Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น พว21001

Description: รายวิชาบังคับ ม.ต้น

Search

Read the Text Version

2 เอกสารสรปุ เนือ้ หาท่ีตองรู รายวิชาวิทยาศาสตร ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน รหัส พว 21001 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร หา มจาํ หนาย หนังสือเรียนนจี้ ดั พมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดนิ เพื่อการศึกษาตลอดชวี ิตสาํ หรับประชาชน ลิขสิทธ์เิ ปนของสาํ นักงาน กศน.สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

3

สารบญั 4 คํานาํ หนา คําแนะนาํ การใชเอกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี องรู บทท่ี 1 ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร 1 บทท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร 3 บทที่ 3 เซลล 6 บทท่ี 4 กระบวนการดํารงชีวิตของพืชและสตั ว 9 บทท่ี 5 ระบบนเิ วศ 16 บทที่ 6 โลก บรรยากาศ ปรากฎการณทางธรรมชาติ 22 สิง่ แวดลอ ม และทรพั ยากรธรรมชาติ 40 บทท่ี 7 สารและการจาํ แนกสาร 45 บทที่ 8 ธาตแุ ละสารประกอบ 53 บทที่ 9 สารละลาย 65 บทท่ี 10 สารและผลติ ภณั ฑในชีวิต 73 บทที่ 11 แรงและการใชประโยชน 82 บทที่ 12 งานและพลงั งาน 94 บทที่ 13 ดวงดาวกบั ชวี ติ 99 บทที่ 14 อาชพี ชา งไฟฟา 105 กิจกรรมทายเลม 145 บรรณานกุ รม 147 คณะผจู ัดทํา

1 คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเน้อื หาท่ีตองรู หนังสือเรียนสรุปเน้ือหา รายวิชาแบบเรียน กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหนังสือสรุปเนื้อหาที่จัดทําข้ึน เพื่อใหผูเรียนที่เปน นักศึกษา กศน. สามารถทําความเขาใจ และเรียนรูในสาระสําคัญของเนื้อหารายวิชาสําคัญ ๆ ไดส ะดวก และสามารถเขาถงึ แกนของเนื้อหาไดดีขนึ้ ในการศึกษาหนังสือสรปุ เน้อื หารายวิชา ผูเรียนควรปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาจากหนังสือใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง และขอบขา ยเนอ้ื หาของรายวชิ านนั้ ๆ เขา ใจกอน 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนอื้ หาของหนังสือสรปุ เนอื้ หาหนงั สอื เรยี นเลม นี้ โดยศึกษาแตละบท อยา งละเอยี ด ทําแบบฝกหดั หรอื กิจกรรมตามทีก่ าํ หนด และทําความเขาใจในเน้ือหาใหมใหเขาใจ กอนทีจ่ ะศกึ ษาเรอื่ งตอ ๆ ไป 3. หากตอ งการศึกษา รายละเอียดเนื้อหาเพ่ิมเติมจากหนังสือสรุปเนื้อหาหนังสือเรียนน้ี ใหผ เู รียนศึกษาเพ่มิ เตมิ จากหนงั สอื เรยี น หรอื ครูผูสอนของทาน

1 บทท่ี 1 ทักษะทางวิทยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร คณุ ลักษณะของบคุ คลท่มี จี ิตวิทยาศาสตร ควรเปน อยางไร 1. เปน คนทีม่ ีเหตผุ ล 2. เปน คนทม่ี คี วามอยากรูอยากเหน็ 3. เปนบุคคลที่มีใจกวา ง 4. เปน บุคคลท่ีมีความซือ่ สตั ยแ ละมีใจเปน กลาง 5. มคี วามเพยี รพยายาม 6. มคี วามละเอียดรอบคอบ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ประกอบดว ยอะไรบา ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร เปน แนวทางการดําเนินการโดยใชทักษะวิทยาศาสตรใ นการ จดั การ มลี าํ ดบั ขั้นตอน 5 ข้นั ตอน 1. การกาํ หนดปญ หา 2. การทดลองและรวบรวมขอ มลู 3. การวิเคราะหขอมูล 4. การสรุปผล ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ประกอบดว ยทกั ษะในเรือ่ งใดบาง 1. ทักษะการสังเกต 2. ทกั ษะการวดั 3. ทกั ษะการจําแนกประเภทหรอื ทกั ษะการจัดประเภทสง่ิ ของ 4. ทกั ษะการหาพ้ืนทีแ่ ละความสมั พันธระหวา งพน้ื ท่แี ละเวลา 5. ทกั ษะการคํานวณและการใชจาํ นวน

2 6. ทกั ษะการจัดกระทําและส่อื ความหมายขอ มลู 7. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 8. ทกั ษะการพยากรณ 9. ทกั ษะการตั้งสมมติฐาน 10. ทกั ษะการควบคุมตัวแปร 11. ทักษะการตีความหมายและลงขอ สรปุ 12. ทักษะการกาํ หนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ 13. ทกั ษะการทดลอง เทคโนโลยีมคี วามหมายอยางไร เทคโนโลยี หมายถึง ความรู วิชาการรวมกับความรูวิธีการและความชํานาญที่สามารถ นาํ ไปปฏบิ ตั ิใหเ กิดประโยชนสูงสุด สนองความตองการของมนุษยเปนส่ิงที่มนุษยพัฒนาข้ึน เพ่ือ ชวยในการทํางานหรือแกปญหาตาง ๆ เชน เคร่ืองจักร เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ การเพาะปลูก เครื่องนงุ หม ยารกั ษาโรค เปน ตน จงอธิบายความหมายของอปุ กรณทางวิทยาศาสตร อปุ กรณทางวิทยาศาสตร คอื เครอื่ งมอื ท่ีใชทง้ั ภายในและภายนอกหองปฏบิ ตั ิการ เพื่อใช ทดลองและหาคาํ ตอบตา ง ๆ ทางวิทยาศาสตร ประเภทของเคร่อื งมือทางวิทยาศาสตร 1. ประเภททัว่ ไป เชน บีกเกอร กระบวกตวง หลอดหยด 2. ประเภทเครอ่ื งมือชาง เชน คีม เวอรเนีย 3. ประเภทสิน้ เปลืองและสารเคมี เชน กระดาษลติ มัส กระดาษกรอง และสารเคมี

3 บทท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร โครงงานวทิ ยาศาสตร หมายถงึ อะไร และแบงออกไดเปน กป่ี ระเภท โครงงานวทิ ยาศาสตร เปนกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีซ่ึงเปนกิจกรรมท่ี ตอ งใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตรใ นการศกึ ษาคน ควา โดยผเู รยี นจะเปน ผดู ําเนินการดวยตนเอง ท้ังหมด ตั้งแตเร่ิมวางแผนในการศึกษาคนควา การเก็บรวบรวมขอมูล จนถึงเร่ืองการแปลผล สรปุ ผล และเสนอผลการศึกษา โดยมผี ชู ํานาญการเปน ผใู หคําปรึกษา ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร แบงออกไดเ ปน 4 ประเภท คือ 1. โครงงานประเภทสํารวจ เปนโครงงานท่ีมีลักษณะเปนการศึกษาเชิงสํารวจ รวบรวม ขอ มลู และนาํ ขอมลู ทีไ่ ดมาจัดทาํ และนําเสนอในรูปแบบตา ง ๆ 2. โครงงานประเภททดลอง เปนโครงการท่ีมีลักษณะกิจกรรมท่ีเปนการศึกษาหาคําตอบ ของปญ หาใดปญหาหน่งึ ดว ยวธิ ีการทดลอง 3. โครงงานประเภทการพัฒนาและประดิษฐ เปนโครงงานท่ีมีลักษณะกิจกรรมท่ีเปน การศึกษาเก่ียวกับการประยุกต ทฤษฎี หรือหลักการทางวิทยาศาสตร เพ่ือประดิษฐเคร่ืองมือ เคร่ืองใช หรืออุปกรณเ พอื่ ประโยชนใชสอยตา ง ๆ 4. โครงงานประเภทการสรางทฤษฎีหรืออธิบาย เปนโครงงานที่มีลักษณะกิจกรรมท่ีผูทํา จะตองเสนอแนวคิดใหม ๆ ตามหลักการทางวิทยาศาสตรในรูปแบบของสูตรสมการ หรือ คาํ อธิบายอาจเปนแนวคิดใหมทยี่ งั ไมเ คยนาํ เสนอ จงบอกขัน้ ตอนของการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร 1. ขั้นสาํ รวจหรอื ตดั สนิ ใจเลือกเรอ่ื งทจ่ี ะทํา 2. ขั้นศกึ ษาขอ มูลที่เกีย่ วของกบั เรอื่ งทีต่ ดั สินใจทาํ 3. ข้ันวางแผนดําเนนิ การ 4. ขน้ั เขยี นเคา โครงของโครงงานวทิ ยาศาสตร ซึ่งมรี ายละเอียด ประกอบดว ย 4.1 ชื่อโครงงาน

4 4.2 ชื่อผทู ําโครงงาน 4.3 ช่ือท่ีปรกึ ษาโครงงาน 4.4 ทม่ี าและความสาํ คัญของโครงงาน 4.5 วตั ถปุ ระสงคโครงงาน 4.6 สมมติฐานของโครงงาน 4.7 วสั ดุอปุ กรณและส่งิ ที่ตองใช 4.8 วิธีดาํ เนนิ การ 4.9 แผนปฏิบตั ิการ 4.10 ผลท่ีคาดวา จะไดร ับ 4.11 เอกสารอา งอิง 5. ข้ันลงมอื ปฏบิ ตั ิ 6. ขั้นเขียนรายงานโครงงาน 7. ข้ันเสนอผลงานและจัดแสดงผลงานโครงการ การทาํ โครงงาน ควรมีการวางแผนในเรอ่ื งใดบาง การวางแผนการทาํ โครงงาน เปนการดําเนินงานท่ีชวยกันคิดกําหนด ไวลวงหนา วาจะทํา สง่ิ ใดบา ง โดยจัดทาํ เปนแผน กําหนดกจิ กรรมโครงงาน ข้ันตอนการปฏบิ ัติ ระยะเวลา วัสดุอุปกรณ หรืองส่ิงของตา ง ๆ ตามความจาํ เปน ทจี่ ะทําใหโครงงานสําเรจ็ โดยมีการวางแผนดงั น้ี 1. เตรียมงานดานการศึกษาและสํารวจขอมูลตาง ๆ วาจะศึกษาจากเอกสาร ตํารา ตัว บคุ คล ฯลฯ 2. การเร่ิมงาน วาจะเริ่มงานอยางไรบาง กอน – หลังตามลําดับขั้นตอน การติดตอขอ คาํ แนะนําปรึกษากับใคร จัดเตรยี มหาวสั ดุ อุปกรณ เครอ่ื งมอื เครื่องใชอยา งไร 3. การลงมือปฏิบัติจัดทําโครงงาน มีข้ันตอนการปฏิบัติงานอยางไร ใชระยะเวลาอยางไร มี ผูรบั ผิดชอบหรือไม และจะตองมีการประเมินผลระหวางการปฏิบัติงาน 4. ตองกาํ หนดคาใชจ า ยในโครงการ และเตรียมคา ใชจายทีจ่ ะจดั ทําโครงงาน 5. ผลทีค่ าดวาจะไดร บั เปนการคาดวา หลังจากดําเนินโครงงานจะไดรับประโยชนอยางไร มกี ารขยายผลตอ หรือไม

5 6. ปญหาอุปสรรคท่ีคาดวาจะเกิดขึ้น และแนวทางแกไข โดยการแสดงการคาดคะเนวา การดําเนนิ งานมีปญหาอปุ สรรคใดบาง ในแตล ะดาน เชน ข้นั ตอนการปฏิบัติ โดยคาดวานาจะเกิด ปญหาขึน้ และชแ้ี จงสาเหตทุ ่ีอาจเกดิ ข้นึ พรอมท้งั แนวทางแกไ ข การเลอื กหวั ขอ การทําโครงงาน ควรพจิ ารณาในประเด็นใดบาง 1.ความรูและทักษะพ้ืนฐานของผูทําโครงงาน หัวขอเรื่องควรมีความยากงายเหมาะกับ ระดับความรูของผทู ํา ไมยุงยาก และมีความเปนไปได 2. แหลงความรูทจ่ี ะศกึ ษาคน ควา มผี ทู รงคุณวฒุ ทิ จ่ี ะใหค ําแนะนํา ใหคาํ ปรึกษาได 3. วัสดอุ ปุ กรณที่ตอ งใช เปน อุปกรณทมี่ ีอยูในทองถิน่ หรอื ทําข้ึนเอง โดยใชงบประมาณไม มากจนเกินไป 4. เวลาท่ีใชใ นการทาํ โครงงาน ตองใชเวลาไมมากเกนิ ไป จงอธิบายขน้ั ตอนการนําเสนอผลจากการทําโครงการวทิ ยาศาสตร การแสดงผลงานเปนข้นั ตอนสาํ คญั ของการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร หรอื เปนขั้นตอน สดุ ทายของการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร เปน วธิ ีการที่จะทําใหผอู ื่นรับรูและเขาใจถงึ ผลงานนน้ั ๆ การจัดแสดงผลงานมปี ระเด็นสําคญั ดงั น้ี 1. ช่อื โครงงาน ช่อื ผูจัดทําโครงงาน ชอ่ื ทีป่ รึกษา 2. คําอธบิ ายถึงเหตจุ ูงใจในการทาํ โครงงาน และความสําคัญของโครงงาน 3. วธิ ีการดําเนินการ โดยเลือกเฉพาะขั้นตอนที่เดนและสาํ คญั 4. การสาธิตหรือแสดงผลทีไ่ ดจาการทดลอง 5. ผลการสงั เกตและขอมูลเดน ๆ ทไี่ ดจ ากการทาํ โครงงาน

6 บทท่ี 3 เซลล เซลลค ืออะไร เซลล (Cell) คือ หนว ยทีเ่ ล็กท่สี ุดของสิง่ มีชวี ิต เปนหนว ยเร่ิมตน หรือหนว ยพืน้ ฐานของ ทุกชวี ิต เซลลมขี นาดและรปู รา งของเซลลอยางไร เซลลสว นใหญมขี นาดเล็ก และไมสามารถมองเหน็ ไดดวยตาเปลา ตอ งใชก ลองจุลทรรศน สอง แตกม็ เี ซลลบางชนิดทม่ี ีขนาดใหญ สามารถมองเห็นไดอยางชดั เจน เชน เซลลไข รูปรางของเซลลแ ตล ะชนดิ จะแตกตางกนั ไปตามชนดิ หนา ที่ และตาํ แหนงที่อยขู องเซลล เซลลพ ชื และเซลลส ตั วมรี ูปรางเหมือนหรอื ตางกันอยางไร เซลลพชื และเซลลส ัตวม รี ูปรางเหมอื นและตา งกนั ดงั ภาพ

7 เซลลพืชและเซลลส ตั วมโี ครงสรา งและหนาทอ่ี ยา งไรบาง โครงสรางพ้นื ฐานของเซลลแ บง ออกไดเ ปน 3 สว นใหญๆ คอื 1. สวนท่ีหอหุมเซลลเซลล ท่ีทําหนาที่หอหุมองคประกอบภายในเซลลใหคงรูปอยูได ประกอบดว ย 1.1 เย่อื หมุ เซลล (Cell Membrane) ทําหนาที่ควบคุมปริมาณและชนิดของสารท่ีผาน เขา ออกจากเซลลด ว ย มสี มบัตเิ ปน เยอ่ื เลอื กผา น (Differentially Permeable Membrane) 1.2 ผนงั เซลล (Cell Wall) พบไดในเซลลพืชทุกชนิด และในเซลลของส่ิงมีชีวิตเซลล เดียว ราและแบคทีเรียบางชนิด โดยจะหอหุมเยื่อหุมเซลลไวอีกชั้นหน่ึง ทําหนาที่เพ่ิมความ แข็งแรงและปอ งกันอันตรายใหแกเซลล ผนงั เซลลยอมใหส ารเกือบทุกชนดิ ผา นเขาออกได 2. นิวเคลียส (Nucleus) เปนศูนยกลางควบคุมการทํางานของเซลล มีความสําคัญตอ กระบวนการแบงเซลลและการสืบพันธุของเซลลเปนอยางมาก ในเซลลของส่ิงมีชีวิตท่ัวไปจะมี เพียงหนึ่งนิวเคลียส แตเซลลบางชนิด เชน เซลลเม็ดเลือดแดง เมื่อเจริญเต็มท่ีแลวจะไมมี นิวเคลยี ส 3. ไซโทพลาซมึ (Cytoplasm) คือส่ิงท่ีอยูภายในเยื่อหุมเซลลทั้งหมดยกเวนนิวเคลียส ซ่ึง เปน ของเหลวท่ีมีโครงสรางเล็ก ๆ คือ ออรแกเนลล (Organelle) กระจายอยูท่ัวไป ประกอบดวย หนว ยเลก็ ๆ ท่ีสําคัญหลายชนดิ ดงั น้ี 3.1 ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เปนโครงสรางท่ีมลี ักษณะยาวรีเปนแหลงผลิตสาร ท่ีมพี ลงั งานสงู ใหแ กเซลล 3.2 คลอโรพลาส (Chloroplast) เปนโครงสรางพบเฉพาะในเซลลพืชมีสารพวก คลอโรฟล ล เปนสารสาํ คัญทีใ่ ชใ นกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง 3.3 ไรโบโซม (Ribosome) เปนโครงสรางท่ีมีขนาดเล็กเปนแหลงท่ีมีการสังเคราะห โปรตนี เพือ่ สงออกไปใชน อกเซลล 3.4 กอลจคิ อมเพลกซ (Golgi Complex) เปน โครงสรา งท่ีเปนถงุ แบนๆ คลา ยจานซอนกัน เปนชนั้ ๆ หลายชน้ั ทาํ หนา ทีส่ รางสารคารโบไฮเดรตท่ีรวมกบั โปรตีนแลว สง ออกไปใชภ ายในเซลล 3.5 เซนตริโอล (Centriole) พบเฉพาะในเซลลสัตวและโพรติสตบางชนิด มีหนาที่ เก่ยี วกับการแบงเซลล

8 3.6 แวคิวโอล (Vacuole) เปนโครงสรางทม่ี ชี อ งวา งขนาดใหญม ากในเซลลพ ืชภายในมี สารพวกน้าํ มนั ยาง และแกสตา ง ๆ เซลลพืชและเซลลส ตั วแตกตา งกนั อยา งไร เซลลพชื และเซลลสตั วมีความแตกตางกนั ดังตาราง เซลลพชื เซลลส ัตว 1. เซลลพ ชื มรี ูปรางเปนเหลี่ยม 1. เซลลส ัตวม ีรปู รางกลม หรอื รี 2. มีผนงั เซลลอยูดานนอก 2. ไมม ีผนงั เซลล แตม สี ารเคลือบเซลลอยูดานนอก 3. มีคลอโรพลาสตภ ายในเซลล 3. ไมมคี ลอโรพลาสต 4. ไมมเี ซนทริโอล 4. มเี ซนทริโอลใชในการแบงเซลล 5. แวคควิ โอลมีขนาดใหญ มองเห็นไดช ดั เจน 5. แวคควิ โอลมีขนาดเลก็ มองเห็นไดไมชดั เจน 6. ไมม ไี ลโซโซม 6. มไี ลโซโซม กระบวนการลําเลียงสารผานเซลลมีกี่วธิ ีอะไรบาง การลําเลียงสารเขาสเู ซลล มี 2 รูปแบบ คอื 1. การแพร (Diffusion) เปนการเคล่ือนที่ของโมเลกุลจากจุดท่ีมีความเขมขนสูงกวาไป ยังจุดที่มีความเขมขนต่ํากวา การเคลื่อนที่น้ีเปนไปในลักษณะทุกทิศทุกทาง โดยไมมีทิศทางที่ แนน อน 2. ออสโมซิส (Osmosis) เปนการแพรของน้ําจะแพรผานเย่ือหุมเซลลจากดานที่มีความ เขมขนของสารละลายตํ่า (นํ้ามาก) ไปยังดานที่มีความเขมขนของสารละลายสูงกวา (น้ํานอย) ปกติการแพรของน้ําจะเกิดท้ังสองทิศทางคือท้ังบริเวณท่ีมีความเขมขนของสารละลายต่ําและ บริเวณท่มี ีความเขมขน ของสารละลายสูง ดังนั้น ออสโมซิสเปนการแพรของนํ้าจากบริเวณที่มีนํ้า มากเขาสูบรเิ วณทีม่ ีน้าํ นอยกวาโดยผา นเย่อื หุม เซลล

9 บทที่ 4 กระบวนการดํารงชวี ติ ของพืชและสตั ว โครงสรา งในการลําเลียงของพืชประกอบดวยอะไรบางและมกี ารทํางานอยางไร โครงสรา งทใ่ี ชใ นการลําเลียงของพืชประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ ทอลําเลียงน้ําและแร ธาตุ (xylem) กบั ทอลําเลยี งอาหาร (phloem) ทอ ลําเลียงนาํ้ และแรธาตุ (xylem) เมอื่ พืชดูดนาํ้ และแรธาตใุ นดินผา นทางขนรากแลว นาํ้ และแรธาตุจะถูกลําเลียงตอไปยังลํา ตนทางทอลําเลียงน้ําหรือไซเลม และสงตอไปยังกิ่ง กานและใบ เพื่อไปใชในกระบวนการ สงั เคราะหด ว ยของพชื ตอไป ทอลาํ เลยี งอาหาร (phloem) เมือ่ พืชสังเคราะหด วยแสงทบี่ รเิ วณใบจะได นํ้าตาล นาํ้ และแกส ออกซเิ จนนํา้ ตาลทจ่ี ะอยู ในรปู ของแปง ซ่ึงเปนอาหารของพืช แตพืชจะมีการลาํ เลยี งอาหารโดยการเปลี่ยนแปง ใหเ ปน นํา้ ตาล แลว สง ผานไปตามกลุม เซลลท ี่ทาํ หนาทลี่ ําเลยี งอาหาร โดยวธิ ีการแพรไปยังสว นตา งๆ ของ พชื เพ่ือใชเปนพลังงานในกระบวนการตา งๆ หรือเกบ็ สะสมไวเ ปนแหลงอาหารซงึ่ อยูในรูปของแปง หรอื นาํ้ ตาล ทีม่ อี ยบู รเิ วณลาํ ตน ราก หรอื ผล กระบวนการสังเคราะหด ว ยแสงมคี วามสาํ คญั อยา งไร กระบวนการสังเคราะหดว ยแสงมคี วามสําคัญดังตอ ไปนี้ 1. เปน แหลงอาหารและแหลงพลังงานทสี่ าํ คัญของสิ่งมชี วี ิตทกุ ชนดิ เนอ่ื งจากพชื สีเขยี ว ไดดูดน้าํ รบั แกส คารบ อนไดออกไซด และดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตยไปสรางสารอาหารพวก น้ําตาลและสารอาหารนสี้ ามารถเปล่ียนแปลงไปเปนสารอาหารอื่น ๆ ได เชน แปง โปรตีน ไขมัน ซึ่งสิ่งมีชีวิตไดนําไปใชประโยชนในกระบวนการตาง ๆ ของชีวิต จึงถือวาสารอาหารเหลาน้ีเปน แหลง พลงั งานที่สาํ คญั ของสงิ่ มีชวี ิตทุกชนิด

10 2. เปนแหลง ผลิตแกสออกซิเจนที่สาํ คัญของระบบนเิ วศ โดยแกสออกซิเจนเปน ผลท่ีเกิด จากกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช ซ่ึงแกสออกซิเจนเปนแกสที่สิ่งมีชีวิตทุกชนิดตอง นําไปใชใ นการสลายอาหาร เพอื่ สรางพลังงานหรอื ใชใ นกระบวนการหายใจน่ันเอง 3. ชวยลดปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ เพราะพืชตองใชแกสน้ีเปน วัตถดุ ิบในการสังเคราะหด ว ยแสง โดยปกตแิ กส ชนิดนี้เปน แกส ทไี่ มม ีสี ไมม ีกล่ิน มอี ยูในบรรยากาศ ประมาณ 0.03% เทา น้ัน แตเ นือ่ งจากในปจจบุ ันการเผาไหมเชื้อเพลิงเพ่ือการอุตสาหกรรมตาง ๆ ของมนุษยมีมากขึ้น จึงทําใหมีแกสชนิดนี้เพ่ิมมากขึ้นดวย สัดสวนของอากาศท่ีหายใจจึงเสียไป ทําใหไดรับแกสออกซิเจนนอยลง จึงเกิดอาการออนเพลีย และแกสชนิดน้ียังทําใหโลกของเรามี อุณหภูมิสูงข้ึนเร่ือย ๆ เรียกวา ปรากฏการณเรือนกระจก (Green House Effect) ดังน้ันจึงควร ชวยกันปลูกพชื และไมตดั ไมท ําลายปา เพ่ือลดปริมาณแกสคารบ อนไดออกไซดใ นบรรยากาศ ปจ จยั ท่จี าํ เปน สําหรบั กระบวนการสงั เคราะหดวยแสงไดแกอะไรบา ง ปจจยั ที่จําเปนสาํ หรับกระบวนการสงั เคราะหดวยแสง ประกอบดว ย 1. แสงสวาง มีความสําคัญตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช เพราะเปนผูใหพลังงาน สําหรบั การเกดิ ปฏิกิริยาระหวางน้ํากับกาซคารบอนไดออกไซด ซ่ึงเปนวัตถุดิบสําคัญในการสราง นา้ํ ตาลกลโู คส ผลพลอยไดก็คือนาํ้ กบั กาซออกซิเจน 2. คลอโรฟลล เปนสารประกอบท่ีมีรงควัตถุที่มีสีเขียวอยูภายในเม็ดคลอรโรพลาสต (chloroplast) พบมากท่ใี บและสว นตาง ๆ ที่มีสีเขียวทั่วไป คลอโรฟลลทําหนาที่รับพลังงานแสง เพ่ือใชใ นการสรา งอาหาร 3. กา ซคารบอนไดออกไซด เปนวัตถดุ ิบสาํ หรับการสรางอาหารของพืช โดยจะทําปฏิกิริยา กับไฮโดรเจน(จากนํ้า) ไดสารอาหารพวกคารโบไฮเดรต(นํ้าตาลกลูโคส) โดยพืชจะรับกาซ คารบอนไดออกไซดเขา มาทางปากใบ 4. นํ้า เปนวัตถุดิบสําหรับการสรางอาหารของพืชโดยเปนสารท่ีใหกาซไฮโดรเจน (H) เพ่อื นาํ ไปทาํ ปฏกิ ิรยิ ากบั กาซคารบ อนไดออกไซดภายในเมด็ คลอโรพลาสต

11 การสบื พนั ธขุ องพืชมกี แ่ี บบอะไรบา ง การสืบพนั ธุของพืชไดเปน 2 แบบ คือ 1. การสืบพันธแุ บบไมอาศยั เพศ เปน วธิ ีการสืบพันธุโ ดยไมต อ งมกี ารสรา งและการผสม ระหวา งเซลลสบื พันธุ การสบื พันธแุ บบไมอาศยั เพศมีอยูหลายแบบ เชน การแบงตัว การแตกหนอ การงอกใหม การสรา งสปอร และการใชสวนตา งๆ ของพชื มาขยายพนั ธุ 2. การสืบพนั ธุแบบอาศยั เพศ เปนวิธกี ารสืบพันธขุ องพชื ดอก โดยสว นของพชื ทท่ี าํ หนา ที่ สรา งเซลลส ืบพนั ธุค ือ ดอก รูปแสดงสว นประกอบของดอกไม พชื มีการสรางเซลลส บื พนั ธอุ ยางไร การสรางเซลลส ืบพนั ธจุ ะพบในพืชดอก โดยมีข้ันตอนดงั นี้ การสรางเซลลส บื พนั ธุเ พศผขู องพืชดอกจะเกิดข้ึนภายใน อับเรณู (anther) โดยมีไมโครส ปอรมาเทอรเซลล (microspore mother cell) แบงเซลลแบบไมโอซิสได 4 ไมโครสปอร (microspore) แตละเซลลมีโครโมโซมเทากับ n หลังจากน้ันนิวเคลียสของไมโครสปอรจะแบง แบบไมโทซิส ได 2 นิวเคลียส คือ เจเนอเรทิฟนิวเคลียส (generative nucleus) และทิวบ นวิ เคลยี ส (tube nucleus) เรียกเซลลในระยะน้ีวา ละอองเรณู (pollen grain) หรือแกมีโทไฟต

12 เพศผู (male gametophyte) ละอองเรณูจะมผี นงั หนา ผนังชน้ั นอกอาจมผี ิวเรียบ หรอื เปนหนาม เล็กๆแตกตางกันออกไปตามแตละชนิดของพืช เม่ือละอองเรณูแกเต็มท่ีอับเรณูจะแตกออกทําให ละอองเรณูกระจายออกไปพรอ มทจ่ี ะผสมพนั ธุตอไปได การสรางเซลลส บื พันธเุ พศเมยี ของพชื ดอกเกดิ ข้ึนภายในรังไข ภายในรังไขอาจมีหนึ่งออวุล (ovule) หรือหลายออวลุ ภายในออวลุ มีหลายเซลล แตจ ะมเี ซลลหนึง่ ทีม่ ขี นาดใหญ เรยี กวา เมกะ สปอรมาเทอรเ ซลล (megaspore mother cell) มจี าํ นวนโครโมโซม 2n ตอมาจะแบงเซลลแบบ ไมโอซสิ ได 4 เซลล สลายไป 3 เซลล เหลอื 1 เซลล เรียกวา เมกะสปอร (megaspore) หลังจาก น้ันนิวเคลียสของเมกะสปอรจะแบงแบบไมโทซิส 3 คร้ัง ได 8 นิวเคลียส และมีไซโทพลาซึม ลอมรอบ เปน 7 เซลล 3 เซลล อยูตรงขามกับไมโครไพล (micropyle) เรียกวา แอนติแดล (antipodals) ตรงกลาง 1 เซลลมี 2 นิวเคลียสเรียก เซลลโพลารนิวคลีไอ (polar nuclei cell) ดานไมโครไพลมี 3 เซลล ตรงกลางเปนเซลลไข (egg cell) และ2 ขางเรียก ซินเนอรจิดส (synergids) ในระยะนี้ 1 เมกะสปอรไ ดพัฒนามาเปนแกมโี ทไฟตท่ีเรียกวา ถุงเอ็มบริโอ (embryo sac) หรือแกมโี ทไฟตเ พศเมีย (female gametophyte) การปฎิสนธิในพืชดอกเกดิ ขน้ึ ไดอ ยา งไร การปฏิสนธิในพืชดอกเกิดขึ้นไดจาก พืชดอกแตละชนิดมีละอองเรณูและรังไขที่มีรูปราง ลกั ษณะ และจาํ นวนทีแ่ ตกตางกันเม่ืออับเรณูแกเต็มท่ีผนังของอับเรณูจะแตกออกละอองเรณูจะ กระจายออกไปตกบนยอดเกสรตัวเมียโดยอาศัยสื่อตางๆพาไป เชน ลม นํ้า แมลง สัตว รวมท้ัง มนุษย เปนตน ปรากฏการณท่ีละอองเรณูตกลงสูยอดเกสรตัวเมีย เรียกวา การถายละอองเรณู (pollination) เมอื่ ละอองเรณตู กลงบนยอดเกสรเพศเมีย ทิวบนิวเคลียสของละอองเรณูแตละอัน จะสรางหลอดละอองเรณูดวยการงอกหลอดลงไปตามกานเกสรเพศเมียผานทางรูไมโครไพลของ ออวลุ ระยะนี้เจเนอเรทิฟนวิ เคลียสจะแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิสได 2 สเปรมนิวเคลียส (sperm nucleus) สเปรมนวิ เคลยี สหนงึ่ จะผสมกบั เซลลไขไ ดไซโกต สว นอีกสเปร ม นิวเคลียสจะเขา ผสมกับ เซลลโพลารนิวเคลียสไอได เอนโดสเปรม (endosperm) เรียกการผสม 2 ครั้ง ของสเปรม นิวเคลยี สนี้วา การปฏิสนธซิ อ น (double fertilization)

13 สตั วมีโครงสรา งและการทาํ งานของระบบตา งๆของสตั วเปน อยา งไร สัตวมีโครงสรา งและการทาํ งานของระบบตางๆ ประกอบดวย 1. ระบบยอ ยอาหาร ทาํ หนา ที่นาํ สารอาหารตา ง ๆ เขา สูรา งกาย เพอื่ เปนวตั ถดุ บิ สําคัญใน การเจริญเตบิ โต การยอยอาหารของสัตวแบงไดเปน 2 แบบ คือ 1.1 การยอ ยอาหารในสตั วมีกระดูกสนั หลงั สัตวม กี ระดูกสนั หลงั ทกุ ชนิดจะมีระบบ ทางเดินอาหารสมบรู ณ ซึ่งทางเดนิ อาหารของสตั วม กี ระดูกสนั หลังประกอบดวย ปาก  หลอดอาหาร  กระเพาะอาหาร  ลําไสเลก็  ทวารหนัก 1.2 การยอ ยอาหารในสัตวไ มม กี ระดูกสันหลัง แบง ออกเปน 2 ประเภท 1.2.1 การยอ ยอาหารในสัตวท่ไี มมีกระดกู สนั หลังทีม่ ที างเดนิ อาหารไมสมบรู ณ - ฟองนํ้า มีเซลลพิเศษอยูผนังดานในของฟองน้ํา เรียกวา เซลลปลอกคอ (Collar Cell) ทําหนา ทจ่ี บั อาหาร แลวสราง แวควิ โอลอาหาร (Food Vacuole) เพือ่ ยอยอาหาร - ไฮดรา แมงกะพรุน ซีแอนนีโมนี อาหารจะผานบริเวณปากเขาไปในชองลําตัวท่ี เรียกวา ชอ งแกสโตราสคิวลาร (Gastro vascular Cavity) ซึ่งจะยอยอาหารที่บริเวณชองน้ี และ กากอาหารจะถกู ขบั ออกทางเดมิ คอื ปาก - หนอนตัวแบน เชน พลานาเรีย พยาธิใบไม อาหารจะเขาทางปาก และยอยใน ทางเดนิ อาหาร แลวขบั กากอาหารออกทางเดมิ คอื ทางปาก 1.2.2 การยอยอาหารในสัตวไ มม ีกระดกู สนั หลังทมี่ ที างเดินอาหารสมบรู ณ - หนอนตัวกลม เชน พยาธิ ไสเดือน พยาธิเสนดาย เปนพวกแรกท่ีมีทางเดิน อาหารสมบรู ณ คอื มชี องปากและชอ งทวารหนกั แยกออกจากกัน - หนอนตัวกลมมีปลอง เชน ไสเดือนดิน ปลิงนํ้าจืด และแมลงโครงสรางทางเดิน อาหารท่ีมีลกั ษณะเฉพาะแตละสวนมากข้นึ 2. ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ทําหนาที่หมุนเวียนเลือด นําสารตาง ๆ ท่ีมีประโยชนไปยังเซลล ท่วั รางกาย และนําสารที่เซลลไมตองการไปยังอวัยวะขับถายเพื่อกําจัดออกนอกรางกาย ในสัตว ช้นั สูงมีระบบหมุนเวียนเลือด ซ่ึงประกอบดวยหัวใจเปนอวัยวะสําคัญ ทําหนาที่สูบฉีดเลือดไปยัง

14 สว นตา ง ๆ ของรางกาย และมีหลอดเลือดเปนทางลําเลียงเลือดไปท่ัวทุกเซลลของรางกาย แตใน สัตวบางชนิดใชชองวา งระหวางอวัยวะเปนทางผานของเลอื ด 3. ระบบหายใจ ทําหนาท่ี นํากาซท่ีเซลลตองการเขาสูรางกายและกําจัดกาซท่ีเซลลไม ตองการออกนอกรางกาย นอกจากน้ียังทําหนาท่ีสรางพลังงานใหแกเซลล ทําใหเซลลสามารถ นําไปใชใ หเกดิ ประโยชน สตั ว จะแลกเปลย่ี นกา ซกับสงิ่ แวดลอมโดยกระบวนการแพร (Diffusion) โดยสัตวแตละชนิดจะมีโครงสรางที่ใชในการแลกเปล่ียนกาซที่เหมาะสมกับการดํารงชีวิตและ สง่ิ แวดลอมตา งกนั 4. ระบบขับถาย ในเซลลหรือในรางกายของสัตวตาง ๆ จะมีปฏิกิริยาเคมีจํานวนมาก เกดิ ขึน้ ตลอดเวลา และผลจากการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีเหลา น้ี จะทาํ ใหเกิดผลิตภัณฑท่ีมีประโยชนตอ ส่ิงมชี วี ิตและของเสยี ทตี่ อ งกาํ จดั ออกดวยการขับถาย สตั วแตล ะชนิดจะมีอวยั วะ และกระบวนการ กําจดั ของเสียออกนอกรา งกายแตกตา งกันออกไป สตั วชัน้ ตํ่าท่ีมีโครงสรางงาย ๆ เซลลที่ทําหนาที่ กําจดั ของเสยี จะสัมผสั กับสง่ิ แวดลอมโดยตรง สวนสัตวชั้นสูงท่ีมีโครงสรางซับซอน การกําจัดของ เสียจะมีอวยั วะทที่ ําหนาที่เฉพาะ 5. ระบบประสาท เปนระบบท่ีทําหนาที่เกี่ยวกับการส่ังงาน การติดตอเช่ือมโยงกับ สิ่งแวดลอมการรับคําส่ัง และการปรับระบบตาง ๆ ในรางกายใหทํากิจกรรมไดถูกตองเม่ืออยูใน สภาพแวดลอมที่แตกตา งกัน โดยสตั วแ ตล ะชนิดจะมโี ครงสรางและการทํางานของระบบประสาท ทีแ่ ตกตา งกัน 6. ระบบโครงกระดูก ถามีโครงรางแข็งที่อยูภายนอกรางกาย จะชวยปองกันอันตราย ภายในไมใ หไ ดรบั อนั ตราย แตถ า มโี ครงรา งแขง็ ที่อยูภายใน จะชวยในการเคล่ือนไหวหรือเคลื่อนที่ โดยแบงไดเ ปน 2 ชนิด คือ 6.1 โครงรา งแข็งทีอ่ ยูภายนอกรางกาย (Exoskeleton) มีหนาที่ปองกันอันตรายที่อาจ เกิดขึ้นกบั อวยั วะทอ่ี ยภู ายใน 6.2 โครงรา งแข็งที่อยูภายในรางกาย (Endoskeleton) โครงกระดูกของสัตวท่ีมีกระดูก สันหลงั 7. ระบบสืบพันธุ เมื่อสัตวเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัยก็พรอมท่ีสะสืบพันธุเพื่อท่ีจะเพ่ิม ลกู หลาน ทําใหส ตั วแตล ะชนดิ สามารถดาํ รงเผาพันธุไวไ ด แบงออกไดเ ปน 2 แบบ คือ

15 7.1 การสืบพันธุแบบไมอ าศัยเพศ (Asexual Reproduction) เปนการสืบพันธุโดยการ ผลติ หนวยสง่ิ มชี วี ติ จากหนวยสง่ิ มีชีวิตเดิมดวยวธิ ีการตา ง ๆ ที่ไมใชจากการใชเซลลสืบพันธุ ไดแก การแตกหนอ การงอกใหม การขาดออกเปน ทอน และพารธีโนเจเนซสิ 7.2 การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction) เปนการสืบพันธุที่เกิดจาก การผสมพันธุระหวางเซลลสืบพันธุเพศผู และเซลลสืบพันธุเพศเมีย เกิดเปนสิ่งมีชีวิตใหม ไดแก การสืบพันธุของสตั วช ้ันตํา่ บางพวก และสัตวชั้นสูงทุกชนิด สัตวบางชนิดสามารถสืบพันธุทั้งแบบ อาศยั เพศ และแบบไมอ าศัยเพศ เชน ไฮดรา การสบื พันธุแบบไมอาศัยเพศของไฮดราจะใชวิธีการ แตกหนอ

16 บทที่ 5 ระบบนิเวศ ระบบนิเวศ คอื อะไร ระบบนเิ วศ (Ecosystem) คือ ระบบของความสัมพนั ธกนั ของกลุมส่ิงมชี วี ิตและ ความสัมพนั ธระหวางสง่ิ มชี วี ิตกับส่ิงแวดลอ ม ในบริเวณใดบริเวณหน่ึง องคป ระกอบของระบบนเิ วศมอี ะไรบา ง ระบบนเิ วศ มอี งคประกอบหลกั 2 องคประกอบ ดงั น้ี 1. องคประกอบท่ีไมม ชี ีวิต (Abiotic component) ไดแก - สารประกอบอนิ ทรีย (Organic compound) เชน โปรตนี ไขมนั คารโบไฮเดรต วิตามิน - สารประกอบอนนิ ทรีย (Inorganic compound) เชน นา้ํ คารบอนไดออกไซด ฯลฯ - สภาพแวดลอ มทางกายภาพ (Abiotic environment) เชน อณุ หภูมิ แสง สวาง ความกดอากาศ ความเคม็ ความเปน กรด-เบส พลงั งานตา งๆ สสาร สภาพพ้ืนที่ และสภาพสิง่ แวดลอ ม 2. องคประกอบทมี่ ีชวี ิต (Biotic components) แบงตามหนาที่ไดดังนี้ - ผูผลติ (Producer) ไดแก พชื สเี ขียว - ผูบ รโิ ภค (Consumer) ไดแ ก สัตวต าง ๆ เชน * สตั วก นิ พืช เชน ววั มา กระตา ย หอยเปาฮือ้ เมน ทะเล พะยนู เปนตน * สตั วก ินสัตว เชน กบ งู เหยย่ี ว ดาวทะเล ปลาเกา ปลาฉลาม ปลากระเบน เปน ตน * สตั วกนิ ทั้งพชื และสัตว เชน มนษุ ย ไก ปลานกแกว เปนตน * สตั วก นิ ซาก เชน แรง ไสเดือน ปูกามดาบ เปนตน - ผยู อยสลาย (decomposer) ไดแก แบคทีเรีย เห็ด รา

17 สญั ลักษณใดบา งที่ใชแสดงถงึ ความสัมพนั ธของส่งิ มีชีวติ ในระบบนิเวศ เราใชสัญลกั ษณ แสดงถงึ ความสัมพันธของส่ิงมีชวี ิต 3 ลกั ษณะ ดังน้ี - สง่ิ มีชีวติ ทไ่ี ดร ับประโยชน แทนดวยเครอ่ื งหมายบวก (+) - สิ่งมีชวี ิตท่เี สียประโยชน แทนดว ยเครอื่ งหมายลบ (-) - สง่ิ มชี ีวิตท่ไี มไดรับและไมเ สยี ประโยชน แทนดวยเลขศูนย (0) สิ่งมชี วี ติ ชนดิ ตา ง ๆ ในระบบนิเวศมคี วามสัมพนั ธก ันในรปู แบบใดบา ง ความสมั พนั ธของสิง่ มีชวี ิตตาง ๆ ในระบบนเิ วศ มรี ปู แบบ ดงั นี้ 1. ภาวะการลาเหย่ือ (predation; +/-) เปนความสัมพันธท่ีมีฝายหน่ึงเปนผูไดรับ ประโยชนเพียงฝายเดียว เรียกส่ิงมีชีวิตที่เปนผูไดรับประโยชนวาผูลา (predator) และเรียก สิง่ มีชวี ติ อกี ชนิดทเ่ี ปน ผเู สยี ประโยชนวา ผถู ูกลา หรอื เหยอ่ื (prey) เชน นกกินแมลง เสือกินกวาง และปลาฉลามกินปลา เปนตน 2. ภาวะการแขงขัน (competition; -/-) เปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตท่ีอาศัยอยู รวมกันในพ้ืนท่เี ดยี วกัน อาจเปน สิง่ มีชีวิตชนดิ เดียวกันหรือตางชนิดกันโดยส่ิงมีชีวิตทั้งสองมีความ ตองการใชปจจัยในการดํารงชีวิตที่เหมือนกัน จึงตองแกงแยงหรือแขงขันกัน ทําใหส่ิงมีชีวิตท้ังคู เสียประโยชน เชน การแยง ตําแหนงจาฝูงของหมาปา การแยงกันลาเหย่ือของสุนัขจ้ิงจอกกับเสือ เปน ตน 3. ภาวะการไดรับประโยชนรวมกัน (protocooperation; +/+) เปนความสัมพันธของ สิ่งมีชีวิตที่ไดรับประโยชนทั้งสองชนิด อาจเปนการอยูรวมกันตลอดเวลา หรืออยูรวมกันเพียงช่ัว ขณะหนึ่งก็ได และเมื่อส่ิงมีชีวิตท้ังสองชนิดแยกจากกัน ก็จะยังสามารถดํารงชีพไดตามปกติ ตวั อยา งเชน นกเอ้ียงบนหลังควาย ปลาการต ูนกบั ดอกไมทะเล 4. ภาวะพ่ึงพากัน (mutualism; +/+) เปนความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยูรวมกัน โดยท่ีส่ิงมีชีวิตท้ังสองฝายจะไดรับประโยชนทั้งคู โดยท่ีสิ่งมีชีวิตทั้งคูตองอยูรวมกันตลอดไป ไม สามารถแยกจากกนั ได เชน ไลเคน (lichen) ซึง่ เปนการอยูรว มกนั ระหวางรากบั สาหราย โปรโตซัว ในลําไสปลวก

18 5. ภาวะอิงอาศัย (commensalism; +/0) เปนความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู รวมกันโดยมีฝายที่ไดรับประโยชนเพียงฝายเดียว สวนอีกฝายหนึ่งจะไมไดและไมเสียประโยชน เชน ปลาเหาฉลามกับปลาฉลาม กลวยไมก บั ตนไมใ หญ 6. ภาวะปรสิต (parasitism; +/-) เปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่ไดรับและเสีย ประโยชน โดยมีฝายท่ีไดรับประโยชน เรียกวา ผูอาศัย หรือ ปรสิต (parasite) ผูเสียประโยชน เรียกวาผูถูกอาศัย หรือเจา บา น (host) เชน พยาธิชนิดตาง ๆ ในรางกายของสัตว เห็บ เหา หมัด เปน ตน ในระบบนเิ วศมกี ารถา ยทอดพลังงานอยางไร ในระบบนิเวศทุกระบบ มีการถายทอดพลังงานในรูปแบบตางๆ จากสิ่งไมมีชีวิต ไปสู สงิ่ มีชวี ติ และถา ยทอดจากส่งิ มชี ีวติ สูสิ่งมีชีวิตดว ยกนั เอง รวมทง้ั ถา ยทอดสสู ่ิงแวดลอมดวย การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ เร่ิมตนจากดวงอาทิตยซ่ึงเปนแหลงพลังงานสําคัญ ของสิ่งมีชีวิต โดยกลุมสิ่งมีชีวิตท่ีเปนผูผลิตจะเปลี่ยนพลังงานแสงจากดวงอาทิตยใหเปน พลงั งานท่ีสะสมไวในโมเลกลุ ของสารอาหาร โดยกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ซึ่งไดผลผลิต คือ นาํ้ ตาลกลูโคส และแปง สะสมไว พลงั งานในโมเลกลุ ของสารอาหารท่ีสะสมไว จะถูกถายทอดจากผูผลิตไปสูผูบริโภคลําดับ ตางๆ จนถงึ ผยู อ ยสลายอินทรยี สาร ซ่ึงพลังงานท่ถี ายทอดนั้นจะมคี าลดลงตามลําดับ เพราะสวน หนึ่งถูกใชในการผลิตพลังงานใหแกรางกายโดยกระบวนการหายใจ อีกสวนหนึ่งสูญเสียไปในรูป ของพลังงานความรอน การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ไมไดถายทอดเฉพาะสารอาหารเทานั้น แตมีการ ถายทอดสารทุกชนิด ท้ังท่ีเปนประโยชน และเปนโทษที่ปนเปอนอยูในระบบนิเวศ ก็จะถูก ถายทอดไปในหวงโซอาหารดวย เชน การใชสารเคมีในการเกษตร กสิกรรม การถายเทของเสีย จากทอ่ี ยอู าศยั และกิจกรรมตางๆของมนุษย ทําใหมีของเสียปลอยออกสูส่ิงแวดลอม ซึ่งของเสีย และสารตา งๆ จะตกคางในผผู ลติ และถายทอดและไปสูผบู ริโภคตามลําดับในหวงโซอาหารแตจะ เพ่มิ ความเขม ขนขน้ึ เร่ือย ๆ ในลําดบั ช้ันที่สงู ข้ึนๆ รวมถึงกลับมาสตู วั มนษุ ยด ว ย

19 การถายทอดพลังงานในระบบนเิ วศมีรปู แบบอยา งไรบา ง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ สามารถนํามาเขียนเปนรูปแบบของพีระมิดการ ถายทอดพลังงานได พรี ะมดิ การถายทอดพลงั งาน (food pyramid) มีแบบใดบา ง พีระมดิ การถา ยทอดพลงั งาน (food pyramid ) มี 3 แบบ ดังนี้ 1. พีระมดิ จํานวน (pyramid of number ) เปนพรี ะมิดทีแ่ สดงใหเห็นจํานวนของส่งิ มีชีวิตในแตล ะลําดบั ขนั้ ของหวงโซอ าหารตอ หนว ยพน้ื ที่หรอื ปรมิ าตร - ในกรณผี ูผลติ มีขนาดเลก็ ฐานของพีระมดิ จะกวา ง และยอดสุดของพีระมิดจะแคบ - ในกรณผี ูผ ลิตมีขนาดใหญ ฐานของพรี ะมดิ จะแคบ และยอดสดุ ของพรี ะมิดจะกวา ง 2. พรี ะมดิ มวลชีวภาพ (pyramid of biomass) เปน พรี ะมดิ ท่แี สดงขนาดของปรมิ าณ หรอื มวลชีวภาพ ของสิ่งมชี ีวิตในแตล ะลําดับข้ันของ หวงโซอาหาร 3. พรี ะมิดพลงั งาน (pyramid of energy) เปน พรี ะมิดทแี่ สดงคา พลังงานในส่ิงมีชีวิตแตละหนวย โดยมหี นว ยเปนกิโลแคลอรีตอ ตารางเมตรตอ ป สายใยอาหาร (Food web) คืออะไร สายใยอาหาร (Food web) คือ หวงโซอาหารหลาย ๆ หวงโซท ่มี คี วามสัมพันธกนั อยาง ซบั ซอน การถายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ ระหวางรูปแบบหวงโซอ าหาร และสายใยอาหาร ในธรรมชาตเิ ราจะพบรูปแบบใดมากกวา กนั ในธรรมชาติเราจะพบการถายทอดพลังงานในรูปแบบของสายใยอาหาร มากกวาหวงโซ อาหารเดีย่ ว ๆ

20 เน่ืองจากสิง่ มชี วี ิตชนดิ หน่ึง ๆ กนิ อาหารไดหลายชนิด จึงทําใหเกิดความสัมพันธเก่ียวของ กบั หว งโซอ าหารอื่นๆ อีก จนเกิดความสลับซบั ซอนเปน สายใยอาหาร (food web) นนั่ เอง เชน พืชท่ีเปนผูผลิตในระบบนิเวศนั้น ถูกสัตวหลายประเภทบริโภคได คือ มีทั้ง หนอน ต๊ักแตน ผ้ึง และไก ซ่ึงสัตวที่เปนผูบริโภคลําดับที่ 1 เหลานี้ ก็จะเปนไดทั้งเหย่ือ และเปน ผูบริโภคสัตวอ่ืนเชนกัน เชน ไก นอกจากบริโภคพืชแลวยังสามารถบริโภคตั๊กแตนได และใน ขณะเดียวกันไกก ็มีโอกาสท่จี ะถูกงู หรอื เหยยี่ วบริโภคไดเชนกัน ดังนั้นผูบริโภคในหวงโซหนึ่งอาจ เปนเหยือ่ ในอกี หว งโซหนงึ่ ได วัฎจกั รของนํ้า (Water cycle) เกดิ ข้ึนไดอยา งไร วฎั จกั รของน้ํา (Water cycle) เปน ปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เกิดจากการ เปลย่ี นสถานะของน้ํา จนเปน วงจร ซงึ่ ในวฎั จกั รน้าํ นม้ี ีวงจรยอย 2 วงจร ดังนี้ วงจรสั้น เปนวงจรท่ีไมผานส่ิงมีชีวิต เร่ิมจากน้ําในแหลงนํ้าตางๆ เชน ทะเล มหาสมุทร แมน า้ํ ลาํ คลอง หนอง บงึ ทะเลสาบ ระเหยกลายเปน ไอขนึ้ สูบรรยากาศ และกระทบกับความเย็น บนชั้นบรรยากาศจะควบแนน กลายเปน ละอองน้ําเล็กๆ รวมตัวกันเปนกอนเมฆ และเปนฝน หรือ ลูกเหบ็ ตกลงสพู นื้ ดนิ แลว ไหลลงสูแหลง นํ้าหมุนเวียนอยเู ชน น้เี ร่ือยไป

21 วงจรที่ผานส่ิงมีชีวิต โดยสิ่งมีชีวิตตางๆ เชน สัตวใชนํ้าในการบริโภค อุปโภค และกิจกรรม ตางๆ ในการดํารงชีวิต มีการขับถายของเสีย รวมท้ังการหายใจ และพืชใชน้ําในกระบวนการ สงั เคราะหด วยแสง มกี ารคายนํ้าของพืช ทงั้ หมดนีเ้ มื่อระเหยกลายเปน ไอขึ้นสบู รรยากาศ และกระทบ กับความเย็นบนช้ันบรรยากาศจะควบแนนกลายเปนละอองนํ้าเล็กๆ รวมตัวกันเปนกอนเมฆ เมื่อมี น้ําหนักพอเหมาะก็จะกลายเปนฝน หรือลูกเห็บ ตกลงสูพ้ืนดินแลวไหลลงสูแหลงน้ําหมุนเวียนอยู เชน นีเ้ รอ่ื ยไป วัฏจกั รของคารบ อน (Carbon Cycle) เกิดขนึ้ อยา งไร วัฏจักรของคารบอน (Carbon Cycle) เริ่มจากผูผลิตสวนใหญไดแกพืช จะใชกาซ คารบ อนไดออกไซดใ นอากาศ และ ในรูปของไบคารบอเนตในนํ้า ในกระบวนการสังเคราะหดวย แสง และเกบ็ ธาตุคารบอนไวในรปู ของสารอนิ ทรยี  แลว ถา ยทอดสูผ บู ริโภคตา งๆ ผา นหว งโซอ าหาร แลวปลอยกาซคารบอนไดออกไซดก ลบั สูบรรยากาศหรือนํ้าโดยกระบวนการหายใจ สัตวตางๆ จะไดรับธาตุคารบอนจากอาหาร และปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสู อากาศโดยกระบวนการหายใจ เม่ือพืชและสัตวตาย ผูยอยสลายจะยอยซากและปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดสูอากาศเชนกัน ท้ังน้ียังมีธาตุคารบอนสะสมอยูในซากสวนท่ีไมยอยสลาย เม่ือสะสมและทบั ถมกันนานๆ หลายรอยลานป ซากเหลานี้จะกลายเปลี่ยนเปนสารท่ีใหพลังงาน เชน ถานหิน นํ้ามัน และแกส เม่ือมนุษยนํามาใชเปนเชื้อเพลิง ก็จะเกิดกาซคารบอนไดออกไซด และถูกปลอยเขาสูบรรยากาศ กาซคารบอนไดออกไซดท่ีถูกปลอยเขาสบู รรยากาศ จะถูกผผู ลิตนํามาใชหมนุ เวียนจนเปนวงจร

22 บทท่ี 6 โลก บรรยากาศ ปรากฎการณท างธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติ สวนประกอบของโลกมอี ะไรบา ง 1. สวนท่เี ปน พื้นน้ํา ประกอบดว ย หวยหนอง คลองบึง ทะเล มหาสมุทร น้ําใตดิน น้ําแข็ง ขัว้ โลก 2. สวนที่เปนพื้นดิน คือสวนที่มีลักษณะแข็งหอหุมโลก โดยท่ีเปลือกท่ีอยูใตทะเลมีความ หนา 5 กิโลเมตร และสว นเปลอื กทีม่ ีความหนาคือ สวนทเ่ี ปน ภเู ขา หนาประมาณ 70 กโิ ลเมตร 3. ชัน้ บรรยากาศ เปนชั้นท่สี ําคญั เพราะทาํ ใหเ กิดปรากฏการณตาง ๆ ทางธรรมชาติ เชน วฏั จกั รนํ้า ออิ อน ทีจ่ ําเปนตอการตดิ ตอ ส่ือสารเปน ตน 4. ชั้นสงิ่ มีชีวิต เปลอื กโลกของเราประกอบดว ยอะไรบาง เปลือกโลก (crust) เปนชั้นนอกสุดของโลกทีม่ ีความหนาประมาณ 60-70 กิโลเมตร ซึ่งถือ วาเปนชั้นท่ีบางท่ีสุดเมื่อเปรียบกับชั้นอ่ืนๆ เสมือนเปลือกไขไกหรือเปลือกหัวหอม เปลือกโลก ประกอบไปดวยแผนดินและแผนน้ํา ซ่ึงเปลือกโลกสวนท่ีบางที่สุดคือสวนท่ีอยูใตมหาสมุทร สว นเปลอื กโลกทหี่ นาที่สุดคือเปลอื กโลกสวนทรี่ องรบั ทวีปท่มี เี ทือกเขาที่สูงท่ีสุดอยูดวย เราสามารถแบงเปลอื กโลกออกเปนชน้ั ๆไดแกช ้ันๆ อะไรบา ง ชนั้ ทีห่ นึ่ง: ช้ันหนิ ไซอัล (sial) เปนเปลอื กโลกชัน้ บนสุด ประกอบดวยแรซ ิลิกาและอะลูมินา ซ่ึงเปนหินแกรนิตชนิดหนึ่ง สําหรับบริเวณผิวของช้ันนี้จะเปนหินตะกอน ชั้นหินไซอัลน้ีมีเฉพาะ เปลอื กโลกสว นทเ่ี ปนทวีปเทา น้ัน สวนเปลือกโลกทอ่ี ยใู ตท ะเลและมหาสมุทรจะไมมีหนิ ชั้นน้ี ชน้ั ทส่ี อง: ชนั้ หินไซมา (sima) เปนชนั้ ทีอ่ ยูใตหนิ ชัน้ ไซอลั ลงไป สวนใหญเปนหินบะซอลต ประกอบดวยแรซลิ ิกา เหลก็ ออกไซดแ ละแมกนเี ซียม ชัน้ หนิ ไซมาน้ีหอหุมทั่วท้ังพื้นโลกอยูในทะเล

23 และมหาสมุทร ซึ่งตางจากหินชั้นไซอัลท่ีปกคลุมเฉพาะสวนท่ีเปนทวีป และยังมีความหนาแนน มากกวาชน้ั หินไซอลั แมนเทลิ หมายถงึ อะไร แมนเทิล (mantle หรือ Earth's mantle) เปนชั้นท่ีอยูระหวางเปลือกโลกและแกนโลก มีความหนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร บางสวนของหินอยูในสถานะหลอมเหลวเรียกวา หินหนืด (Magma) ทําใหชั้นแมนเทิลมีความรอนสูงมาก เนื่องจากหินหนืดมีอุณหภูมิประมาณ 800 – 4300°C ซึง่ ประกอบดว ยหนิ อัคนเี ปนสว นใหญ เชนหินอลั ตราเบสิก หนิ เพรโิ ดไลต แกน โลกหมายถึงอะไร แกน โลก (Core) ความหนาแนน ของโลกโดยเฉล่ียคอื 5,515 กก./ลบ.ม. ทําใหโลกเปนดาว เคราะหท่ีหนาแนนท่ีสุดในระบบสรุ ิยะ แตถา วดั เฉพาะความหนาแนนเฉลีย่ ของพืน้ ผวิ โลกแลววดั ได เพียงแค 3,000 กก./ลบ.ม. เทา นนั้ ซ่ึงแกน โลกมีองคประกอบเปนธาตุเหลก็ ถงึ 80% รวมถงึ นิกเกลิ และธาตทุ ่มี ีนํา้ หนกั ทเี่ บากวาอืน่ ๆ เชนตะกว่ั และยูเรเนยี ม เปนตน แกน โลกสามารถแบงออกเปน ชน้ั ๆไดแกอ ะไรบา ง - แกนโลกชั้นนอก (Outer core) มีความหนาจากผิวโลกประมาณ 2,900 - 5,000 กิโลเมตร ประกอบดวยธาตุเหลก็ และนกิ เกิลในสภาพหลอมละลาย และมีความรอนสูง มีอุณหภูมิ ประมาณ 6200 - 6400 มคี วามหนาแนน สัมพทั ธ 12.0 และสว นน้ีมสี ถานะเปนของเหลว - แกนโลกช้ันใน (Inner core) เปนสวนที่อยูใจกลางโลกพอดี มีรัศมีประมาณ 1,000 กิโลเมตร มีอุณหภูมิประมาณ 4,300 - 6,200 และมีความกดดันมหาศาล ทําใหสวนนี้จึงมีสถานะ เปนของแข็ง ประกอบดวยธาตุเหล็กและนิกเกิลท่ีอยูในสภาพเปนของแข็ง มีความหนาแนน สัมพทั ธ 17.0

24 ความหมายของแผน เปลอื กโลกที่มีขนาดใหญแ บง ออกกี่แบบ  แผน แอฟรกิ นั : ครอบคลุมทวปี แอฟริกา เปนแผน ทวีป  แผน แอนตารคตกิ : ครอบคลมุ ทวีปแอนตารค ติก เปนแผนทวีป  แผน ออสเตรเลียน: ครอบคลมุ ออสเตรเลยี (เคยเชอื่ มกบั แผน อินเดียนเม่ือประมาณ 50-55 ลานปก อ น) เปนแผนทวีป  แผนยเู รเซยี น: ครอบคลุมทวีปเอเชยี และยโุ รป เปนแผนทวปี  แผน อเมรกิ าเหนอื : ครอบคลุมทวปี อเมรกิ าเหนอื และทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของไซ บเี รีย เปนแผน ทวปี  แผน อเมรกิ าใต: ครอบคลุมทวปี อเมรกิ าใต เปนแผนทวีป  แผน แปซิฟก: ครอบคลุมมหาสมทุ รแปซิฟก เปนแผน มหาสมุทร นอกจากน้ี ยงั มแี ผนเปลอื กโลกทมี่ ขี นาดเลก็ กวา ไดแก แผนอนิ เดยี น แผนอาระเบียน แผน แคริเบยี น แผน ฮวนเดฟกู า แผนนาซคา แผน ฟลปิ ปนสแ ละแผนสโกเทีย การเคลอ่ื นท่ขี องแผน เปลอื กโลกหมายถงึ การเคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลก มีสาเหตุมาจากการรวมตัวและแตกออกของทวีป เม่อื ผา นชว งเวลาหนึ่ง ๆ รวมถึงการรวมตัวของมหาทวีปในบางครั้ง ซึ่งไดรวมทุกทวีปเขาดวยกัน มหาทวปี โรดิเนีย (Rodinia) นั้นคาดวากอตัวข้ึนเม่ือหน่ึงพันลานปท่ีผานมา และไดครอบคลุมผืน ดนิ สว นใหญบนโลก จากนนั้ จึงเกดิ การแตกตัวไปเปนแปดทวีปเม่ือ 600 ลานปที่แลว ทวีปท้ัง 8 น้ี ตอมาเขา มารวมตวั กันเปนมหาทวปี อีกคร้ัง โดยมีชื่อวาแพนเจีย (Pangaea) และในท่ีสุด แพนเจีย ก็แตกออกไปเปนทวีปลอเรเซีย (Laurasia) ซึ่งกลายมาเปนทวีปอเมริกาเหนือและยูเรเซีย และ ทวปี กอนดวานา (Gondwana) ซง่ึ กลายมาเปนทวปี อน่ื ๆ นอกเหนือจากท่ไี ดก ลาวขา งตน

25 จงบอกความหมายของบรรยากาศ อากาศท่ีหมหุมโลกเราอยูโดยรอบ โดยมีขอบเขตนับจากระดับน้ําทะเลขึ้นไปประมาณ 1,000 กิโลเมตร บริเวณใกลพ น้ื ดินอากาศจะมคี วามหนาแนนมากและจะลดลงเมือ่ อยูสงู ขึ้นไปจาก ระดบั พนื้ ดนิ บรเิ วณใกลพ้ืนดิน โลกมอี ุณหภมู ิ 15 องศาเซลเซียส โดยเฉลี่ย ความหมายของช้นั บรรยากาศของโลกประกอบดวยอะไรบา ง 1. โทรโพสเฟยร เริ่มตั้งแต 0-10 กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศมีไอน้ํา เมฆ หมอก ซ่ึงมคี วามหนาแนน มาก และมกี ารแปรปรวนของอากาศอยตู ลอดเวลา 2. สตราโตสเฟยร เร่ิมตั้งแต 10-35 กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศชั้นน้ีแถบจะไม เปลีย่ นแปลงจากโทรโพสเฟย ร แตม ผี งฝุนเพิม่ มาเล็กนอย 3. เมโสสเฟยร เริ่มตั้งแต 35-80 กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศมีกาซโอโซนอยูมาก ซ่ึงจะชว ยสกัดแสงอลั ตรา ไวโอเรต (UV) จากดวงอาทติ ยไ มใหมาถึงพืน้ โลกมากเกนิ ไป 4. ไอโอโนสเฟยร เรมิ่ ตง้ั แต 80-600 กโิ ลเมตร จากผวิ โลก บรรยากาศมีออกซิเจนจางมาก ไมเ หมาะกบั มนุษย 5. เอกโซสเฟยร เร่ิมต้ังแต 600 กิโลเมตรข้ึนไป จากผิวโลก บรรยากาศมีออกซิเจน จาง มาก ๆ และมกี าซฮเี ลียม และไฮโดรเจนอยูเปนสวนมาก โดยเปนที่ชัน้ ตดิ ตอ กับอวกาศ บรรยากาศมคี วามสําคัญตอ สิ่งมีชวี ติ อยางไรบาง 1. ชวยปรับอุณหภมู ิบนผวิ โลกไมใ หส งู หรอื ตํ่าเกนิ ไป 2. ชวยปอ งกนั อนั ตรายจากรังสีและอนุภาคตางๆที่มาจากภายนอกโลก เชน ชวยดูดกลืน รังสอี ัลตราไวโอเลตไมใ หสองผายมายังผวิ โลกมากเกนิ ไป ชวยทําใหวัตถุจากภายนอกโลกที่ถูกแรง ดึงดดู ของโลกดึงเขามาเกดิ การลกุ ไหมห รอื มีขนาดเล็กลงกอนตกถงึ พืน้ โลก องคประกอบของบรรยากาศประกอบดว ยอะไรบาง

26 บรรยากาศหรืออากาศ จัดเปนของผสมประกอบดวยแกสตาง ๆ เชน กาซไนโตนเจน (N2) กาซออกซิเจน (O2) กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) กาซอารกอน (Ar) ฝุนละออง และแกส อนื่ ๆ เปนตน กา ซทีเ่ กีย่ วกบั ชน้ั บรรยากาศทีส่ าํ คญั คอื กา ซอะไรบาง โอโซน (Ozone) เปนกาซที่สําคัญมากตอมนุษย เพราะชวยดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเลต ท่ีมาจากดวงอาทิตย ไมใหตกสูพ้ืนโลกมากเกินไป ถาไมมีโอโซนก็จะทําใหรังสีอุลตราไวโอเลต เขามาสูพ น้ื โลกมากเกินไป ทาํ ใหผ ิวหนงั ไหมเกรยี ม แตถ าโอโซนมีมากเกินไปก็จะทําใหรังสีอุลตรา ไวโอเลตมาสูพ้นื โลกนอ ยเกนิ ไปทาํ ใหมนุษยขาดวิตามิน D ได ซีเอฟซี (CFC=Chlorofluorocarbon) เปนกาซท่ีประกอบดวย คารบอน ฟลูออรีน คลอรีน ซึง่ ไดน าํ มาใชในอตุ สาหกรรมบางชนดิ เชน พลาสติก โฟม ฯลฯ โดยกาซ CFC นํ้าหนักเบา มาก ดงั น้ัน เมอื่ ปลอยสูบ รรยากาศมากข้ึนจนถึงช้ันสตราโตสเฟยร CFC จะกระทบกับรังสีอุลตรา ไวโอเลตแลวแตกตัวออกทันทีเกิดอะตอมของคลอรีนอิสระที่จะเขาทําปฏิกิริยากับโอโซน ไดส ารประกอบมอนอกไซดของคลอรีน และกาซออกซิเจน จากน้ัน สารประกอบมอนอกไซดจะ รวมตัวกบั อะตอมออกซิเจนอิสระ เพื่อที่จะสรางออกซิเจนและอะตอมของคลอรีน ปฏิกิริยาน้ีจะ เปน ลกู โซตอ เนอ่ื งไมส ิน้ สดุ โดยคลอรีนอิสระ 1 อะตอม จะทําลายโอโซนไปจากช้ันบรรยากาศได ถึง 100,000โมเลกลุ อุณหภูมิคอื อะไร อุณหภูมิ คือ คุณสมบัตทิ างกายภาพของระบบ โดยจะใชเพ่ือแสดงถึงระดับพลังงานความ รอน เปนการแทนความรูสึกทั่วไปของคําวา \"รอน\" และ \"เย็น\" โดยสิ่งที่มีอุณหภูมิสูงกวาจะถูก กลา ววา รอนกวา หนวย SI ของอณุ หภูมิ คือ เคลวิน

27 กระแสนาํ้ กบั อณุ หภมู ิของโลกมอี ะไรบาง 1. กระแสนํ้าในมหาสมุทร คือ การเคลื่อนท่ีของน้ําในมหาสมุทรในลักษณะท่ีเปนกระแส ธาร ทเ่ี คลอ่ื นที่อยา งสมํา่ เสมอ และไหลตอเนื่องไปในทิศทางเดียวกัน มี 2 ชนิด คือ กระแสน้ําอุน และกระแสนาํ้ เย็น 2. กระแสนํ้าอุน เปนกระแสน้ําท่ีมาจากเขตละติจูดต่ํา (บริเวณที่อยูใกลเสนศูนยสูตร ตง้ั แต เสนทรอปกออฟแคนเซอรถ งึ ทรอปกออฟแคบริคอรน) เคล่ือนท่ีไปทางขั้วโลก มีอุณหภูมิสูง กวา นํ้าทอ่ี ยโู ดยรอบไหลผานบริเวณใดกจ็ ะทาํ ใหอากาศบริเวณนั้น มคี วามอบอุนชุม ชืน้ ขึ้น 3. กระแสนํ้าเย็น ไหลผานบริเวณใดก็จะทําใหอากาศแถบน้ันมีความหนาวเย็น แหงแลง เปนกระแสนา้ํ ที่ไหลมาจากเขตละติจูดสงู (บริเวณต้ังแต เสน อารก ตกิ เซอรเ คลิ ถงึ ข้ัวโลกเหนือ และ บริเวณเสนแอนตารกตกิ เซอรเ คิลถงึ ขวั้ โลกใต) เขามายังเขตอบอุน และเขตรอนจึงทําใหกระแสนํ้า เยน็ ลงหรืออณุ หภูมิตาํ่ กวานา้ํ ทอี่ ยูโดยรอบ 4. กระแสนํ้าอุนและกระแสน้ําเย็น จะนําพาอากาศรอนและอากาศหนาวมา ทําใหเกิด ฤดูกาลท่ีเปล่ียนไปตามธรรมชาติ ถาไมมีกระแสนํ้าอากาศก็จะวิปริตผิดเพ้ียนไป รอนและหนาว มากผิดฤดู สงผลใหพ ืชไมออกผล เกดิ พายฝุ นทีร่ ุนแรง และแปรปรวน ความหนาแนน ของอากาศคืออะไร 1. ทรี่ ะดบั ความสงู จากระดบั นา้ํ ทะเลตางกัน อากาศจะมีความหนาแนนตางกัน 2. เม่อื ระดบั ความสูงจากระดับนํา้ ทะเลเพม่ิ ขนึ้ ความหนาแนนของอากาศจะลดลง 3. ความหนาแนน ของอากาศจะเปลีย่ นแปลงตามมวลของอากาศ อากาศทมี่ วลนอ ยจะมี ความหนาแนนนอ ย 4. อากาศท่ีผวิ โลกมีความหนาแนนมากกวา อากาศที่อยูร ะดับความสงู จากผวิ โลกข้นึ ไป เนอ่ื งจากมีชั้นอากาศกดทับผิวโลกหนากวาชัน้ อื่นๆ และแรงดึงดูดของโลกทม่ี ีตอ มวลสารใกลผวิ โลก

28 เคร่อื งมอื วดั ความดนั ของอากาศคอื อะไร - เคร่อื งมือวัดความดันอากาศ เรียกวา บารอมเิ ตอร - เคร่อื งมือวัดความสงู เรียกวา แอลติมิเตอร ความสมั พันธระหวางความดันอากาศกบั ระดบั ความสงู จากระดับนาํ้ ทะเล คือ 1. ท่รี ะดับนา้ํ ทะเล ความดันอากาศปกตมิ คี าเทากบั ความดันอากาศที่สามารถดันปรอทให สูง 76 cm หรือ 760 mm หรือ 30 นว้ิ 2. เมอื่ ระดับความสงู เพ่มิ ข้ึน ความกดของอากาศจะลดลงทุกๆ ระยะความสูง 11 เมตร ระดับปรอทจะลดลง 1 มลิ ลิเมตร 3. อุณหภูมขิ องอากาศ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามความสงู ในบรรยากาศช้ันน้พี บวา โดยเฉลย่ี อุณหภมู ิจะลดลงประมาณ 6.5 ๐C ความชืน้ ของอากาศคอื อะไร ความชน้ื ของอากาศ คอื ปรมิ าณไอนํ้าท่ีปะปนอยูในอากาศ อากาศทีม่ ไี อนํ้าอยใู นปรมิ าณ เต็มท่ี และจะรับไอนาํ้ อกี ไมไ ดอกี แลว เรยี กวา อากาศอม่ิ ตวั จงบอกคา ความชื้นของอากาศ มีอะไรบา ง 1. ความชนื้ สมั บูรณ คอื อตั ราสว นระหวา งมวลของไอนาํ้ ในอากาศกบั ปริมาตรของอากาศขณะนน้ั 2. ความช้ืนสัมพันธ คือ ปริมาณเปรียบเทียบระหวางมวลของไอน้ําที่มีอยูจริงในอากาศ ขณะนั้นกบั มวลของไอน้าํ อิม่ ตวั ทอ่ี ณุ หภูมแิ ละปรมิ าตรเดยี วกนั มีหนวยเปน เปอรเซน็ ต เคร่ืองมอื วัดความชนื้ สัมพัทธ เรยี กวา อะไร ทนี่ ิยมใชม ี อะไรบา ง 1. ไฮกรอมเิ ตอรแบบกระกระเปย กกระเปาะแหง 2. ไฮกรอมิเตอรแบบเสนผม

29 ลม คืออะไร ลม (Wind) คือ มวลของอากาศที่เคล่ือนท่ีไปตามแนวราบ กระแสอากาศที่เคลื่อนที่ใน แนวนอน สวนกระแสอากาศ คอื อากาศที่เคล่ือนที่ในแนวตั้ง การเรียกชอ่ื ลมนนั้ เรยี กตามทิศทางที่ ลมน้ัน ๆ พดั มา เชน ลมที่พดั มาจากทิศเหนือเรียกวา ลมเหนือ และลมที่พัดมาจากทิศใตเรียกวา ลมใต เปนตน ในละกติจูดตํ่าไมสามารถจะคํานวณหาความเร็วลม แตในละติจูดสูงสามารถ คํานวณหาความเร็วลมได การเกดิ ลม มสี าเหตุจากอะไรบาง สาเหตเุ กดิ ลม คอื 1. ความแตกตา งของอณุ หภูมิ 2. ความแตกตางของหยอมความกดอากาศ หยอ มความกดอากาศ (Pressure areas) - หยอ มความกดอากาศสงู หมายถงึ บริเวณทมี่ คี วามกดอากาศสงู กวาบรเิ วณ ขางเคียง ใชอ ักษร H - หยอ มความกดอากาศตา่ํ หมายถงึ บรเิ วณท่ีมีความกดอากาศตํ่ากวา บรเิ วณ ขา งเคยี ง ใชอกั ษร L ลมแบงออกเปนชนดิ ตา ง ๆ ไดแ กอะไรบาง - ลมประจําปห รอื ลมประจาํ ภมู ภิ าค เชน ลมสินคา - ลมประจําฤดู เชน ลมมรสุมฤดูรอน และลมมรสุมฤดหู นาว - ลมประจาํ เวลา เชน ลมบก ลมทะเล - ลมทเ่ี กิดจาการแปรปรวนหรือลมพายุ เชน พายุฝนฟา คะนอง พายหุ มนุ เขตรอน ลมผวิ พน้ื คอื อะไร ลมผิวพ้ืน (Surface Winds) คือ ลมท่ีพัดจากบริเวณผิวพื้นไปยังความสูงประมาณ 1 กิโลเมตรเหนือพ้ืนดิน เปนบริเวณท่ีมีการคลุกเคลาของอากาศ และมีแรงฝดอันเกิดจากการ

30 ปะทะกับสิ่งกีดขวางรวมกระทําดวย ในระดับต่ําแรงความชันความกดอากาศในแนวนอน จะไมสมดุลกับแรงคอริออลิส แรงฝดทําใหความเร็วลมลดลง มีผลใหแรงคอริออลิสลดลงไปดวย ลมผวิ พนื้ จะไมพ ัดขนานกบั ไอโซบาร แตจะพัดขามไอโซบารจากความกดอากาศสูงไปยังความกด อากาศต่าํ และทําใหมุมไอโซบาร ลมกรด คอื อะไร ลมกรด (Jet Stream) คือ กระแสลมแรงอยูในเขตโทรโพพอส (แนวแบงเขตระหวางช้ัน โทรโพสเฟย รก ับช้ันสเตรโตสเฟยร) เปนลมฝายตะวันตกท่ีมีความยาวหลายพันกิโลเมตร มีความ กวางหลายรอยกิโลเมตร แตมีความหนาเพียง 2-3 กิโลเมตร เทานั้น โดยท่ัวไปลมกรด พบอยูใน ระดับความสูงประมาณ 10 และ 15 กิโลเมตร แตอาจจะเกิดข้ึนไดท้ังในระดับที่สูงกวา และใน ระดับทีต่ า่ํ กวานี้ได ตรงแกนกลางของลมเปนบริเวณแคบ แตลมจะพัดแรงท่ีสุด ถัดจากแกนกลาง ออกมาความเร็วลมจะลดนอยลง ลมกรดมีความเร็วลมประมาณ 150-300 กิโลเมตรตอชั่วโมง และทรี่ ะดบั ความสูงใกล 12 กโิ ลเมตร จะมคี วามเร็วลมสูงถงึ 400 กิโลเมตรตอ ชัว่ โมง ในขณะท่ีลม ฝา ยตะวนั ตกอ่นื ๆ มีความเรว็ ลมเพียง 50-100 กิโลเมตรตอ ชว โมง ลมมรสุม คอื อะไร ลมมรสุม (Monsoon) คือ ลมท่ีพดั เปลีย่ นทิศทางกลบั การเปล่ยี นฤดู คอื ฤดรู อนจะพัดใน ทิศทางหนึง่ และจะพดั เปลย่ี นทิศทางในทางตรงกันขามในฤดหู นาว ลมทะเล คืออะไร ลมทะเล (Sea Breeze) เกดิ ข้ึนในเวลากลางวัน อุณหภูมพิ ้นื ดินสงู กวา พ้นื น้ํา เมอ่ื อากาศ เหนอื พ้ืนดินไดร บั ความรอนจะขยายตัวลอยข้ึนสเู บอื้ งบน อากาศเหนือพ้ืนน้ําซึง่ เย็น กวา จะไหล เขาไปแทนท่ี เกิดลมทะเลพัดเขาหาฝง

31 ลมบก คอื อะไร ลมบก (Land Breeze) เกิดในเวลากลางคืน อณุ หภูมิพ้นื ดินต่าํ กวา พื้นนํ้า เนื่องจากพื้นดิน คายความรอ นไดเ ร็วกวาพน้ื นา้ํ อุณหภูมิพื้นนํ้าจะสูงกวาพื้นดินลอยตัวข้ึนสูเบื้องบน อากาศเหนือ พนื้ ดนิ ซ่ึงเย็นกวาจะไหลเขา ไปแทนที่ เกดิ เปน ลมพัดจากฝง ไปสทู ะเล ลมภเู ขา คืออะไร ลมภูเขา (Mountain) คือ ลมท่พี ดั ลงตามลาดของภูเขาในเวลากลางคืน และพัดข้ึนลาด ภเู ขาในเวลากลางวัน เพราะกลางคืน ตามบรเิ วณภเู ขาท่รี ะดับสงู มอี ากาศเยน็ กวา ทต่ี ํ่า ความ หนาแนน ของอากาศในที่สูง จึงมมี ากกวา ในระดับตํา่ ลมจึงพดั ลงมาตามเขา เรยี กวา ลมภเู ขา ลมหบุ เขา คืออะไร ลมหุบเขา (Valley Breeze) คือ ลมที่เกิดในเวลากลางวัน อากาศตามภูเขาและลาดเขารอน เพราะไดรับความรอ นจากดวงอาทิตยเต็มท่ี สวนอากาศที่หุบเขาเบ้ืองลางมีความเย็นกวาจึงไหลเขา แทนท่ี ทาํ ใหม ีลมเยน็ จากหบุ เขาเบอ้ื งลา ง พัดไปตามลาดเขาขึ้นสูเบือ้ งบน เรยี กวา ลมหุบเขา ลมชีนกุ คอื อะไร ลมชีนุก (Chinook) เปนลมท่ีเกิดข้ึนทางดานหลังเขา มีลักษณะเปนลมรอนและแหง ความ แรงลมอยูในขั้นปานกลางถึงแรงจัด การเคลื่อนท่ีของลมเปนผลจากความกดอากาศแตกตางกัน ทางดานตรงขา มของภูเขา ภเู ขาดานท่ีไดรับลมจะมีความกดอากาศมากและและอากาศจะถูกบังคับ ใหลอยสูงข้ึนสูยอดเขา ซึ่งจะขยายตัวและพัดลงสูเบื้องลางดานหลังเขา ขณะท่ีอากาศลอยต่ําลง อุณหภูมจิ ะคอย ๆ เพม่ิ สูงขึ้นตามอัตราการเปลย่ี นอณุ หภูมอิ ะเดยี แบติก จึงเปนลมรอนและแหง ลม รอ นและแหง ทพ่ี ดั ลงไปทางดานหลังเขาทางตะวันออกของเทือกเขาร็อกกี เรียกวา ลมชีนุก

32 ลมซานตาแอนนา คอื อะไร ลมซานตาแอนนา (Santa Anna) เปนลมรอนและแหงพัดจากทางตะวันออก หรือ ตะวันออกเฉียงเหนือ เขาสูภาคใตมลรัฐแคลีฟอรเนีย จะพัดผานบริเวณทะเลทรายและภูเขา จึงกลายเปนลมรอ นและแหง ลมทะเลทราย คอื อะไร ลมทะเลทราย (Desert Winds) เปนลมทอ งถิ่นเกิดขึ้นในบรเิ วณทะเลทราย เวลาเกิดจะมา พรอมกบั พายุฝุน หรือพายุทราย คอื ลมฮาบูบ (Haboob) เวลาเกดิ จะหอบเอาฝุนทรายมาดว ย ลมตะเภาและลมวาว คืออะไร ลมตะเภาและลมวาว คือ ลมทองถ่ินในประเทศไทย โดยลมตะเภาเปนลมที่พัดจากทิศใต ไปยังทิศเหนือ คือ พัดจากอาวไทยเขาสูภาคกลางตอนลาง พัดในชวงเดือนกุมภาพันธเดือน เมษายน ซ่งึ เปน ชว งทล่ี มมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ จะเปล่ียนเปนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต เปน ลมท่ีนาํ ความชื้นมาสูภ าคกลางตอนลา ง ประโยชนของปรากฎการณทางลม ฟา อากาศ มีอะไรบา ง 1. การเกดิ ลมจะชวยใหเ กิดการไหลเวียนของบรรยากาศ 2. การเกิดลมสนิ คา 3. การเกิดเมฆและฝน 4. การเกิดลมประจําเวลา

33 ปรากฎการณธ รรมชาติ คืออะไร ปรากฏการณธรรมชาติ คือ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ทั้งในระยะยาวและระยะสั้น สภาพแวดลอ มของโลกเปล่ียนแปลงไปตามเวลา ทง้ั เปน ระบบและไมเปนระบบ เปน สิ่งทอ่ี ยูร อบตัว เรา มนั สงผลกระทบตอสงิ่ มีชีวิตในธรรมชาติ ปฏิกริ ิยาเรอื นกระจก เกดิ จากอะไร ปฏกิ ริ ยิ าเรอื นกระจก เกดิ จากมลภาวะของแกสทไี่ ดส รางข้ึนในชั้นบรรยากาศของโลกและ ปอ งกนั ไมใ หค วามรอ นนนั้ ระเหยออกไปในอวกาศในตอนกลางคืนท่ีไดคือโลกจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นที่ เรียกวา การเพม่ิ อุณหภมู ขิ องผิวโลก พายหุ มุน เกดิ จากอะไร พายุหมุนเกิดจากศูนยกลางความกดอากาศตํ่า ทําใหบริเวณโดยรอบศูนยกลางความกด อากาศตํ่า ซึ่งก็คือ ความกดอากาศสูงโดยรอบจะพัดเขาหาศูนยกลางความกดอากาศต่ํา ขณะเดียวกันศูนยกลางความกดอากาศต่ําจะลอยตัวสูงข้ึน และเย็นลงดวยอัตราอะเดียเบติก (อุณหภูมิลดลงเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น) ทําใหเกิดเมฆและหยาดน้ําฟา พายุหมุนจะมีความรุนแรง หรอื ไมข น้ึ อยกู ับอัตราการลดลงของความกดอากาศ ถาอัตราการลดลงของความกดอากาศมีมาก จะเกิดพายุรนุ แรง พายุหมนุ แบง ออกเปน กกี่ ลุม อะไรบา ง สามารถแบง ได 3 กลมุ ดงั น้ี 1. พายุหมนุ นอกเขตรอ น ไดแ ก พายุหมนุ ท่ีเกิดขึ้นในเขตละติจูดกลางและเขตละติจูดสูง ซง่ึ ในเขตละติจดู ดังกลา วจะ มีแนวมวลอากาศเย็นจากข้วั โลกหรอื มหาสมทุ รอารกติก เคลื่อนตัวมา พบกบั มวลอากาศอนุ จากเขตกงึ่ โซนรอน

34 2. พายุทอรนาโด (Tornado) เปนพายุที่มีขนาดเล็กแตมีความรุนแรงมากท่ีสุดเกิดจาก การเคล่อื นทเี่ ขาหาศูนยกลาง ความกดอากาศตา่ํ อยา งรวดเรว็ 3. พายหุ มนุ เขตรอน เปนพายหุ มุนทเี่ กิดขน้ึ ในเขตรอนบริเวณเสนศูนยสูตรระหวาง 8-12 องศา จดั เปนพายทุ ่มี ีความรุนแรงมาก เกดิ จากศนู ยก ลางความกดอากาศตาํ่ พายฝุ นฟาคะนอง (Thunderstorm) หมายถงึ อะไร พายุฝนฟา คะนอง หมายถงึ อากาศท่ีมฝี นตกหนกั มฟี าแลบฟารอง เปนฝนท่ีเกิดจากการ พาความรอน มลี มพัดแรง เกดิ อยา งกระทนั หันและยตุ ิลงทันทที ันใด พายฝุ นฟา คะนองเกดิ จากการ ทีอ่ ากาศไดรับความรอนและลอยตัวสงู ข้ึนและมไี อนาํ้ ในปรมิ าณมากพอ ประกอบกบั การลดลงของ อุณหภูมิ จึงเกดิ การกลั่นตัวควบแนน ของไอนาํ้ และเกดิ พายุฝนฟาคะนอง รอ งมรสุม (Monsoon Trough) เกดิ จากอะไร เกิดจากแนวความกดอากาศต่ํา ทําใหเกิดฝนตก ซึ่งเปนลักษณะอากาศของประเทศไทย แนวรองความกดอากาศต่ําจะอยูในแนวทิศตะวันตก และทิศตะวันออก รองมรสุมจะมีการ เปลี่ยนแปลงตําแหนงตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย เชน เม่ือดวงอาทิตยโครจรออมไปทางทิศ รอ งมรสุมทเ่ี คลอ่ื นทีต่ ามไปดว ย การเคลื่อนทขี่ องรอ งมรสุมมผี ลตอการเปลยี่ นแปลงทิศทางการรับ ลม เชน รองมรสมุ ทเ่ี คลอื่ นท่ไี ปทางดานทิศเหนือ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถงึ อะไร ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถ นํามาใชป ระโยชนได เชน ดนิ นํ้า อากาศ ปาไม ทุงหญา แรธาตุ ฯลฯ

35 สง่ิ แวดลอม หมายถงึ อะไร ส่ิงแวดลอ ม หมายถึง สิ่งตาง ๆ ทอ่ี ยูร อบตัวเรา ทั้งสิง่ มชี ีวิต และไมม ีชีวติ รวมทงั้ สิ่งท่ี เกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ และสง่ิ ทีม่ นษุ ยสรา งขนึ้ มา ทรัพยากรธรรมชาติ แบง ตามลักษณะการนาํ มาใชไ ดกป่ี ระเภท ทรัพยากรธรรมชาติ แบงไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ดังนี้ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทใชแลว ไมหมดส้นิ เชน พลังงานจากดวงอาทติ ย ลม อากาศ ฝนุ ดิน นํ้า ฯลฯ 2. ทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทใชแลวหมดสิ้น เชน แรธาตุ กา ซธรรมชาติ ถา นหนิ ฯลฯ สง่ิ แวดลอมแบงไดเ ปน กปี่ ระเภท ส่ิงแวดลอมแบงไดเปน 2 ประเภท คอื 1. สิ่งแวดลอ มทางธรรมชาติ 2. สงิ่ แวดลอ มทางวัฒนธรรม หรือ สงิ่ แวดลอมประดิษฐ หรอื มนษุ ยเสรมิ สรางกําหนดขนึ้ ประโยชนข องทรพั ยากรธรรมชาติมีอะไรบาง ทรัพยากรธรรมชาติมีประโยชนมหาศาลตอมนุษยชาติท้ังทางตรงและทางออม แตละ ชนดิ มีประโยชนแตกตา งกนั ดังน้ี น้ํา มนุษยใชบริโภค อุปโภค ท่ีสําคัญก็คือ น้ําเปนปจจัยสําคัญสําหรับทรัพยากร ธรรมชาตชิ นิดอ่นื ดวย เชน สตั วป า ปาไม ทุงหญา และดนิ ดนิ ทรัพยากรธรรมชาติสว นใหญ มดี ินเปน แหลง อาศยั หรอื บอเกิด มนุษยสามารถสราง ทรพั ยากรธรรมชาตบิ างชนิดทดแทนไดโดยอาศัยดินเปนปจจัยสําคัญ นอกจากมนุษยจะอาศัยอยู บนพื้นดินแลว ยังนําดินมาเปนสวนประกอบสําคัญในการสรางท่ีอยูอาศัย เปนแหลงทํามาหากิน

36 ทําการเกษตร ทําการอุตสาหกรรม เครื่องปนดินเผาตาง ๆ ถาขาดดินหรือดินขาดความอุดม สมบรู ณ ทรัพยากร ท่เี ปนปจจัย 4 ในการดาํ รงชีวิตจะนอยลงหรือหมดไป ปา ไม ประโยชนที่สําคัญของปาไมคือ ใชไมในการสรางที่อยูอาศัย เปนท่ีอาศัยของสัตว ปา เปน แหลงตนนํา้ ลาํ ธาร เปนแหลงหาของปา เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดวัฏจักรของน้ํา ทําให อากาศบริสุทธ์ิ ชวยอนุรักษดิน เปนแหลงนันทนาการ นอกจากน้ีปาไมยังกอใหเกิดการ อุตสาหกรรมอีกหลายชนิด ทําใหประชาชนมีงานทํา เกิดแหลงอาชีพอิสระ และเปนแหลงยา สมุนไพร สัตวปา มนุษยไดอาหารจากสัตวปา สัตวปาหลายชนิดไดหนัง นอ เขา งา กระดูก ฯลฯ มาทาํ ของใช เครือ่ งนงุ หม และประกอบยารกั ษาโรค สตั วปาชว ยใหเกิดความงดงามและคุณคาทาง ธรรมชาติ ชวยรกั ษาดลุ ธรรมชาติ แรธาตุ มนุษยนําแรธ าตุตาง ๆ มาถลงุ เปนโลหะ ทาํ ใหเกิดการอุตสาหกรรมหลายประเภท ทาํ ใหร าษฎรมงี านทํา สงเปน สนิ คา ออกนํารายไดม าสูประเทศปล ะมาก ๆ นอกจากนีย้ ังมผี ลพลอย ไดจ ากการถลงุ หรือกลัน่ อกี หลายชนิด เชน ยารกั ษาโรค นํา้ มันชักเงา เครือ่ งสําอาง แรบางชนิด เกิดประโยชนในการเกษตร เชน แรโ พแทสเซียม ใชท ําปยุ เปน ตน การใชท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มอยางไมร ะมัดระวงั และฟุมเฟอยจะกอ ใหเ กดิ ปญหา อยางไรบาง ทรพั ยากรปา ไม พน้ื ทปี่ าไมม ีสภาพเส่ือมโทรมและมีแนวโนมลดลงอยางมาก เน่ืองมาจาก สาเหตุสําคัญหลายประการ ไดแก การลักลอบตัดไมทําลายปา การเผาปา การบุกรุก ทําลายปา เพือ่ ตอ งการท่ีดินเปนท่ีอยูอาศัย และทําการเกษตร การทําไรเล่ือนลอยของชาวเขาในพื้นที่ตนนํ้า ลําธาร และการใชที่ดินเพ่ือดําเนินโครงการของรัฐบาล เชน การจัดนิคมสรางตนเอง การชลประทาน การไฟฟา พลังน้าํ การกอ สรา งทาง กิจการรักษาความม่ันคงของชาติ เปนตน การ ท่ีพ้ืนที่ปาไมทั่วประเทศลดลงอยางมาก ไดสงผลกระทบตอการควบคุมระบบนิเวศโดยสวนรวม อยางชดั แจง เชน กรณเี กดิ วาตภยั และอทุ กภัยคร้งั รายแรงในพ้ืนที่ภาคใต ปญหาความแหงแลงใน ภาคตางๆ ของประเทศ ทรพั ยากรดนิ ปญหาการพงั ทลายของดนิ และการสูญเสียหนาดิน โดยธรรมชาติ เชน การ ชะลาง การกัดเซาะของนา้ํ และลม เปน ตน และท่ีสําคัญคือ ปญหาจากการกระทําของมนุษย เชน การทําลายปา เผาปา การเพาะปลูกผิดวิธี เปนตน กอ ใหเกดิ การสูญเสียความอุดมสมบูรณของดิน

37 ทาํ ใหใชประโยชนจ ากที่ดินไดล ดนอยลง ความสามารถในการผลิตทางดานเกษตรลดนอยลง และ ยังทําใหเกิดการทับถมของตะกอนดินตามแมน้ํา ลําคลอง เข่ือน อางเก็บนํ้า เปนเหตุใหแหลงนํ้า ตน้ื เขนิ ทรัพยากรที่ดิน ปญหาการใชที่ดินไมเหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน และไมคํานึงถึง ผลกระทบตอ สิ่งแวดลอ ม ไดแ ก การใชท ด่ี นิ เพือ่ การเกษตรกรรมอยางไมถูกหลักวิชาการ ขาดการ บํารุงรักษาดิน การปลอยใหผิวดินปราศจากพืชปกคลุม ทําใหสูญ เสียความชุมช้ืนในดิน การเพาะปลูกที่ ทําใหดินเสีย การใชปุยเคมีและยากําจัดศัตรูพืชเพื่อเรงผลิตผล ทําใหดินเสื่อม คุณภาพและสารพิษตกคางอยูในดิน การบุกรุกเขาไปใชประโยชนท่ีดินในเขตปาไมบนพ้ืนท่ีท่ีมี ความลาดชันสูง รวมท้ังปญหาการขยายตัวของเมืองที่รุกล้ําเขาไปในพ้ืนท่ีเกษตรกรรม และการ นาํ มาใชเ ปน ทอี่ ยอู าศัย ท่ีต้ังโรงงานอุตสาหกรรม หรือการเก็บท่ีดินไวเพื่อการเก็งกําไร โดยมิไดมี การนาํ มาใชประโยชนแ ตอ ยางใด ทรพั ยากรแหลง น้าํ การใชป ระโยชนจากแหลงนํ้าเพื่อกิจกรรมตางๆ ยังมีความขัดแยงกัน ขึ้นอยูก ับวัตถปุ ระสงคของแตละกิจกรรม กอใหเกิดความยุงยากตอการจัดการทรัพยากรนํ้าและ การพัฒนาแหลง นา้ํ ความขัดแยง ดงั กลา วมีแนวโนม วา จะสงู ขึ้น จากปรมิ าณนา้ํ ที่เก็บกักไดมีจํานวน จํากัด แตความตองการใชน้ํามีปริมาณเพ่ิมข้ึนตลอดเวลา ท้ังในดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการอปุ โภคบรโิ ภค เปน ผลใหมนี ํ้าไมเ พยี งพอกบั ความตองการ ปะการัง ปะการังที่สวยงามในเมืองไทยหลายแหงตองเส่ือมโทรมลงอยางนาเสียดาย โดยเฉพาะ ปญหาการถูกทําลายโดยฝมือมนุษย นับเปนปญหาสําคัญของความเสื่อมโทรมของ ปะการงั ไดแ ก การระเบดิ ปลา เปนการทาํ ลายปะการังอยางรุนแรง ซึ่งเทากับเปนการทําลายที่อยู อาศัยของสตั วแ ละพืชในบรเิ วณนัน้ และเปนการทาํ ลายการประมงในอนาคตดว ย การอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มหมายถงึ อะไร การอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม หมายถึง การใชทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอมอยางฉลาด โดยใชใ หน อยเพ่ือใหเ กิดประโยชนสงู สุด โดยคํานงึ ถึงระยะเวลาในการใชให ยาวนาน และกอใหเกิดผลเสียหายตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด รวมทั้งตองมีการกระจายการใช ทรัพยากรธรรมชาติอยางทั่วถึง อยางไรก็ตาม ในสภาพปจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ มมีความเสื่อมโทรมมากข้นึ

38 การอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติละสิง่ แวดลอมมวี ิธีการอนรุ กั ษไดอยางไรบา ง 1. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดยทางตรง ซึ่งปฏิบัติไดในระดับ บุคคล องคก ร และระดบั ประเทศ คือ 1) การใชอยางประหยัด คือ การใชเทาท่ีมีความจําเปน เพ่ือใหมีทรัพยากรไวใชไดนาน และเกิดประโยชนอ ยา งคมุ คามากที่สดุ 2) การนาํ กลับมาใชซ ้าํ อกี สงิ่ ของบางอยางเมื่อมกี ารใชแ ลว ครงั้ หนึง่ สามารถที่จะนํามาใช ซา้ํ ไดอ กี เชน ถุงพลาสตกิ กระดาษ เปนตน หรือสามารถทจี่ ะนํามาใชไดใหมโดยผานกระบวนการ ตาง ๆ เชน การนํากระดาษที่ใชแลวไปผานกระบวนการตาง ๆ เพื่อทําเปนกระดาษแข็ง เปนตน ซึง่ เปนการลดปริมาณการใชทรพั ยากรและการทําลายส่ิงแวดลอมได 3) การบูรณะซอมแซม สิ่งของบางอยางเมื่อใชเปนเวลานานอาจเกิดการชํารุดได เพราะฉะนั้นถามกี ารบรู ณะซอมแซม ทาํ ใหส ามารถยดื อายุการใชงานตอ ไปไดอ ีก 4) การบําบัดและการฟนฟู เปนวิธีการที่จะชวยลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดวย การบําบัดกอน เชน การบําบัดน้ําเสียจากบานเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน กอนท่ีจะ ปลอยลงสแู หลง นา้ํ สาธารณะ สวนการฟน ฟเู ปน การรอื้ ฟน ธรรมชาติใหกลับสูสภาพเดิม เชน การ ปลกู ปา ชายเลน เพอ่ื ฟนฟคู วาม สมดลุ ของปา ชายเลนใหก ลบั มาอดุ มสมบูรณ เปน ตน 5) การใชส งิ่ อน่ื ทดแทน เปนวิธีการทจ่ี ะชวยใหม ีการใชท รพั ยากรธรรมชาตินอยลงและไม ทําลายสิ่งแวดลอม เชน การใชถุงผาแทนถุงพลาสติก การใชใบตองแทนโฟม การใชพลังงาน แสงแดดแทนแรเ ช้ือเพลงิ การใชปุยชีวภาพแทนปยุ เคมี เปน ตน 6) การเฝาระวังดูแลและปองกัน เปนวิธีการที่จะไมใหทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอมถูกทําลาย เชน การเฝาระวังการท้ิงขยะ ส่ิงปฏิกูลลงแมนํ้า ลําคลอง การจัดทําแนว ปอ งกนั ไฟปา เปน ตน 2. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ มโดยทางออม สามารถทําไดหลายวิธี ดงั นี้ 1)การพัฒนาคุณภาพประ ชาชน โดยสนับสนุนการศึกษาดานการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ถูกตองตามหลักวิชา ซึ่งสามารถทําไดทุกระดับอายุ ทั้งใน ระบบโรงเรียนและสถาบันการศึกษาตาง ๆ และนอกระบบโรงเรียนผานสื่อสารมวลชนตาง ๆ

39 เพ่ือใหประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนในการอนุรักษ เกิดความรัก ความหวงแหน และใหความรว มมืออยา งจริงจงั 2) การใชม าตรการทางสงั คมและกฎหมาย การจดั ตง้ั กลมุ ชมุ ชน ชมรม สมาคม เพอ่ื การ อนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตาง ๆ ตลอดจนการใหความรวมมือทั้งทางดานพลัง กาย พลงั ใจ พลงั ความคิด ดวยจิตสํานึกในความมีคุณคาของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรที่มีตอตัว เรา เชน กลุม ชมรมอนรุ ักษท รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ มของนักเรียน นักศึกษา ในโรงเรียน และสถาบนั การศกึ ษาตาง ๆ มูลนธิ คิ ุมครองสตั วป าและพรรณพืชแหงประเทศไทย มูลนิธิสืบนาคะ เสถยี ร มลู นิธโิ ลกสเี ขียว เปน ตน 3) สงเสริมใหประชาชนในทองถิ่นไดมีสวนรวมในการอนุรักษ ชวยกันดูแลรักษาใหคง สภาพเดิม ไมใหเกิดความเส่ือมโทรม เพื่อประโยชนในการดํารงชีวิตในทองถิ่นของตน การ ประสานงานเพื่อสรางความรูความเขาใจ และความตระหนักระหวางหนวยงานของรัฐ องคกร ปกครองสวนทองถ่ินกับประชาชน ใหมีบทบาทหนาที่ในการปกปอง คุมครอง ฟนฟูการใช ทรพั ยากรอยา งคมุ คา และเกิดประ โยชนส งู สุด 4) สงเสริมการศึกษาวิจัย คนหาวิธีการและพัฒนาเทคโนโลยี มาใชในการจัดการกับ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน การใชความรูทางเทคโนโลยี สารสนเทศมาจัดการวางแผนพัฒนา การพัฒนาอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชใหมีการประหยัด พลังงานมากข้ึน การคน ควา วิจัยวธิ ีการจัดการ การปรับปรุง พัฒนาสิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ และยง่ั ยืน เปนตน 5) การกําหนดนโยบายและวางแนวทางของรฐั บาล ในการอนุรักษแ ละพัฒนา ส่งิ แวดลอ มทัง้ ในระยะสันและระยะยาว เพ่ือเปน หลกั การใหห นวยงานและเจาหนา ทีข่ องรฐั ที่ เกยี่ วขอ งยดึ ถือและนาํ ไปปฏิบัติ รวมท้งั การเผยแพรขาวสารดานการอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ มท้ังทางตรงและทางออม

40 บทท่ี 7 สารและการจําแนกสาร สารหมายถงึ อะไร มสี มบตั สิ าํ คญั ๆ อะไรบา ง สารหมายถงึ ส่ิงทมี่ ีตัวตน ประกอบดว ยอนภุ าคขนาดเลก็ จํานวนมาก มีมวล ตองการที่อยู สมั ผัสได สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารน้ัน เชน ลักษณะเน้ือสาร สี กลิ่น รส การนําไฟฟา การละลายนํา้ จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเปนกรด – เบส สารแตละชนิดมีสมบัติ เฉพาะตวั ทแ่ี ตกตางกนั สมบตั ิของสารแบงเปน 2 ลักษณะ คือ 1. สมบัติทางกายภาพ (Physical Properties) เชน ขนาด รูปราง สถานะ ความแข็ง ความออน สี กล่ิน ลักษณะผลึก ความหนาแนน การละลายน้ํา จุดเดือด จุดหลอมเหลว จุดเยือก แขง็ การนําไฟฟา การหาความถว งจําเพาะ 2. สมบัติทางเคมี เปน สมบัติเฉพาะตัวของสารที่เก่ียวของกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เชน ความวองไวในการเกดิ ปฏิกริ ยิ า ความสามารถในการกัดกรอ น จงยกตัวอยา งการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพของสาร การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หมายถึง การเปล่ียนแปลงขนาด รูปราง สถานะ การละลาย โดยไมมสี ารใหมเ กิดขนึ้ นั่นคือสารท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงยังคงมีวมบัติเหมือนสารเดิมกอนการ เปลีย่ นแปลงตัวอยา ง - การใชแ รงกลทบุ กอ นกํามะถนั ใหเปน ผงกาํ มะถัน อดั ผงถานใหเปนกอนถาน การททุบแกว ใหเปนเศษแกว เปนการเปลี่ยนแปลงรูปราง เปลี่ยนแปลงขนาด ถือวาเปนการเปล่ียนแปลงทาง กายภาพ - การหลอมแกวใหเปนแกวเหลว การวางกอนนํ้าแข็งท้ิงไวจนกลายเปนนํ้า การวาง เอทลิ แอลกอฮอลใ หร ะเหยกลายเปนไอของเอทิลแอลกอฮอล เปน การเปลี่ยนแปลงสถานะ ถือวาเปน การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ

41 -การผสมน้ําตาลทรายกับน้ํา เกิดเปนนํ้าเชื่อม เรียกวา การละลาย ถือวาเปนการ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เพราะนาํ้ เชอ่ื มยังแสดงสมบัตผิ สมของน้ํากับน้ําตาลทราย จึงยังไมเปนสาร ใหม อีกท้ังเม่ือระเหยนํ้าออกไป ยังคงเหลือน้ําตาลทราย คือสามารถแยกออกจากกันไดงาย การ ละลายถอื เปนการเปลย่ี นแปลงทางภายภาพ จงยกตวั อยา งการเปลี่ยนแปลงทางเคมขี องสาร การเปลย่ี นแปลงทางเคมี หมายถึง การเปล่ียนแปลงจากสารหน่ึงไปเปนสารใหม โดยที่สาร ใหมน ้มี ีสมบัติเปล่ยี นแปลงไปจากเดิมตวั อยา ง - เผาถาน (ธาตคุ ารบ อน-เปนกอนของแข็ง เปราะ แตกงาย สีดํา) ในอากาศ (มีกาซออกซิเจน – กาซไมม ีสี ไมม ีกลิ่น ชว ยใหไ ฟติด) ผลจากการเผา เกิดกา ซคารบ อนไดออกไซค (เปนกาซที่ไมติดไฟ ผานลงในนํ้าปูนใส ทําใหน้ําปูนใสขุน) คารบอนไดออกไซดท่ีมีสมบัติแตกตางจากคารบอนและกาซ ออกซเิ จน นี้ ถอื วา เปนสารใหม การเปล่ยี นแปลงเชน นี้เปน การเปล่ียนแปลงทางเคมี - การวางโลหะเหล็กไวในอากาศ (มีกาซออกซิเจน) ท่ีชื้น (มีไอน้ํา) เหล็กเปล่ียนไปเปนสนิม สนิมที่เกิดขนึ้ นี้ มีสมบัติแตกตางจากสมบัติของเหล็ก ไอนํ้า และกาซออกซิเจนโดยสิ้นเชิง จึงถือเปน สารใหมท ม่ี ีสมบัตแิ ตกตา งไปจากสารเดมิ การเปล่ียนแปลงเชนน้ีเปน การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปล่ยี นแปลงทางเคมี มีช่อื เรยี กเฉพาะวา ปฏกิ ิรยิ าเคมี (Chemical Reaction) เราสามารถจาํ แนกสารออกเปนกลมุ ๆ ดวยเกณฑใ ดไดบา ง แตละเกณฑ จําแนกสาร ออกเปนกลมุ ๆ ไดอ ยางไร ในการจาํ แนกสารน้ัน เปนกลมุ ๆ นัน้ ตองระบวุ า ใชเ กณฑอ ะไรในการจาํ แนก ตัวอยาง 1) ใชส ถานะเปนเกณฑ จะแบง สารออกไดเ ปน 3 กลมุ คือ 1.1 ของแข็ง (solid) เปนสารที่มีการจัดเรียงอนุภาคในเนื้อของสารชิดกันแนน อนุภาค เคล่ือนท่ีไดนอยมากจนเกือบไมเคลื่อนท่ี หรือถูกตรึง (Fix) จึงมีลักษณะรูปรางไมเปลี่ยนแปลง และมีรูปรางเฉพาะตัว การใชแรงบีบหรืออัดจะมีผลตอการเปล่ียนแปลงรูปรางนอยมากหรือไม สามารถเปล่ยี นแปลงรูปรา งได

42 1.2 ของเหลว (liquid) เปนสารท่ีมีอนุภาคในเน้ือของสารเรียงชิดกัน แตไมเปนระเบียบ เทาของแข็ง อนุภาคยังคงเคล่ือนที่ได หมุนได สั่นได ของเหลวจึงมีสมบัติเปนของไหล จึงมีรูปราง ตามรูปทรงของภาชนะบรรจุ มีปริมาตรเกือบคงท่ี การบีบหรืออัดมีผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาตร นอยมาก 1.3 แกส (gas) เปนสารท่ีอนุภาคอยูหางกัน ไรระเบียบ (disorder) จนถือวามีแรงยึด เหนี่ยวระหวา งกันนอยมาก การท่ีอนุภาคของแกสอยูหางกันมากนี้ทําใหมีการเคลื่อนที่อยางรวดเร็ว ไปไดในทุกทิศทางตลอดเวลา จึงฟุงกระจายเต็มภาชนะ และมีการชนกันของอนุภาคอยูตลอดเวลา แกสจึงมีรูปทรงตามรูปทรงของภาชนะที่บรรจุและบรรจุเต็มภาชนะเสมอ สามารถบีบอัดใหมี ปรมิ าตรเลก็ ลงไดง าย 2) ใชค วามเปน โลหะเปน เกณฑ แบง ไดเปน 3 กลุม คือ 2.1 โลหะ (metal) มสี มบัติสาํ คัญคือ แข็ง เหนียว ตีใหเปนแผนบางหรือดึงยืดใหเปนเสน ไดงาย นําไฟฟาและนํ้าความรอนไดดี ผิวเปนมันวาว ส้ือนแสงไดดี เคาะดังกังวาน สวนใหญเปน ของแข็ง (ยกเวน ปรอทเปนโลหะชนดิ เดียวทเี่ ปนของเหลว ณ อุณหภูมิหอ ง) 2.2 อโลหะ (non-metal) มีสมบัติสําคัญคือ มีสถานะเปนไดทั้งแกส ของเหลว และ ของแข็ง ถาเปนของแข็งจะเปราะ ตีใหเปนแผนบาง ดึงใหเปนเสนไดยาก ไมนําไฟฟา (ยกเวน แกรไฟต ที่ถือวาเปนรูปหนึ่งของธาตุคารบอน สามารถนําไฟฟาได) นําความรอนไดนอย ผิวไมเปน มันวาว เคาะไมด ังกังวาน 2.3 ก่ึงโลหะ (metaliod) เปนสารท่ีมีสมบัติบางประการเหมือนโลหะ เชน นําไฟฟาได สมบัติบางประการเหมือนอโลหะ แข็งแตเปราะ ตัวอยางธาตุก่ึงโลหะ เชน ธาตุโบรอน,ซิลิคอน, เจอรม าเนยี ม 3) ใชการละลายนา้ํ เปนเกณฑ แบง ได 2 กลมุ คือ 3.1 สารทล่ี ะลายนาํ้ เชน เกลือแกง นาํ้ ตาลทราย นํา้ ตาลกลโู คส 3.2 สารทไ่ี มละลายนํ้า เชน ตัวทาํ ละลายอนิ ทรีย นํ้ามนั เชอื้ เพลิงชนดิ ตาง ๆ น้าํ มันเครอ่ื ง น้ํามันพืช 4) ใชเ น้อื สารเปน เกณฑ แบง ออกเปน 2 กลุม คือ 4.1 สารเนอ้ื เดียว (homogeneous substance) หมายถึง สารที่ทุกสวนของเน้ือสารมี สมบตั ิเหมือนกัน กลาว คือ เนื้อสารในทุกสวนมีความสม่ําเสมอ จะสุมเอาสวนใดของเนื้อสารมา ทดสอบสมบัติ จะไดสมบัติเหมือนกันทุกสวน โดยไมจําเปนวาตองเกิดจากสารชนิดเดียว

43 อาจจะเกดิ จากสารหลายชนดิ ละลายปนกนั กไ็ ด แตเ มื่อปนกนั แลวทกุ สวนของเนื้อสารตองมีสมบัติ เหมือนกัน สารเนอ้ื เดยี วทเ่ี กิดจากสารหลายชนิด มารวมเปนเนือ้ เดียวกนั เรยี กวา สารละลาย สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารชนดิ เดยี ว เรยี กวา สารบริสุทธิ์ ซง่ึ แบงยอยไดเปนอีก 2 กลุม ยอย คือ กลุมท่ี 1 เรียกวา ธาตุ และ กลมุ ที่ 2 เรยี กวา สารประกอบ 4.2 สารเนื้อผสม (heterogeneous substance) หมายถึงสารท่ีเนื้อสารในแตละสวน อาจมีสมบัติแตกตางกัน กลาวคือเน้ือสารไมมีความสม่ําเสมอ สุมเอาสวนใดตาง ๆ สวนของเน้ือ สารมาทดสอบสมบตั ิ อาจจะไดสมบตั ไิ มเ หมอื นกัน สารตอ ไปน้ี สารใดเปน สารเนอ้ื เดยี ว สารใดเปน สารเนื้อผสม จงวเิ คราะหใหเหน็ ธรรมชาติ และองคป ระกอบ นํ้าเกลอื นาํ้ อัดลมหรือโซดา นาํ้ พรกิ กะป ทองเหลือง - น้าํ เกลอื เกิดจากการกับเกลือแกง เมื่อผสมกนั ดีแลว เราจะไมเหน็ วาเกลอื อยตู รงไหน แต เกลือจะแทรกลงไปทุกสวนของน้ําเกลื่อเทา ๆ กัน สม่ําเสมอทุก ๆ สวน ไมวาจะสุมสวนไหนของ นํา้ เกลือมาชิม รสชาตจิ ะเคม็ เหมือนกัน เค็มเทากัน จุดเดือดเทากัน สีเหมือนกัน อยางน้ี ถือไดวา นาํ้ เกลือเปนสารเนื้อเดียว - น้ําอัดลม เกิดจากการอัดกาซคารบอนไดออกไซดลงในนํ้าหวาน โซดา เกิดจากการอัด กาซคารบอนไดออกไซดลงในนํ้า จนมองไมเห็นวาคารบอนไดออกไซดลงไปอยูในสวนไหน แตจะ แทรกอยูในทกุ ๆ สวน เสมอกัน ขณะท่ยี ังคงปด ขวด สมบัติของสารทุกสวนจึงเมอื นกัน จึงเปนสาร เนอ้ิ เดียว แตใ นขณะที่เพงิ่ เปดขวดใหม ถา มองเหน็ ฟองกา ซ ขณะนน้ั เปนสารเนื้อผสม หากวางท้ิง ไวจนมองไมเห็นฟองกา ซ จะเปน สารเนื้อเดยี วอกี ครั้ง - นาํ้ พรกิ กะป สวนท่ีเปนของเหลวอาจมสี ตี า งจากสว นทีเ่ ปนพริกตางจากสวนท่ีเปนมะเขือ พวง รสชาติในแตละสว นกแ็ ตกตา งกัน อยางนีถ้ อื วา เปน สารเนื้อผสม -ทองเหลืองเกิดจากการหลอมทองแดงกับสังกะสี ใหล ะลายเปนเน้ือเดยี วกัน โดยทเ่ี นือ้ ของ โลหะทุกสวนมีสมบัติเหมือนกันและเปนสมบัติผสมระหวางสมบัติของทองแดงและสมบัติของ สังกะสจี งึ ถอื วา เปน สารเน้อื เดยี ว

44 จากตัวอยา งขา งตน นํา้ เกลือ นํ้าอดั ลมหรือโซดา และทองเหลือง เปนสารเนื้อเดียวที่เกิดจากสาร หลายชนิดมารวมกันเปน เนอื้ เดยี ว สารทั้งหมดนี้อยูในกลมุ ของ สารละลาย อยา งไรถึงเรยี กวาสารบรสิ ทุ ธ์ิ สารบรสิ ทุ ธิ์ คือสารเน้ือเดยี วที่เกดิ จากสารชนดิ เดียว เชน นาํ้ กลัน่ ผงถาน เกลือแกง ทองคํา เงิน ปรอท นา้ํ ตาลกลโู คส สังกะสี กา ซออกซเิ จน กา ซไฮโดรเจน กาซคารบ อนไดออกไซด กา ซฮเี ลียม

45 บทท่ี 8 ธาตุและสารประกอบ ธาตุและสารประกอบแตกตางกนั อยางไร ธาตแุ ละสารประกอบ ตา งก็เปน สารบรสิ ทุ ธิ์ คอื ประกอบดว ยสารชนดิ เดียว สารบริสุทธ์ิท่ีทุก ๆ อนุภาค ประกอบดวยอะตอมของธาตุเพียงธาตุเดียว เรียกวาธาตุ (element) ตัวอยาง ผงถาน (ประกอบดวยอะตอมของธาตุคารบอน ,C) ทองคํา เงิน ปรอท สงั กะสี กา ซออกซิเจน กา ซไฮโดรเจน กา ซฮีเลียม สารบริสุทธ์ิท่ีมีองคประกอบของธาตุมากกวา 1 ธาตุ โดยที่อัตราสวนโดยจํานวนอะตอม ของธาตุองคประกอบน้ัน ตองมีอัตราสวนคงที่ เสมอ เรียกวา สารประกอบ (compound) เชน เกลอื แกง กาซคารบอนไดออกไซด น้ําตาลกลูโคส น้ําตาลซูโครส(นํ้าตาลทราย) กรดซัลฟวริก อธบิ ายเพิ่มเติมดังน้ี เกลือแกง Sodium chloride NaCl ประกอบดวยธาตุ 2 ธาตุ คือ โซเดียม (Na) และ คลอรนี (Cl) ในอตั ราสว น Na จาํ นวน 1 ตอม : Cl จํานวน 1 อะตอม เสมอ กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ประกอบดวยธาตุ 2 ธาตุ คือ คารบอน (C) และออกซิเจน (O) ในอตั ราสว น C จาํ นวน 1 ตอม : O จาํ นวน 2 อะตอม เสมอ นา้ํ ตาลกลูโคส (C6H12O6) ประกอบดวยธาตุ 3 ธาตุ คือ คารบอน (C) ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O) ในอัตราสว น C จาํ นวน 6 ตอม : H จาํ นวน 12 อะตอม : O จาํ นวน 6 ตอม เสมอ นา้ํ ตาลซูโคส (C12H22O11) ประกอบดวยธาตุ 3 ธาตุ คือ คารบอน (C) ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O) ในอัตราสวน C จํานวน 12 ตอม : H จํานวน 22 อะตอม : O จํานวน 11 ตอม เสมอ กรดซลั ฟว ริก (H2SO4) ประกอบดว ยธาตุ 3 ธาตุ คือ ไฮโดรเจน (H) กํามะถันหรือซัลเฟอร (S) และออกซิเจน (O) ในอัตราสวน H จํานวน 2 ตอม : S จํานวน 1 อะตอม : O จํานวน 4 ตอม เสมอ