Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นกศน.อำเภอวังสามหมอ 2563 update19.01.65

ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นกศน.อำเภอวังสามหมอ 2563 update19.01.65

Description: เอกสารเผยแพร่ ปี2563

Search

Read the Text Version

ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั สามหมอ สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั อดุ รธานี สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร หน้า 1 ทำเนยี บแหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ กศน.อำเภอวังสามหมอ

แหลง่ เรยี นรู้ พระราชบัญญตั กิ รศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเติม หมวด 4 มาตรา 25 กล่าววา่ รัฐต้องสง่ เสรมิ กรดำเนินงานและการจดั ตัง้ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ทกุ รูปแบบ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุดประชาชน พิพิธภณั ฑ์ หอ ศิลป์ สวนสตั ว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษาศาสตร์ อุทยานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศนู ยก์ ารกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมลู และแหล่งการเรียนรู้อ่ืนอยา่ งพอเพียงและมปี ระสทิ ธภิ าพ จากนโยบายการพัฒนา กศน.ตำบลใหม้ บี รรยากาศและสภาพแวดล้อมท่เี อือ้ ต่อการเรียนรู้ Good Place – Best Check in ใหม้ ีความพร้อมในการบริการกจิ กรรมการศึกษาและเรยี นรู้ เปน็ แหลง่ ข้อมลู สาธารณะท่ีง่ายตอ่ การเข้าถงึ มีบรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการ เรียนรู้เปน็ เสมือนคาเฟ่การเรยี นรู้ สำหรบั ทุกคนทกุ ชว่ งวยั มีสิ่งอำนวยความสะดวก มคี วามสวยงามที่ดงึ ดดู ความสนใจ และมีความ ปลอดภัยสำหรบั ผู้ใช้บรกิ าร “แหล่งเรยี นรู้” คือ ถ่นิ ทอี่ ยู่ บริเวณ บ่อเกดิ แหง่ ท่ีหรอื ศูนยค์ วามร้ทู ีใ่ หเ้ ข้าไปศกึ ษาหาความรู้ ความเขา้ ใจ และความชำนาญ ซงึ่ แหลง่ เรียนร้จู ึงอาจเปน็ ไปไดท้ ้งั สิ่งท่เี ปน็ ธรรมชาติ หรอื สง่ิ ทม่ี นุษย์สรา้ งขึ้นเปน็ ได้ทัง้ บุคคล สิง่ มีชีวติ และไม่มีชีวิต และแหล่งเรียนรู้ อาจจะอยใู่ นหอ้ งเรยี นในโรงเรียนหรือนอกโรงเรียนกไ็ ด้ ➢ ความสำคญั ของแหลง่ การเรยี นรู้ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ.2545 มสี าระสำคญั ท่ี สร้างเสริมความรู้ การเรยี นรู้ ความใฝ่รู้ การศกึ ษาค้นคว้า วจิ ยั อนั นำไปสสู่ งั คมความรู้ ( Knowledge ความหมายของแหล่งเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูลขา่ วสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ทส่ี นบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นใฝ่ เรยี น ใฝร่ ู้ แสวงหาความรแู้ ละเรียนรดู้ ว้ ยตนเองตามอัธยาศัย อย่างกวา้ งขวางและต่อเนอื่ ง เพอ่ื เสรมิ สรา้ งให้ผู้เรียน เกิดกระบวนการเรยี นรู้ และเป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ ความสำคัญของแหลง่ เรยี นรู้ 1. แหล่งการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. แหลง่ การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ 3. แหล่งปลูกฝังนิสยั รกั การอ่าน การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 4. แหล่งสร้างเสรมิ ประสบการณ์ภาคปฏบิ ัติ 5. แหล่งสรา้ งเสรมิ ความรู้ ความคดิ วิทยาการและประสบการณ์ ประเภทของแหลง่ เรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ จำแนกตามลกั ษณะทต่ี งั้ ได้ ดงั น้ี 1. แหลง่ เรียนรใู้ นสถานศึกษา 2. แหลง่ เรยี นรู้ในท้องถน่ิ ทำเนยี บแหล่งเรยี นรู้ ภมู ิปัญญาท้องถิน่ กศน.อำเภอวังสามหมอ หน้า 2

วัตถุประสงคข์ องการจัดแหลง่ เรียนรู้ 1. เพอื่ พัฒนาใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรู้ มีแหล่งขอ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ วิทยาการ และสร้างเสรมิ ประสบการณ์ ทกี่ ว้างขวางหลากหลาย 2. เพ่ือเสริมสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ โดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั 3. เพื่อจดั ระบบและพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศ และแหล่งการเรยี นรู้ 4. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมที ักษะการเรียนรู้ เป็นผ้ใู ฝ่รู้ ใฝ่เรียน และเรียนรดู้ ว้ ยตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง การนำแหล่งเรียนรู้และภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ มาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนมแี นวทางดงั น้ี 1. ศึกษาหลักสตู ร และสาระการเรยี นรู้ 2. จดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศแหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ 3. จดั ทำแผนการเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ให้สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ 4. ขอความรว่ มมอื กบั ชุมชนและวทิ ยากรท้องถ่นิ 5. เชิญวิทยากรท้องถน่ิ มาถ่ายทอดความรู้ หรือนำนักเรยี นไปยังแหลง่ เรยี นรู้ 6. ทำการวดั ประเมินผล 7. รายงานผล สรปุ ผลให้ผทู้ เี่ กี่ยวขอ้ งไดท้ ราบ ขอ้ ดใี นการนำแหล่งเรยี นรู้ และภมู ิปัญญาท้องถน่ิ มาใชใ้ นกระบวนการเรยี นการสอน 1. ผูเ้ รียนได้เรียนรจู้ ากของจรงิ ทำให้เกิดประสบการณต์ รง 2. ผูเ้ รยี นเกดิ ความสนกุ สนาน 3. ผเู้ รียนมเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ ชุมชน และกระบวนการเรียนรู้ 4. ผ้เู รยี นเห็นคุณค่าของแหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน 5.ผ้เู รียนเกดิ ความรกั ทอ้ งถิ่นและเกดิ ความรู้ในการอนุรกั ษส์ ิง่ ที่มีคณุ ค่าในทอ้ งถิ่น ทำเนยี บแหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน กศน.อำเภอวงั สามหมอ หน้า 3

ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ความสำคัญของภูมิปัญญา ภมู ปิ ัญญา ทำใหช้ าติและชุมชนผ่านพ้นวกิ ฤตแิ ละดำรงความเป็นชาติ หรอื ชุมชนได้ ภมู ิปัญญาเป็น องค์ความรู้ท่ีมีคุณคา่ และความดงี ามท่จี รรโลงชวี ติ และวถิ ชี มุ นใหอ้ ยูร่ ว่ มกบั ธรรมชาติและสภาวะแวดล้อมได้ อยา่ งกลมกลืนและสมดุล ภูมปิ ัญญา เป็นพื้นฐานการประกอบอาชีพและเป็นรากฐานการพฒั นาทเ่ี รมิ่ จากการพฒั นาเพอื่ การพงึ่ พา ตนเอง การพัฒนาเพ่ือการพง่ึ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกัน และการพฒั นาท่ีเกิดจากการผสมผสานองคค์ วามรสู้ ากล บนฐานภูมปิ ัญญาเดิม เพอื่ เกิดเป็นภูมปิ ัญญาใหม่ทเี่ หมาะสมกบั ยคุ สมัย ดงั น้ัน ภูมิปญั ญาจึงมคี ณุ คา่ ไมเ่ พียงแตต่ อ่ ทอ้ งถ่ินและผู้คนเทา่ นั้น แตย่ งั เอ้ือประโยชน์อย่างใหญห่ ลวงต่อการ วางแผนพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนและม่ันคงตอ่ ไป ความหมายของภูมิปัญญา มผี ู้รใู้ หค้ วามหมายของภมู ปิ ัญญาไวม้ ากมาย เชน่ ภูมปิ ัญญา (Wisdom) หมายถงึ ความรู้ ความสามารถ ความเชอื่ ความสามารถทางพฤติกรรมและ ความสามารถในการแก้ไขปญั หาของมนุษย์ ภมู ปิ ัญญา เปน็ เรอ่ื งทีส่ ง่ั สมกนั มาตั้งแต่อดีตและเปน็ เร่ืองของการจัดการความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคนกบั คน คน กบั ธรรมชาติ คนกบั สิ่งเหนือธรรมชาติ โดยผา่ นกระบวนการทางจารตี ประเพณี วิถชี วี ติ การทำมาหากินและพิธีกรรม ต่าง ๆ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสมดุลระหว่างความสัมพนั ธ์เหลา่ นี้ ภมู ปิ ัญญา หมายถึง ประสบการณใ์ นการประกอบอาชพี ในการศกึ ษาเล่าเรยี น การทีช่ าวนารู้จักวธิ ีทำ นา การไถนา การเอาควายมาใชใ้ นการไถน่ า การรจู้ ักนวดข้าวโดยใชค้ วาย รูจ้ ักสานกระบุง ตระกรา้ เอาไม้ไผม่ าทำ เคร่ืองใชไ้ มส้ อยในชวี ติ ประจำวัน เรียกว่า ภูมปิ ญั ญาทง้ั ส้ิน ภมู ปิ ญั ญา เปน็ ผลกึ ขององคค์ วามรู้ท่มี ีกระบวนการสัง่ สม สืบทอด กล่นั กรอง กบั มายาวนาน มที ีม่ า หลากหลายแตไ่ ด้ประสบประสานกันจนเป็นเหล่ียมกรณที จี่ รสั แสงคงทนและท้าทายตลอดกาลเวลา ความรู้อาจจะ ไม่ได้เปน็ เอกภาพ แตภ่ มู ปิ ัญญาจัดวา่ เป็นเอกลักษณ์ ดงั นัน้ อาจสรุปไดว้ า่ ภมู ิปญั ญา หมายถึง องคค์ วามรู้ ความเช่อื ความสามารถของคนในทอ้ งถน่ิ ที่ไดจ้ ากการส่งั สมประสบการณ์และการเรยี นรูม้ าเป็นระยะเวลายาวนาน มลี ักษณะเปน็ องค์รวม และมคี ุณคา่ ทาง วฒั นธรรม ประเภทของภูมิปัญญา ภมู ิปญั ญาพ้นื บา้ น เป็นองคค์ วามรู้ ความสามารถและประสบการณท์ ส่ี ัง่ สมและสืบทอดกันมา เปน็ ความสามารถและศักยภาพในเชงิ การแกป้ ญั หา การปรบั ตวั เรียนร้แู ละสืบทอดไปสู่คนร่นุ ตอ่ ไป เพอ่ื การดำรงอยู่ของ เผ่าพนั ธ์ุ จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมชาติ ของเผ่าพันธห์ุ รอื เป็นวถิ ีชวี ติ ของชาวบา้ น ภมู ิปัญญาชาวบา้ น เป็นวธิ กี ารปฏิบัตขิ องชาวบา้ น ซง่ึ ได้มาจากประสบการณ์ แนวทางแก้ปญั หาแต่ละเรอ่ื ง แต่ละประสบการณ์ แตล่ ะสภาพแวดล้อม ซึ่งจะมีเงื่อนไขปจั จยั เฉพาะแตกตา่ งกันไป นำมาใชแ้ กไ้ ขปัญหาโดยอาศยั ศักยภาพท่มี อี ย่โู ดยชาวบา้ นคดิ เอง เปน็ ความรทู้ ีส่ รา้ งสรรคแ์ ละมีสว่ นเสริมสรา้ งการผลติ หรอื เป็นความรขู้ องชาวบา้ น ทผี่ า่ นการปฏิบตั ิมาแล้วอยา่ งโชกโชน เปน็ ส่วนหนงึ่ ของมรดกทางวัฒนธรรมเปน็ ความรูท้ ี่ปฏบิ ัติไดม้ พี ลังและสำคญั ย่งิ ทำเนียบแหลง่ เรยี นรู้ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน กศน.อำเภอวงั สามหมอ หน้า 4

ช่วยใหช้ าวบา้ นมชี วี ติ อยรู่ อดสร้างสรรคก์ ารผลติ และชว่ ยในด้านการทำงาน เป็นโครงสรา้ งความรทู้ ีม่ หี ลกั การ มีเหตุ มผี ลในตัวเอง ภมู ิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรทู้ เี่ กิดจากประสบการณใ์ นชวี ิตของคน ผา่ นกระบวนการศึกษา สงั เกต คิดวา่ วิเคราะห์จนเกดิ ปัญญาและตกผลึกเป็นองคค์ วามร้ทู ่ปี ระกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เร่อื ง จดั วา่ เป็น พื้นฐานขององคค์ วามรู้สมยั ใหม่ท่จี ะช่วยในการเรยี นรู้ การแก้ปญั หาจัดการและการปรบั ตวั ในการดำเนนิ ชวี ิตของ คนเรา ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ เป็นความร้ทู มี่ อี ยทู่ ัว่ ไปในสงั คม ชมุ ชนและในตวั ผรู้ ู้เอง จงึ ควรมกี ารสบื คน้ รวบรวม ศกึ ษา ถ่ายทอด พัฒนาและนำไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง ภมู ิปัญญาไทย หมายถงึ องค์ความรู้ ความสามารถทักษะของคนไทยทเี่ กิดจากการส่งเสรมิ ประสบการณ์ที่ ผ่านกระบวนการการเลอื กสรร เรยี นรู้ปรงุ แตง่ และถา่ ยทอดสบื ต่อกันมา เพ่อื ใชแ้ ก้ปญั หาและพฒั นาวถิ ชี วี ิตของคน ไทยใหส้ มดุลกับสภาพแวดลอ้ มและเหมาะสมกับยุคสมัย ลกั ษณะของภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ลักษณะสำคญั ของภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ พอสรุปไดด้ ังนี้ 1.เปน็ เรือ่ งของการใช้ความรู้ ทกั ษะ ความเชื่อและพฤตกิ รรม 2. แสดงถึงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง คนกับคน คนกับธรรมชาติ คนกับสงิ่ เหนือธรรมชาติ 3.เปน็ องค์รวมหรอื กิจกรรมทกุ อย่างในวิถชี ีวติ 4.เป็นเร่ืองของการแกไ้ ขปญั หา การจัดการ การปรับตวั การเรยี นรู้เพ่ือความอยรู่ อดของบคุ คล ชุมชนและสงั คม 5. เป็นแกนหลักหรอื กระบวนทศั น์ในการมองชวี ิตเปน็ พื้นความรู้ในเร่ืองตา่ ง ๆ 6. มีลักษณะเฉพาะหรอื มเี อกลักษณ์ในตวั เอง 7. มีการเปลยี่ นแปลงเพื่อการปรบั สมดลุ ในพัฒนาการทางสังคมตลอดเวลา 8. มวี ัฒนธรรมเป็นฐาน ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ 9. มีบูรณาการสูง 10.มีความเชื่อมโยงไปสนู่ ามธรรมท่ลี กึ ซ้งึ สูงส่ง 11.เนน้ ความสำคญั ของจริยธรรมมากกวา่ วตั ถุธรรม ทำเนียบแหลง่ เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ กศน.อำเภอวงั สามหมอ หน้า 5

กศน.ตำบลวังสามหมอ แหลง่ เรียนรู้ในชุมชนและภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ประเภทบุคคล ท่ี ชอื่ สกุล ทีอ่ ยูภ่ ูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ตำบลวังสามหมอ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ๑ นายบัวศรี กางมันท์ ๗ หมู่ ๑๒ บา้ นสมนรนิ ทร์ แกะสลกั หนิ ลอยตวั ๒ นายถวลิ จันทรร์ กั ษ์ หมู่ ๖ บ้านวงั สามหมอ สวนเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓ นางกัญญาณี เหลา่ มาลา ๑๖๗ หม่ทู ่ี ๒ บ้านหนองแวงโคก เสรมิ สวย สปา ๔ นายพวง วรรณดิษฐ์ ๕๙ หมู่ ๘ บ้านศรคี ณู เมอื ง จักสาน ๕ นายวัน ชยั หาเทพ ๖๔ หมู่ ๑๑ บ้านนาคูณ พธิ ีกรรมทางศาสนา ๖ นายโสภา รตั นวิเศษ หมู่ ๕ บ้านหนองแวงเจริญ หมอพื้นบา้ น ๗ นายใบ สายรัตน์ ๒๔ หมู่ ๕ บา้ นหนองแวงเจริญ พธิ กี รรมทางศาสนา ๘ นายหนู ชา่ งชยั หมู่ ๕ บา้ นหนองแวงเจรญิ ดา้ นหตั ถกรรม แหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชน ท่ี ชื่อสกลุ ที่อยูแ่ หลง่ เรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรู้ ตำบลวงั สามหมอ เศรษฐกิจพอเพียง ห้องสมุด ๑ ศนู ยเ์ รยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอวงั สามหมอ กศน.อำเภอวังสามหมอ เกษตรผสมผสาน ศนู ย์เรียนรู้ ๒ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอวังสามหมอ หมทู่ ่ี ๕ ถนนศรีธาตุ-วงั สามหมอ เกษตรผสมสาน ๓ แหล่งเรยี นรู้เกษตรผสมผสาน หมู่ ๖ บ้านวังสามหมอ เกษตรผสมสาน แหล่งเรยี นรู้ ๔ ศนู ยเ์ รียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนศาสตร์ หมู่ ๕ บ้านหนองแวงเจริญ ด้านศลิ ปะ/ดา้ น ประตมิ ากรรม พระราชา อำเภอวงั สามหมอ ศกึ ษาดา้ นแหลง่ นำ้ ดา้ นศลิ ปะ/ดา้ น ๕ แหลง่ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบา้ นหนองแวงเจริญ หมู่ ๕ บ้านหนองแวงเจริญ ประติมากรรม ดา้ นศิลปะ/ด้าน ๖ แหลง่ เรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียงเกษตรผสมผสาน หมู่ ๔ บ้านวังสามหมอ ประติมากรรม ด้านศลิ ปะ/ดา้ น ๗ ฟาร์มเหด็ ปา้ แกะ หมู่ ๖ บ้านวังสามหมอ ประติมากรรม ศกึ ษาดา้ นแหลง่ นำ้ ๗ วัดบรู พา หมู่ ๒ บ้านหนองแวงโคก ๘ สระนำ้ หนองแวงโคก หม่ทู ี่ ๔ ต.วงั สามหมอ ๙ วดั ถำ้ พระ หมู่ ๒ บ้านหนองแวงโคก ๑๐ วัดทา่ วารี หมู่ ๑ บา้ นหนองลมุ พุก ๑๑ วดั จนั ทรศ์ รสี วา่ ง หมู่ ๔ บ้านโนนสะอาด ๑๒ ท่าแช่กอย หมู่ ๑ บ้านหนองลุมพุก ทำเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ กศน.อำเภอวงั สามหมอ หนา้ 6

สถานที่ วดั ใน ตำบลวังสามหมอ มี ๗ วดั ท่ี ชือ่ หมู่บา้ น หมู่ท่ี หมายเหตุ ๑ วัดป่าคุณารกั ษว์ ราราม ถนนศรีธาตุ-วงั สามหมอ ๒ วดั บรู พา หมู่ ๒ บ้านหนองแวงโคก ๓ วัดถำ้ พระ หมู่ ๒ บ้านหนองแวงโคก ๔ วดั ทา่ วารี หมู่ ๑ บา้ นหนองลุมพุก ๕ วดั จันทร์ศรีสวา่ ง หมู่ ๔ บ้านโนนสะอาด ๖ วัดปา่ วังสามหมอ หมู่ ๑๓ บา้ นสามหมอพฒั นา ๗ วัดเทพนรินทร์ หมู่ ๑๓ บา้ นสามหมอพฒั นา ทำเนยี บแหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ กศน.อำเภอวงั สามหมอ หนา้ 7

กศน.ตำบลคำโคกสงู ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินตำบลคำโคกสูง หมูท่ ี่ แหลง่ เรียนร้ใู นตำบล ๑-๙ แหลง่ เรยี นรู้ ๑-๙ - สมนุ ไพร ๒,๕ - ไก่พ้นื เมอื ง ๑ - เห็ดฟางในโรงเรอื น ๑-๙ - ผกั ปลอดภยั จากสารพิษ ๔ - ปลาธรรมชาติ ๓ - หมอยาโบราณ ๑-๙ - เล้ยี งกบ ๘ - อ้อยโรงงาน - มนั สำปะหลงั ภูมิปัญญาในตำบล ได้แก่ ด้าน จกั สาน ๑ นายขาน ศรพี ์อิ นุ่ ดา้ น จกั สาน ๒ นายพิมพ์ คำศรี ด้านจกั สาน ๓ นายขาว ถนอมแสน ด้าน สดขวญั ๔ นายทองแดง ขันทจำนง ด้าน เป่าวดั ๕ นายสำรอง ตรธี วชั ดา้ น หมอชาวบา้ น ๖ นายทองอินทร์ พระกระนวน ด้าน ยอ้ มผา้ สีธรรมชาติ ๗ นางวันทา กางมันฑ์ ด้าน ทอผา้ พืน้ เมือง ๘ นางลำดวน สซี ุย กลมุ่ อาชพี มี ๔ กลมุ่ ได้แก่ ๑. กลมุ่ แปรรปู ปลา จำนวน สมาชกิ ๒๐ คน ทตี่ ั้งกลุ่ม บา้ นเลขท่ี ๖๐ หมู่ที่ ๖ บ้านวังไชย ตำบลคำโคกสงู อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอดุ รธานี ๒.กลมุ่ ทอผา้ พืน้ เมอื งบา้ นนอ้ ยคำเมก็ จำนวนสมาชกิ ๒๐ คน ที่ต้งั กลมุ่ บ้านเลขที่ ๒๙ หมทู่ ่ี ๙ บา้ นน้อยคำเมก็ ตำบลคำโคกสงู อำเภอวังสามหมอ จังหวดั อดุ รธานี ๓.กลุ่ม ปลูกแตงและปลูกผักสวนครวั จำนวนสมาชกิ ๒๗ คน ทต่ี ั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี ๔๙ หมู่ที่ ๑ บ้านคำโคกสงู ตำบลคำโคกสงู อำเภอวงั สามหมอ จงั หวดั อุดรธานี ๔.กลุ่ม ส่งเสริมอาชพี บ้านดงง่าม(เลี้ยงวัว) จำนวนสมาชกิ ๒๖ คน ที่ตั้งกลุ่ม บ้านเลขที่ ๘๑ หมู่ท่ี ๒ บา้ นดงงา่ ม ตำบลคำโคกสูง อำเภอวงั สามหมอ จังหวดั อดุ รธานี ทำเนยี บแหล่งเรียนรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ กศน.อำเภอวังสามหมอ หน้า 8

วทิ ยากรอาชพี ทม่ี ีความสามารถในตำบล มี ๗ คน ๑ นางกชวรรณ ฉานพมิ าย วิทยากรดา้ น คมุ้ ครองผบู้ ริโภค ๒ นายสพุ ฒั โคตรลา วิทยากรด้าน การทำปลาร้า ๓ นางประกรอบ ขวญั แกว้ วิทยากรดา้ น แปรรูปจากปลา ๔ นางสำราญ ผิลผล วทิ ยากรดา้ น อาหาร-ขนม ๖ นายสวสั ดิ์ อตุ ะสุริ วิทยากรดา้ น ดนตรพี ้ืนบ้าน ๗ นายทราย จันทรว์ เิ ศษ วิทยากรดา้ น ทำไม้กวาดจากทางมะพรา้ ว ศูนยเ์ รยี นรู้ - บ้านหนงั สอื ชมุ ชน จำนวน ๙ แห่ง ตง้ั อยู่หมู่บ้านละ ๑ แห่ง และตั้งอยู่ รพ.สต.คำโคกสงู ๑ แหง่ - ศูนย์เรยี นรดู้ ิจทิ บั ชุมชน จำนวน ๑ แห่ง ต้งั อยทู่ ี่ กศน.ตำบลคำโคกสูง อำเภอวงั สามหมอ จงั หวดั อุดรธานี - ศนู ย์เรยี นรู้ปัญญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จำนวน ๑ แห่ง ตัง้ อยู่ที่ กศน.ตำบลคำโคกสงู อำเภอวังสามหมอ จงั หวดั อดุ รธานี - ศนู ย์สง่ เสริมประชาธิปไตย จำนวน ๑ แห่ง ตั้งอยทู่ ี่ กศน.ตำบลคำโคกสูง อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี - ศูนยเ์ รยี นรตู้ ลอดชวี ิต จำนวน ๑ แห่ง ตง้ั อยู่ที่ กศน.ตำบลคำโคกสงู อำเภอวังสามหมอ จงั หวดั อดุ รธานี ทำเนยี บแหล่งเรียนรู้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น กศน.อำเภอวังสามหมอ หนา้ 9

กศน.ตำบลหนองหญา้ ไซ แหลง่ เรยี นรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ /ประเภทสถานที่ ท่ี ลกั ษณะภมู ปิ ัญญา ทอ่ี ยภู่ มู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ตำบลหนองหญ้าไซ ภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ๑ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ หมู่ ๔ บา้ นเลิงถอ่ น ต.หนองหญา้ ไซ วฒั นธรรม ศูนย์วัฒนธรรมภูไท อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๒ ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ โรงปยุ๋ เกษตรพฒั นา หมู่ ๗ บา้ นโพธิ์งาม การเกษตร ปยุ๋ หมกั ชีวภาพ ต.หนองหญ้าไซ อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๓ ภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ นางวชั รวี ัลย์ ภูกองชนะ การเกษตร แหลง่ เรยี นรู้เศรษฐกจิ ๒๗๕ หมู่ ๙ บ้านเลงิ ถ่อน พอเพียง ต.หนองหญ้าไซ อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ๔ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ รพ.สต.หนองหญ้าไซ หมู่ ๑ บา้ นหนองหญ้าไซ การแพทย์ แพทยแ์ ผนไทย ต.หนองหญา้ ไซ อ.วงั สามหมอ จ.อุดรธานี ๕ ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ กลุ่มทอผ้าพนื้ เมอื ง หมู่ ๘ บ้านพรเจริญ การทอผา้ กลุ่มทอผ้าพื้นเมอื ง ต.หนองหญา้ ไซ อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี แหลง่ เรียนรใู้ นชุมชนและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ประเภทรายบคุ คล ท่ี ชอ่ื สกุล ท่ีอยแู่ หลง่ เรียนรู้ตำบลหนองหญา้ ไซ แหล่งเรียนรู้ ๑ นางสมจิตร ศรหี าวงษ์ หมู่ ๙ บ้านเลิงถ่อน ต.หนองหญา้ ไซ การฟอ้ น รำ อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ๒ นางศรีไพร วรรณพราหมณ์ หมู่ ๘ บา้ นพรเจรญิ ต.หนองหญ้าไซ ทอผา้ มัดหม่ี อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ๓ นายพรมมี ศรีหริง่ หมู่ ๔ บา้ นเลิงถอ่ น ต.หนองหญา้ ไซ วัฒนธรรมภูไท อ.วงั สามหมอ จ.อุดรธานี ๔ นายเดชา หมู่ ๒ บา้ นโคกสะอาด ต.หนองหญ้าไซ การเกษตร อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ๕ นายชำนาญ แสงงามซ้งึ หมู่ ๔ บ้านเลงิ ถ่อน ต.หนองหญา้ ไซ ปุ๋ยชีวภาพ อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๖ นางวัชรวี ลั ย์ ภกู องชนะ หมู่ ๙ บ้านเลงิ ถอ่ น ต.หนองหญ้าไซ เกษตรผสมผสาน อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ๗ นางทองคำ โพธเิ์ หลอื ง หมู่ ๔ บา้ นเลงิ ถอ่ น ต.หนองหญ้าไซ อาหารพน้ื บา้ น อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ทำเนียบแหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ กศน.อำเภอวงั สามหมอ หนา้ 10

ท่ี ชื่อหมู่บ้าน วัดในตำบลหนองหญา้ ไซ หมายเหตุ ๑ บ้านเลงิ ถอ่ น ทต่ี ้งั /หมู่ท่ี ๒ บ้านโพธ์ิงาม วัดสว่างอัมพวนั ๓ วดั พิชยั หมู่ ๔ ต.หนองหญา้ ไซ อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๔ วัดศรีวลิ ัย วัดโพธิ์ศรี หมู่ ๗ ต.หนองหญ้าไซ อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ๕ วดั ปา่ ศรทั ธาธรรม วดั พิชัย หมู่ ๒ ต.หนองหญ้าไซ อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี วดั ศรีวลิ ยั หมู่ ๘ ต.หนองหญ้าไซ อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี วัดปา่ ศรทั ธาธรรม หมู่ ๑ ต.หนองหญ้าไซ อ.วงั สามหมอ จ.อุดรธานี ทำเนียบแหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ กศน.อำเภอวังสามหมอ หนา้ 11

กศน.ตำบลหนองกุงทบั มา้ แหล่งเรียนร้ใู นชุมชนและภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ประเภทบุคคล ท่ี ชอื่ สกุล ท่อี ยภู่ ูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ๑ นายอำพร สอนสกลุ ด้าน คาถาเป่ากระดกู ดา้ น จักสาน ๒ นายวันดี สิมมา ด้าน หมองู ดา้ น ผ้ปู ระกอบพิธีกรรมหมูบ่ า้ น ๓ นายแปลก นามวงษ์ ด้าน แพทย์แผนไทย ทำปลารา้ ,ปลาเวยี น,ปลาส้ม,ปลายอ ๔ นายผา แสนสทิ ธิ นวดฝ่าเทา้ ๕ นายกอง ศรสี วัสด์ิ ดา้ น คาถาเป่ากระดูก ดา้ น จักรสาน ๖ กลุ่ม การแปรรปู ปลา กลมุ่ แมบ่ า้ น หมู่ ๖ ดา้ น หมองู ด้าน ผูป้ ระกอบพธิ ีกรรมหมู่บา้ น ๗ กลมุ่ นวดฝา่ เทา้ ดว้ ยกะลามะพรา้ ว กลุ่ม อสม, หมู่ ๘ ๘ กลมุ่ การทอเส่อื จากหญ้าลงั กา กลมุ่ แมบ่ า้ น หมู่ ๖ ๙ กลุ่ม การปลกู เห็ด กลุ่มแม่บา้ น หมู่ ๖ ๑๐ นายอำพร สอนสกลุ ๑๑ นายวนั ดี สมิ มา ๑๒ นายแปลก นามวงษ์ ๑๓ นายผา แสนสทิ ธิ แหล่งเรียนรใู้ นชุมชนและภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ประเภทสถานที่ ท่ี ช่อื สกลุ ทอ่ี ย่แู หลง่ เรยี นรู้ แหลง่ เรียนรู้ ๑ วดั ถำ้ สายบาตร บา้ นภูเงิน ดา้ นศิลปะ ดา้ นประติมากรรม ๒ วดั ทา่ พัก ตำบลหนองกุงทบั ม้า ดา้ นศลิ ปะ ดา้ นประตมิ ากรรม ๓ วดั ถ้ามันปลา บา้ นนอ้ ยหาญใจ ดา้ นศลิ ปะ ดา้ นประติมากรรม ๔ อ่างเกบ็ นำ้ ลำพัดชาด บา้ นวงั ใหญ่ ศึกษาดา้ นแหล่งนำ้ ๕ นางเจริญ บตุ ตอนิ ทร์ บ้านภูเงนิ ดา้ นสวนเกษตรผสมผสาน ๖ โรงสีชุมชน หมู่ ๘ บา้ นกลิน่ นารี ด้านเกษตรกรรม ความพอเพียง ทำเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น กศน.อำเภอวงั สามหมอ หน้า 12

สถานที่ วดั ใน ตำบลหนองกงุ ทับม้า มี ๕ วดั ท่ี ช่อื หมู่บา้ น หมู่ท่ี หมายเหตุ ๑ วดั ถ้ำสายบาตร หมทู่ ่ี ๙ บา้ นภูเงนิ ๒ วัดภูกะโล้น หม่ทู ่ี ๑ บ้านหนองกุงทับม้า ๓ วัดท่าพกั หมู่ที่ ๑๑ บ้านทรพั ยส์ มบูรณ์ ๔ วดั ถ้ำมันปลา หมูท่ ี่ ๓ บา้ นนอ้ ยหาญใจ ทำเนียบแหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ กศน.อำเภอวังสามหมอ หนา้ 13

กศน.ตำบลผาสกุ แหลง่ เรยี นร้แู ละภาคเี ครือข่าย ท่ีตงั้ ผู้รับผิดชอบ แหล่งเรยี นรู้ กศน.ตำบล จำนวน 6 แหง่ ดงั นี้ กศน. ตำบล กศน.ตำบลวงั สามหมอ หมู่ท่ี 5 ต.วังสามหมอ อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี นายอุทัย เหล่ามาลา กศน.ตำบลหนองหญ้าไซ หมู่ที่ 4 ต.หนองหญ้าไซ อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี นางสาวสภุ าพร ฤทธิขันธ์ กศน.ตำบลหนองกุงทบั มา้ หมทู่ ี่ 1 ต.หนองกุงทับมา้ อ.วงั สามหมอ จ.อุดรธานี นายปริญญา แกว้ วชิ ยั กศน.ตำบลบะยาว หมู่ที่ 3 ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี นางวมิ ล โสภิณ กศน.ตำบลผาสุก หมทู่ ี่ 3 ต.ผาสกุ อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี นางสาวแสงเทียน เอกพนั ธ์ กศน.ตำบลคำโคกสูง หมทู่ ่ี 1 ต.คำโคกสูง อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี นางอรวรรณ ศรหี ร่ิง ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ และแหล่งเรียนรใู้ นชมุ ชน ชื่อแหล่งเรยี นรู้ ท่ีอยู่ ความสามารถ/ประสบการณ์ ผกั หวานป่า เศรษฐกจิ พอเพยี ง นายบณั ฑิต ศรีประไหม 53 หมู่ 12 บ้านคำยางนอ้ ย โค กระบือ, ปุย๋ ชีวภาพ นวดแผนไทย จบั เสน้ นายวิรตั น์ อัศวภมู ิ หมู่ท่ี 7 บ้านนอ้ ยมาลีสถาพร การทอผา้ ไหม ผ้ายอ้ มสธี รรมชาติ การทำพรมเชด็ เท้า นางเลียง เอกพันธ์ 171 หมู่ 3 บ้านคำยาง การทอเสอ่ื กก จักสาน นางประกาย สทิ ธเิ สน 54 หมู่ 9 บา้ นวังทอง หนา้ 14 นางทับทมิ ตลบั ทอง หมู่ 12 บา้ นคำยางนอ้ ย นางอมร ทองธนะววิ ัฒนา 273 หมู่ท่ี 3 บา้ นคำยาง นายสมาน สทิ ธโิ ชติ หมู่ 16 บ้านยางเจริญ ทำเนียบแหล่งเรยี นรู้ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน กศน.อำเภอวังสามหมอ

แหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชน ทต่ี ัง้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ แหลง่ เรยี นรู้ บา้ นยางเจรญิ ม.16 ตำบลผาสกุ ดา้ นแหล่งเรียนรธู้ รรมชาติ ธรรมะ วดั ป่าไม้งาม หม่1ู 6 ต ผาสกุ การศกึ ษาระบบนเิ วศน์ อา่ งเกบ็ นำ้ ลำพนั ชาด ฝายนำ้ ล้นผาทอง หมูท่ ี่ 10 ต.ผาสุก บา้ นผาทอง ศึกษาธรรมชาติ วัดถำ้ ใหญ่วรวหิ าร หมู่ท่ี 3 บา้ นคำยาง ศกึ ษาดา้ นธรรมะ วัดถ้าสมุ ณฑา หมู่ที่ 1 ต. ผาสกุ ศกึ ษาดา้ นประตมิ ากรรม ภาคเี ครอื ขา่ ย สถานท่ี ท่อี ยู่ / สถานทตี่ ดิ ตอ่ กิจกรรม กศน.ที่จัด/ร่วมจัด ชื่อภาคีเครือข่าย เทศบาลตำบลผาสกุ เทศบาลตำบลผาสุก บา้ นคำไฮ กิจกรรมเปดิ กศน.ตำบล ต.ผาสุก อ.วงั สามหมอ โครงการพฒั นาพน้ื ทภ่ี ผู าหัก ตามพระ บา้ นสมุ ณฑา ม.13 ต.ผาสกุ กิจกรรมเปิด กศน.ตำบล ปลกู ป่า ราชเสาวนยี ์ฯ จ.อดุ รธานี อ.วังสามหมอ และป้องกันแนวป่า หนว่ ยป้องกนั และรกั ษาปา่ ทอี่ ด.10 ม.3 บ้านคำยาง ต.ผาสุก กิจกรรมเปิด กศน.ตำบล ปลกู ปา่ อ.วังสามหมอ กิจกรรมเปดิ กศน.ตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล ทงั้ 3 ม.3 ,ม.2 , ม.4 ต.ผาสุก กิจกรรมเปิด กศน.ตำบล แหง่ (บ้านคำยาง ,คำไฮ,คำน้อย) อ.วงั สามหมอ สนบั สนนุ สนามสอบ วทิ ยากร โรงเรยี นคำยางพิทยา ม.3 บ้านคำยาง ต.ผาสุก กิจกรรมเปิด กศน.ตำบล อ.วังสามหมอ วิทยากร โรงเรียนบ้านคำยาง ม.3 บ้านคำยาง ต.ผาสกุ กิจกรรม กศน. อ.วังสามหมอ โรงเรียนคำไฮพทิ ยาคม ม.2 บา้ นคำไฮ ต.ผาสุก อ.วงั สามหมอ โรงเรยี นบา้ นดงกลาง ม.5 บา้ นดงกลาง ต.ผาสกุ โรงเรยี นดานใหญ่พทิ ยคาร อ.วังสามหมอ โรงเรียนบา้ นดานใหญ่ ต.ผาสุก อ.วงั สามหมอ ทำเนียบแหลง่ เรียนรู้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ กศน.อำเภอวังสามหมอ หน้า 15

ชอื่ ภาคเี ครือข่าย ทอี่ ยู่ / สถานทีต่ ิดต่อ กิจกรรม กศน.ที่จัด/ร่วมจดั โรงเรยี นบ้านผาทอง ม.10 บา้ นผาทอง - กจิ กรรมเปิดศูนย์ โรงเรียนบ้านสมุ ณฑา ม.13 บ้านสมุ ณฑา - กจิ กรรมเปดิ กศน. วัดอนาลโย วัดอนาลโย - คา่ ยธรรมะ โรงเรียนผาสุกประชานกุ ลู ม.1 บา้ นผาสกุ - รว่ มเปิด กศน.ตำบล โรงเรยี นบ้านคำน้อย โรงเรยี นคำน้อย ม.4 - รว่ มกิจกรรม เปดิ กศน. โรงเรียนบา้ นคำจวง โรงเรยี นคำจวง ม.6 - แหล่งเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบา้ นวังทอง โรงเรียนบา้ นวังทอง ม. 9 - สถานท่ีจดั กิจกรรม กศน.เคล่ือนท่ี หอ้ งสมดุ ประชาชน และบ้านหนังสอื ชุมชน ท่ี ชือ่ บ้าน ท่ีตง้ั หมายเหตุ 1 คำยาง 171 ม. 3 ต.ผาสกุ 2 คำยางน้อย 69 ม.12 ต.ผาสกุ 3 ยางเจริญ 64 ม.16 ต.ผาสกุ 4 ผาทอง 4 ม.10 ต.ผาสุก 5 คำไฮน้อย 14 ม.14 ต.ผาสกุ 6 กศน.ตำบลผาสุก ห้องสมุด ต.ผาสกุ 7 คำจวง 279 ม.6 ต. ผาสุก ทำเนียบแหล่งเรยี นรู้ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน กศน.อำเภอวงั สามหมอ หนา้ 16

กศน.ตำบลบะยาว แหล่งเรียนรู้ในชมุ ชนและภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ประเภทบุคคล ท่ี ชอื่ สกลุ ที่อยู่ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นตำบลบะยาว ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ๑ นายบุญจนั ทร์ วารวงค์ ๖ หมู่ ๑ บ้านบะยาว ต.บะยาว อ.วังสามหมอ เศรษฐกจิ พอเพียง จ.อุดรธานี ๒ นายบญุ ศรี แสนณรงค์ ๑๓หมู่ ๑ บ้านบะยาว ต.บะยาวอ.วงั สามหมอ คิดคน้ ยาสมุนไพร จ.อุดรธานี ๓ นายเพลนิ สอนสกลุ ๕๒ หมู่ ๒ บ้านนาแก ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จกั สาน จ.อุดรธานี ๔ นายทาม พรมมี ๕/๑หมู่ ๒ บ้านนาแก ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ แห, เครื่องดกั ปลา จ.อดุ รธานี ๕ นายประภาส กุมภวงค์ ๖๓ หมู่ ๓ บ้านนานกชมุ ต.บะยาว คิดคน้ ยาสมนุ ไพร อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๖ นายเหมือน พินจิ มนตรี ๑๒หมู่ ๓ บา้ นนานกชมุ ต.บะยาว สู่ขวัญ อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๗ นายบญุ รกั ความซือ่ ๑๙ หมู่ ๕บา้ นโคกสว่าง ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จักสาน จ.อุดรธานี ๘ นางทองม้วน ออ่ นคำหล้า ๕ หมู่ ๕ บ้านโคกสวา่ ง ต.บะยาว อ.วังสามหมอ สมนุ ไพร จ.อุดรธานี ๙ นายคำมูล เครือเนตร ๔๘/๑หมู่ ๗ บ้านนาโปร่ง ต.บะยาว หมอเปา่ งกู ัด อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ๑๐ นายสวน ไกรหาญ ๕ หมู่ ๗ บ้านนาโปรง่ ต.บะยาว หมอเป่าแมลงกดั อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ทำเนียบแหล่งเรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน กศน.อำเภอวงั สามหมอ หน้า 17

แหล่งเรียนรใู้ นชุมชนและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ประเภทสถานท่ี ท่ี ชอ่ื สกลุ ที่อยแู่ หลง่ เรียนรู้ตำบลบะยาว แหลง่ เรยี นรู้ การเกษตร ๑ กลุ่มเกษตรอนิ ทรีย์ บ้านนาแก บ้านภดู ิน หมู่ ๒ ,๑๐ การเกษตร บ้านนาแก ต.บะยาว อ.วังสามหมอ สง่ เสริมอาชีพ สง่ เสริมอาชพี จ.อดุ รธานี สง่ เสริมวฒั นธรรม การเกษตร ๒ กลมุ่ ปยุ๋ หมกั ชีวภาพ โรงปุย๋ บา้ นนาแก หมู่ ๒ ต.บะยาว เกษตรผสมผสาน อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๓ กลุ่มการทำข้าวกลอ้ งงอก ๕ หมู่ ๗ บ้านนาโปรง่ ต.บะยาว อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๔ โครงการส่งเสริมศิลปาชพี หมู่ ๗ บา้ นนาโปร่ง ต.บะยาว บา้ นนาตาด-นาโปรง่ อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ๕ ศูนย์วัฒนธรรมภูไท วดั บา้ นนาแก หมู่ ๑๐ ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จ.อุดรรธานี ๖ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกจิ หมู่ ๕ บา้ นโคกสวา่ ง ต.บะยาว พอเพียงบ้านโคกสวา่ ง อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รรธานี ๗ ศนู ยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยี หมู่ ๕ บา้ นโคกสวา่ ง ต.บะยาว (นายประสงค์ หลวงทำเม) อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รรธานี วัดในตำบลบะยาว มี ๑๑ วัด ท่ี ชอื่ หมู่บ้าน หมู่ท่ี หมายเหตุ ๑ วดั บ้านบะยาว หมูท่ ่ี ๑ต.บะยาว อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ๒ วัดโนนโพธศิ์ รสี ะอาด หมู่ที่ ๓ ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ๓ วัดมาลานิมิต หม่ทู ี่ ๔ ต.บะยาว อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ๔ วัดป่าภยู า่ นาง หมู่ท่ี ๗ ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ๕ วัดสวา่ งบรมสุข หมู่ท่ี ๕ ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ๖ วัดศรชี มุ พร หมู่ที่ ๖ต.บะยาว อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ๗ วัดป่าภูดอกไม้ทิพย์ หมทู่ ่ี ๙ ต.บะยาว อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ๘ วัดบ้านภูดนิ หม่ทู ี่ ๑๐ ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ๙ วดั ป่าคำหมากยาง หมูท่ ่ี ๑๑ ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จ.อุดรธานี ๑๐ วดั มัคฆพฒั นาราม หมู่ท่ี ๑๑ ต.บะยาว อ.วงั สามหมอ จ.อดุ รธานี ๑๑ วัดดงงา่ มน้อย หมทู่ ่ี ๘ต.บะยาว อ.วังสามหมอ จ.อดุ รธานี ทำเนียบแหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ กศน.อำเภอวงั สามหมอ หนา้ 18

ทำเนียบแหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ กศน.อำเภอวงั สามหมอ ลำดบั ชื่อ ตำบล ควิ อาร์โคด้ หมายเหตุ ๑ กศน.อำเภอวงั สามหมอ วังสามหมอ ๒ กศน.ตำบลวงั สามหมอ วังสามหมอ ๓ กศน.คำโคกสูง คำโคกสูง ๔ กศน.ตำบลหนองหญ้าไซ หนองหญา้ ไซ ๕ กศน.ตำบลหนองกงุ ทบั มา้ หนองหญ้าไซ ๖ กศน.ตำบลบะยาว บะยาว ทำเนียบแหลง่ เรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน กศน.อำเภอวงั สามหมอ หนา้ 19

ทำเนียบแหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ กศนอำเภอวังสามหมอ ลำดับ ช่อื ตำบล คิวอาร์โค้ด หมายเหตุ ๗ กศน.ตำบลผาสกุ ผาสกุ ๘ ฟารม์ เหด็ ป้าแกะ วังสามหมอ ๙ สวนเกษตรอนุ่ ไอรกั วังสามหมอ ๑๐ แปรรูปปลาแมล่ ะมุล วงั ใหญ่ หนองกุงทับมา้ ๑๑ สวนเมลอ่ นชาววัง หนองกุงทับมา้ ๑๒ แหลง่ เรยี นรทู้ อผ้าพน้ื เมอื ง ทำเนยี บแหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน กศน.อำเภอวังสามหมอ หนา้ 20

ทำเนียบแหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน กศนอำเภอวงั สามหมอ ลำดับ ชื่อ ตำบล ควิ อาร์โค้ด หมายเหตุ ๑๓ แหลง่ เรยี นร้ทู อผา้ สไบขิด หนองหญ้าไซ ๑๔ เวา่ สะเล่อภาษาภไู ท หนองหญ้าไซ ๑๕ สวนเงาะ-ทเุ รยี นบ้านลุงนนั ฯ บะยาว ๑๖ แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง บะยาว บา้ นโคกสวา่ ง ๑๗ สวนตาย้อ ผาสกุ ๑๘ บา้ นหนังสือชมุ ชนบา้ นคำยาง ผาสกุ ทำเนยี บแหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ กศน.อำเภอวงั สามหมอ หนา้ 21

ทำเนยี บแหลง่ เรียนรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ กศนอำเภอวงั สามหมอ ลำดับ ช่อื ตำบล ควิ อารโ์ ค้ด หมายเหตุ ๑๙ บ้านหนังสือชุมชนบ้านผาทอง ผาสกุ ๒๐ บ้านหนงั สอื ชมุ ชนหนองแวง วงั สามหมอ โคก ๒๑ แพหนังสือบ้านวงั ใหญ่ หนองกุงทับม้า ๒๒. ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ วังสามหมอ วังสามหมอ ทำเนียบแหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ กศน.อำเภอวังสามหมอ หน้า 22

ทำเนยี บแหลง่ เรียนรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ กศน.อำเภอวงั สามหมอ หนา้ 23