึกษาหลักสูตรโรงเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 และเอกสารแผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ ประกอบด้วยหลักการ จุดหมาย สาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียน สาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดชั้นปี ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น หลักการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 2) ศกึ ษาเนื้อหาสาระเก่ียวกบั วิชาภาษาอังกฤษ ชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น 3) สร้างแบบทดสอบให้ครอบคลุมกับเนื้อหา สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตัวชว้ี ัดชั้นปี จานวน 3 ชดุ 4) นาแบบวดั ท่ีสรา้ งขึ้นเสนอตอ่ อาจารย์ท่ปี รึกษาวิจัยเพ่ือพิจารณาความถูกต้องของแบบวัด แล้วนามาปรบั ปรุงแกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะ 5) นาแบบทดสอบทีส่ ร้างขนึ้ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยแล้ว นาไปให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ซึ่งเป็นผเู้ ช่ยี วชาญการสอนด้านวิชาภาษาอังกฤษ ด้านหลักสูตรและการสอน การวิจัยและการวัดผล ประเมินผลเพื่อประเมินคุณภาพ ให้การเสนอแนะ และตรวจสอบความเท่ียงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยให้ผู้เชย่ี วชาญให้คะแนน ดังนี้ - ให้คะแนนเป็น +1 เมื่อแน่ใจว่าคากับเกณฑ์ให้คะแนนมีความเหมาะสม และ สอดคลอ้ ง - ให้คะแนนเป็น 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าคากับเกณฑ์ให้คะแนนมีความเหมาะสม และ สอดคล้อง - ให้คะแนนเป็น -1 เมื่อแน่ใจว่าคากับเกณฑ์ให้คะแนนไม่มีความเหมาะสม และ สอดคลอ้ ง นาคะแนนที่ได้จากแบบประเมินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการ สอ่ื สารในชีวิตประจาวัน วิชาภาษาอังกฤษ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ทสี่ ง่ ผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของนักศึกษาระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ท้ัง 3 ท่าน มาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence: IOC) 6) แก้ไขปรับปรุงแบบทดสอบตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ จากน้ันเสนอแบบทดสอบท่ี ปรับปรงุ แล้วต่ออาจารย์ ทปี่ รกึ ษาวิจยั เพือ่ ตรวจสอบอกี ครั้ง 7) นาแบบทดสอบท่ีได้ไปวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับนักศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนตน้ ปกี ารศกึ ษา 2562 ของ กศน.อาเภอวังสามหมอ จังหวัดอดุ รธานี ทเี่ ป็นกลมุ่ ตวั อย่างต่อไป 8) นาแบบทดสอบท่ีได้ไปวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นปี การศึกษา 2562 ของ กศน.อาเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ไปหาค่าความยากง่าย ค่าอานาจ จาแนก และค่าความเชอ่ื มัน่