คำนำ หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมผู้เรียนมีทักษะการกำกับตนเอง เล่มนี้เป็น แนวทางหนึ่งในการจัดการเรียนรู้สำหรับครู กศน. ที่สามารถนำไปพัฒนาการจัดการเรียนรู้และนำไปทำ ขอ้ ตกลงในการพัฒนา (Performance Agreement) สำหรับครูผูส้ อนได้ วัตถปุ ระสงค์ของคู่มือที่สำคัญ คือ เพือ่ ให้ครูผ้สู อนมีความรคู้ วามเขา้ ใจและสามารถนำความรู้ไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ที่สอดคลอ้ งกับหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งพัฒนา ให้ผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่ง เป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการ เนื้อหาประกอบด้วย ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 เอกสารและ งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการเรียนรดู้ ้วยตนเอง และสว่ นที่ 3 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทส่ี ง่ เสรมิ ให้ผู้เรียน กำกับตนเองในการเรียนรู้ ส่วนที่ 4 เครื่องมือในการจัดการเรยี นรู้ ผู้จัดทำในฐานะศึกษานิเทศก์ สำนักงาน ส่งเสรมิ การเรียนรู้จังหวดั รอ้ ยเอด็ มีบทบาทหน้าท่ีสำคญั ในการนเิ ทศการศึกษาเพื่อสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ แบบกำกับตนเองของครู กศน.เพื่อให้ครูผู้สอนทำหน้าที่ตามมาตรฐานตำแหน่งครู ว3/2564 ลงวันที่ 26 มกราคม 2564 และตัวชี้วัดการประเมินครูผู้สอนตามหลักเกณฑ์ ว9/2564 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 เพื่อประโยชนใ์ นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาในพื้นทบี่ รกิ ารจังหวดั ร้อยเอ็ด ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือแนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมผู้เรียนให้มีทักษะการกำกับ ตนเองในการเรียนรู้ นี้จะมีส่วนสำคัญในการพัฒนาแนวทางส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะสำคัญ คือ มุ่ง พฒั นา ให้ผูเ้ รยี น มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มสี ตปิ ญั ญา มคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและ การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง ซึง่ เปน็ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ท่ีตอ้ งการ ผจู้ ดั ทำคาดหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าเอกสาร ประกอบการอบรมฉบับนี้จะเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อครู กศน.ผู้ที่เข้ารับการอบรมและผู้ที่สนใจศึกษา ดว้ ยตนเอง และนำความร้ไู ปปรบั ใช้ใหเ้ หมาะกับบรบิ ทตอ่ ไป จึงขอขอบคณุ มา ณ ทนี่ ด้ี ว้ ย
1 สว่ นที่ 1 บทนำ 1. ความเปน็ มาและความสำคัญ สภาพสังคมในปัจจุบันเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ความรู้และนวัตกรรมเป็นปัจจัยสำคัญใน การพัฒนา ประเทศ การพัฒนาคนจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมและสร้างสภาพการณ์เพื่อการ เรียนรู้อย่าง ต่อเน่ือง เพอ่ื พัฒนาคุณภาพ และขีดความสามารถของคนใหม้ ีประสิทธภิ าพ จึงจำเป็นท่ีจะต้อง เตรียมคนให้มี ประสิทธิภาพให้สามารถเตรียมพร้อมรับต่อความเปลี่ยนแปลงในอนาคต การพัฒนาการ เรียนรู้ของคนทุกกลุ่ม ทุกวัยตลอดชีวิต เริ่มตั้งแต่วัยเด็กให้มีความรู้พื้นฐานเข้มแข็ง มีทักษะชีวิต พัฒนา สมรรถะ ทักษะของกำลังแรงงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการ พร้อมก้าวสู่โลกของการทำงานและการ แข่งขันอย่างมีคุณภาพ สร้างและพัฒนากำลังคนที่เป็นเลิศโดยเฉพาะในการสร้างสรรค์นวัตกรรมและองค์ ความรู้ สง่ เสรมิ ให้คนไทยเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต การศกึ ษาจึงมคี วามสำคัญในการพัฒนาคน เพราะการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนา ฉะนั้นในการจัดการศึกษาควรมุ่งเน้นการพัฒนาคนให้มี ประสิทธิภาพ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 ระบุว่า ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกให้คนไทยรู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่าการศึกษาได้ให้ความสำคัญใน การเรียนรู้ด้วยตนเอง มาโดยตลอด และเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมา พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566 ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 60 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป และให้ยกเลิก พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 โดยยกระดับจาก สำนักงาน กศน. เป็น “กรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้” ด้วยเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนีค้ ือ โดย ที่มาตรา 54 วรรคสาม ประกอบกับมาตรา 258 จ. ด้านการศึกษา (4) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย บัญญัติให้รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมท้ัง ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตและจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ภาคเอกชนในการจัดการศึกษา โดยสร้างโอกาสใหผ้ ู้ซ่ึงอยใู่ นวัยเรยี นแต่ไม่ได้รับการศึกษาในโรงเรียน หรือผู้ ซึ่งพ้นวัยที่จะศึกษาในโรงเรียนหรืออยู่ในพื้นที่ ที่ห่างไกลหรือทุรกันดาร มีโอกาสเรียนรู้และเข้าถึงแหล่ง การเรยี นรไู้ ด้อย่างทั่วถงึ และพัฒนาศกั ยภาพ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ ได้ตามความถนดั สมควรปรบั ปรงุ
2 การจดั การเรยี นรู้และปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยจัดการเรียนรู้เพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของการเรียนรู้ตลอด ชีวิต จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ การยกระดับจากสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) ให้เป็น “กรมส่งเสริมการเรียนรู้” น้ัน มีหน้าที่จัดส่งเสริมและ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ 3 รปู แบบคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต การเรียนรูเ้ พ่อื การพัฒนาตนเองและการเรียนรู้เพ่ือ คณุ วุฒติ ามระดบั การส่งเสริมการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัตินี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลให้มีความสมบูรณ์ทงั้ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นคนดี มีวินัย รู้จักสิทธิควบคู่กับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ภูมิใจและตระหนักในความสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รู้จักความพอเพียง มเี หตุผล มภี มู ิคุ้มกันในตัวที่ดี ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั มคี ณุ ธรรม และมีความซื่อสัตย์ สุจรติ รวมท้ังมสี ำนกึ ในความรบั ผิดชอบท้งั ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มีความเป็น พลเมืองที่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไทย และสังคมโลกได้อย่างผาสุก กับเพื่อให้บุคคลมีทักษะการ เรียนรู้ ทักษะอาชพี และ ทักษะชวี ติ ท่ีสอดคล้องและเท่าทันพฒั นาการของโลก และมีโอกาสพัฒนาหรือ เพิ่มพูนทักษะของตนให้สูงขึ้นหรือปรับเปลี่ยนทักษะของตนตามความถนัดหรือความจำเป็น และส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของ บุคลากรซึ่งทำหน้าที่ส่งเสริมการ เรียนรู้ เพื่อให้สามารถส่งเสรมิ การเรียนรู้และแนะแนวการเรยี นรู้ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตลอดจนสามารถ สร้างนวตั กรรมทางการศกึ ษาได้ สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดร้อยเอ็ด ส่งเสริมให้บุคลากรซึ่งทำหน้าที่ส่งเสริมการเรียนรู้ได้ เรียนรดู้ ้วยตนเองเป็นสิ่งสำคัญท่เี ป็นแรงผลักดันให้ผู้เรยี นเกิดความสนใจ เกี่ยวกบั การเปน็ ตัวของตัวเองและ นำตนเอง ในการเรียนรู้ การเรียนรู้ด้วยตนเองทำให้ผู้เรียนเรียนได้ดีกว่าผู้ที่เป็นเพียงผู้รับหรือรอให้ครู ถ่ายทอดเท่านนั้ ผู้ทเี่ รยี นรดู้ ้วยตนเองจะเรยี นอย่างตั้งใจมี จุดมุ่งหมายในการเรยี นรู้ มีแรงจงู ใจในการเรียนรู้ และสามารถใช้ประโยชน์จากการเรียนรู้ไดด้ ีกวา่ และทำให้บคุ คล ท่ีดำเนินการเรยี นไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ งและเกิด ความอยากรู้อย่างไม่สิ้นสุด การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นวิธีการเรียนที่เหมาะสมกับทุกคนในสังคมปัจจุบันที่มี การเปล่ยี นแปลงอย่าง รวดเร็ว ผทู้ มี่ กี ารเรยี นร้ดู ้วยตนเองเปน็ ผู้ทร่ี กั ในการเรยี นรู้ สามารถ
3 พัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเอง แสวงหาความรู้อยู่เสมอเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เมือ่ ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองแลว้ จะมีใจรกั ทจี่ ะศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งต่อเน่ืองและยงั เปน็ แรงกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดความอยากรู้ไม่สิ้นสุด ซึ่งจะทำให้เป็นผู้เรียน รู้ตลอดชีวิต ในกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของ ผเู้ รยี น และผ้สู อนจะได้ส่งเสริม พัฒนา ปรบั ปรุงผ้เู รียน มคี ุณลักษณะการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองทดี่ ี ถกู ต้อง และ เหมาะสมกับตนเอง จากความจำเป็นในการพฒั นาครูผสู้ อนของสำนักงานสง่ เสริมการเรยี นรู้จังหวัดร้อยเอ็ด เพอื่ ส่งเสริมกระบวนการเรียนร้ทู ี่สอดคล้องกับสภาพบริบทในการเรียนรู้ของผู้เรียน ผจู้ ัดทำจึงจัดทำเอกสาร การอบรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ Self – Directed Learning สำหรับครู สกร.ร้อยเอ็ด เพื่อผู้สอนจะ ได้มีเครื่องมือค้นหาคุณลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ในการส่งเสริม พัฒนา และปรับปรุงการ เรียนร้ดู ว้ ยตนเองของู้เรยี นและผเู้ รยี นจะไดท้ ราบแนวทางกระบวนการเรียนร้ทู ี่ถูกต้อง 2. วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้ครูผสู้ อน ศรช. (พนักงานจ้างเหมา) ครู กศน.ตำบล (พนกั งานราชการ) ครูผชู้ ่วย (ข้าราชการ) มีความรู้ความเข้าใจในการจดั การเรียนร้ตู ามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ัน พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เพอื่ ให้ ผู้เรยี นกำกับการเรยี นรู้และมกี ารเรียนรู้แบบนำตนเอง 3. ขอบขา่ ย 3.1 ความรคู้ วามเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 3.2 การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ตามปรชั ญาพืน้ ฐานของการศกึ ษานอกโรงเรยี น “คิดเปน็ ” โดยใช้ ข้อมูลตนเอง วิชาการ และสภาพแวดล้อมในชมุ ชน สงั คม มีวเิ คราะห์ตัดสนิ ใจ ในเรื่องท่ีต้องการเรยี นรู้ แล้ว นำไปประยุกต์ใช้ โดยมีข้นั ตอนในการดำเนนิ งาน 4 ขัน้ ตอน คือ กำหนดปัญหาและความตอ้ งการในการ เรียนรู้ แสวงหาข้อมูลและจดั การเรยี นรู้ ปฏบิ ตั ิ และประเมินผลการเรยี นรู้ สรุปองคค์ วามรใู้ หม่พร้อม เผยแพร่
4 3.3 การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบนำตนเอง : วินิจฉัยความต้องการการเรียนรู้ของ ตนเอง, สร้างความตระหนักและแรงจูงใจ,กำหนดเป้าหมายและวางแผน,ทำสัญญาการเรียนและปฏิบัตติ าม แผน,ถ่ายทอดความรู้และสะทอ้ นคิด,ประเมินผลการเรยี นรใู้ หข้ ้อมูลป้อนกลบั 4. กรอบความคิด กรอบความคดิ ในการจดั การเรยี นรูท้ ่ีเนน้ ให้ผเู้ รียนกำกับการเรยี นรแู้ ละมกี ารเรียนรแู้ บบนำตนเอง ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ได้กำหนดไวด้ ังนี้ การจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ การเรยี นรู้แบบนำตนเอง : วินิจฉัยความต้องการการเรยี นรู้ของตนเอง, สร้างความ ตระหนกั และแรงจูงใจ,กำหนดเปา้ หมายและวางแผน,ทำ พฤติกรรมการกำกับการเรียนรูแ้ ละมี สัญญาการเรยี นและปฏิบตั ิตามแผน,ถา่ ยทอดความรูแ้ ละ การเรยี นรแู้ บบนำตนเองของนักเรียน 5. ประสโะยทชอ้ นนท์คิดีค่ ,าปดระวเา่มจินะผไลดก้ราบัรเรียนรใู้ ห้ขอ้ มูลป้อนกลับ 5.1 ครู (ศสราชยหคยรูุดกศภนูป.ยุ ตแำลบะลคแณละะ,ค2ร5ผู 5สู้ 9อ)น สังกัดสำนกั งานสง่ เสริมการเรียนรู้จังหวัดรอ้ ยเอด็ มี ความรู้ความเข้าใจในการพฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรู้ทส่ี ่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นกำกบั การเรยี นรู้และมกี าร เรยี นรู้แบบนำตนเองของนกั เรยี น 5.2 สำนกั งานสง่ เสริมการเรียนรู้จังหวัดรอ้ ยเอด็ มนี วตั กรรมการจดั การเรียนรูท้ สี่ ่งเสรมิ ให้ผู้เรยี น กำกบั การเรียนร้แู ละมีการเรยี นร้แู บบนำตนเองของนักเรยี น 5.3 ครูศรช ครู กศน.ตำบล และครูผสู้ อน สงั กดั สำนักงานส่งเสรมิ การเรียนรู้จงั หวัดร้อยเอด็ มี นวัตกรรมการจดั กระบวนการเรียนร้ทู ท่ี นั สมัยและสอดคล้องกับศตวรรษท่ี 21
5 6. นยิ ามศัพท์ 6.1 ครผู สู้ อน หมายถึง 1 ครู ศรช ครู กศน.ตำบล และครผู ู้สอน สังกดั สำนกั งานส่งเสรมิ การเรียนรู้ จังหวัดรอ้ ยเอด็ ท่เี ข้ารับการอบรมพฒั นาตนเองในการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีสอดคล้องกบั ศตรวรรษท่ี 21 6.2 การนเิ ทศการศึกษา หมายถึง การให้คำปรกึ ษา ชแ้ี นะแกค่ รู ศรช ครู กศน.ตำบล และครูผ้สู อน สังกัดสำนกั งานสง่ เสริมการเรียนรู้จังหวดั ในการจดั การเรียนร้ทู ี่สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นกำกบั การเรียนรแู้ ละมีการ เรยี นรแู้ บบนำตนเองของนกั เรยี น ท่ดี ำเนนิ การโดยศึกษานิเทศก์ สำนักงานสง่ เสริมการเรยี นรู้จงั หวดั ร้อยเอ็ด 6.3 การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนกำกับการเรียนรู้และมีการเรียนรู้แบบนำตนเองของ นักเรียน หมายถึง วธิ กี ารดำเนินการตามขน้ั ตอนที่มีการพัฒนาข้ึนโดย สายหยุด ภูปยุ และคณะ (2559) ท่ีได้ พัฒนาเพื่อเป็นกระบวนการส่งเสริมที่แสดงออกในการแสดงออกโดยริเริ่มเรียนรู้ในเร่ื องที่ตนเองสนใจ 6 ขั้นตอน ได้แก่ วินิจฉัยความต้องการการเรียนรู้ของตนเอง, สร้างความตระหนักและแรงจูงใจ,กำหนด เป้าหมายและวางแผน,ทำสัญญาการเรียนและปฏิบัติตามแผน,ถ่ายทอดความรู้และสะท้อนคิด และ ประเมนิ ผลการเรียนรใู้ ห้ข้อมลู ป้อนกลบั 6.4 การกำกบั การเรียนรู้และมีการเรียนรแู้ บบนำตนเอง หมายถึง พฤตกิ รรมของผู้เรยี นท่แี สดง พฤติกรรมในการเรยี นรู้ท่ีเปน็ กระบวนการ ที่ผเู้ รยี นวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการในการเรียนรู้ของตนเอง ตง้ั เป้าหมายในการเรียน แสวงหาผ้สู นบั สนุน แหลง่ ความรู้ สอ่ื การศึกษาทใี่ ชใ้ นการเรยี นรู้ และประเมินผล การเรียนรู้ของตนเอง ทง้ั น้ีผเู้ รียนอาจได้รับความชว่ ยเหลือจากผู้อ่ืน หรืออาจจะไม่ได้รบั ความช่วยเหลอื จาก ผูอ้ ่นื ก็ได้
6 สว่ นท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วข้องกบั การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้กำหนดให้สถานศึกษาสามารถ ออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ได้หลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้แบบพบกลุ่ม การ เรียนรู้แบบทางไกล การเรียนรู้แบบชั้นเรียน การเรียนรู้ตามอัธยาศัย การเรียนรู้จากการทำโครงงาน และยังกำหนดให้สถานศกึ ษาสามารถจัดการศกึ ษาในรปู แบบ อ่นื ๆ ได้ ตามความต้องการของผเู้ รยี น วธิ ีการ จดั การเรียนรู้ดงั กลา่ วข้างตน้ สถานศกึ ษาและผ้เู รียนร่วมกันกำหนดวธิ เี รียนโดยเลอื กเรยี น วิธีใดวิธีหนง่ึ หรอื หลายวิธีก็ได้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเนื้อหา และสอดคล้องกับวิถี ชีวิต และการทำงาน ของผู้เรียน โดย ขณะเดียวกันสถานศึกษาสามารถจัดให้มีการสอนเสริมได้ทุกวิธีเรียน เพื่อเติมเต็มความรู้ให้ บรรลุ มาตรฐานการเรียนรู้ ดังนั้น การจัดการเรียนรู้ท่ีที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองนั้น มีความสำคัญและ จำเปน็ ซึง่ มีนักการศกึ ษาไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง ดังนี้ 1. แนวคดิ ท่เี ก่ียวข้องกับการกำกับตนเอง (Self-regulation) - มโนทัศนข์ องการกำกบั ตนเอง (Self-regulation) 2. แนวคดิ พ้ืนฐานของทฤษฎกี ารเรยี นรู้ปญั ญาสังคม (Social Cognitive Theory) - กระบวนการในการกำกบั ตนเอง - องคป์ ระกอบของการกำกบั ตนเอง 3. แนวคิดเกีย่ วกบั การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self – regulated learning or Self-directed learning) - มโนทัศนข์ องการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง (Self – regulated learning or Self-directed learning) - ความสำคัญของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง - ความเข้าใจเกีย่ วกับการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง - หลักการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
7 - หลกั การ 14 ประการของทฤษฎีการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง - องคป์ ระกอบของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง - องค์ประกอบของการจูงใจ - คุณลกั ษณะของการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง - รูปแบบกลยุทธก์ ารเรยี นร้ดู ้วยตนเอง - กลยทุ ธก์ ารเรียนรู้ด้วยตนเอง - การพัฒนากลยุทธก์ ารเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง - รูปแบบเชงิ วฏั จกั รของการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง - รูปแบบการเรยี นรู้เชิงกลยุทธ์ 4. การจดั การเรยี นการสอนที่สง่ เสริมการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง (Instruction promoting self- directed Learning) - มโนทศั นข์ องการจัดการเรยี นการสอนทีส่ ่งเสริมการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (Instruction promoting self-directed Learning) - หลักการท่วั ไปของการจดั การเรียนการสอนเพ่ือสง่ เสริมใหเ้ กดิ การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง - เคา้ โครงองคป์ ระกอบของกระบวนการเรียนการสอน - กระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง - แนวทางการสอนการกำกบั ตนเอง - การส่งเสริมให้ผูเ้ รียนเป็นผู้เรยี นร้ดู ้วยตนเอง - บทบาทของผู้เรยี นในการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง - บทบาทของครทู ่ีสง่ เสริมการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง - การประยุกต์ใช้การกำกับตนเองในห้องเรียน
8 5.งานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง 1. แนวคดิ ทเี่ กี่ยวข้องกบั การกำกบั ตนเอง (Self-regulation) การเรยี นร้ดู ้วยตนเองเกยี่ วขอ้ งโดยตรงกบั การกำกับตนเอง (Self-regulation) เพราะวา่ การ เรียนรู้ดว้ ยตนเองนั้น ผู้เรียนต้องดำเนินกิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่ เมื่อผู้เรียนไม่สามารถกำกับ หรอื บังคับตนเองไดแ้ ลว้ การเรียนร้ดู ว้ ยตนเองก็ไมส่ ามารถดำเนนิ ไปได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มโนทศั น์ของการกำกบั ตนเอง (Self-regulation) Baumeister and others (1997 : Sayette quoted in Baumeister and vohs, กล่าวว่า การกำกบั ตนเอง หมายถึง ความพยายามใดๆ ของบคุ คลเพ่ือเปล่ยี นแปลงการตอบสนองของตนเอง Baumeister and Vohs (2005: 2) กล่าวว่า การกำกับตนเอง หมายถึง การปฏิบัติการควบคุม ตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำตนเองไปสู่มาตรฐานที่พึงปรารถนา หรือหมายถึง ความพยายามใดๆ ของ บุคคลในการเปลีย่ นแปลงสภาพภายใน หรือการตอบสนอง Fitzsimons and Bargh (quoted and Baumeister and Vohs,2004 :151) กล่าวว่า การกำกับ ตนเอง เปน็ ความสามารถในการควบคุมและกำหนดพฤติกรรมของตนเองอย่างมีสติและดว้ ยความตั้งใจ McCabe, Cunnington and Brooks-Gunn (quoted in Baumeister and Vohs, 2004 : 342) กล่าวว่า การกำกับตนเอง หมายถึง สมรรถภาพที่หลากหลายซึ่งเกี่ยวข้องกับการกำกับอารมณ์และ พฤตกิ รรมของตนเอง เช่น การรอคอยสงิ่ ที่ก่อใหเ้ กดิ ความอ่มิ ใจ หรอื ความสามารถในการควบคมุ แรงกระตุ้น เพื่อรอคอยรางวัลในอนาคต ความสามารถในการยับยัง้ การตอบสนองแบบอัตโนมัติต่อพฤติกรรมที่มีคุณคา่ ต่ำ เนื่องจากสมรรถภาพนี้สะท้อนถึงความสามารถในการคิดก่อนการกระทำจึงเรียกว่า การควบคุมทาง ปญั ญา (Cognitive control) จากที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า การกำกับตนเอง (Self-regulation) เป็นความสามารถหรือ สมรรถภาพของบุคคลในการปฏิบัติการควบคุมตนเองอย่างมีสติและด้วยความตั้งใจ เพื่อเปลี่ยนแปลงการ ตอบสนองไปสู่มาตรฐานที่พึงปรารถนา หรือการรอคอยสิ่งที่ก่อให้เกิดความอิ่มใจรอคอยรางวัลในอนาคต หรือการยับยั้งการตอบสนองแบบอัตโนมัติต่อพฤติกรรมที่มีคุณค่า โดยการกำกับตนเองนั้นเป็นการควบคมุ ทางปัญญาเพราะเปน็ ความสามารถในการคิดก่อนการกระทำ
9 2. แนวคิดพ้นื ฐานของทฤษฎกี ารเรียนรู้ปญั ญาสังคม (Social Cognitive Theory) ทฤษฎีการเรยี นรู้ปัญญาสังคม (Social Cognitive Theory) เปน็ ทฤษฎีหน่ึงทเ่ี ปน็ พืน้ ฐานของ การเรียนรู้ด้วยตนเอง โดย Bandura เชื่อว่าการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนเป็นผลเน่ืองมาจากเหตุและ ผลที่เอื้อต่อกันระหวา่ ง 3 องค์ประกอบ ตามคำอธิบายของ Bandura (1986 : 336 อ้างถึงในปณิตา นิรมล. 2546 : 12) ความแตกต่างเกิดจากการกำหนดทางปัจจัยส่วนบุคคล (Person) สภาพแวดล้อม (Environment) และพฤติกรรม (Behavior) ของการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ด้วยตนเองได้กำหนด เพียงองคป์ ระกอบส่วนบุคคลเท่านน้ั แต่มีอิทธิพลมาจากสงิ่ แวดล้อมและพฤติกรรมในลักษณะเป็นเหตุผลซ่ึง กันและกนั Bandura(1986 อ้างถึงใน ปณติ า นิรมล,2546 : 13) ให้ข้อควรระวงั วา่ ทั้ง 3 องค์ประกอบ ทำหน้าที่กำหนดซึ่งกนั และกันก็ไม่ได้หมายความว่า องค์ประกอบทั้ง 3 นั้นจะมีอิทธิพลในการกำหนดซ่ึงกัน และกันอย่างเท่าเทียมกัน อิทธิพลทางสภาพแวดล้อมอาจจะมีอิทธิพลมากกว่าองค์ประกอบทางพฤติกรรม หรือองค์ประกอบพฤติกรรม หรือองค์ประกอบส่วนบุคคลในทางบริบท เช่น ในโรงเรียนที่มีโครงสร้างทาง หลักสูตรมาก หรือมีข้อจำกัดในการปฏิบัติในห้องเรียน การเรียนรู้ด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ เช่น การ วางแผนหรือการให้รางวัลแก่ตนเองของนักเรียน อาจจะไม่มีความคล่องตัวในการกำกับตนเอง ในทาง กลับกันในโรงเรียนที่มีกฎเกณฑ์บังคับน้อย องค์ประกอบ ทางด้านส่วนบุคคลหรือพฤติกรรม อาจจะมี อิทธิพลต่อการกำกับตนเองมากกว่า การเรียนรู้ด้วยตนเองจะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนสามารถใช้กระบวนการ ส่วนบคุ คลในการทีจ่ ะกำกับพฤติกรรม และสภาพแวดลอ้ มในการเรียนรู้ องคป์ ระกอบของการกำกบั ตนเอง Zimmerman (1989 : 330 อ้างถึงใน ปณิตา นิรมล,2546 :14) กล่าวว่ามีกลวิธีทั่วไปประเภทที่มี อิทธิพลต่อกรบวนการส่วนบุคคล ซึ่งเป็นกลวิธีที่สร้างขึ้นเพื่อควบคุมพฤติกรรมสภาพแวดล้อม หรือ กระบวนการภายใน ดังภาพท่ี 1 1. การกำกับตนเองดา้ นพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ในอดีตของนกั เรยี นโดยใช้กลวธิ ใี นการประเมินตนเอง (เช่น การตรวจการบ้านคณิตศาสตร์) จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับความถูกต้องและการตรวจจะต่อเนื่องกันไปจน ไดร้ ับข้อมลู ป้อนกลบั จากการกระทำ ในการอธิบายการกำหนดซ่ึงกันและกัน ความเป็นเหตุเป็นผลก็คือ การ ริเริ่มส่วนบุคคลโดยการสนับสนุนการใช้กลวิธี และกำกับตนเองเพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งความรู้และทักษะในรูป วงจรการใหข้ อ้ มูลป้อนกลับ 2. การกำกับตนเองด้านสภาพแวดล้อม นักเรียนจะใช้กลวธิ ีการจดั กระทำกับสง่ิ แวดล้อม (เช่น จดั
10 สถานทเ่ี รยี นให้เงยี บเพื่อทำการบ้านให้เสรจ็ อาจจะเก่ยี วข้องกบั องคป์ ระกอบด้านพฤติกรรม เช่น การทำให้ ไม่มีเสียงอีกทีก จัดแสงไฟให้เหมาะสม และจัดสถานที่เรยี น) การที่จะใช้โครงสร้างทางสภาพแวดลอ้ มอย่าง ต่อเนื่องอาจจะขึ้นอยู่กับการรับรู้ประสิทธิภาพภายใน การช่วยการเรียนรู้ ซึ่งอาจนำไปสู่การกำหนดซึ่งกัน และกัน โดยวงจรข้อมูลป้อนกลับทางสภาพแวดล้อมแม้ว่ากลวิธีในการเรียนรู้สามารถที่จะเริ่มจาก สภาพแวดล้อม (เช่น การสอน) ตามหลักการนี้นักเรียนจะไม่กำกับตนเองนอกจากพวกเขาจะอยู่ภายใต้ กระบวนการสว่ นบุคคล (เชน่ การตง้ั เปา้ หมายการรบั รู้ความสามารถของตนเอง) 3. การกำกบั ตนเองภายใน กระบวนการภายในสว่ นบคุ คลมีผลกระทบซ่ึงกันและกันเชน่ เดียวกนั กบั นักทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญาสังคม มีความสนใจเป็นพิเศษต่อผลกระทบของกระบวนการอภิปัญญา (Metacognition) ท่ีมตี อ่ กระบวนการส่วนบุคคลอ่นื ๆ เช่น ความรพู้ ้ืนฐานหรือลกั ษณะความรูส้ กึ นกึ คดิ องคป์ ระกอบ สว่ นบุคคล พฤติกรรม การกำกับตนเองทาง สภาพแวดลอ้ ม การกำกับตนเองภายใน พฤตกิ รรม การกำกบั ตนเองทางสภาพแวดล้อม กลวิธที ใี่ ช้ การใชข้ ้อมูลปอ้ นกลับจากการกระทำ ภาพท่ี 1 การวเิ คราะห์หน้าทอี่ งค์ประกอบ 3 ดา้ น ของการกำกับตนเอง (Zimmerman,1989 : 330 อ้างถงึ ใน ปณติ า นริ มล,2546 ; 14) Bandura (1986 อ้างถึงใน ปณิตา นริ มล,2546 :14) ใหข้ ้อสันนษิ ฐานว่าความสัมพันธ์กันอยา่ งแนบแนน่ และ รูปแบบความเป็นเหตเุ ปน็ ผลซ่งึ กนั และกนั ระหวา่ งองค์ประกอบส่วนบุคคลสภาพแวดลอ้ ม และพฤตกิ รรม จะมีอิทธพิ ล เปลย่ี นแปลงสิ่งต่อไปน้ี คอื ความพยายามทีจ่ ะกำกบั ตนเองสว่ นบุคคล ผลกรรมและสภาพแวดล้อม โดยความสามารถสว่ น บคุ คลของนกั เรียนที่จะกำกบั ตนเองขนึ้ อยกู่ บั การเรียนร้แู ละพฒั นาการ นกั เรยี นท่ีมปี ระสบการณม์ ากกว่าจะสามารถกำกับ ตนเองในระหว่างการเรยี นรู้ไดด้ กี ว่า
11 กระบวนการในการกำกับตนเอง กระบวนการในการกำกบั ตนเอง ประกอบด้วย 3 กระบวนการยอ่ ย (Bandura, 1986 อางถงึ ใน ปณตาิ นริ มล, 2546 : 15) ดังน้ี 1. กระบวนการสังเกตตนเอง (Self- Observation) บุคคลจะไม่มีอิทธิพลใดๆตอการกระทำ ของตนเองถ้าเขาไม่สนใจว่าเขากำลังทำอะไรกันอยู่ดังนั้นจุดเริ่มตนท่ี สำคัญของการกำกับตนเอง คือ บุคคลตองรูวากำลงั ทำอะไรอยู่ เพราะความสำเร็จของการกำกบั ตนเองนั้นสวนหนึ่งมาจาก ความชัดเจน ความสม่ำเสมอและความแมนยำของการสงเกตกับการบันทึกตนเอง ในกระบวนการ สังเกตน้ัน Bandura ได้เสนอวาควรมีด้านต่างๆ ในการพิจารณาอยู่ด้วยกัน 4 ด้าน คือ ด้าน การกระทำความ สม่ำเสมอความใกลเคียงและความถกู ตอง 2. กระบวนการตัดสินใจ (Judgement Process) ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตตนเองนัน้ มีผลตีตอ่ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนไม่มากนักถาปราศจากการตัดสินว่าข้อมูลดังกล่าวเป็นที่พึงพอใจ หรอื ไมโ่ ดยอาศัยมาตรฐานสวนบุคคลท่ีได้มาจากการถกู สอนโดยตรงการประเมิน ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองของ สังคมต่อพฤติกรรมน้ันๆ และจากการสังเกตแม่แบบซึ่ง Bandura ให ความสำคัญอย่างมากตอการ ถ่ายทอดมาตรฐานจากกระบวนการของแม่แบบ นอกจากการตัดสินใจ ที่ตองอาศัยมาตรฐานสวนบคคล แล้ว ปัจจัยอีกตัวหนึ่งท่ีเกี่ยว ของ กับกระบวนการตัดสินใจคือการ เปรียบเทียบกบกลุ่มอ้างอิงทาง สงั คม ทป่ี ระกอบด้วยการเปรยี บเทียบบรรทัดฐานของสังคม การเปรยี บเทยี บทางสังคม การเปรียบเทียบ ตนเองและการเปรียบเทียบกับกลุ่ม กระบวนการตัดสินใจจะไม่ส่งผลใดๆ ตอบุคคลถาพฤติกรรมที่ตัดสินนั้นยังไม่มีคุณคาพอ แก ความสนใจของบุคคลแต่ถาพฤติกรรมนั้นมีคุณคาการประเมินตนเองก็จะสงผลตอการ เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของบุคคลทันทีแต่อย่างไรก็ตามการที่บุคคลจะสนองตอบอย่างไรตอ กระบวนการตดสินใจ น้ันยอมขึ้นอยู่กับการอนุมานสาเหตุในการกระทำ บุคคลจะรูสกึ ภมู ิใจถาการ ประเมินความสำเร็จของการ กระทำจากความสามารถและการกระทำของเขาและจะรูสึกพึงพอใจเทาใดนั้น ถาการกระทาน่ันขึ้นอยู่ กับปัจจัยภายนอก
12 3. การแสดงปฏิกิริยาตอตนเอง (Self-Reaction) การพัฒนามาตรฐานในการประเมนและ ทักษะในการตัดสินใจจากที่กล่าวมาแล้วจะนําไปสปู่ ฏิกิรยิ าของตนเองทง้ั น้ีขึ้นอยู่กับส่ิงลอใจใน การที่ จะนาไปสู่แนวทางบวก ทั้งในแงผลที่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้หรือในแงความพอใจของ ตนเอง สวน มาตรฐานภายในบุคคลก็จะทำหน้าที่เป็นตัวเกณฑที่จะทำใหบุคคลคงระดับการ แสดงออกอีกทั้งเป็น ตวั จูงใจใหบคุ คลกระทำพฤตกิ รรมไปสู่มาตรฐานดว้ ย กระบวนการเรียนรวมท้งั ความเช่ือดา้ นการจงู ใจเป็นกระบวนการที่เป็นวฏั จกั รทเ่ี กดิ ขน้ึ ดงั ภาพตอไปน้ี (Zimmerman and Martinez-Pons quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 75) ระยะการปฏิบัติ ระยะการสะทอนด้วตนเอง (Performance phase) (Self-reflection phase) ระยะการคดิ ลวงหนา (Forethought phase) ภาพท่ี 2 วัฏจักรการกำกบั ตนเอง (Zimmerman and Martinez-Pons quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 75) จากภาพท่ี 2 อธิบายได้ ดงั นี้ 1.ระยะการคิดลวงหนา (Forethought phase) เปน็ ระยะของกาต้งั เป้าหมายการ ต้งั เป้าหมาย ขน้ึ อยกู่ ับเป้าหมายใฝสัมฤทธ์ิการรบั รูความสามารถของตนเองและความสนใจของผู้เรียน มี 2 ประเภท คือ 1.1 การวเิ คราะห์ภาระงาน (Task analysis) ประกอบดว้ ย - การกำหนดจดหมายโดยเฉพาะสำหรับตัวเอง - การวางแผนกลยุทธซง่ึ วธิ กี ารเชงิ กลยทุ ธจะช่วยควบคมและเพิ่มผลการปฏบิ ัติงานได้ 1.2 ความเช่ือเกี่ยวกบั การจูงใจตนเอง (Self-motivational beliefs) ประกอบดว้ ย - ความเช่ือมนั่ ในตนเอง เป็นความเชอื่ วาสามารถทจ่ี ะเรียนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ - ความคาดหวังตอผลลัพธ์เป็นความเช่ือเกี่ยวกับจดหมายสูงสดุ ของการปฏบิ ัติ
13 - ความต้องการบรรลุจดุ หมาย (goal orientation) เป็นความตงั้ ใจของผู้เรยี นท่ีจะ พฒั นาสมรรถภาพระยะยาว - ความสนใจจากภายใน เป็นการใหคุณค่ากับส่ิงทเ่ี รียนของผู้เรียน 2. ระยะการปฏบิ ัติ (Performance phase) เปน็ ข้นั ของการลงมือกระทำ มี 2 ประเภท คือ 2.1 การใชกลยุทธโดยจะมการวางแผนไวลวงหนา 2.2 การสงั เกตตนเองจะตองมีการประเมนิ ความกา้ วหนาทางอภปิ ญั ญาและมีการ บนั ทึกเกย่ี วกบั ตนเอง 3. ระยะการสะทอนด้วยตนเอง (Self-reflection phase) เปน็ ข้นั ตอนของการประเมนิ ตนเอง และแสดงปฏกิ ริ ยิ าตอตนเอง มี 2 ประเภท คือ 3.1 การประเมนิ ตนเอง ประกอบไปด้วยการประเมนิ ตนเอง เพอื่ เปรียบเทยี บผลการ ประเมินตนเองกับจดหมายท่ีกำหนดไวและลักษณะของสาเหตเุ พอ่ื พจิ ารณาผลจากสาเหตุทีส่ ามารถควบคมุ ได้ 3.2 การแกไขตนเอง ประกอบไปด้วยความพึงพอใจโดยดูว่ามคี วามพงพอใจหรือไม่ ผลกระทบเกยี่ วกับการกระทำน้นั เป็นอย่างไรและการปรับปรงุ แกไขตนเองเพื่อปรบั ปรงุ ผลลพั ธ์
14 3. แนวคิดเกย่ี วกับการเรียนรูด้วยตนเอง (Self- regulated learning or Self-directed learning) มโนทศั นของการเรยี นรูดว้ ยตนเอง (Self- regulated learning or Self-directed learning) Zimmerman and Martinez-Pons (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 4) กล่าวว่า การเรียนรูด้วยตนเองเป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียนกระทำเพื่อตนเองอยางกระตอรือรน (Proactive) เป็น รูปแบบการเรียนรู้ที่กระทำรวมกันหรือกระทำคนเดียว โดยในการเรียนรูนั้นผู้เรียนเป็น ผู้ริเริ่มพยายาม ดำเนินการ และปรับทักษะใหเหมาะสม Rhee and Pintrich (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 31) กล่าวว่าการเรียนรู ด้วย ตนเอง เป็นกระบวนการซึ่งผู้เรียนใชกลยุทธต่างๆ เพื่อควบคุมปัญญาการจูงใจ/ความรูสึก พฤติกรรม และบรบิ ท โดยเช่ือวากลยทุ ธเหลานน้ั จะนําไปสู่จุดหมายของการเรยี นรู้และอยู่ภายใต้การ ควบคุมของผู้เรียน ถงึ แม้วา่ กลยทุ ธเหลานนั้ จะไดร้ บั อทิ ธิพลจากบริบททส่ี ามารถสอนกนั ได Paris (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 48-51) กล่าวว่าการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตนเอง เป็น ความรับผิดชอบตอการศึกษาและการเรียนรูของตนเอง ซึ่งประกอบด้วยลักษณะสำคัญ 3 ประการ คอื 1. การตระหนกต่อการคิด (Awareness of thinking) สวนหนึง่ ของการเรียนรูด้วยตนเอง คือการตระหนกั ตอการคดิ ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ และการ วเิ คราะห์นิสยั การคดิ ของตนเอง ซ่งึ ก็คืออภิปัญญา (Metacognition) หรือการคดิ เก่ยี วกับการคิด 2. การใชกลยุทธ์ (Use of strategies) เมื่อผู้เรียนเป็นคนทมี่ ีกลยุทธ์ พวกเขาจะพิจารณาทางเลือกต่างๆ กอนทจี่ ะเลือกเทคนิค วิธกี ารในการแกปญหาและจากน้ันพวกเขาจะใชความพยายามในการใชกลยทุ ธทีเ่ ลอื กไว้ 3. การคงการจงู ใจ (Sustained motivation) Paris and Cross (1983 ; Paris quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 51) อา้ งว่าการเรียนรู เป็น การผสมผสานระหวางทักษะ และความตั้งใจในการเรียนรูด้วยตนเองเขาด้วยกัน การกำกับ ตนเอง เกี่ยวข้องกับการจูงใจในสวนที่เกี่ยวกบจัดหมายของกิจกรรม ความยากและคุณคาของงาน ประโยชนท่ี จะได้รับจากความสำเร็จ หรอื การรับผลของการลมเหลวการตระหนัก (Awareness) และการสะทอน ความคดิ (Reflection) สามารถนําไปสู่การกระทำทีห่ ลากหลายซ่งึ ขึ้นอยู่กบั การ จูงใจของบุคคล นักวิจัย และนกั การศกึ ษากาหนดคุณลักษณะของการเรียนรู้ดว้ ยตนเองในลักษณะท่ี เป็นชุดของเจตคติกลยุทและ
15 การจูงใจทางบวก สำหรับการเขาไปเกี่ยวของกับการเรียนรูอย่างมีปัญญาแต่ผู้เรียนก็สามารถกำกับ ตนเองใหหลีกเลยี่ งการเรียนรูหรือลดการ ทาทายใหเหลือนอ้ ยทีส่ ดุ เม่ือผู้เรยี นกระทำเพื่อหลีกเลี่ยงความ ล้มเหลวแทนการมุงไปสู่ความสำเร็จ (พวกเขาอ้างว่าการกระทำของพวกเขาเป็นผลมาจากพลังภายนอก หรือพลังที่ควบคุมไม่ได้ พวกเขาจะใช กลยุทธที่ไม่เหมาะสม หรือกาหนดจุดหมายที่ไม่เหมาะสม นั่นคือ พวกเขากำลังบอนทำลายความรู ของเขาเอง (Paris, 2002 ; Paris quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 52) พฤตกิ รรมเหลาน้ีเปน็ การ กำกับตนเองแต่อาจจะนําไปสู่การลดความพยายาม การหลบหลีก งาน และการกระทำอยา่ งอ่นื ซ่ึง เป็นการลดการเขาไปเกี่ยวของกับการเรยี นรูการชว่ ยตนเองไม่ได้ในการ เรียน ความเฉื่อยชา การขัดขืนดื้อดึงอาจจะเป็นการตอบสนองตอการเรียนรู้ มีแรงจูงใจทางตรงโดย สามารถผานพนได้ ด้วยการเขาใจการเรียนรูด้วยตนเองได้ ผู้สอนจำเป็นตองเขาใจการจูงใจของผู้เรียน เพื่อที่จะ เขาใจวาพวกเขาเรียนอย่างไร พวกเขาเลือกภาระงานอะไรและทำไมพวกเขาใชความพยายาม เชนนั้น หรือในทางตรงข้ามหลีกเลี่ยงและขัดขืน ดื้อดึงการเรียนรูด้วยตนเองจะแสดงนัยของปัญญาและ การจูงใจสวนบุคคล ซึ่งใหตัวอย่างพฤติกรรมที่อาจจะสอดคลองหรือไม่สอดคลองกับ การเรียนรูตามที่ผู้ สอนกำหนดการวเิ คราะห์ความตระหนักของผู้เรียนในหองเรียนไดด้ ีขึน้ ทำใหผู้สอนสามารถออกแบบการ เรยี นการสอนได้ดีขน้ึ น้ันจะสงผลใหการเรียนรูมคี วามหมายมากยงิ่ ข้ึน (Paris quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 52) Ee, Kim, and Potter (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 110-111) กล่าวว่าการ เรียนรู ดว้ ยตนเอง เป็นการเรียนรูโดยใชอภปิ ญั ญา (metacognitive) มีการจูงใจ (motivationally) และ มีการกระทำ (behaviorally) โดยผเู้ รยี นอย่างกระตือรือรน้ 1. ในเชงิ กระบวนการทางอภิปัญญาผู้เรยี นเหลาน้ีจะตระหนักต่อจดุ อ่อน กลยุทธ ทาง ปัญญาและกลยทุ ธการควบคุมทีส่ อดคลองกับภาระงานทตี่ องกระทำผู้เรียนเลือกใชกลยุทธ เหลาน้ีให สอดคลองกบั สถานการณในการวางแผนกำหนดจุดหมายจดลำดบั ประเมินความกา้ วหน้าประเมนิ ผล ด้วยตนเองในระหวา่ ง กระบวนการเรยี นรู
16 2. ในเชิงกระบวนการจงู ใจผ้เู รียนเหลา่ นัน้ จะมอี ัตสมรรถนะสงู (high self-efficacy) มี แรงจงู ใจภายในในการทำงาน 3. ในเชิงพฤตกรรมการกระทำผเู้ รียนเหล่านี้จะเลอื กจดั โครงสรา้ งและสรางสง่ิ แวดลอม เพ่อื ทำให้การเรยี นรูมีประสิทธิภาพสงู สดุ Knowles (1975 : 18) กล่าวว่า การเรียนรูด้วยตนเอง หมายถึง กระบวนการที่บุคคลมี ความคิดริเริ่มด้วยตนเองโดยจะได้รบั หรือไม่ได้รับความช่วยเหลือจากผูอ้ ื่นก็ตามในการที่จะ วินิจฉัยความ ต้องการในการเรียนรูกำหนดเป้าหมายในการเรียนรูแสวงหาแหล่งทรัพยากรสำหรับ การเรียนรูทั้งท่ีเป็น คนและอุปกรณ์เลือกยุทธวิธีการเรียนรูทีเ่ หมาะสม และประเมินผลการเรียนรู Brockett and Hiemstra (1991) กล่าวว่าการเรียนรูด้วยตนเอง เป็นกระบวนการซึ่งบุคคลเป็นผู้ริเริ่มในการวินิจฉัยความตองการ การเรียนรูกำหนดจุดหมายการเรียนรูระบทุ รพยากรการเรียนรูท้ังประเภทบคุ คลและประเภทวัสดุอุปกรณ์ เลือกกลยุทธการเรียนรูที่เหมาะสม ใชกลยุทธการ เรียนรูเหลานั้น และประเมินผลลัพธ์การเรียนรูในการ เรยี นรูตามกระบวนการดงั กลาวผู้เรยี นอาจจะไดร้ บั ความชวยเหลือหรือไม่ได้รับความช่วยเหลือจากผู้อน่ื Brookfield (1985 : 7 อางถึงใน กิ่งกาญจนต้ังศรีไพร, 2542 : 18) กล่าววา่ การเรียนรู้ด้วย ตนเอง หมายถึงการเป็นตวั ของตัวเอง มีความเป็นอสิ ระและแยกตนอยาคนเดียวจะหมายถงึ คนซง่ึ เรยี นโดยอาศยั ความช่วยเหลือจากแหล่งภายนอกน้อยท่สี ดุ ตนเองจะเป็นผู้ควบคุมการเรียนเอง Griffin (1983 : 153 อางถึงใน จรี ะวัฒนยวอมรพ ุ ทิ ักษ, 2544 : 16) กลา่ ววา่ การเรียนรู ด้วย ตนเอง เป็นการจัดประสบการณการเรยี นรูเฉพาะของบุคคลใดบุคคลหน่ึงโดยมีเป้าหมายไปสู่การ พัฒนาทักษะการเรยี นรูของตน และความสามารถในการวางแผนปฏิบตั ิการและประเมนิ ผลการ เรียนรู การจดั การเรยี นรู เป็นเฉพาะบคุ คล
17 สมคิด อิสระวฒั น์ (2542 : 16 อางถึงใน วสุรตั ธวุ ดาราตระกูล, 2543 : 8) กล่าวว่า การเรยี นรูดว้ ยตนเอง เป็นกระบวนการซึ่งผ้เู รยี นแต่ละคนมคี วามคิดริเริ่มดว้ ย ตนเอง (โดยอาศัย ความช่วยเหลือจากผู้อื่นหรือไม่ตองการกไ็ ด)้ ผู้เรียนจะทำการวเิ คราะห์ ความตองการท่ีจะเรียนรูของตน กำหนดเป้าหมายในการเรียนรูแยกแยะแจกแจงแหลง่ ข้อมลู ผู้เรียนคดั เลอื กวิธีการเรยี นรูท่ี เหมาะสม และประเมินผลการเรียนรูน้นั ๆ จากท่กี ล่าวมาสรปุ ไดว้ าการเรียนรูด้วยตนเอง (Self- regulated learning orSelf- directed learning) เป็นการเรียนรูทผ่ี ู้เรียนริเรม่ิ กระบวนการเรียนรู้และควบคมุ กระบวนการเรียนรูของ ตนเองใหบ้ รรลุดหมายทพ่ีงปรารถนา โดยใชอภิปญั ญา (Metacognition) มกี ารกระทาํ (Behavior) และ มกี ารจูงใจ (Motivation) ในสวนของอภิปญั ญาผูเรียนตระหนักเก่ียวกับตนเองและสิง่ ท่ี เก่ียวของกับการ เรียน วางแผนการเรยี นรูประเมนิ ความกาวหน้า ปรบั ปรงุ แกไขและประเมินผล การเรียนรูของตนเอง ใน สว่ นของการกระทำผเู้ รยี นพยายามปฏิบัตกิ ารตามแผนใหบรรลจุ ดุ หมาย และในสวนของการจูงใจผู้เรยี น พยายามควบคมุ การจงู ใจตนเองใหการปฏิบัตกิ ารเรียนรูบรรลุ จุดหมายในการเรยี นรูตามกระบวนการ ดงั กล่าวผู้เรียนอาจจะได้เรบั ความช่วยเหลือหรือไม่ไดร้ ับการ ช่วยเหลอื จากผู้อน่ื ความสำคัญของการเรยี นรูด้วยตนเอง นักการศึกษาหลายทา่ นได้กลาวถึงความสำคัญของการเรียนรูด้วยตนเองไวต่างๆ กนั ดงั น้ี Knowles (1975 : 15-17) ได้กล่าวถงึ ความสำคญั ของการเรยี นรูดว้ ยตนเองว่า 1. คนทีเ่ รยี นรดู้ ้วยการรเิ ริม่ ของตนเองจะเรยี นได้มากกวา่ คนท่ีเป็นผู้รับ หรือรอใหครู ถ่ายทอดวชิ าความรูใหเทานั้นคนทเ่ี รียนรู้ดว้ ยตนเองจะเรียนอยา่ งต้งั ใจ มจี ดุ ม่งุ หมายและมี แรงจงู ใจ สามารถใชประโยชนจากการเรียนรู้ไดด้ กี วา่ และยาวนานกว่าบุคคลที่รอรับคาํ สอนแต่อย่างเดยี ว 2. การเรียนรูดว้ ยตนเองสอดคล้องกับพฒั นาการทางจติ วิทยา และกระบวนการทาง ธรรมชาติ มากกกวาคือเม่ือตอนเลก็ ๆเป็นธรรมชาติที่ตองพึ่งพงิ ผู้อ่นื ตองการผู้ปกครองปกปองเลยี้ ง ดูและตัดสินใจ แทนใหเมื่อเติบโตมีพฒั นาการขน้ึ ก็ค่อยๆ พัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นอสิ ระไมต่ องพงึ่ พงิ ผู้ปกครองครูและ ผอู้ ื่นการพฒั นาเป็นไปในสภาพทีเ่ พ่มิ ความเป็นตัวของตัวเอง และชี้นาํ ตนเองไดม้ ากข้นึ
18 3. พฒั นาการใหม่ๆ ทางการศึกษา มีหลักสตู รใหมห่ องเรยี นแบบเปน็ ศนู ยบ์ รกิ ารทาง วชิ าการ การศึกษาอยา่ งอิสระโปรแกรมการเรยี นท่ีจัดแกบุคคลภายนอก มหาวทิ ยาลยั เปิดและอ่ืนๆ อกี รปู แบบ การศกึ ษาเหลาน้ันลวนผลักภาระรบั ผดิ ชอบไปที่ผู้เรยี นใหผู้เรียนเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 4. การเรียนรูด้วยตนเอง เป็นความอยู่รอดของชีวิตในฐานะที่เป็นบุคคลและเผาพันธุมนุษย์ เนอ่ื งจากโลกปจจบุ นั เป็นโลกใหมท่ ่ีแปลกไปกวาเดิม ซ่ึงมคี วามเปล่ยี นแปลงใหม่แตด่ ูดขี นึ้ และขอเทจ็ จริง เชนนเ้ี ป็นเหตผุ ลไปสู่ความจำเป็นทางการศึกษาและการเรียนรูการเรยี นรู้ด้วยตนเองจึง เป็นกระบวนการ ต่อเน่ืองตลอดชวี ิต Chin (quoted in Ee, Chang and Tan, 2004 : 254) กล่าวว่าการเรยี นรูด้วยตนเอง มีความสำคัญต่อความ สำเร็จทางวิชาการเพราะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจัดการการเรียนรูของตนเองได้ดี ขึ้น การเรียนรูด้วยตนเองเป็นกุญแจสำคญั ตอการใชกลยุทธ์การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพของผูเ้ รียน ท่ี เรียนรูด้วยตนเองจะมีจดุ หมายเฉพาะอยู่ในใจ บนั ทกึ ผลการเรียนขณะกำลังเรยี นรูประเมนิ ความก้าวหน้า ในการบรรลจุ ดหมาย ุ และตอบสนองโดยการคงไวหรือปรับปรุงแนวทางการเรียนรู ตามความจำเป็น Brockett and Hiemstra (ชยั ฤทธิ์ โพธิสวุ รรณ, 2541 : 12-13 อางถึงใน วสรุ ัต ธุวดารา ตระกูล, 2543 : 25-26) ได้ให ความสำคัญของการเรียนรูด้วยตนเองในอีกแงมุมหน่ึงทว่ี า่ 1. การเรยี นรูด้วยตนเอง กอใหเกดิ ผลดานบวกของการเรียน เชน ผู้เรียนจดจำไดม้ ากขนึ้ เกิดความสนใจในการเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่องและความสนใจในเน้ือหาวิชามากขน้ึ มที ศั นคติที่เป็นบวกต อผู้สอนมากข้นึ ม่ันใจในความสามารถเรยี นรูของตนเองมากข้ึน 2. การเรียนรูด้วยตนเองเปน็ สิ่งท่ีมคี ุณคา เป็นวิธที ่ีผูเ้ รยี นมีอิสระในการแกปญหา ซง่ึ ไม่ จำกัดว่าจะเกดิ ขนึ้ ในสภาพแวดลอมทเ่ี ป็นประชาธปิ ไตยเทาน้นั 3. หากผู้สอนใหความไววางใจกับผเู้ รยี น ผู้เรยี นสวนใหญก่ จ็ ะเรียนรู้อยา่ งเตม็ ท่ีและทุมเท ความรูเพ่ือคุณภาพ
19 Dragenwal and Merriem (เกยี รตวิ รรณ อมาตยกุล, 2530 : 44 อางถึงใน วสรุ ัต ธุวดารา ตระกลู , 2543 : 26) กลาวถึงความสำคญั ของการจดั การศึกษาโดยมุงใหผ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู ดว้ ยตนเอง เพอื่ สนบั สนุนแนวคิดการศึกษาตลอดชวี ติ ความวาการที่ผู้เรียนมสี วนในการเลอื กเรยี น สง่ิ ท่ตี องการเรยี น และมสี ่วนกำหนดวธิ เี รยี นยอมจะตองเรียนได้ดีและเรียนรู้ได้มากกวาผู้ที่ตอง เรยี นแบบทกำหนดใหเรียน คือผ้เู รยี นจะสามารถนําประสบการณมาใชในการเรียนรูและสามารถ นาํ สงิ่ ท่ีเรยี นรู้มาใชประโยชนใน ชวี ติ ประจำวนั ได้ มากกวาการเรยี นการสอนแบบเน้นให้ผู้เรยี นรูจกั เรียนรูด้วยตนเอง ทำใหผเู้ รียนเกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์เป็นตวั ของตัวเอง รูจกั ตัดสนิ ใจและมีความรบั ผดิ ชอบในตัวเองอนั เป็นจุดมุ่งหมาย สงู สดุ ของการเรียนรูตลอดชีวิต Tough (1979 : 16-17) เพ่ิมเติมความสำคัญเก่ียวกบั การเรียนรู้ดว้ ยตนเองวา่ ตอ้ งเป็น กิจกรรมการเรียนรู้หรอื โครงการที่ผเู้ รียนเก่ียวของ (learning project) มาจากการวางแผนด้วยตนเอง เขาเนนวากจิ กรรมการเรียนเปน็ แรงผลักดนทท่ี ำให้เกดิ ความสนใจเก่ียวกับการเป็นตัวของตัวเองและนํา ตนเองในการเรียนรู้การเรยี นรูดว้ ยตนเองจึงจัดว่าเป็นกระบวนการเรยี นรูตลอดชวี ิต เป็นการเรียนรูท่ี ยอมรับสภาพความแตกตา่ งระหว่างบุคคล สนองตอบตอ่ ความต้องการและความสนใจของผู้เรียน ยอมรับ ในศักยภาพของผเู้ รยี นวา่ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถทีจ่ ะเรยี นรูสงิ่ ต่างๆ ได้ด้วยตนเอง เพ่ือที่ตนเอง สามารถท่ีจะดำรงชีวิตอยู่ในสังคมท่ีมีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาได้อย่างมีศักยภาพและมีความสุข ความเขาใจเกย่ี วกบั การเรียนรูด้วยตนเอง Brockett and Hiemstra (1991 : 11-16) ไดเ้ สนอทรรศนะเกี่ยวกบั ความเขาใจของการเรียน รู ด้วยตนเอง 10 ประการดงั นี้ 1. การเรยี นรูดว้ ยตนเองเปน็ ลักษณะที่มีอยู่ในตัวบคุ คลทุกคน และในสถานการณการ เรยี นรูทง้ั หมดอาจจะเกดิ การเรียนรูด้วยตนเองในระดบั มากหรอื น้อยแตกตา่ งกนั 2. ผูเ้ รยี นมีความรับผิดชอบเป็นหลักและเปน็ ผู้ตัดสนิ ใจดา้ นประสบกาณณ์ การเรยี นรู้ ตนเองเกย่ี วกบั การวางแผน
20 3. การเรียนรูดว้ ยตนเองจะเน้นถึงความรบั ผดิ ชอบของแต่ละบุคคลและเชื่อว่าศักยภาพของ มนุษยจ์ ะไมม่ วี นั หมดลงจะตองมอี ยู่และสามารถพัฒนาไดต้ อไป 4. มคี วามเชอ่ื วาผลของการศึกษาในดานบวกมาจากการเรียนรูด้วยตนเอง เชน จดจำได้ เพิ่มข้ึน สนใจการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนือ่ งย่ิงขึน้ มคี วามสนใจในวชิ ามากข้ึนและมที ศนคติท่ีดีต่อผู้สอน มาก ข้นึ 5. กิจกรรมการเรยี นรูด้วยตนเองมีหลายรูปแบบ เชน การอ่าน การอภิปราย การเขยี น การ สืบสวนโดยการสมั ภาษณ์การเขา้ รว่ มศึกษาเป็นกลมุ ทัศนศึกษาการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ จาก ผเู้ ชย่ี วชาญหรือผสู้ อน 6. ผู้อำนวยความสะดวกตอการเรียนรูดว้ ยตนเองท่ีประสบผลสำเรจ็ ตองมบี ทบาทเก่ียวของ กบั การปรึกษาหาขอตกลงแลกเปล่ยี นความคิดเห็น เป็นแหล่งความรูทจ่ี ำเป็นและเชื่อถือได้ นอกจากนยี้ ังม ความสัมพนั ธ์อันดกี ับผู้เรียน มีสวนรว่ มในการถ่ายโอนการเรียนการสอน และ สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นมีความคดิ แบบวิจารณ์ 7. มคี วามเชอ่ื วาการเรยี นรูดว้ ยตนเองเป็นสิ่งที่มีคุณคา่ เป็นวิธีที่ผเู้ รยี นมีอสิ ระในการแกไข ปญหา 8. กลุมคนหลายรปู แบบสามารถท่จี ะเรียนรูดว้ ยตนเองได้ 9. หากผูสอนใหความไววางใจแกผู้เรยี น ผู้เรียนสวนใหญ่จะทำงานได้อย่างเต็มทีแ่ ละ แสวงหาประสบการณการเรยี นรูดว้ ยคุณภาพสูง 10. การใชวธิ ีการเรยี นรูด้วยตนเองไม่สามารถแกปญหาการเรยี นรูทั้งหมดได้
21 หลกั การเรยี นรูด้วยตนเอง Gibbons (1980 : 41-46) ได้ศึกษาชีวประวัติของผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียงทางด้านการแสดง นกั ประดิษฐ์นกั สำรวจ นักอกั ษรศาสตร์นกั วิทยาศาสตร์และผู้บริหารจำนวน 20 คน ซง่ึ ไม่ไดร้ บั การศึกษา ภาคบังคับสูงกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยศึกษาลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองของ บุคคล ดงั กลา่ วแลวนำมาประมวลเป็นหลักการเรียนรูดว้ ยตนเองดงั น้ี 1. ในการศึกษาด้วยตนเองผู้ศึกษาเป็นผู้ควบคุมตนเอง ในขณะท่ีการศึกษาอย่างเป็นทางการ (formal education) จุดควบคุมอยู่ท่ีสถาบันการศึกษา ตัวแทน หรือสิ่งที่กำกับการสอน เพื่อใหศึกษาด้วย ตนเอง จะช่วยนักศึกษาใหร้ จู กั ควบคุมส่ิงทอ่ี ยู่ภายในตัวเอง เพอ่ื การเรียนรูของตน 2. การศึกษาด้วยตนเอง มักจะเป็นความพยายามที่แนวแน่ ในความรูเฉพาะด้านอย่างใดอย่าง หนึ่ง มากกวาการศึกษาหลายๆวิชาการสอนใหรูจักศึกษาคนควาด้วยตนเอง ช่วยใหนกศึกษา สามารถ แยกแยะและมีความชํานาญในกิจกรรมบางอย่างา่ ย หรอื หลายอย่างทจี่ ำเป็นต่อชีวติ 3. การศกึ ษาด้วยตนเอง มักจะเป็นการประยกุ ตการศึกษา คือการเรยี นรูเพ่อื นาํ ไปใช้กับงานการ สอน การเรียนรูดว้ ยตนเองเกีย่ วของกบการศึกษาทางทฤษฎที ่ีสัมพันธ์กับการฝกฝนทางเทคนิค และนําไป ดดั แปลงใชอย่างเหมาะสม เป็นการเรียนรูเพอ่ื ประโยชนปจจุบัน 4. ผู้ที่ศึกษาด้วยตนเอง เป็นคนท่ีเรียนรูด้วยแรงจูงใจของตนเอง นั่นคือการผูกพันกับ ตนเองกับ เนอ้ื หาวิชาท่ตี นเลือกแมจ้ ะพบอุปสรรคก็ตาม การศกึ ษาด้วยตนเองช่วยให้ผู้เรยี นรู้และ ตระหนักถึงความต องการของตน มีเป้าหมายของตนเองมากกวาท่ีจะใหผอู้ นื่ มาวางเปา้ หมาย 5. สง่ิ จงู ใจสำหรับการศกึ ษาดว้ ยตนเองไดแ้ กความสำเรจ็ ซงึ่ เป็นรางวลั ท่ปี ระเมนิ คณุ คา่ ไดโ้ ดย ตนเองการสอนเพ่ือใหเกิดการเรยี นรู้ ด้วยตนเองจึงเป็นการใหประสบการณเพ่ือดำเนนิ ไปสู่เป้าหมายท่ีตอง การรจู ักวางแผน และการเลือกใช้วธิ ีการทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ในการท่จี ะทำให้งานนั้นสำเร็จ
22 6. ผู้ท่ีศึกษาด้วยตนเองมักจะตัดสินใจใชรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ และ วิธีการเฉพาะตน ซึ่งสามารถเรียนรูด้วยตนเองอย่างดีที่สุด ซึ่งขอสรุปอาจจะได้จากการศึกษา การสังเกต ประสบการณการเขาเรียนในบางวิชาการฝกอบรม การสนทนาการฝกหัดการลองผิด ลองถูกการฝกหัด กิจกรรมทใ่ี หผลดีการประสาน ระหวา่ งกลุม เหตกุ ารณและโครงการ 7. การเรียนรูด้วยตนเองเกย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนาความเชื่อโดยปกตจะเกยี่ วข้องสมั พันธก์ ัน กับบุคลิกลักษณะของตน การประสานสัมพันธ์ความมีระเบียบวินัยในตนเอง ความบากบั่น ขยัน ขันแขง็ ไมเ่ ห็นแกตวั การรสู้ ึกเกรงใจผู้อืน่ และมีหลักการอย่างเขมแข็ง 8. ผู้ที่เรียนด้วยตนเอง จะมีแรงขับ ความคิดอิสระ มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดการสอน การศึกษาดว้ ยตนเอง เกี่ยวข้องกบั การเสรมิ แรงขบั ความกระตือรือรน้ โดยมีความคิดอิสระไม่ ขึ้นกับบุคคลใดบุคคลหนงึ่ ความเป็นผ้รู เิ รมิ่ มากกว่าทจ่ี ะประพฤตติ ามผูอื่น และมกั ทำอะไรเป็น แบบของตนเองมากกวาการทำคลา้ ยๆ ผู้อืน่ 9. ผู้ที่เรียนรูด้วยตนเอง มักจะใชการอ่าน และกระบวนการทักษะอื่นๆในการเขาถงึ ข้อมูลและ คำแนะนําที่เขาตองการเพื่อโครงการเหลานั้น การสอนเพื่อการศึกษาด้วยตนเองเกี่ยวของกับ การฝกฝน ทักษะเช่น การอานและการจำโดยเฉพาะอย่างย่ิงในเวลาท่ีนกั ศึกษามีความตองการอย่างเตม็ ทีท่ ี่จะเขาถึง ข้อสารสนเทศ 10. การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่เกิดจากประสบการณสำคัญหลายประการ ตั้งแต่วัยเด็ก ประสบการณ์และการพัฒนาจนกระทั่งกลายเป็นจุดของการเลือกในชีวิตของคน การสอนเพื่อ การศกึ ษาด้วยตนเองจึงเป็นการช่วยเหลือผู้เรยี น ทีจ่ ะจำแนกส่ิงที่เป็นการชว่ ยเหลือผู้เรียน ที่จะจำแนก สง่ิ ท่ีเป็นแนวทางทเี่ กดิ ขน้ึ ในชีวติ เพอื่ กำหนดวถิ ที างทีต่ นเลือกและสรา้ งวิถีทางใหม่ทต่ี นปรารถนา 11. การเรียนรู้ด้วยตนเองจะเกิดขึ้นได้ดีท่ีสุดในสิ่งแวดลอมของการทำงานที่อบอุนมี ลักษณะสนับสนุน มีบรรยากาศใกลชิดกับบุคคลอย่างน้อย 1 คน การสอนใหเกิดการศึกษาด้วย ตนเอง เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรคบรรยากาศที่กระฉับกระเฉง ซึ่งกิจกรรมการศึกษาด้วยตนเองนี้ จะไดร้ บั การสนบั สนุนอย่างอบอุ่นและมโี อกาสหลายดา้ นทจ่ี ะสรา้ งความสัมพันธใ์ นการทำงานท่ีใกล ชิดใหเกดิ ขนึ้
23 12. ผู้ทีเ่ รียนรูดว้ ยตนเองจะชอบผู้อ่ืนพอๆกับทำใหผู้อ่ืนชอบตน บุคคลเหลานี้จะมี สขุ ภาพจติ ที่ ดีมเี จตคติดีทงั้ กายและใจการสอนใหศกึ ษาด้วยตนเองจึงสนับสนุนวธิ ีการเรียนรูโดย ท่ีผเู้ รยี นไมเ่ พียงแต่ จะเรยี นรู้วชิ าการหรือทักษะเท่านัน้ แตเ่ ขายงั ได้พฒั นาจิตใจของตนเองและผู้อื่นอีกดว้ ย จากทกี่ ล่าวมาสรุปไดว้ า่ หลักการเรียนรูด้วยตนเองน้นั ผู้เรียนจะตองเป็นผู้ควบคมุ ตนเอง รูจัก ศกึ ษาคนคว้าด้วยตนเองและเรียนรูดว้ ยแรงจงู ใจของตนเอง เป็นการเรยี นรูเพ่ือนาํ ไปใชกับงาน โดยมี ความสำเรจ็ คอื รางวลั เป็นส่ิงจงู ใจทปี่ ระเมนิ คุณคาดว้ ยตนเองและไมเ่ พยี งแต่ จะเรยี นรู ทางด้านวชิ าการ และทักษะเทานน้ั แต่ยงั สามารถพัฒนาจิตใจของตนเองและผู้อ่ืนไดด้ ้วย หลกั การ 14 ประการของทฤษฎกี ารเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง Brockett and Hiemstra (1991) ได้กล่าวถึง หลักการของทฤษฎีการเรียนรูด้วยตนเองไวดงั น้ี 1. การควบคุมอยู่ทต่ี ัวผู้เรียนมากกวาสถาบัน 2. จดุ เน้นของการศกึ ษาดว้ ยตนเองอยูในเขตทจี่ ำกัด 3. การศกึ ษาด้วยตนเองเกดิ ขึ้นเพอ่ื นำผลที่ได้ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ทันที 4. นักศกึ ษาด้วยตนเอง (Self-educator) ถกู จงใจด้วยความปรารถนาที่จะบรรลสุ มั ฤทธิ์ใน สาขาทีต่ นสนใจ 5. การไดร้ บั การยอมรบั เป็นรางวัลทแ่ี สดงถงึ ความสำเร็จ มีความสำคัญตอนกั ศึกษาด้วยตนเอง 6. ประสบการณเดมิ ความสนใจและความสามารถจะเป็นตัวกาหนดสาขาที่จะเรยี น 7. นักศึกษาด้วยตนเองจะเลือกเทคนิคและวิธกี ารเรียนทส่ี อดคลองกับลีลาการเรยี นรู (style of learning) ของตนเอง 8. การศึกษาด้วยตนเองเกยี่ วขอ้ งกับการพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลเชน ความซื่อสตั ย (integrity) วนิ ัยในตนเอง ความพยายาม ความขยันหม่ันเพียร การเห็นประโยชน์ แก่คนอื่น (altruism) ความรูสกึ ไวตอคนอื่น (sensitivity) มหี ลักการนาํ ทางที่เขมแข็ง 9. บุคคลเชนน้จี ะพฒั นาความเป็นอสิ ระไมท่ ำตามคนอืน่ และสรา้ งสรรค 10. ทกั ษะการอา่ นและทักษะกระบวนการอืน่ ๆ เป็นส่ิงสำคัญสำหรบั นกั ศึกษาด้วยตนเอง 12. สิ่งแวดลอมทเ่ี หมาะสมท่ีสุดสำหรบั การศกึ ษาดว้ ยตนเอง เป็นสง่ิ แวดลอมท่ีเต็มไปด้วย ความอบอุน การเกือ้ หนุนให้กำลังใจเป็นทท่ี ่ีบุคคลมีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
24 13. นกั ศกึ ษาด้วยตนเองมักจะมีทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลดี 14. คณุ ลกั ษณะที่กลา่ วมาทง้ั หมด สอดคลองกบั คณุ ลักษณะบุคลกิ ภาพทีส่ มบรู ณและสมั พันธ์กับ สัจการแหงตน (self-actualization) องคประกอบของการเรียนรูด้วยตนเอง Baumfield (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 75) ได้กลา่ วถงึ องค ประกอบของ การเรียนรูดว้ ยตนเองไว ดงั นี้ 1. กลยุทธทางอภิปัญญาของผ้เู รียนสำหรับการวางแผน การประเมินความกา้ วหน้าและการ ปรับปรุงทางปัญญา 2. การจัดการและการควบคมุ ความพยายามการปฏิบัตงิ านทางวชิ าการของผเู้ รียน 3.กลยุทธทางปัญญาของผู้เรยี นใชในการเรยี นรูการจำและการทำความเขาใจสิ่งท่เี รียน Knowles (1975 : 40-48) ได้กลา่ วถึงองคประกอบของการเรียนรูดว้ ยตนเอง ดงั น้ี 1.การวิเคราะห์ความตอ้ งการของตนเอง เริม่ ตนจากการใหผเู้ รยี นแต่ละคนบอกความตองการและ ความสนใจพิเศษของตนเองเกี่ยวกบั การเรียนใหเพื่อนอีกคนหนึ่งทำหนาท่ีเปน็ ผู้ให้คำปรึกษาแนะนําและ เพอื่ นอกี คนหนง่ึ ทำหนาที่จดบันทึก และกระทำเชนน้ีหมนุ เวียนกนั ไปจน ครบทั้ง 3 คนไดแ้ สดงบทบาทครบ 3 ดา้ น คือ ผู้เสนอความตองการผใู้ ห้คำปรึกษาและผู้คอยจดบนั ทึกและสังเกตการ ทง้ั น้ีเพอื่ เป็นประโยชนใน การเรยี นรว่ มกนั และช่วยเหลอื ซ่ึงกันและกนั ในทุกๆ ดา้ น 2. การกำหนดจุดมุ่งหมายในการเรยี น เริม่ ต้นจากบทบาทผเู้ รยี นเป็นสำคญั ดงั ตอไปน้ี 1) ผเู้ รียนควรศึกษาจดุ มงุ่ หมายของวิชาแลวจึงเรม่ิ เขยี นจุดม่งุ หมายในการเรยี น 2) ผเู้ รยี นควรศึกษาจดมุง่ หมายมงุ่ หมายให้แจ่มชัด เขาใจได้ง่ายไม่คลมุ เครือคนอ่ืนอ่าน แลวเขาใจ 3) ผูเ้ รียนควรเนนถงึ พฤติกรรมทีผเู้ รียนคาดหวังวาจะ เกดิ ขน้ึ 4) ผเู้ รยี นควรกำหนดจดุ มุ่งหมายท่สี ามารถวัดได้ 5) การกำหนดจดุ มุง่ หมายของผเู้ รียนในแตล่ ะระดับควรมีความแตกตา่ งกัน
25 3. การวางแผนการเรยี น โดยใหผูเ้ รียนกำหนดแนวทางการเรยี นข้นึ มา เพื่อใหบรรลุ วตั ถุประสงคของวชิ าผเู้ รียนควรวางแผนการจดั กจกรรมการเรียนการสอน ดงั นี้ 1) ผู้เรียนจะตอ้ งเป็นผกู้ ำหนดเกยี่ วกบั การวางแผนการเรียนของตนเอง 2) การวางแผนการเรียนของผเู้ รยี น ควรเร่ิมต้นจากผู้เรียนกำหนดจุดมงุ่ หมายใน การเรยี นด้วยตนเอง 3) ผ้เู รยี นเป็นผู้จดั เนอ้ื หาให้เหมาะสมกบั สภาพความต้องการและความสนใจของ ผเู้ รยี น 4) ผเู้ รยี นเป็นผู้ระบวุ ธิ กี ารเรียนการสอน เพื่อใหเหมาะสมกับตนเองมากทีส่ ดุ 4. การแสวงหาแหลง่ วทิ ยาการ นกระบวนการศึกษาแหลง่ วิชาการและวธิ ีการคนควา แหลง่ วทิ ยาการมคี วามสำคัญตอการศึกษาในปจจุบัน ดงั น้ี 1) ประสบการณเรียนรูแต่ละดา้ นที่จดั ใหผู้เรยี นสามารถแสดงใหเหน็ ถึงความมุ่งหมาย ความหมายและความสำเรจ็ ของประสบการณน้ัน 2) แหล่งวทิ ยาการเชน หองสมดุ วดั สถานีอนามัย ถูกนำมาใชไดอ้ ย่างเหมาะสม 3) เลือกแหล่งวทิ ยาการให้เหมาะสมกบั ผเู้ รยี นแตล่ ะคน 4) มีการจัดสรรอย่างดี เหมาะสม กจิ กรรมบางสวนผู้จะเป็นผู้จัดเองตามลำพัง และบาง สวนเป็นกจิ กรรมทจ่ี ดั รว่ มกนั ระหว่างผ้สู อนกับผเู้ รียน องคประกอบของการจูงใจ Baumfield (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 76) ได้กลา่ วถงึ องคประกอบ ของการ จูงใจไวดังน้ี 1. ความคาดหวงั – ฉันทำงานนีไ้ ด้ไหม 2. คณุ คา – ฉนั ทำงานนี้ทำไม 3. ปฏิกิริยาทางอารมณ – ฉันรูสึกเกี่ยวกบั งานนี้อย่างไร ผู้เรียนท่ีสามารถควบคุมหรือกำกบั การเรียนรูของตนเองได้ตองมีแรงจงใจในการเรียนสงู ลักษณะทสี่ ำคัญของแรงจงู ใจอนั จะสงผลใหเกิดการเรยี นรูอย่างต่อเน่ือง ตอ้ งเปน็ แรงจูงใจภายใน
26 อันหมายถงึ ความพึงพอใจในการเรียนทเ่ี กิดจากความสนใจของผู้เรยี นและสิ่งที่ผเู้ รียนได้เรยี นรู (บุญศริ ิ อนันตเศรษฐ, 2544 : 11) ซง่ึ สอดคลองกับ Borkowski and other (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 103-104) ท่ีกล่าวว่าความสำเรจ็ ของการกำกับตนเองไปด้วยกันกับการเจริญขึ้น ของการ จงู ใจภายใน เนื่องจากผูเ้ รียนทเ่ี รียนร้ดู ้วยตนเองเต็มใจทจ่ี ะใชความพยายามใหเกิดทกั ษะ และความรู ดงั น้นั ระดบั ความจงู ใจของผู้เรยี นจงึ ตองคงอยู่ในระดบั สงู อย่างตอ่ เนื่องไม่น่าแปลกใจ ทก่ี ารกำกับตนเอง สามารถทำนายการจงู ใจและอภิปัญญาไดเ้ ปน็ อย่างดีแสดงวาการจูงใจพัฒนา มาจากพฤติกรรมการ กำกับตนเองการจงู ใจทำหนาทีเ่ ป็นพนื้ ฐานของการกำกบั ตนเองท่ีมปี ระสิทธภิ าพ การจูงใจทำหนาที่ใน การเพิ่มการกำกับตนเองโดยการให้เหตุผลวาทำไม่ตองควบคมุ พฤตกิ รรมของตนเอง คุณลกั ษณะของการเรยี นรูด้วยตนเอง Pintrich (1995 : 7 อางถงึ ใน จิราภรณ กุณสิทธ์ิ, 2541 : 14) ได้กลาวถงึ คุณลักษณะ ของ การเรยี นรูด้วยตนเองไว ดังน้ี 1. การเรยี นรูดว้ ยตนเองเป็นความพยายามของผู้เรยี นที่จะควบคุมพฤตกรรม แรงจงู ใจ อารมณ ความรู้สึกของตนเองโดยนักเรียนสามารถเตือนตนเองในดา้ นพฤติกรรม แรงจูงใจความคดิ และดำเนินการ กำกับและปรับคุณลกั ษณะเหลาน้ใี ห้เหมาะสมกับสถานการณ 2. การเรียนรูด้วยตนเองตองมีเปา้ หมายทผี่ ู้เรียนพยายามจะบรรลุผลเป้าหมายทต่ี งั้ ขนึ้ จะ เป็น มาตรฐานทผี่ ู้เรยี นสามารถเตือนตนเองและพจิ ารณาตัดสนิ การกระทำของตนแลวดำเนนิ การ ปรบั ให เหมาะสม 3. ผูเ้ รยี นต้องเป็นผคู้ วบคุมพฤตกิ รรมของตนเองไม่ใชถูกควบคุมโดยพ่อแม่ หรือครู
27 รปู แบบกลยุทธการเรยี นรูดว้ ยตนเอง กลยทุ ธการเรยี นรู้ 4 กลุม ทผ่ี ู้เรียนสามารถใชในการวางแผน ประเมินความกา้ วหนา ควบคุม และกำกับการเรียนรู (Rhee and Pintrich quoted in Ee, Chang, and Tan,2004 : 32-33) คอื 1. กลยทุ ธการกำกบั ทางปัญญาประกอบไปดว้ ย - กลยุทธการฝึกซ้อม โดยการพูดซ้ำแลวซ้ำอีกกบั ตนเอง - กลยทุ ธการพิจารณา (Elaboration) เพอ่ื เขยี นสรุปส่งิ ที่เรียน - กลยุทธการจดระเบยี บความรูโดยการจัดทำเคาโครงจัดทำแผนทค่ี วามรู (concept map) - กลยทุ ธทางอภิปญั ญา เพือ่ ตรวจสอบตนเองการถามตนเองเพื่อความเข้าใจ 2. กลยทุ ธการกำกับการจงู ใจ/ความรูสกึ ประกอบไปด้วย - การควบคุมอัตสมรรถนะ (Self-efficacy) โดยการพูดกับตนเองวาตนสามารถ ทำได้ - การใหรางวัลตนเอง - การเพิ่มความสนใจโดยการทำงานท่ีนาเบ่ือหรืองานทยากใหนาสนใจมากยิ่งขนึ้ - การเพม่ิ คณคา่ โดยการเตือนตนเองเกีย่ วกับประโยชนของส่ิงที่เรยี นสำหรบั การ ประกอบอาชีพในอนาคต - การควบคุมความวติ กกงั วลโดยการพูดกับตนเองในเชิงบวก 3. กลยทุ ธการกำกบั พฤติกรรม ประกอบด้วย - การจดั การเกยี่ วกับเวลาโดยการกำหนดจุดหมาย และวางแผนรายวันหรือราย สัปดาห์ - การมีความพยายาม โดยการพดู กับตนเองในเชงิ บวก 4. กลยุทธการกำกบั บริบท ประกอบด้วย - การควบคุมสิ่งแวดลอมในการเรยี น เพื่อให้มสี มาธใิ นการเรียนได้อย่างเตม็ ท่ี - การปรับตวั โดยการขอความชว่ ยเหลือจากเพื่อน ครหู รือผู้ใหญ่
28 กลยทุ ธการเรยี นรูด้วยตนเอง กลยทุ ธการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง คือการกระทำและกระบวนการที่มุงให้ไดส้ ารสนเทศและ ทักษะ ตามทผ่ี ู้ เรยี นปรารถนา (Zimmerman and Martinez-Pons quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 5-7) มดี ว้ ยกนั 14 กลยุทธคือ 1. การประเมินตนเอง (Self-Evaluation) เป็นสถานการณทแี่ สดงถงึ การริเรมิ่ ประเมนิ คุณภาพ และความกา้ วหน้าในงานของตนเองเชน การตรวจสอบงานของฉันเพื่อให้แน่ใจวาทำได้ถูกตอง 2. การจดั โครงสร้างและการปรับเปล่ยี นรูปแบบ (Organizing and Transforming) เป็นสถานการณท่ีแสดงถงึ การจดหรอื ปรับเปล่ยี นใหม่ในเนื้อหาการเรียนเพ่อื พัฒนาการเรยี นรูเช น ฉันทำโครงร่าง กอนท่จี ะเขียนรายงาน 3. การกำหนดจุดหมายและการวางแผน (Goal-Setting and Planning) เป็นสถานการณท่ี แสดงถึงการกาหนดจุดหมายทางการเรยี น หรือจดุ หมายระยะยาวและการวางแผนเก่ียวกับลำดับ เหตกุ ารณเวลาและการทำกิจกรรมใหสำเร็จตามจดุ หมายท่ีกำหนดไวเชน ฉันเร่ิมศึกษาเนื้อหากอน สอบ 2 สัปดาห์ 4.การแสวงหาสารสนเทศ (Seeking Information) เป็นสถานการณที่แสดงถึงความพยายาม ของนักเรียนทจะไดส้ ารสนเทศเพิ่มขน้ึ จากแหลง่ ขอมลู ทางสงั คม (Social Source) เมื่อได้รบั มอบหมาย งาน เชน กอนทจ่ี ะเรมิ่ เขยี นรายงานฉนั จะไปหองสมดุ เพื่อหาข้อมูลให้มากในเรื่องที่เก่ียวของกับเรื่องท่ี จะรายงาน 5. การจดบันทึกและประเมนิ ความก้าวหนา (Keeping Records and Monitoring) เป็นสถาน การณ ทแ่ี สดงถงึ ความพยายามของนักเรยี นท่ีจะบันทึกเหตุการณ์ หรอื ผลลพั ธ์ต่างๆ เชน ฉนั จดบนั ทกึ การอภิปรายในชั้นเรียน 6. การจดั สภาพแวดลอม (Environment Structuring) เป็นสถานการณ์ทแ่ี สดงถึงความ พยายามยามทีจะ เลือก หรือจดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีจะทำใหเกดิ การเรียนรูทงี่ า่ ยข้ึน เชน ฉนั แยกตวั ออกมาจากส่งิ ที่ รบกวน
29 7. ผลจากการกระทำของตนเอง (Self- Consequences) เป็นสถานการณ์ ที่แสดงถงึ การจัด หรือการนึกถงึ รางวลั หรือการลงโทษตอความสำเรจ็ หรอื ความลม้ เหลวทจี่ ะเกิดข้นึ เช่น ถาฉันทำ คะแนนสอบได้ ดฉี นั จะไปดูภาพยนตร์ 8. การทบทวนและการจำ (Rehearsing and memorizing) เป็นสถานการณท่ีแสดงถงึ ความ พยายามทจะจดจำสง่ิ ต่างๆ โดยการฝกทงั้ แบบที่แสดงออกและไม่แสดงออกมาภายนอก เชน ในการ เตรียมตวั สอบคณิตศาสตร์ฉนั จะฝกเขยี นสตู รตา่ งๆ จนกระทัง่ ฉันจำได้ 9-11. การขอความช่วยเหลือทางสงั คม (Seeking Social Assistance) เป็นสถานการณ์ทแ่ี สดง ถึงการขอความชว่ ยเหลอื จากเพ่อื น (9) ผ้สู อน (10) ผู้ใหญ่(11) เชน่ ถามีปญหาในการทำ แบบฝกหัด คณติ ศาสตร์ฉันจะขอรองใหเ้ พ่อื นชว่ ย 12-14. การทบทวนความจำจากบนั ทึกตา่ งๆ (Reviewing Records) เป็นสถานการณท่ีแสดง ถึงความพยายามที่จะทบทวนแบบทดสอบ (12) บนั ทึก (13) และตํารา (14) เพอื่ เตรียมสำหรบั การเรียนหรอื การสอบ เชน เม่ือเตรียมตัวสอบ ฉันจะทบทวนสมดุ บนั ทึกของฉนั 15. อน่ื ๆ โดยแตล่ ะกลยุทธ์การเรียนรด้วยยตนเองนจะเป็นการพัฒนาการกำกับตนเองทัง้ 3 ด้าน คือ 1. การกำกับตนเองในดานองคประกอบสวนบคุ คลเชน การจดั โครงสร้างและ การปรับเปลีย่ น รูปแบบ การกำหนดจุดหมายและการวางแผน การทบทวนและการจำ 2. การกำกบั ตนเองในดา้ นพฤตกิ รรม เชน การประเมนิ ตนเอง ผลจากการกระทำของตนเอง 3. การกำกบั ตนเองในดานสิ่งแวดล้อม เชน การแสวงหาสารสนเทศการขอความชว่ ยเหลือ ทางสงั คม การทบทวนความจำจากบนั ทึกตา่ งๆ
30 การพัฒนากลยทุ ธการเรยี นรูดว้ ยตนเอง Montague and Ee (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 321) ไดก้ ลาวถึงการพฒั นา กลยทุ ธการเรยี นรูดว้ ยตนเองไวดังน้ี 1. ผเู้ รยี นปรึกษากบั ผ้สู อนเพ่ือกำหนดจดุ หมายการเรียนการสอน 2. เรียนรกู ลยุทธโดยกระบวนการกลุม 3. การทำเปน็ แบบอย่าง 4. การสอนตนเองระหว่างการประยุกตใช้กลยทุ ธ 5. การฝกึ ซอ้ มทางวาจา 6. การฝกโดยรว่ มมอื กัน 7. การประยุกตใชกลยทุ ธอย่างอิสระ รปู แบบเชงิ วฏั จักรของการเรยี นรูด้วยตนเอง รูปแบบเชิงวัฏจกั รของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วยกระบวนการท่ีสมั พันธฺกัน 4 กระบวนการ (Leong and Mei Yin quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 203-204) คือ 1. กระบวนการประเมินความกาวหนาและการประเมนิ ตนเอง ซึ่งเกิดขึ้นเม่ือผูเรียนประเมนิ ประสทิ ธิภาพของตนเอง มักจะไดจากการสังเกตและบนทึกเกย่ี วกบั ความรูเดิมและผลลพั ธการเรยี นรู้ 2. การกำหนดจดุ หมายและการวางแผนกลยุทธซ่ึงเกิดขนึ้ เมอ่ื ผูเรยี นวิเคราะหสิง่ ทเ่ี รยี น กำหนดจุดหมายการเรียนรูเฉพาะและวางแผนหรือปรบั ปรุงกลยุทธเพ่ือให้บรรลุจดุ หมาย 3. กระบวนการนาํ กลยทุ ธไปปฏิบตั ิและการประเมินความกาวหนา ซึ่งเกดิ ขนึ้ เม่ือ ผูเ้ รยี นพยายามปฏิบตติั ามกลยุทธในบรบิ ทที่กำหนดไวและประเมินความกาวหนาจากผลการ ปฏบิ ตั ิ 4. กระบวนการประเมินความสมั พันธระหวางผลลพั ธกับกลยทุ ธซึ่งเกดขนึ้ เม่อื ผูเรียนมงุ ความ สนใจไปยงั ความเช่ือมโยงระหวางผลลพั ธการเรียนรูกับกระบวนการเชงิ กลยทธุ เพ่ือพจิ ารณา ประสิทธิภาพของกลยุทธ
31 รปู แบบการเรียนร้เู ชิงกลยุทธ์ รปู แบบการเรยี นร้เู ชิงกลยทุ ธ์มีองคประกอบสำคญั 4 ประการ (Weinstein and others quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 283-285) คือ 1. ทกั ษะ 1.1 ความรูเกี่ยวกับตนเองในฐานะผเู้ รยี น ธรรมชาติของสงิ่ ทีเ่ รียน กลยทุ ธ การเรยี นรูและทักษะเน้ือหา (ความรูเดิม) และบริบทการเรียนรู 1.2 ทกั ษะในการใชกลยุทธการเรียนรูและทักษะการระบสารสนเทศท่ีสำคญั สำหรบั การ บรรลจุ ดุ หมายฟังและอานเพื่อความเขาใจจดบันทึกและการใชและใชทักษะการใหเหตุผลและการแกปญหา 2. ความตัง้ ใจในการกำหนดวิเคราะหและใชจุดหมาย มงุ อนาคต การจงู ใจเพื่อใหบรรลุ ผลสัมฤทธิ์ (จดุ หมายการเรยี นรูทางวิชาการความสนใจและคานิยม) อารมณและความรูสึกเกย่ี วกับ การเรียนรู (ความ อยากรูความกงั วลความกระวนกระวายความสนุก ความโกรธและความตื่นเตน้ ) ความเชอื่ (เชอ่ื วามี ความสามารถเช่ือวาสามารถเรียนรูได) มงุ มั่นใหบรรลุจดุ หมาย สรางความรูสึก ในเชงิ บวกและมุงเรยี นรู และหลกี เลียงความคิดหรือพฤติกรรมท่ไี มพึงประสงค์ 3.การกำกับตนเองในการจดั การเรือ่ งเวลาจัดการกับการผดั วนั ประกันพรุงรวบรวมสมาธิ ประเมนิ ความ กาวหนาดานความเขาใจใช้วิธีเชงิ ระบบในการเรยี นรูและการทำงานใหสำเรจ็ (เชน กำหนดจุดหมาย สะทอนความคดิ ระดมความคดิ และสรางแผน เลอื ก นาํ ไปปฏิบตั ปิ ระเมนิ ความกาวหนา ปรบั ปรุงแกไขตามความจำเปน ประเมนิ ผลรวมสรุปของผลลพั ธ) จดั การกบั ความ วติ กกังวลและความ กระวนกระวายจัดการการจูงใจการเรียนรูและการจงู ใจใฝสัมฤทธแ์ิ ละ ควบคุมตนเอง (จัดการกับความ ผูกพันและความตง้ั ใจ) 4. สงิ่ แวดลอมทางวิชาการคือ ทรพั ยากรการเรยี นรูที่มีความเชื่อความคาดหวงั ของผู้สอน กจิ กรรมการเรียนรู้งานท่ีได้รับมอบหมาย หรือการตรวจสอบที่จำเปนตองทำและการสนบั สนุน จาก สงั คม
32 4. การจัดการเรียนการสอนท่สี งเสรมิ การเรียนรูดวยตนเอง (Instruction promoting self- directed learning) มโนทัศนของการจดั การเรียนการสอนทส่ี งเสริมการเรียนรูดวยตนเอง (Instruction promoting self-directed learning) การจัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมการเรียนรูดวยตนเอง (Instruction Promoting Self Directed Learning) หมายถงึ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทช่ี วยเหลือ สงเสรมิ สนับสนุนให ผูเรยี นเป นผูริเริ่มวินิจฉัยความต้องการในการเรียนรูกำหนดจุดหมายในการเรียนรูและสื่อการ เรียนรูทั้งสื่อประเภท วัสดุอุปกรณและประเภทบุคคลเลือกกลยุทธการเรียนรูที่เหมาะสม ใชกลยุทธ การเรียนรูที่เลือกไวและ ประเมินการเรียนรูดวยตนเอง เปนกระบวนการที่ชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนใหผู้เรียนมีสวนรวมใน กิจกรรมการเรียนรูอยางกระตือรือรน และเปนกระบวนการที่ ชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนใหผูเรียนมี แรงจูงใจในการเรียนและประสบความสำเร็จในการเรียน อันจะสงผลใหผูเรียนมีความพึงพอใจในผลการ เรยี นรูของตนเอง หลักการท่วั ไปของการจัดการเรยี นการสอนเพอื่ สงเสริมใหเกิดการเรียนรูดว้ ยตนเอง พยอม คมุ ฉาย (2545) ได้กล่าวถงึ หลกั การทวั่ ไปของการจดั การเรียนการสอนเพอื่ สงเส ริม ใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองไวดังนี้ 1. คาํ นงึ ถึงความสำคญั ของผูเรียนเปนรายบคุ คลเนื่องจากผูเรียนแตละคนมีความแตกตางกันทง้ั ในดา้ นความสามารถในการเรียนร้วู ธิ ีการเรยี นรูเจตคตเิ ปนตน ดังนัน้ การจดั การเรียน การสอนจงึ ตอง คํานึงถงึ ความแตกตางระหวางบุคคลโดยเฉพาะอยางยิง่ ดา้ นความสามารถใน การเรียนรูและวิธีการเรยี นรู (Learning Styles) โดยการจัดการเรยี นการสอน เนือ้ หาและส่อื ทเ่ี อื้อตอ การเรียนรูรายบุคคลรวมท้งั เปิด โอกาสให้ผ้เู รียนไดน้ ำประสบการณของตนมาใชในการเรยี นรูดว้ ย 2. จดั ใหผูเรยี นมสี วนรวมรับผิดชอบในการเรยี น การเรียนรูจะเกิดขนี้ ไดดีเม่ือผูเรยี นมีส วนรวมกันรบั ผิดชอบในการเรียนรูของตนเองดังน้ันการจัดการเรียนการสอนจงึ ตองเป ดโอกาส ใหผูเรียนมบี ทบาทต้ังแตการวางแผน กำหนดเปาหมายการเรียนทสี่ อดคลอง กับความตองการของ ตนเอง หรือกลุมของผูเรียน การกำหนดกิจกรรมการเรียนการ สอน สอื่ การเรยี น การเลือกวิธกี าร เรยี นรูการใช้แหลงขอมูลความรูจนถงึ การ ประเมนิ ผลการเรียนของตน
33 3. พัฒนาทักษะการเรียนรูของผูเรียน การจัดการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมใหผูเรียนเกิด การ เรยี นรูดว้ ยตนเองจำเป็นอยา่ งยิง่ ทีผ่ ูเรียนจะตองไดรับการฝกใหมีทักษะ และยทุ ธศาสตรการเรยี นรูที่จำเปน ตอการเรียนรูดวยตนเอง เชน การบนั ทกึ ข้อความ การจดั ประเภทหมวดหมู การสังเกต การแสวงหาและใช แหลงความรูเทคโนโลยีและสื่อที่สนับสนุนการเรียน รวมทั้ง เปดโอกาสให้ผู้เรียนไดมีประสบการณ์ในการ ตัดสนิ ใจแกปญหากำหนดแนวทางการเรยี นรูและ เลอื กวธิ ีการเรียนรู้ทเี่ หมาะสมกบั ตนเอง 4. พัฒนาทักษะการเรียนรูซึ่งกันและกัน การเรียนรูดวยตนเองไมได้หมายความว่าผูเรียนจะ เรียน เพยี งคนเดียวโดยไม่มชี ั้นเรียนหรอื เพ่ือนเรียน ยกเว้น เมอ่ื ผูเรยี นเลือกเรยี นโดยโครงการ เอกัตศึกษา (Individual Project) แตโดยทั่วไปแลวการเรียนรู้ดวยตนเองผูเรียนจะทำงานรวมกับ เพอื่ น ครแู ละบุคลากรทีเ่ กย่ี วของดังนนั้ จึงจำเปนท่ีจะต้องพัฒนาทักษะการเรยี นรูซึ่งกันและกัน ใหแก ผูเรียน เพื่อใหผูเรียนรูจักการทำงานเปนทีมโดยเฉพาะอยางยิ่งการทำกิจกรรมกลุมรวมกับ เพื่อน เรียนที่มความรูความสามารถทักษะอายุแตกตางกันเพื่อสามารถเรียนรูจากผูอื่นและรูจักแบงความ รับผดิ ชอบใกระบวนการเรยี นการสอน 5. พฒั นาทักษะการประเมินตนเองและการร่วมมือกนั ในการประเมินในการเรียนรูด้ ้วย ตนเอง ผูเรียนมีบทบาทสำคัญในการประเมินการเรียนรูดังนั้นจงึ ตองพัฒนาทักษะการประเมนิ ให แกผูเรยี นและ สรางความเขาใจใหกับผูเรียนใหยอมรับว่าการประเมนิ ตนเองเป็นส่วนหนึง่ ของ ระบบ การประเมินผลรวมทั้งยอมรบั ผลการประเมินจากผูอืน่ ดวย 6. จดั ปจจยั สนับสนุนการเรียนรูดวยตนเอง สง่ิ แวดลอมเป็นปจั จยั สำคัญอยางหนงึ่ ในการ สนบั สนนุ การเรียนรูดว้ ยตนเอง ดงั นั้นจึงต้องจัดบริเวณในโรงเรยี นใหเปนแหลงความรูที่นักเรยี น จะต องคน ควาดวยตนเองได เชน จัดศูนยว์ ิทยาการ บทเรียนสำเร็จรปู ชุดการสอน เป็นต้น รวมท้ัง บุคลากรเชน ครูประจำศูนยว์ ทิ ยบริการทช่ี วยอาํ นวยความสะดวกและใหคาํ แนะนําเม่ือนักเรียนตอง การ
34 เคาโครงองคประกอบของกระบวนการเรยี นการสอน Hiemstra (1997) ไดกลาวถึงลักษณะของกระบวนการเรียนรู้ทผี่ ูเรียนสามารถควบคุมดวย ตนเองดังน้ี 1. การประเมินความต้องการ 1.1 เทคนคิ ท่ีเปนทางเลือกสำหรับแตละคน 1.2 เทคนคิ ท่ีเปนทางเลือกสำหรับกลุม 1.3 การควบคมุ วิธกี ารรายงานความตองการการเรียนรู 1.4 การควบคมุ วิธกี ารใชความตองการการเรยี นรู 2. การกำหนดจุดหมาย 2.1 การกำหนดวตั ถุประสงค 2.2 การกำหนดธรรมชาตขิ องการเรียนรู - ตดั สินใจเกยี่ วกบั สมรรถภาพ หรอื ส่งิ ทจ่ี ะเรยี นรู - ตดั สินใจเกยี่ วกบั ประเภทของคาํ ถามทจี่ ะถามและทีจ่ ะตอบขณะเรียน - กำหนดจุดเน้นของการเรียนรู 3. ระบุเน้อื หาการเรยี นรู 3.1 ตดั สนิ ใจเกยี่ วกับความยากง่ายของเน้ือหา 3.2 จัดลำดบั เนอื้ หา 3.3 ทางเลอื กเกยี่ วกบั ประเภทของความรู 3.4 ตดั สินใจว่าจะเนน้ ทฤษฎีหรือปฏิบตั หิ รือการประยุกตใช
35 3.5 ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ระดบั ของสมรรถภาพ 3.6 ตัดสินใจเก่ยี วกบั เน้ือหาที่จะเรยี น - ทางเลอื กดา้ นการเงิน หรือตนทุนอยา่ งอื่นในการเรียนรู - ตัดสนิ ใจเกยี่ วกบั ความช่วยเหลอื แหลง่ เรียนรู้หรือประสบการณท่ี จำเปน็ สำหรบั เนอ้ื หา 3.7 จดั เน้ือหาตามลำดับความจำเปน็ กอนหลัง 3.8 ตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ประเภทของแผน 4. อตั ราการเรียนรู 4.1 จำนวนเวลาสำหรับผูส้ อนนําเสนอ 4.2จำนวนเวลาสำหรับปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน 4.3 จำนวนเวลาสำหรบั ปฏิสมั พันธระหวางผูเรียนกับผูเรียน 4.4 จำนวนเวลาสำหรบั การเรยี นรูรายบคุ คล 4.5 ตดั สินใจเก่ยี วกบั อัตราเวลาทใี่ ชเรยี นในแตละเร่ือง 4.6 ตัดสินใจเกย่ี วกบั กำหนดการทำกิจกรรมตางๆ 5. เลอื กวิธกี ารเรยี นการสอน เทคนคิ และสื่อ 5.1 เลือกเทคโนโลยแี ละสอื่ การเรียนการสอน 5.2 เลอื กเทคนิคและวิธกี ารเรียนการสอน 5.3 ประเภทของแหลงการเรียนรู้ที่จะใช 5.4 เลอื กวิธกี ารรบั รูประสบการณ (ดฟู ง สัมผสั ฯลฯ) ท่ีทำใหเกิดการเรียนรูไดดี ที่สดุ 5.5 โอกาสสำหรบั การอภิปรายระหวางผูเรยี นกับผูเรยี น ผูเรยี นกบั ผูสอน อภปิ ราย กลมุ ยอย หรอื อภปิ รายกลุมใหญ
36 6. การควบคมุ ส่งิ แวดลอมการเรยี นรู 6.1 ตัดสินใจเกย่ี วกับส่งิ แวดลอมทางกายภาพ 6.2 ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั อปุ สรรคทางอารมณหรือทางจิตวทยา ิ 6.3 ทางเลือกเกีย่ วกบั วิธกี ารเผชญิ อปุ สรรคทางสังคม หรือทางวฒั นธรรม 6.4 โอกาสในการจับครู ะหว่างลีลาการเรยี นรูของแตล่ ะคนกบั การนําเสนอเนือ้ หา สาระ 7. สงเสริมการสะทอนความคิด (reflection) และการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ (critical thinking) 7.1 ตัดสนิ ใจเกยี่ วกับวิธกี ารตีความทฤษฎี 7.2 ทางเลือกสำหรบั การรายงาน หรอื บนั ทึกการสะทอนความคิด 7.3 ตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั การใช้เทคนิคการสะทอนความคดิ ของนักปฏบิ ัติ (reflective practitioner techniques) 7.4 โอกาสสำหรับการฝกตัดสินใจแกปัญหา และกำหนดนโยบาย 7.5 หาโอกาสทำความชดั เจนเก่ียวกบั ความคิด 7.6 ทางเลือกในการประยุกต์ ใชความรู 8. บทบาทของผู้สอน 8.1 ทางเลอื กดา้ นบทบาทของผู้สอน ธรรมชาติของการสอน การนาํ เสนอโดยการ บรรยาย 8.2 ทางเลอื กดานการใชเทคนคิ การต้ังคาํ ถาม 8.3 ทางเลอื กดา้ นอำนวยความสะดวกการแนะนํากระบวนการเรียนรู
37 9. การประเมินการเรียนรู 9.1 ทางเลือกเกยี่ วกับประเภทของการทดสอบ - ตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละการใช้การทบทวน - โอกาสสำหรับการฝกทำแบบทดสอบ - โอกาสสำหรบั การทดสอบซ้ำ - โอกาสสำหรับการเลอื กประเภทการสอบ - การตดั สินใจเกี่ยวกบั น้ำหนักของการสอบแต่ละ ประเภท 9.2 ทางเลือกสำหรบั การใชข้อมลู ยอนกลบั - ตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ประเภทการใหขอมลู ยอนกลบั โดยผู้สอน - ตดั สินใจเกยี่ วกบั ประเภทการใหขอมูลยอนกลับจากผเู้ รียนสู่ผู้สอน 9.3 ทางเลอื กเกี่ยวกบั การตรวจสอบความถูกตองของผลสัมฤทธก์ิ ารเรยี นรู 9.4 ตดั สินใจเกีย่ วกับลักษณะของผลลพั ธ์การเรียนรู - เลอื กประเภทของผลการเรียนรู (1) ตัดสนิ ใจเก่ยี วกับวธิ ีการรายงานหลักฐานการเรยี นรู (2) โอกาสการปรับปรุงผลงานหรอื หลักฐานการเรยี นรูและการ เสนอหลักฐานการเรียนรู้ใหม่ (3) ตดั สินใจเกี่ยวกับลกั ษณะของหลักฐานที่เป็นรายงาน - ตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั น้ำหนกั ของผลงานสุดทา้ ย - ตัดสินใจเกย่ี วกบั ระดับการปฏิบัติไดข้ องผลงาน
38 (1) โอกาสการนาํ ผลการเรยี นรูไปใชในการปฏบิ ตั งิ านปจจบุ นั หรอื อนาคต (2) โอกาสในการเสนอการประยุกต์ใชความรู - การตัดสนิ ใจเกย่ี วกับลักษณะของประโยชนที่ไดจ้ ากการเรียนรู (1) โอกาสนาํ เสนอประโยชนระยะสั้นและระยะยาว (2) โอกาสในการแสวงหาประโยชนประเภทต่างๆ 9.5 การตัดสินใจเกยี่ วกับลักษณะของการตดิ ตามผล (follow up evaluation) - กำหนดวธิ ีการคงความรูเอาไว - กำหนดวิธีการประยกุ ต์ใชม้ โนทัศน - โอกาสการทบทวนหรือทำใหม่ - ตดิ ตามทางเลือกในการเรียนรู้ 9.6 โอกาสในการหยุดการเรียนรู้หรอื กลบั มาเรียนรูใหม่ 9.7 ตัดสินใจเกี่ยวกบั ประเภทการใหเกรด หรือรางวลั ท่ีไดร้ ับ 9.8 การเลอื กลักษณะการประเมินโดยผู้สอน และการประเมนิ การเรียนรู 9.9 ทางเลอื กในการใชสญั ญาการเรยี นรู
39 กระบวนการเรยี นการสอนท่ีสงเสรมิ การเรียนรูดว้ ยตนเอง Brockett and Hiemstra (1991) ได้อธบิ ายกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมการเรียน รู ดว้ ยตนเองไว้ดังนี้ 1. การเตรียมการของผู้สอน 1. เตรียมเอกสารอธบิ ายหลกั การเรียน และบทบาทของผู้สอน . 2. กำหนดสมรรถภาพที่จำเป็น การเรยี นรูและจุดหมาย 3. เตรยี มเอกสารสำหรบั การประเมนิ ความตองการการเรยี นรูรายบคุ คลและ การอภปิ รายกลุ่มย่อย 4. เตรียมส่อื สนบั สนนุ การเรียนรูท่หี ลากหลาย 5. เตรียมแบบฝกหดั หรือแนวทางการใช้สื่อเสรมิ รวมท้ังประมวลการสอน กจิ กรรมการเรียนรูรายการเอกสารอางองิ แบบฟอรมสญั ญาการเรยี นรูฯลฯ 2. การสรางบรรยากาศ สิ่งแวดลอมในหองเรียน และประสบการณมีอิทธิพลตอการจูงใจและพฤติกรรม การ เรียนรู ด้วยตนเองของผู้เรียน (Ee, Kim, and Potter quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 109) นักเรียนที่อยู่ในห้องเรียนที่ครูจัดบรรยากาศและกิจกรรมใหมีการกำกับตนเองในการเรียนสูงจะ พัฒนาทักษะและทัศนคติท่ีเป็นลักษณะของผูเรียนที่มีการกำกับตนเอง ในขณะที่นักเรียนที่อยูในหอง เรยี นท่มี กี ารกำกับตนเองทางการเรียนต่ำเม่ือเกิดอุปสรรคจะปรับทัศนคติและการกระทำอันเน่ืองมาจาก การปกปองตนเองดังนั้นครูจงึ มสี วนในการสงเสริมการกำกับตนเองใหกับนักเรียน (Perry, 1998 : 715 ; De la paz, 1999 : 4 อางถึงใน ปยวรรณ พันธุมงคล, 2542 : 17) ผูสอนควรจะ สรางสิ่งแวดลอมในห องเรียนท่ีชวยชักน้ำใหผูเรียนรับผิดชอบและควบ คุมการเรียนรูของตนเองโดย การสงเสริมการมีสวนร วมทางปญญาอยางกระตือรือรนในทุกๆเนื้อหาการเรียน และจัดการเรียน การสอนที่เน้นกระบวนการ (Borkowski and others quoted in Ee, Chang and, Tan, 2004 : 98) ซึ่ง การเตรียมสิ่งแวดลอม ทางกายภาพให้พรอมก็เพื่อชวยให้ผู้เรียนมีความคุนเคยกันโดยผูสอนแนะนำตนเองและจัดกิจกรรมใหผู เรยี นรูจักกนั คนุ้ เคยกนั (Brockett and Hiemstra, 1991)
40 3. การประเมินความต้องการการเรียนรู (needs assessment) ผูเรยี นควรจะมสี วนรวมอยางกระตือรือรนในการกำหนดความตองการการเรยี นรู กอน การวางแผนกจิ กรรม การเรียนรูโดยปกตจิ ะมีการดำเนินงานตั้งแตค่ รง้ั แรกของการเรยี น การ ประเมนิ ความตองการของผูเรยี นมี 2 ลกั ษณะคือ 1) การประเมนิ ความตองการการเรยี นรูรายบุคคล โดยผูสอนจะมแี บบฟอรมการ ประ เมนิ ใหกับผูเรยี น ซ่ึงประกอบดวยหัวขอั ต่างๆทีผ่ ูเรยี นสนใจผูสอนจะใหผูเรียนประเมนิ ระดบั ความสามารถ ของตนเองตามรายการที่กำหนดไวและจะสนบั สนุนใหผูเรยี นเพิม่ เติมรายการอ่ืนๆที่ ผูเรยี นเห็นว่าสำคัญ กิจกรรมนีจ้ ะชวยให้ผูเรยี นตระหนักถึงจุดแข็งและจดุ ออนของตนเองและทำ ใหทราบวากิจกรรมใดบางที่ จะชว่ ยแกไขจุดอ่อน และเสริมจดุ แข็งของตน 2) การประเมินความต้องการการเรียนรูของกลุม หลังจากที่มีการประเมินความ ตองการ รายบุคคลแล้วควรจัดใหผูเรียนเขา้ กลมุ่ กลุมละ 5-8 คน โดยใหมผี ูนํากลุม และเลขานกุ าร กลุม และใหกลุม ประเมินระดับความตองการของกลุมตามรายการในแบบประเมิน โดยใชผลการ ประเมินของแตละคนเปน พนื้ ฐานรวมทั้งใหระบเุ วลาทค่ี วรจะใช้ในการเรียนแตละเร่ือง ใหผูเรยี นอภิปรายอยางกวางขวางโดยผูสอนจะ ให้ คำแนะนําเทาท่ีจำเปน และกระตุนให้กลุ่มเสนอแนะวา ควรเพิ่มเติมเรื่องอะไรอื่นอีกบาง ใหกลุ มรายงานเกี่ยวกับผลการประเมนิ แตละหวั เรือ่ ง เรื่องอื่นๆท่ีสนใจ มโนทัศนที่ควรหาขอมูลเพิ่มเตมิ ขอเสนอ แนะเกี่ยวกับเทคนิคการสอนแหลงเรียนรูการ จัดลําดับเนื้อหาสาระควรให้แต่ละกลุมรายงานผลการ ประเมนิ ตอกลุมใหญ เพื่อใหแตล่ ะคนเห็น ความเหมือนและความตางของผลการประเมิน 4. การดําเนินการเรียนรูดว้ ยตนเอง การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนจะเริ่มขนึ้ หลงั จากมีการวนิจฉยั ความตองการการ เรยี นรูผูสอนจะใชสารสนเทศจากความตองการการเรยี นรูของผูเรียนเปนขอมูล ในการจัดทำแผนการเรียนร ชั่วคราวของกลุม โดยผูสอนจะพิจารณารายงานของกลุมยอยรวบรวม ความตองการสวนใหญของผูเรียน และประมาณการเวลาท่ีจำเปนตองใชในการเรียนรูแตละเรื่อง รวมทง้ั เสนอแนะแหลงเรียนรูตางๆที่สามารถ ใชหรือพัฒนา ตอไป จากน้นั ผูสอนจะพิจารณาความ สอดคลองระหวางมาตรฐานท่ีกำหนดไว้ในประมวล การสอนกบั ความตองการเรียนรูทร่ี วบรวมจากผูเรยี นเพ่ือให้แน่ใจวาผูเรียนจะมคี วามรู้ทจ่ี ำเปนเพียงพอตาม มาตรฐานของหลักสูตรและจะ กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมการเรียนและรวบรวมสื่อการเรียนรูที่จะ ชว่ ยเสริมการเรยี นของกล่มุ
41 ผลสดุ ทายจะไดแผนปฏบิ ัตขิ องรายวชิ าซึง่ จะใหผูเรียนพจิ ารณาใหความเหน็ ชอบในการพบกัน คราวต อไป แผนปฏบิ ตั ิการช่วั คราวประกอบดวยกจิ กรรมการเรยี นรูแตละสปั ดาหเสนอแนะ วัตถุประสงคและ ส่อื การเรียนรูท่ีเหมาะสม รวมท้ังกำหนดเสนตายตางๆของรายวชิ าอยางไรก็ตาม กำหนดการการเรยี น แตละสัปดาห์กส็ ามารถยดื หยุนไดตามความเหมาะสม หลงั จากนั้นผสู้ อนจะพยายามกำกับใหกิจกรรม ดำเนินไปอยางเหมาะสม ใหผูเรียนมีสอื่ การเรยี นรูทจี่ ำเปน จดั การ นาํ เสนอของวิทยากรจากภายนอก ใหผูเรยี นทราบแผนปฏบิ ัติของ หองวินิจฉัยความต้องการของผูเรียนใหมหากจำเปน และผู้เรียนพัฒนา แผนการเรียนรู้หรือสญั ญาการเรยี นรูท่ีตอบสนองความ ตองการของแตละคน โดยปกติแผนดงั กลาวจะ ประกอบไปดวยจุดหมายการเรียนรูรายบุคคล ส่อื การเรยี นที่จะใชกลยุทธการเรียนรูหลกั ฐานทแี่ สดง ความสำเร็จวิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี น และ ชวงเวลาการเรยี นแตละเรอื่ งโดยผูสอนจะพิจารณาใหขอเส นอแนะเพ่ือใหไดแผนการเรียนรูที่ เหมาะสม ตลอดระยะเวลาตามแผนการเรียนรูผูสอนจะเรงเราใหผู เรยี นเขารวมกิจกรรมกลุ่มทเี่ หมาะสมกับแผนการเรยี นรของตนเองผู้เรยี นบางคนจะเขารวมในกจิ กรรม ทุกกจิ กรรม บางคนจะ เขารวมเฉพาะกิจกรรม และใชเวลาท่ีเหลือสำหรบั การเรียนรูดว้ ยตนเอง 5. กจิ กรรมการประเมนิ ผล การประเมนิ ผลมีดวยกนั 3 ลักษณะคือ 1) การประเมนิ เพื่อการปรบั ปรงุ แกไขจะประกอบไปด้วยการพจิ ารณาปญหาที่ ผู เรยี นไมไดกลาวออกมาแต่สังเกตจากภาษาทาทางของผูเรียน ใหผูเรียนเขียนประเมนิ ผลในบางโอกาส การประเมนิ ผลกลางภาคเรียน การนดั หมายเพือ่ พบกบั ผูเรียนนอกเวลาเรียนตามปัญหาท่ีเกิดขึน้ 2) การประเมนิ ในช่ัวโมงสุดทายโดยให้ผูเรียนประเมินผู้สอนในฐานะผูอาํ นวย ความ สะดวกในการเรียนรู 3) การประเมนิ กระบวนการเรยี นรูคือให้ผูเรยี นประเมินกระบวนการเรียนรูความคลอบ คลมุ ของเนอื้ หาและส่ือการเรียนรูซ่งึ ดำเนินการในชวั่ โมงสุดทายเชนเดียวกัน ในกระบวนการเรยี นรูดงั กล าวผูสอนจะมีบทบาทสำคัญ 2 ประการคือ 1. การสงเสรมิ การเรยี นรูและการมสี วนรวมของผู้เรียน โดยเฉพาะการสะทอนความคดิ ของ ตนเอง
42 2. การชวยเหลือผูเรยี นรายบคคล ซึ่งจะเก่ียวของกับการใหขอมูลยอนกลับ นดั หมายกับผูเรยี น รายบุคคลใหขอเสนอแนะการปรบั แผนการเรยี นรูหากจำเปน ใหความช่วยเหลือเกย่ี วกบั ส่ือการเรยี นรู และการประเมินผลงานของผูเรียน แนวทางการสอนการกำกับตนเอง Paris (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 61-63) ไดก้ ลา่ วถึงแนวทางการ สอนการ กำกับตนเองไวดงั น้ี 1. สอนโดยตรงโดยการชักนาํ การสะทอนความคดิ และการอภิปรายทางปญญา 2. สอนโดยออม โดยการทำใหดเู ปนแบบอยางและจัดกจิ กรรมให้วเิ คราะห์ความคิดเกยี่ วกบั การ เรยี นรูดวยตนเอง 3. สงเสรมิ โดยการประเมิน บนั ทึกและอภิปรายเกีย่ วกับหลักฐานความกาวหนาสวน บุคคล Rhee and Pintrich (quoted in Ee, Chang and, Tan, 2004 : 43) กลาววาแนวทางการสอน แบบหนึ่งท่ีสงเสริมความรับผิดชอบในการกำกับตนเองในการเรียนได้สำเรจ็ เรียกวาการฝกงาน ทางปญญา (cognitive apprenticeship) ซง่ึ หมายถึงกระบวนการเรยี นรูโดยการมสี วนร่วมอย่าง เหมาะสม ใน กระบวนการนผ้ี ูเรยี นเรยี นรูทักษะใหมจากการสังเกต การเพิม่ ความรับผิดชอบ และ การคอยๆใชกลยทุ ธ การเรียนรูดวยตนเองอยางอสิ ระกระบวนการ ฝกงานทางปญญาชวยสงเสรมิ การประเมนิ ความกาว หนา้ ของตนเอง การปรบั ปรงุ แกไขตนเองและการสะทอนความคดิ ของ ตนเองเพ่ือทีผ่ ูเรยี นจะสามารถ เปรยี บเทยี บความกาวหนาของผลงานตนเองกบั ของผูเชี่ยวชาญ บรรทดั ฐานของหองเรียนมีผลกระทบ อย่างลุมลึกตอการใชกลยุทธการกำกับตนเองในการเรยี นของ ผูเรียน
43 การสงเสริมใหผูเรยี นเปนผูเรียนรูดวยตนเอง สมคิด อิสระวัฒน (2532 : 78 อางถึงใน จรี ะวัฒน ยวุ อมรพิทกั ษ, 2544 : 39-40) ได้กลา่ วถึง การฝกหรอื สงเสรมิ ใหผูเรียนเปนผเรียนรูดวยตนเองวาจะตองคาํ นึงถงึ สิง่ ตางๆ ดังนี้ 1. ผเู รียนสวนหนึ่งอาจใมร่ ู้ว่าตนเอง กำลงั เรียนรู คนเหล่านี้มีความคิดว่าการเรียนรูคือส่ิงท่ี เขาตองทำเมื่ออยูในโรงเรยี น และเรียนจากหองเรียนเทาน้ัน 2. ผเู รยี นสวนใหญไมทราบวาตนเองมวีธิ ีการเรยี นรูอยางไรผูเรียนไม่คอยตระหนกั ถงึ ขั้นตอน ตางๆของการเรยี นรู้ (Learning Process) และรวมไปถึงวิธีการเรียนรูของแตละคน (Learning Style) 3. ความสามารถทจ่ี ะเปนผูเรียนรูดวยตนเองของผูเรยี นแตละคนมีไม่เทากัน ผูที่เปนพเ่ี ลีย้ ง หรือผูอํานวยความสะดวกจะตองมีความเขาใจเม่ือไรตนเองควรเขาไปชวยเหลอื หรือเมอ่ื ไรควร ปลอยให ผเู รียนรบั ผิดชอบด้วยตนเอง 4. บทบาทของผูอาํ นวยความสะดวกใหกับกลุม ซึ่งแตละบุคคลจะมีความแตกตางกนั 5. แนวโนมการเรยี นรูจะเกิดขึ้นไดมากถาผูเรยี นเรียนดวยตนเอง (Self- Directed way) 6. การเรยี นรูด้วยตนเอง ไมจำเป็นตองเรยี นคนเดียวอาจมีการสอบถามจากผู้อื่นหรือขอความช วยเหลือจากบคุ คลภายนอกในบางกรณีอาจมีการทำงานรวมกบั ผูอื่น แตตนเองมีความรูสึก วาตนเองเป็น ผเู รียนรูด้วยตนเอง (Independence Learner) เรื่องของการเรียนรูดวยตนเองนีเ้ ปนเรือ่ ง ภายในจติ ใต สานึกของผูเรียนมากกวาการจดั การภายนอกวธิ กี ารทบี่ ุคคลเรยี นรูดวยตนเองจะเปน วิธีการทชี่ วยให บคุ คลเกิดความเจริญงอกงามในระดบั ที่ดี 7. การเรียนรูดว้ ยตนเอง เปนสง่ิ ทเ่ี กิดขึ้นได้ยาก ถาจดั ในสถาบนั การศึกษาตางๆ เพราะ ธรรมชาติสถาบนั เปนผูทก่ี ำหนดส่งิ ท่ีตองเปนตองทำไวในการดําเนินการฝกผเู รียนใหมีลักษณะ การฝ กแบบเรียนรดู ว้ ยตนเองนั้นตองปรับระบบอน่ื ใหสอดคลองดวยเชน การวัดผล การจดั ชนั้ เรยี น ตาราง การเรียน เปนต้น
44 8. วิธีการเรียนรดู วยตนเองมิใชการเรยี นทดที ี่สดุ แตเป็นวิธีทเ่ี หมาะสมสำหรับบุคคลและ สถาน การณบางอยางเทาน้ัน Chin (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 224) กล่าววา่ ผเู รียนมากมายไมสามารถ กำกบั ตนเองในการเรยี นได้เองตามธรรมชาติ นอกจากจะถูกกระตุนใหเรียนรูในการสงเสรมิ การกำกบั ตนเองในการเรยี น ซ่ึงในหองเรียนน้ันผู้สอนสามารถกระทำไดดงั นี้ 1. พฒั นาความรูเกยี่ วกับกลยุทธทางปญญาและกลยุทธ์ทางอภปิ ญญาของผูเรยี น 2. ใหแบบอยางทางอภปิ ญญา 3. ใชกลยุทธการเรียนการสอนและกิจกรรมทส่ี นบั สนุนและพัฒนาอิภิปญั ญา 4. ใชการประเมนิ ผลรปู แบบอ่ืน 5. สรางสิง่ แวดลอมในหองเรียนทีส่ งเสริมอภิปญญา บทบาทของผูเรยี นในการเรยี นรูดวยตนเอง การเรยี นการสอนดวยการเรียนรูดวยตนเองจะเน้นบทบาทของผู้เรยี น ซ่ึง Knowles (1976 : 47 อางถึงใน จิระวัฒน ยุวอมรพิทักษ, 2544 : 38) ไดสรุปบทบาทของผูเรยี นในการเรียนรูดวย ตนเองดังน้ี 1. การเรียนรูด้วยตนเอง ควรเรมิ่ จากการที่ผู้เรียน มีความต้องการท่ีจะเรียนในสิ่งหนง่ึ ส่ิงใด เพื่อการพัฒนาทกั ษะความรู้สำหรับการพฒั นาชีวิต และการงานอาชีพของตนเอง 2. การเตรยี มตัวของผูเรียน คือ ผูเรียนจะตองศึกษาหลักการจุดมุงหมายและโครงสรางของ หลักสตู รรายวชิ าและจุดประสงคของรายวชิ าทสี่ อน 3. ผเู รยี นควรจดเนื้อหาวชิ าด้วยตนเอง ตามจำนวนคาบที่กำหนดไว้ในโครงสร้างและ กำหนด วัตถปุ ระสงคเชงิ พฤติกรรมลงไปใหชดั เจนวาจะใหบรรลผุ ลในดานใดเพ่ือแสดงให้เห็นว่า ผูเรียนไดเกิด การเรียนรูในเร่ืองน้ันๆแลวและมีความคดิ เห็นหรือเจตคติในการนําไปใชกับชวี ิต สังคม และส่ิงแวดลอม ดว้ ย
45 4. ผเู รยี นเปนผู้วางแผนการสอน และดําเนินกิจกรรมการเรยี นการสอนนัน้ ด้วยตนเอง โดย อาจ ขอคําแนะนําชวยเหลือจากครูหรือเพ่ือน ในลกั ษณะของการรวมมือกันทำงานไดเ้ ชนกัน 5. การประเมินผลการเรียนรูดวยตนเองควรเปนการประเมินผลรวมกันระหว่างครผู ูสอน กับผู เรยี น โดยครแู ละผูเรยี นรวมกันต้งั เกณฑการประเมินผลรวมกนั Wenburg (1972 : 116 อางถึงใน สวุ ัฒน วัฒนวงศ, 2546 : 22) ไดกลาวถึงบทบาทของ ผูเรยี น ในการเรยี นรูดวยตนเองดังนี้ 1. ผเู รยี นเรียนรูไดจากสถานการณและสงิ่ แวดลอมทเี่ ปนอสิ ระ หมายถึงผูเรียนเปนตัวของ ตัวเองไมถกู ควบคมุ จากบุคคลอน่ื ซึง่ มีผลทำใหผูเรยี นเรียนไดเร็วข้ึน 2. ผเู รียนไดลงมือปฏิบัตซิ ึง่ จะทำใหผูเรียนได้คนพบความจริงดวยตนเอง 3. ผเู รียนไดเรียนรู้จากการรวมมือกนั การรวมมือไมได้หมายถึงการเขากลมุ อยางเดียว เทาน้ัน แตยงั หมายถึงการทแ่ี ตละฝายช่วยเหลือสงเสริมซึ่งกนั และกันในสถานการณ์การเรียนโดย สัง่ การปอนก ลบั (feedback) ใหสมาชิกอ่ืนๆ ทราบสง่ิ ที่ชวยใหผูเรียนรวมมอื กัน คอื กระบวนการ กลุม 4. ผเู รยี นเรียนจากภายในตัวออกมา หมายถึง การท่ผี ูเรยี นเรียนโดยการสรางความรูสึกบา งอยางเกย่ี วกบั สิ่งทจ่ี ะเรียน ไมใช่เรียนโดยถูกกำหนดบางส่ิงบางอยางเขาไปในตัวผู้เรยี น บทบาทของครูท่ีสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง ครูมีอิทธิพลอยางยง่ิ ตอการสงเสริมการเรยี นรูด้วยตนเองใหแกนกั เรยี น โดยมีบทบาทที่ สำคัญ คอื การเปนผูอาํ นวยความสะดวกให้กบนักเรียน Brockett and Hiemstra (1991) ไดอธิบายถงึ บทบาท ของ ผูอํานวยความสะดวกในการส่งเสริมการเรยี นรูดวยตนเองไวดังนี้ 1. ใหสารสนเทศในบางหัวข้อโดยการบรรยาย หรอื การใชสื่อหรือเทคนคิ อืน่ ๆ 2. เปนแหลงเรียนรู้ (Resource) สำหรบั การเรียนรูรายบุคคล หรอื กลุมยอยสำหรบั เนื้อหาบาง เรอื่ ง
46 3. ชวยเหลอื ผเู รียนในการประเมินความตองการการเรียนรูและสมรรถภาพ เพ่ือใหแต่ละ คนสามารถกำหนดแผนการเรียนเฉพาะตน 4. ใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับแผนการเรยี นหรอื สัญญาการเรยี นของผูเรียนแตละคน 5. ชแ้ี นะแหลงเรยี นรูหรือจัดหาสารสนเทศใหมท่ตี รงกบั เรอื่ งทตี่ องการเรยี นรูตามผล การประเมนิ ความตองการการเรยี นรู 6. สรางแหลงเรียนรูทีป่ ระกอบดวยสารสนเทศ ส่ือประเภทตางๆ หรือรปู แบบ (model) ท่ี สอดคล้องกับเน้ือหาทหี่ ลากหลาย 7. จัดการใหผเู รยี นไดติดต่อกบั ผูรใู นหัวขัอพิเศษบางหัวขอ้ และจัดประสบการณให้กับ ผู เรยี นรายบคุ คลหรอื กลุมยอยนอกเหนือจากการเรยี นปกติในกลุมใหญ 8. ทำงานรวมกบั ผูเรยี นนอกหองเรียนปกติในฐานะผู้คอยกระตุนการเรียนรู 9. ชวยพฒั นาเจตคติของผูเรียนตอการเรียนรู้ดวยตนเอง 10. สงเสริมการอภปิ รายการตง้ั คาํ ถาม และกจิ กรรมกลุมย๋อยเพื่อกระตุนความสนใจใน ประสบการณ์การเรียนรู 11. การจดั กระบวนการเรยี นรูเกย่ี วกบั การวินิจฉยั ความตองการการเรียนรูการใหข้อมลู ย อนกลบั และสงเสริมการมีสวนรวมของผูเรียน 12. เปนผูประเมนิ ความสำเร็จของผูเรียนระหวางเรยี น และเม่ือสน้ิ สุดการเรียน De la paz (1994 : 4 อางถึงใน ณฏั ชญา พันธรัตน, 2548 : 55) ไดกลาวถงึ บทบาทของครูใน การพัฒนากลวิธกี ารกำกับตนเองของนักเรียนไว้ ดังน้ี 1. พฒั นาพนื้ ความรูเดิมของนักเรยี น 2. อธบิ ายกลวิธีขิ องเปาหมายทีจ่ ะนําไปสู่การเรยี นรูของนักเรยี น 3. ครตู องเปนตัวแบบในการใชกลวิธีการกำกับตนเองโดยกลวธิ ีมที างเปนไปได 4. กำหนดให้นกั เรยี นทำแบบฝกหัดรวมกันเปนกลุม โดยใชกลวิธรี วมกนั 5. กำหนดให้นกั เรียนทำแบบฝกหัดอยางอสระ เม่ือการสอนเสรจ็ ส้ิน
47 การประยุกตใชการเรียนรูด้วยตนเองในห้องเรียน Chin (quoted in Ee, Chang, and Tan, 2004 : 253) ไดกลาวถึงการประยุกตใชการ กำกับ ตนเองในหองเรยี นไว้ ดงั น้ี 1. ควรพจิ ารณาทั้งลกั ษณะการจูงใจและลกั ษณะทางปญญาของการกำกับตนเองใน การ เรียน จดุ หมายของผูเรยี นมบี ทบาทสำคัญในการกำกับตนเองในการเรียน 2. องคประกอบสำคัญของการกำกับตนเองในการเรยี น คอื การทีผ่ ูเรยี นมงุ จะใช กระบวนการเชิงกลยุทธทำใหผูสอนควรจะสอนกลยุทธการเรยี นรูการจูงใจกลยทุ ธการเรียนรูทาง ปญญา และกลยทุ ธการเรยี นรูทางอภิปญญาแบบตางๆ แกผูเรียน 3. การกำกับตนเองในการเรียนเปนงานหนักและตองใช้ความพยายามทางจิตใจ การจัดการเรียน การสอนที่สงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง เปนสิ่งสำคัญสำหรบั การเรียน การสอนในปัจจุบัน เนื่องจากเปนก ระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ช่วยเหลือ สงเสริม สนับสนุน ใหผูเรียนเปนผูริเริ่มวินิจฉัยความตองการ การเรยี นรูกำหนดจดุ มุงหมายในการเรียนรูสื่อการเรยี นรู วิธีหรือกลยทุ ธการเรียนรูและประเมนิ ผลการเรียน รูด้วยตนเอง โดยที่ผู้เรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูอยางกระตือรือรน ซึ่งมาจากแรงจูงใจภายในตัว ผู้เรียนเองท่ีจะส่งผลให ผู เรียนมีความพึงพอใจในผลการเรียนรู ของตนเพื่อไปสู จุดหมายที่ได ตั้งเอาไว กระบวนการเหลานี้ผูเรียนอาจไดรับ ความชวยเหลือหรือไมไดรบั ความช่วยเหลือจากผูอื่น การที่บุคคลจะมีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมตาง ๆ เพื่อนําไปสูเปาหมายที่ต้องการน้ัน ควรจะ เรม่ิ ตนจากตนเองเสียกอน เมอ่ื บุคคลมีความชอบ มคี วามตองการทจ่ี ะเรียนรู้ดว้ ยตนเองแล้วกจ็ ะทำ ใหผูเรียนเรียนอยางมีความสขุ และยอมรับในศักยภาพของตน โดยการเรยี นรูดวยตนเองนน้ั จัดว่าเปนกระ บวนการเรียนรูตลอดชีวติ เนอ่ื งจากผูเรียนเป็นผูที่คนหาและแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองใน ส่ิงท่ีผูเรียนตอง การจะเรียนรูโดยไมจำกัดเวลา สถานทแี่ ละแหลงขอมลู และเมอ่ื ใดก็ตามท่ีผูเรยี นมีใจรักท่จี ะศึกษาคนควา ตามความตองการของตนเองก็จะเกิดการศึกษาอยางตอเนื่องโดยไมตองบอก และมีแรงกระตุนใหเกิด ความอยากรอู ยากเหน็ และเรียนรู้อยู่ไมมีทส่ี ิ้นสุด
48 5. งานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวของ Guglielmino (1977) ไดทำการวิจัยเร่อื งการพัฒนาเครอ่ื งมอื วดั ความพรอมของการเรยี นรู ดวยตนเอง (Development of the Self-Directed Learning Readiness Scale) โดยใชเทคนคิ เดลฟาย (Delphi Technique) เร่ิมตนด้วยให้กลุมตวั อย่างระบุองคประกอบสำคัญทีม่ ตี อการเรียนรูดวยตนเอง รวมถงึ ความสามารถเจตคตแิ ละบุคลิกสวนตัวท่ีสำคญั แลวนาํ องคประกอบที่ไดจากการสำรวจมา ใชเปนขอมลู สำหรับการสรางแบบวัดลักษณะความพรอมของการเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning Readiness Scale) ที่เรียกยอ ๆ วา SDLRS แบบสอบถามมี 41 ขอ เปนกจิ กรรมและลักษณะ การเรยี นรู ดว้ ยตนเอง มีลักษณะเป็น มาตราสวนประมาณคาแบบลิเคิรท (Likert-Type Item) ไดนํา เคร่อื งมือน้ี ไปใหกลมุ ตัวอย่าง จำนวน 307 คน ในรัฐจอรเจยี แคนาดาและรัฐเวอรจเิ นียร์เปนผูตอบ แลวนำคาํ ตอบท่ี ไดมาทำการวิเคราะหเปนรายขอ (Item Analysis) และการวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis) เพือ่ ใชคัดเลือกขอคาํ ถามสำหรับทำเปนแบบสอบวดั เพ่ือใชในวงกว้างตอ่ ไป ผลจากงานวิจัยช้ินน้รี ะบุวาการทบ่ี คุ คลเรยี นรูดวยตนเองไดนั้นตองมลี ักษณะความพรอม ของ การเรียนรู้ 8 ประการคือ 1) การเปดโอกาสตอการเรยี นรู (Openness to learning opportunities) 2) มโนคตขิ องตนเองในดานการเปนผูเรยี นท่มี ีประสทิ ธภิ าพ (Self-concept as an effective learner) 3) ความคิดรเิ ริ่มและอิสระในการเรียนรู (Initiative and independence in learning) 4) ความรับผิดชอบตอการเรยี นรูของตนเอง (Informed acceptance of responsibility for one’s own learning) 5) ความรักในการเรยี นรู (Love of learning) 6) ความคดิ สรางสรรค (Creativity) 7) การมองอนาคตในแง่ดี(Positive orientation to future) และ8) ความสามารถในการใช ทักษะ การศกึ ษาหาความรูและทกษะการแก ั ปญหา (Ability to use basic study skill and problem-solving skills) จริ าภรณ กุณสิทธิ์ (2541) ได้ทำการวิจัยเรื่องการทำนายผลสมั ฤทธิท์ างการ เรียนวิชา คณติ ศาสตรดว้ ยตัวแปรด้านการกำกบั ตนเองในการเรยี น การรับรูความสามารถของตนเองทาง คณติ ศาสตรทศั นคตติ อวชิ าคณติ ศาสตรและแรงจูงใจใฝสัมฤทธ์ขิ องนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3
Search