Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการประเมินนักเรียน (ปวช.)และนักศึกษา(ปวส.และวิชาชีพ)

คู่มือการประเมินนักเรียน (ปวช.)และนักศึกษา(ปวส.และวิชาชีพ)

Published by Siripond Sosaket, 2021-02-02 02:29:46

Description: คู่มือการประเมินนักเรียน (ปวช.)และนักศึกษา(ปวส.และวิชาชีพ)

Search

Read the Text Version

คมู่ ือการประเมนิ นักเรยี นระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) นกั ศกึ ษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู (ปวส.) และนกั ศกึ ษาวชิ าชพี เพื่อรับรางวัลพระราชทาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบญั หนา้ คําชแี้ จง 1 2 1. คุณสมบัติของผูเ้ รยี น ทมี่ สี ทิ ธเ์ิ ขา้ รับการประเมินและคัดเลือกเพอ่ื รบั รางวลั พระราชทาน 5 2. ข้นั ตอนการดาํ เนินการคัดเลอื ก 6 3. ส่ิงท่จี ะประเมนิ นักเรยี น นกั ศกึ ษาเพ่ือรบั รางวัลพระราชทาน 22 4. ขอบเขต วธิ กี ารประเมนิ และการใหค้ ะแนน 5. การตดั สินผลการคดั เลือกและขัน้ ตอนการจดั ทําคะแนน

คู่มอื การประเมิน นกั เรยี นระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) นกั ศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชน้ั สงู (ปวส.) และนักศึกษาวิชาชีพ เพือ่ รับรางวัลพระราชทาน 1. คณุ สมบัตขิ องผเู้ รียนมีสิทธ์เิ ขา้ รับการประเมินและคัดเลือกเพ่ือรับรางวลั พระราชทาน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษา เพื่อรับรางวัล พระราชทาน กําหนดคุณสมบัติของนักเรียน นักศึกษาที่มีสิทธ์ิได้รับการประเมิน และคัดเลือกเพื่อเข้ารับรางวัลพระราชทานไว้ ดังน้ี 1.๑ สถานภาพทางการศกึ ษา ๑) นักเรยี น นักศึกษาที่กาํ ลงั ศึกษาอยใู่ นสถานศกึ ษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เป็นนักเรียนท่ีกําลังเรียนอยู่ในช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ช้นั ปีท่ี ๒ - ๓ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เป็นนักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู่ในชั้นประกาศนียบัตร วชิ าชีพช้นั สงู (ปวส.) ชัน้ ปที ่ี ๒ ท้ังน้ี นักเรียน นักศึกษา ท่ีกําลังศึกษาอยู่ในระดับน้ัน ๆ ต้องได้เข้าศึกษาในระดับดังกล่าวของ สถานศึกษาที่ส่งเข้ารับการประเมินเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือ ๒ ภาคเรียน และไม่เคยได้รับรางวัล พระราชทานระดบั นนั้ มาก่อน ๒) นักศึกษาทก่ี าํ ลังศกึ ษาอยู่ในสถานศกึ ษาวชิ าชพี หรือนกั ศึกษาท่จี บการศึกษา วิชาชีพในปีการศึกษา ที่มีการประเมิน ทั้งนี้ สถานศึกษาวิชาชีพจะต้องเป็นสถานศึกษาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันของ กระทรวงศกึ ษาธิการ หรือหลกั สตู รทก่ี ระทรวงศกึ ษาธิการอนุมัติโดยมีเวลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐๐ ช่วั โมง 1.๒ ผลการเรียน ๑) นักเรียน ที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ตอ้ งมีระดบั ผลการเรียนเฉลย่ี สะสมทกุ ภาคเรยี นไมต่ ํา่ กว่า ๒.๗๕ ๒) นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาวิชาชีพหรือนักศึกษาที่จบการศึกษาวิชาชีพในปีการศึกษา ที่มีการประเมินและต้องเป็นนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่น ทั้งน้ีสถานศึกษาวิชาชีพจะต้องเป็นสถานศึกษาที่จัดการศึกษา ตามหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันของกระทรวงศึกษาธิการหรือหลักสูตรท่ีกระทรวงศึกษาธิการอนุมัติ โดยมีเวลาเรียน ไมน่ ้อยกวา่ ๑๐๐ ช่ัวโมง 1.๓ คณุ ลักษณะพืน้ ฐาน นกั ศึกษาทุกระดบั ตอ้ งมีคณุ ลกั ษณะพืน้ ฐานทดี่ ีใน ๕ ด้าน ดงั น้ี ๑) การศกึ ษาเลา่ เรยี น ๒) การมีทักษะในการจดั การและการทาํ งาน ๓) สุขภาพอนามยั ๔) ความประพฤติ คณุ ธรรม จริยธรรม ๕) การอนรุ ักษ์ ศลิ ปวัฒนธรรม และสงิ่ แวดลอ้ ม /1.4 กิจกรรม...

-2- 1.๔ กิจกรรมและผลงานดีเด่น นักเรียน นักศึกษา ต้องมีการปฏิบัติกิจกรรมดีเด่น และหรือผลงานดีเด่นที่แสดงถึงคุณประโยชน์ ต่อสังคมของตน ท้องถิ่นหรือชุมชนในวงกว้างเป็นกิจกรรมหรือผลงานที่มีคุณภาพและแสดงออกถึงคุณธรรม ความดีงาม และสร้างสรรค์ 2. ขั้นตอนการดาํ เนินการคดั เลอื ก 2.๑ การคัดเลือกนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ๑) สถานศึกษาดําเนินการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษาตามระดับและขนาดสถานศึกษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ขนาดละ ๑ คน แจ้งความประสงค์ขอเข้ารับการประเมินและคัดเลือก ต่อประธานกรรมการอาชีวศึกษาจงั หวัด ทส่ี ถานศกึ ษาต้ังอยู่ โดยให้แนบแบบขอรับการประเมินนักศึกษา พร้อมแผนท่ี การเดนิ ทางไปสถานศกึ ษา ๒) คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ดําเนินการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษาในระดับจังหวัด ตามระดับ และขนาดสถานศึกษา ขนาดละ ๑ คน เสนอผลการคัดเลือกให้คณะอนุกรรมการระดับเขตความรับผิดชอบของกลุ่มจังหวัด 1 - 12 (ท่ีตั้งคือ สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาท่ีผู้บริหารสถานศึกษาแห่งน้ันเป็น ประธานอนกุ รรมการระดบั เขตฯ) ยกเว้นอาชีวศึกษากรุงเทพ เมื่อสถานศึกษาแจ้งความประสงค์ส่งนักเรียน นักศึกษาขอเข้ารับ การประเมิน ให้อาชีวศึกษากรุงเทพเสนอให้คณะอนุกรรมการระดับเขตความรับผิดชอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร ดําเนนิ การคัดเลอื กตอ่ ไป ๓) คณะอนุกรรมการระดับเขตความรับผิดขอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร และกลุ่มจังหวัด 1 - 12 ดําเนินการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษาในระดับเขตความรับผิดชอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร และกลุ่มจังหวัด 1 - 12 ที ่ผ ่า น เ ก ณ ฑ ์ก า ร ร ับ ร า ง ว ัล พ ร ะ ร า ช ท า น แ ล ะ ผ ่า น เ ก ณ ฑ ์ก า ร ป ร ะ เ ม ิน แ ต ่ล ะ ร ะ ด ับ แ ล ะ ข น า ด สถานศึ กษา โดยเรียงลําดับรายช่ือ ผู้ได้รับการคัดเลือกลําดับที่ ๑ ถึงลําดับสุดท้ายพร้อมแนบแบบประเมินที่กรอกคะแนนและข้อมูล อนื่ ๆ เสนอผลการคัดเลอื กใหค้ ณะอนกุ รรมการระดับภาค ๔) คณะอนุกรรมการระดับภาค พจิ ารณาและตรวจสอบรายงานผลการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา ตามระดับและขนาดสถานศึกษาโดยพิจารณาตามจํานวนรางวัลที่กําหนด แล้วเสนอผลไปยังสํานักมาตรฐาน การอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อเสนอผลการคัดเลือกให้คณะกรรมการ ดําเนินงานของสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ๕) คณะกรรมการดําเนินงาน พิจารณาตรวจสอบรายงานผลการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เพื่อรับรางวัลพระราชทาน โดยพจิ ารณาตามจํานวนรางวลั ทีก่ ําหนดเสนอผลการคดั เลือกให้คณะกรรมการอํานวยการระดบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๖) คณะกรรมการอํานวยการ ระดับกระทรวงศึกษาธิการพิจารณาตัดสินผลการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เพ่ือรับรางวัล พระราชทาน แล้วเสนอผลการตัดสินต่อกระทรวงศกึ ษาธิการเพ่ืออนุมตั ิผลและนําความกราบบังคมทลู ตอ่ ไป 2.๒ การคัดเลือกนักศกึ ษาระดับการศกึ ษาวชิ าชีพ ๑) สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาวิชาชีพ ซึ่งมีชั่วโมงสอนไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ชั่วโมง ดําเนินการคัดเลือก นักศึกษา สถานศึกษาละ ๑ คน แจ้งความประสงค์ขอเข้ารับการประเมินและคัดเลือกต่อประธานกรรมการ อาชีวศึกษาจังหวัด ท่ีสถานศึกษาตั้งอยู่ โดยให้แนบแบบขอรับการประเมินนักศึกษา พร้อมแผนท่ีเดินการทางไป สถานศกึ ษา /2) คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด...

-3- ๒) คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ดําเนินการคัดเลือกนักศึกษาวิชาชีพ ในระดับจังหวัด จังหวัดละ ๑ คน เสนอผลการคัดเลอื กใหค้ ณะอนกุ รรมการระดับภาค (ทต่ี ้ังคอื ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชีวศกึ ษาภาค) ๓) คณะอนุกรรมการระดับภาค ดําเนินการคัดเลือกนักศึกษาวิชาชีพที่ผ่านเกณฑ์การรับรางวัล พระราชทาน และผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยพิจารณาตามจํานวนรางวัลที่กําหนดแล้วเสนอผลไปยังสํานัก มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพ่ือเสนอผลการคัดเลือกให้ คณะกรรมการดาํ เนินงานของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 4) คณะกรรมการดําเนินงานพิจารณาและตรวจสอบ รายงานผลการคัดเลือกนักศึกษาวิชาชีพ เพ่ือรับรางวัลพระราชทาน โดยพิจารณาตามจาํ นวนรางวลั ที่กาํ หนด เสนอผลการคัดเลือกใหค้ ณะกรรมการอํานวยการ ระดบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5) คณะกรรมการอํานวยการ ระดับกระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาตัดสินผลการคัดเลือกนักศึกษา วิชาชีพเพ่ือรับรางวัลพระราชทานแล้วเสนอผลการตัดสินต่อกระทรวงศึกษาธิการ เพื่ออนุมัติผล และนําความ กราบบงั คมทลู ต่อไป ในการประเมินนักเรียน นักศึกษา คณะอนุกรรมการประเมินไม่ควรมีเกิน 9 คน ไม่น้อยกว่า 5 คน และให้คณะอนุกรรมการประเมินศึกษาคู่มือ โดยละเอียดและปฏิบัติตามทุกข้ันตอน ในกรณีท่ีมีนักเรียน นักศึกษาเข้ารับการประเมินแต่ไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ระบุให้ชัดเจนว่า นักเรียน นักศึกษาที่เข้ารับการประเมินไม่ผ่าน เกณฑ์ และข้อมูลต่าง ๆ จากแบบรายงาน ก. รายงาน ข. พร.๑ พร.๒ และข้อมูลทั่วไปท่ีส่งให้คณะกรรมการ ดําเนินงานคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทานต้องมีความชัดเจนและ สอดคล้องกัน (ตรวจสอบช่ือ ช่ือสกุล และข้อมูลส่วนอ่ืนให้ถูกต้องครบถ้วน) ให้จัดส่งให้ครบทุกลําดับ ผู้ท่ีได้รับ คัดเลือกเป็นลําดับท่ี ๑ ต้องมีข้อมูลพฤติกรรมเด่นกว่าลําดับท่ี ๒ ๓ และลําดับอื่น ๆ ในกรณีท่ีไม่มีนักเรียน นกั ศกึ ษาเขา้ รบั การประเมินให้คณะกรรมการระบุให้ชัดเจนวา่ ไม่มีนักศกึ ษาเข้ารบั การประเมิน 2.๓ แบบรายงานและแบบประเมินที่ใชใ้ นการประเมินและคัดเลอื กนักเรียน นกั ศึกษา ในการดําเนินการประเมินนักเรียน นักศึกษา ใช้แบบประเมิน ซ่ึงประกอบด้วย ๒ ส่วน ดังนี้ สว่ นที่ ๑ แบบรายงาน มี ๓ ชดุ คือ ๑) ข้อมลู ท่ัวไป (สถานศึกษาเป็นผกู้ รอก) ๒) แบบรายงาน ก. เป็นแบบรายงานตนเองของนักเรียน นักศึกษา (นักเรียน นักศึกษา เปน็ ผูเ้ ขียนรายงาน) ๓) แบบรายงาน ข. เป็นแบบบันทึกข้อมูลคุณลักษณะพื้นฐานและกิจกรรม/ผลงานดีเด่น ของนักเรยี น นักศึกษา (สถานศึกษาเป็นผู้เสนอขอ้ มลู ) ส่วนท่ี ๒ แบบประเมิน มี ๒ ชดุ ๑) แบบ พร.๑ เป็นแบบประเมินคุณลักษณะพ้ืนฐานและกิจกรรม/ผลงานดีเด่น ของนักเรียนนกั ศกึ ษา ๒) แบบ พร.๒ เป็นแบบสรปุ การประเมนิ นักเรียน นกั ศึกษา 2.๔ การประเมนิ และคัดเลือกนักเรยี น นักศึกษา 2.4.1 คณะอนุกรรมการคัดเลือกระดับเขตความรับผิดขอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร และกลุ่มจังหวัด 1 - 12 ดําเนินการประเมินนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) ตามแบบประเมิน พร.๑ โดยใช้ข้อมูลในแบบรายงาน ก.และแบบรายงาน ข. เป็นส่วนหนึ่งในการ ประกอบการพิจารณา แล้วบันทึกผลสรุปในแบบ พร.๒ 2.4.2 คณะอนุกรรมการคัดเลือกระดับภาค ดําเนินการประเมินนักศึกษาวิชาชีพ ตามแบบประเมิน พร.๑ โดยใช้ข้อมูลในแบบรายงาน ก.และแบบรายงาน ข. เป็นส่วนหนึ่งในการประกอบการพิจารณา แล้วบันทึก ผลสรุปในแบบ พร.๒ /ทั้งนี้...

-4- ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการคัดเลือกจะต้องพิจารณาคณุ สมบตั ขิ องนกั เรียน นักศกึ ษา ทั้ง ๓ ดา้ น ดังน้ี ๑) สถานภาพทางการศึกษาและผลการเรียน สถานศึกษาจะต้องเป็นผู้คัดเลือกนักเรียน นักศึกษา ตามคุณสมบัติทก่ี าํ หนดไว้ในข้อ ๒.๑ หรือ ขอ้ 2.2 สาํ หรับนกั เรียน นักศึกษาท่ีมีผลงานดีเด่นให้พิจารณาจากความคิด ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ การมีทักษะในวชิ าชพี และส่งสาํ เนาเอกสารที่แสดงผลการเรยี นหรือผลการปฏิบตั ิงาน เพ่ือเป็นข้อมูล ให้คณะกรรมการพิจารณาในข้ันตอ่ ไป ๒) คณุ ลกั ษณะพน้ื ฐาน ก. คณะอนุกรรมการระดับเขตความรับผิดขอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร และกลุ่มจังหวัด 1 - 12 ประเมินนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ข. คณะอนกุ รรมการระดบั ภาค ประเมินนักศึกษาวิชาชีพ ตามแนวทางและขอบเขตคุณลักษณะพื้นฐาน โดยให้คะแนนเป็นระดับคะแนน ๑, ๒, ๓ และ ๔ ตามลาํ ดบั ตามแบบประเมินด้านคุณลักษณะพื้นฐานของนักเรียน นักศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน (พร.๑) ขอ้ ๑ ๓) กิจกรรมและผลงานดีเด่นของนักเรียน นักศึกษา ให้คณะกรรมการระดับสถานศึกษา คัดเลือกนักเรียน นักศึกษาโดยให้นักเรียน นักศึกษาเขียนบรรยายในแบบรายงานตนเอง (แบบรายงาน ก.) ด้วยลายมือของตนเองและสถานศึกษาบรรยายตามแนวทางในการประเมินกิจกรรมและผลงานดีเด่นในแบบบันทึก ข้อมูลกิจกรรมและผลงานดีเด่นของนักเรียน นักศึกษา(แบบรายงาน ข.) เพื่อเป็นข้อมูลให้คณะอนุกรรมการระดับเขต ความรับผิดขอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร และกลุ่มจังหวัด 1 - 12 [กรณีนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)] หรือคณะอนุกรรมการระดับภาค (กรณีนักศึกษา วิชาชีพ) พิจารณาให้คะแนน หลักฐานหรือร่องรอยของกิจกรรมหรือผลงานดีเด่นจะเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นในการสืบค้น พฤติกรรม กิจกรรมหรือผลงานว่าดีเด่นจริงหรือไม่อย่างไรและจะต้องเป็นกิจกรรมหรือผลงานของนักเรียน นักศึกษา ผู้นัน้ ทีส่ ะสมตอ่ เน่ืองมาโดยตลอด คณะอนุกรรมการคัดเลือกระดับเขตความรับผิดขอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค จะต้อง พิจารณาตัดสินและคัดเลือกนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) คณะอนุกรรมการคัดเลือกระดบั ภาค จะต้องพิจารณาตดั สินและคดั เลือกนักศึกษาวิชาชพี เพ่ือเข้ารับรางวัลพระราชทานหรือรางวัลชมเชย โดยให้คณะอนุกรรมการสรุปผลการประเมิน นักเรียน นักศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกนั้น ในแบบสรุป พร.๒ เพื่อเป็นข้อมูลให้คณะกรรมการในขั้นตอนต่อไป พจิ ารณา ในการประเมินและคดั เลอื กในระดบั ต่าง ๆ นน้ั จะตอ้ งจัดทาํ แบบประเมนิ ดงั น้ี สถานศึกษา ใหจ้ ัดทาํ แบบรายงาน ก. และแบบรายงาน ข. เพ่อื นาํ เสนอระดบั จงั หวัดโดยจดั ทําดังนี้ ๑. สถานศึกษาใหน้ ักเรียน นกั ศึกษาท่ีเขา้ ขา่ ยรับรางวลั พระราชทานเขยี นรายงานตนเอง (แบบรายงาน ก.) ๒. สถานศึกษากรอกข้อมูลท่ัวไป และจดั ทาํ แบบบนั ทกึ ข้อมูลกจิ กรรมหรือผลงานดเี ด่นฯ (แบบรายงาน ข.) อาชวี ศึกษาจงั หวัด 1. ส่งแบบขอรับการประเมินท้ังหมดให้กับ ระดับเขตความรับผิดขอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร และกลุ่ม จังหวัด 1 - 12 (ที่ต้ังคือสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่ผู้บริหารสถานศึกษาแห่งน้ัน เป็นประธานอนุกรรมการระดับเขตฯ) ในกรณีนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) /2. ส่งแบบขอรับ...

-5- 2. ส่งแบบขอรับการประเมินทั้งหมดให้กับ ระดับภาค (ท่ีตั้งคือ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาค) ในกรณนี กั ศึกษาวชิ าชพี ระดับเขตความรับผิดขอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร และกลุ่มจังหวัด 1 - 12 ให้จัดทําแบบประเมิน พร.๑ และสรุป พร.๒ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสงู (ปวส.) เพอื่ นาํ เสนอคณะอนกุ รรมการระดับภาค ระดับภาค ให้ตรวจสอบและรวบรวมผลการประเมิน พร.๑ และสรุป พร.๒ ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตามท่ีคณะอนุกรรมการ ระดับเขตความรับผิดชอบของกลุ่มกรุงเทพมหานคร และกลุ่มจังหวัด 1 - 12 เสนอ เพื่อนําเสนอคณะกรรมการ ดําเนินงาน ตอ่ ไป ระดับภาค ให้จดั ทาํ แบบประเมนิ พร.๑ และสรปุ พร.๒ ของนกั ศึกษาวิชาชพี เพ่อื นําเสนอคณะกรรมการ ดําเนินงาน ต่อไป ทุกระดับจะต้องแนบ พร.๑ และสรุป พร.๒ พร้อมหลักฐานที่ใช้ประกอบการพิจารณาของสถานศึกษา (แบบรายงาน ก. และ ข.) ประกอบดว้ ย  3. สง่ิ ที่จะประเมนิ นักเรยี น นกั ศึกษาเพือ่ รับรางวัลพระราชทาน ในการประเมินนักเรียน นักศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทานนั้น คณะกรรมการจะประเมิน ๒ ส่วน คือ ค ุณ ลั ก ษ ณ ะ พ้ื น ฐ า น ๕ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม /ผ ล ง า น ดี เ ด่ น (ต า ม แ บ บ พ ร .๑ ) ๑) การประเมนิ คุณลกั ษณะพืน้ ฐานของนกั เรียน นกั ศกึ ษามี ๕ องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ ๑.๑) การศกึ ษาเล่าเรยี น (๑) มีความรแู้ ละทกั ษะพ้ืนฐานตามระดบั การศึกษา (๒) มคี วามสามารถในการคิดและแกป้ ญั หา (๓) มคี วามขยันหมัน่ เพียร ใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน ๑.๒) การมที กั ษะในการจดั การและการทาํ งาน (๑) สามารถตดั สินใจสรา้ งงานและวางระบบการทาํ งาน (๒) สามารถทํางานเป็นกลมุ่ และทํางานรว่ มกับผอู้ ่ืนได้ (๓) สามารถนาํ ทรัพยากร ขอ้ มลู สารสนเทศและเทคโนโลยีมาใชใ้ นการทาํ งานอยา่ ง มีประสทิ ธิภาพ ๑.๓) สุขภาพอนามัย (๑) มสี ุขภาพร่างกายแขง็ แรง สมบูรณต์ ามวยั และมีบคุ ลกิ ภาพทีด่ ี (๒) มสี ขุ ภาพจติ ท่ีดี (๓) มสี ขุ นิสัยทดี่ ี เปน็ ผูห้ ่างไกลและปลอดจากส่งิ เสพติด ๑.๔) ความประพฤติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ที่สําคญั ไดแ้ ก่ (๑) เปน็ พลเมืองดี มีความซือ่ สตั ย์ มีระเบียบวินัย และมีความรบั ผิดชอบ (๒) มคี วามกตญั ญู เสยี สละ และเอือ้ เฟอื้ เผอื่ แผ่ (๓) ร้จู กั ประหยดั อดออม และใช้สงิ่ ของอยา่ งคุ้มคา่ (๔) มีความเป็นประชาธิปไตยและมภี าวะผนู้ าํ (๕) มีความจงรกั ภักดีตอ่ สถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ /1.5)...

-6- ๑.๕) การอนรุ ักษ์ศลิ ปวฒั นธรรมและสิง่ แวดลอ้ ม ได้แก่ (๑) ใช้ภาษาไทยได้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสมตามหลักภาษาไทย (๒) มคี วามภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย (๓) มจี ิตสํานึกในการอนุรกั ษแ์ ละใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน และสิง่ แวดลอ้ ม ท่ีมีอยใู่ ห้ย่ังยืน ๒) การประเมินกิจกรรมและผลงานดีเดน่ ของนักศกึ ษา พจิ ารณาจาก 3 ดา้ น ได้แก่ ๒.๑) ความมีคุณประโยชน์ ๒.๒) ความมีคณุ ภาพ ๒.๓) ความมีคุณธรรมดีงามหรอื สร้างสรรค์ 4. ขอบเขต วธิ ีการประเมนิ และการใหค้ ะแนน ในการประเมินคุณลักษณะพ้ืนฐานของนักเรียน นักศึกษา ซึ่งมี ๕ องค์ประกอบ และการประเมิน กจิ กรรม/ผลงานดเี ดน่ นนั้ ใหด้ ําเนินการต่อไปน้ี 4.๑ การจดั ทาํ ขอ้ มลู เบื้องต้นของสถานศกึ ษา เพื่อให้การประเมินคุณลักษณะพื้นฐาน และกิจกรรม/ผลงานดีเด่นของนักเรียน นักศึกษาเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและเป็นธรรมแก่ผู้ถูกประเมิน ให้นักเรียน นักศึกษา เขียนรายงานด้วยลายมือของตนเอง ในแบบ รายงาน ก. และให้สถานศึกษาจัดทําแบบบันทึกข้อมูลพฤติกรรมและผลงานดีเด่นของนักเรียน นักศึกษา ตามแบบ รายงาน ข.ท้ังนี้เพื่อให้คณะทํางานประเมินใช้แบบรายงานทั้ง ๒ เป็นข้อมูลเบื้องต้นหรือเป็นแนวทางในการสืบค้น ข้อมลู เกี่ยวกบั คุณลกั ษณะพืน้ ฐานและกิจกรรมหรอื ผลงานท่ีดเี ดน่ ของนกั เรียน นกั ศกึ ษา รายการต่าง ๆ ในแบบรายงาน ก. และแบบรายงาน ข. ให้สถานศกึ ษาดาํ เนินการกรอกข้อมลู ให้ครบถว้ น ดงั น้ี 4.๑.๑ แบบรายงาน ก. (แบบรายงานตนเองของนกั เรียน นกั ศกึ ษา) ให้นักเรียน นักศึกษา เขียนรายงานด้วยลายมือของตนเอง ในแบบรายงาน ก. ประมาณ ๒– ๓ หน้ากระดาษ โดยระบสุ ิง่ ต่อไปน้ี - ชอื่ นามสกุล ชอ่ื บิดา และมารดา - ช่ือสถานศกึ ษา ชน้ั เรยี น แผนการเรียน/แผนก/สาขา - ทีอ่ ยู่ปัจจบุ ันของนักเรยี น นักศึกษา - คตปิ ระจาํ ใจ ความคาดหวงั ในอนาคต - ผลงานหรือกจิ กรรมทที่ ําแล้วและเกิดภาคภมู ใิ จมากทีส่ ุด ฯ ลฯ 4.๑.๒ แบบรายงาน ข. (แบบบันทกึ ขอ้ มูลคณุ ลักษณะพ้นื ฐานและกิจกรรม/ผลงานดีเด่น) ใหส้ ถานศกึ ษาเขียนบรรยายพฤติกรรม ด้านคณุ ลักษณะพื้นฐาน และกิจกรรม หรือ ผลงานดเี ดน่ ดงั นี้ /คณุ ลกั ษณะ...

-7- คณุ ลกั ษณะพน้ื ฐานและกิจกรรม/ผลงานดเี ด่น หลกั ฐานและหรอื กรณตี วั อยา่ ง นาย/นางสาว…………..มีพฤติกรรมดีเด่นที่แสดง เขียนบรรยายโดยยกกรณีตัวอย่างและหรือ ออกอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอจนเป็นที่ยอมรับและ เหตุการณ์ท่ีแสดงให้เห็นว่า นักเรียน นักศึกษาผู้น้ีมี ยกย่องจากสังคมแต่ละดา้ น ดงั นี้ พฤติกรรมดีเด่นท่ีเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอ ๑. คณุ ลกั ษณะพนื้ ฐาน จนเป็นที่ยกย่อง และได้รับการยอมรับจากเพ่ือน ๑.๑ การศกึ ษาเลา่ เรียน………………........................ ครู - อาจารย์ หรือจากชุมชน พร้อมทั้งแนบหลักฐาน ๑.๒ การมที ักษะในการจัดการและการทาํ งาน......... ประกอบ เช่น เกียรติบัตร ประกาศนียบัตร เอกสาร ………………………………………........................................... ต่าง ๆ คําบอกเล่าของบุคคล ฯลฯ พฤติกรรมดีเด่น ๑.๓ สุขภาพอนามัย…………………............................. แต่ละด้านจะมีเกณฑ์การพิจารณาหลักฐานหรือ ๑.๔ ความประพฤติ คุณธรรม จริยธรรมที่สําคัญ..... ร่องรอยประกอบด้านละ ๓ แหลง่ ข้อมูลเปน็ อย่างน้อย …………………………………………........................................ ๑.๕ การอนรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรมและส่งิ แวดล้อม...... …………………………………….............................................. ๒. กจิ กรรม / ผลงานดีเด่น………………........................... …………………………………………………............................... คณะกรรมการประเมินจะพิจารณาพฤติกรรมและกิจกรรมหรือผลงานดีเด่น ของนักเรียน นักศึกษา โดยใช้ แบบรายงานตนเองของนักเรียน นักศึกษา (แบบรายงาน ก.) และแบบบันทึกข้อมูลแสดงพฤติกรรมดีเด่น ของนักเรียน นกั ศึกษา (แบบรายงาน ข.) เป็นพ้ืนฐานประกอบกับการตรวจสอบหลกั ฐานหรอื รอ่ งรอยตามแบบบันทกึ ขอ้ มลู นนั้ 4.๒ รายการประเมนิ และวธิ กี ารประเมนิ การประเมินนกั เรียน นกั ศกึ ษา เพ่ือรับรางวัลพระราชทาน (ตามแบบ พร.๑) มี ๒ ด้าน คอื ด้านคุณลกั ษณะ พ้ืนฐานและดา้ นกิจกรรมหรอื ผลงานดเี ด่น มรี ายละเอียด ดังนี้ 4.๒.๑ คณุ ลกั ษณะพน้ื ฐาน ในการประเมินคุณลักษณะพ้ืนฐานของนักเรียน นักศึกษานั้น คณะทาํ งานประเมินพึงพิจารณา ขอบเขตของคุณลักษณะพน้ื ฐานของผเู้ รียนแตล่ ะระดบั ดงั นี้ ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช. ) และประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สูง (ปวส. ) การพิจารณาคุณลักษณะพ้ืนฐานของนกั เรยี น นักศกึ ษาแต่ละเรื่องให้พิจารณาจากกจิ กรรมท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ชีวติ ประจําวัน และการงานในสังคมทีบ่ า้ นและท่ีสถานศึกษา โดยเนน้ กิจกรรมทเี่ กยี่ วข้องทั้งทีบ่ ้าน สถานศกึ ษา และชมุ ชน การศกึ ษาวชิ าชพี การพิจารณาคณุ ลักษณะพืน้ ฐานของนักศึกษาแต่ละเรื่องให้พจิ ารณาจาก กจิ กรรม ท่เี กยี่ วข้องกบั ชีวติ ประจาํ วันและการงานในสังคมที่บ้าน ทสี่ ถานศกึ ษาและในสังคมชมุ ชนโดยเนน้ กจิ กรรมทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ท้งั ทบ่ี ้าน สถานศึกษา และชมุ ชน คณุ ลักษณะพนื้ ฐานท่ีจะประเมนิ นักเรียน นกั ศึกษามี ๕ องคป์ ระกอบ แตล่ ะองคป์ ระกอบจะมี รายการประเมนิ ๓-๕ รายการในการประเมนิ แต่ละรายการมเี กณฑ์การให้ระดบั คะแนนเป็น ๔ ระดบั ดงั รายละเอยี ด ของรายการประเมิน คําอธบิ ายแนวทางการใหร้ ะดับคะแนนแตล่ ะระดบั รวมท้ังวธิ ีประเมินและแหลง่ ข้อมลู ดงั นี้ ๑) การศกึ ษาเลา่ เรยี น ๑.๑) มีความรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐานตามระดบั การศกึ ษา หมายถงึ การสร้างสมองค์ความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ตามจุดหมายของหลกั สตู รในแต่ละระดบั การศกึ ษา มุ่งเน้น ให้นักเรียน นักศึกษา มีความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนได้ตามเกณฑ์ ระดับชั้น มีความร้แู ละทกั ษะพื้นฐานวิชาชีพตามสาระการเรียนรู้ของหลกั สูตรแตล่ ะระดบั การศกึ ษา /ระดับ...

-8- ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนได้คล่องแคล่ว ถูกต้องชัดเจน มีความรู้ และทักษะพ้ืนฐานวิชาชีพครบตามหลักสูตรของแต่ละระดับโดยสามารถอธิบายหรือแสดงออกถึง องค์ความรตู้ ามสาระการเรียนรไู้ ด้ถกู ต้อง ครบถ้วน ๓ มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนได้คล่องแคล่ว ถูกต้องชัดเจน มีความรู้ และทักษะพ้ืนฐานวิชาชีพครบตามหลักสูตรของแต่ละระดับโดยสามารถอธิบายหรือแสดงออกถึง องคค์ วามรตู้ ามสาระการเรียนรูไ้ ด้เปน็ สว่ นใหญ่ ๒ มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนได้คล่องแคล่ว ถูกต้องชัดเจน มีความรู้ และทักษะพื้นฐานวิชาชีพครบตามหลักสูตรของแต่ละระดับโดยสามารถอธิบายหรือแสดงออกถึง องคค์ วามร้ตู ามสาระการเรยี นรูไ้ ดป้ ระมาณกึ่งหนง่ึ ๑ อ่าน คิด เขียนและวิเคราะห์ได้แต่ไม่คล่องแคล่ว มีข้อผิดพลาด อธิบายหรือ แสดงออกถึง องคค์ วามร้ตู ามสาระการเรียนรตู้ ามหลกั สตู รได้เป็นสว่ นนอ้ ย วธิ ีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มูล ๑. หลักฐานแสดงผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ๒. ประเมินจากแฟ้มสะสมงาน สมุดงาน สมดุ แบบฝกึ หัด ของนกั เรียน นกั ศึกษา ๓. ประเมินจากผลงานที่ให้นักศึกษาปฏิบัติในขณะสัมภาษณ์ เช่น อ่าน เขียนข้อความ/งาน ท่ีคณะกรรมการ กาํ หนดใหท้ าํ ๑.๒) มคี วามสามารถในการคดิ และแกป้ ญั หา หมายถึง การมีความสามารถในการสังเกต รวบรวม วิเคราะห์และเชื่อมโยงข้อมูล สามารถประยุกต์ใช้และสร้างองค์ความรู้ กําหนดทางเลือกและตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ อย่างถกู ต้องและมเี หตุผล มุ่งเน้น ให้นักเรียน นักศึกษาเป็นคนช่างสังเกต รู้จักค้นคว้าหาความรู้และวิทยาการใหม่ ๆ จากแหล่งเรียนรู้ท่ี หลากหลาย เพอ่ื นําไปประยกุ ต์ใช้ในการแกป้ ญั หาและสร้างองค์ความรไู้ ด้ ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ อธิบายข้ันตอนการทํางานโดยการสังเกต เก็บรวบรวมวิเคราะห์และพัฒนาทางเลือกการทํางานได้ ด้วยตนเองอยา่ งถูกต้องชดั เจน อธิบายแนวทางในการเลอื กคน้ ควา้ ข้อมลู และแหล่งวิทยาการใหมๆ่ เพ่ือสนับสนุนการเรียนหรือความรู้ได้ชัดเจน สามารถเช่ือมโยงวิเคราะห์ สรุปเหตุการณ์หรือมีการ พัฒนาตนเองหรือพัฒนางานด้วยกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล (คิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาเป็น และเลง็ เห็นถงึ ปญั หาที่อาจจะเกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ในปัจจบุ ัน) ๓ อธิบายข้ันตอนการทํางานโดยการสังเกต เก็บรวบรวมวิเคราะห์และพัฒนาทางเลือกการทํางาน ตามคําแนะนําของผู้อ่ืนบ้างเล็กน้อย อธิบายแนวทางในการเลือกค้นคว้าข้อมูลและแหล่ง วิทยาการใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนหรือความรู้ได้ชัดเจนเป็นส่วนใหญ่ สามารถเช่ือมโยง วิเคราะห์สรุปเหตุการณ์หรือมีการพัฒนาตนเองหรือพัฒนางานด้วยกระบวนการคิดตามสถานการณ์ เป็นส่วนมาก ๒ อธิบายข้นั ตอนการทํางานโดยการสังเกต เก็บรวบรวมวิเคราะห์และพัฒนาทางเลือกการทํางานตาม คําแนะนําของผู้อื่นเสมอ ๆ อธิบายแนวทางในการเลือก ค้นคว้าข้อมูลและแหล่งวิทยาการใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนหรือความรู้ได้บางส่วน สามารถเชื่อมโยงวิเคราะห์ สรุปเหตุการณ์หรือมี การพัฒนาตนเองหรือพัฒนางานดว้ ยกระบวนการคดิ ไดบ้ างสว่ น ๑ อธิบายขั้นตอนการทํางานได้ไม่ชัดเจนหรือผิดขั้นตอนหรือทําตามคําแนะนําของผู้อื่นเสมอๆ ไม่ สามารถเลือกแนวทางในการปฏิบัติงานและบอกแหล่งข้อมูลไม่ได้ ไม่มีการ วางแผนการทํางาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ข้ึนจากสถานการณส์ มมุตไิ ด้ /วิธกี ารประเมิน...

-9- วิธกี ารประเมนิ และแหล่งขอ้ มลู ๑. ประเมินจากผลงานตามสภาพจรงิ ๒. สัมภาษณน์ ักเรยี น นักศกึ ษา ผ้ถู กู ประเมิน ๓. สัมภาษณค์ รู เพื่อน ๆ ผู้ปกครอง ๑.๓) มีความขยันหมั่นเพียร ใฝ่รู้ใฝ่เรียน หมายถึงการแสดงความมุ่งมั่นพากเพียรพยายามศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เพ่ือเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนาตนเองและพัฒนางานอยู่เสมอ มุ่งเน้น ให้นักเรียน นักศึกษา มีความต้ังใจศึกษา ค้นคว้าหาประสบการณ์ เพ่ิมพูนทักษะและความชํานาญใน การเรียนรู้ และการทํางานจากแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ อยเู่ สมอ ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ อธิบายวิธีการและข้ันตอนจากการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนา ตนเองและพฒั นางานที่ไดป้ ฏิบตั ิเป็นประจําไดถ้ ูกต้อง ละเอยี ด ชดั เจน แสดงผล ของงาน / ทักษะ ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าและการแสวงหาความรู้ จํานวนชิ้นงานที่มีคุณภาพปรากฏมากกว่า ๓ ช้นิ งาน ๓ อธิบายวิธีการและข้ันตอนจากการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้และประสบการณ์ ในการพัฒนา ตนเองและพัฒนางานที่ได้ปฏิบัติเป็นประจําได้ถูกต้อง แสดงผลของงาน / ทักษะที่ได้จาก การศึกษาค้นคว้าและการแสวงหาความรู้ จํานวนชิ้นงานที่มีคุณภาพมีคุณภาพปรากฏ ๓ ชิ้นงาน ๒ อธิบายวิธีการและขั้นตอนจากการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนา ตนเองและพัฒนางานท่ีได้ปฏิบัติเป็นประจําได้ถูกต้อง แสดงผลของงาน / ทักษะท่ีได้จาก การศกึ ษาค้นควา้ และการแสวงหาความรู้ จาํ นวนชนิ้ งานทม่ี ีคณุ ภาพปรากฏ ๒ ชิ้นงาน ๑ สามารถอธิบายวิธีการและข้ันตอนจากการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้และประสบการณ์ใน การพัฒนาตนเองและพฒั นางานที่ได้ปฏิบตั เิ ป็นประจําไมถ่ กู ตอ้ งและไม่ชัดเจน แสดงผลของงาน / ทักษะที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าและการแสวงหาความรู้ จํานวนชิ้นงานที่มีคุณภาพปรากฏ ๑ ช้ินงาน หรอื ไมม่ ชี น้ิ งาน วธิ กี ารประเมนิ และแหล่งขอ้ มลู ๑. สมั ภาษณ์ นักเรียน นักศกึ ษา ครู ผูป้ กครอง เพอ่ื น ๆ ร่นุ พรี่ ุ่นนอ้ ง ๒. ประเมนิ จากผลงานและแฟม้ สะสมงาน ๒) การมที กั ษะในการจัดการและการทาํ งาน ๒.๑) สามารถตัดสินใจสร้างงาน และวางระบบการทํางาน หมายถึง สามารถใช้ข้อมูลอ้างอิง และประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลอย่างมีเหตุผลชัดเจน ถูกต้องและต่อเน่ือง เพื่อช่วยตัดสินใจในการสร้างงาน วางแผน ปฏบิ ตั ิงาน ตรวจสอบ ปรับปรุงและแก้ไขปญั หาจนได้ผลงานทีด่ ตี ามเป้าหมาย มงุ่ เน้น ใหน้ กั เรยี น นักศกึ ษาศกึ ษารายละเอยี ดกรอบของงานเพ่ือใช้วางแผนการทาํ งาน มีขน้ั ตอน การทาํ งานชดั เจนสามารถปฏบิ ตั ติ ามแผนไดป้ ฏบิ ตั งิ านโดยมีหลกั ฐานการจดบนั ทกึ และตรวจสอบประเมนิ การทาํ งาน อยา่ งตอ่ เน่อื ง /ระดบั ...

- 10 - ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ สามารถใช้ข้อมูลอ้างอิงอย่างมีเหตุผล เพื่อช่วยตัดสินใจในการสร้างงาน ศึกษารายละเอียด เพ่ือใช้วางแผนการทํางาน มีขน้ั ตอนการทํางานชัดเจน สามารถปฏบิ ัติตามแผนได้ มีการตรวจสอบ ประเมนิ การทาํ งานใหส้ ําเรจ็ ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและมปี ระสิทธิภาพ ๓ สามารถใช้ข้อมูลอ้างอิงอย่างมีเหตุผล เพ่ือช่วยตัดสินใจในการสร้างงาน ศึกษา รายละเอียด เพอื่ ใช้วางแผนการทํางาน มีขน้ั ตอนการทาํ งานชัดเจน สามารถปฏิบตั ิตามแผนได้ มกี ารตรวจสอบ ประเมนิ การทาํ งานให้สําเร็จโดยไดร้ ับคําแนะนําจากผูอ้ ่นื เล็กน้อย ๒ สามารถใช้ข้อมูลอ้างอิงอย่างมีเหตุผล เพ่ือช่วยตัดสินใจในการสร้างงาน ศึกษารายละเอียด เพ่ือใช้วางแผนการทาํ งาน มีขนั้ ตอนการทาํ งานชดั เจน สามารถปฏบิ ตั ติ ามแผนได้ มีการตรวจสอบ ประเมนิ การทํางานใหส้ ําเรจ็ โดยได้รับคําแนะนําจากผ้อู ่ืนเปน็ สว่ นมาก ๑ สามารถใช้ข้อมูลอ้างอิงอย่างมีเหตุผล เพ่ือช่วยตัดสินใจในการสร้างงาน ศึกษารายละเอียด เพ่ือใชว้ างแผนการทํางาน มขี น้ั ตอนการทาํ งานชดั เจน สามารถปฏิบัตติ ามแผนได้ มีการตรวจสอบ ประเมนิ การทาํ งานใหส้ ําเรจ็ โดยไดร้ บั การสง่ั การและแนะนําจากผอู้ น่ื ทงั้ หมด วธิ ีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มูล ๑. สัมภาษณน์ กั เรียน นักศกึ ษา เพื่อน คร-ู อาจารย์ ๒. ตรวจสอบจากผงั การทาํ งาน (Concept Mapping) การรายงานผลการทํางาน หรือ ชิน้ งาน ๒.๒) สามารถทาํ งานเปน็ กลมุ่ และทาํ งานรว่ มกบั ผู้อนื่ หรอื รว่ มกบั กลมุ่ ได้ หมายถงึ การยอมรบั ความสามารถและรับฟังความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน สร้างความสมั พันธท์ ่ีดกี ับสมาชิกในการทาํ งานกล่มุ เต็มใจทาํ งาน ร่วมกับกลุ่มอย่างเต็มความสามารถ เพื่อความสําเร็จของผลงานส่วนรวม และสามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งได้ ด้วยสันติวิธี มุ่งเนน้ ใหน้ ักเรียน นักศกึ ษา มคี วามเตม็ ใจในการทาํ งานเปน็ กลมุ่ มีสัมพนั ธภาพที่ดี กับเพื่อนร่วมงาน สามารถแสดงความคดิ เห็นและทํางานท่ไี ด้รบั มอบหมายอยา่ งเตม็ ศักยภาพ ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ มีความยินดีเต็มใจที่จะทํางานเป็นกลุ่ม สามารถสร้างสัมพันธ์อันดีในกลุ่มปฏิบัติตนให้เป็นท่ี ยอมรับของกลุ่มทั้งในด้านความคิดเห็นและด้านความสามารถ ให้ความร่วมมือในการทํางาน รับฟังความคิดเห็น ยอมรับความสามารถของผู้อื่น ต้ังใจทํางานอย่างเต็มความสามารถโดยเน้น ประโยชนส์ ่วนรวมจนประสบความสําเรจ็ ในการทาํ งาน ๓ เข้าทํางานเป็นกลุ่มด้วยความเต็มใจ มีสัมพันธ์ภาพที่ดีในกลุ่มปฏิบัติตนให้เป็นท่ียอมรับของกลุ่ม ท้ังในด้านความคิดเห็นและด้านความสามารถ ให้ความร่วมมือในการทํางาน รับฟังความคิดเห็น ยอมรับความสามารถของผู้อื่นในบางครั้ง ต้ังใจทํางานอย่างเต็มความสามารถโดยเน้นประโยชน์ สว่ นรวมจนประสบความสําเรจ็ ในการทาํ งาน ๒ เข้าทํางานตามท่ีกลุ่มขอความร่วมมือ สามารถปฏิบัติตนให้เป็นท่ียอมรับของกลุ่มได้น้อย ทั้งใน ด้านความคิดเห็นและด้านความสามารถ แต่ให้ความร่วมมือในการทํางาน ยอมรับฟังความ คิดเห็นและยอมรับความสามารถของผู้อ่นื เปน็ บางครัง้ ๑ การร่วมมือในการทํางานกลุ่ม การปฏิบัติตนให้เป็นท่ียอมรับของกลุ่มในด้านความคิดเห็นและ ด้านความสามารถนอ้ ย ให้ความรว่ มมอื รับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื นอ้ ย /วิธกี าร...

- 11 - วิธีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มูล ๑. สมั ภาษณน์ กั เรยี น นกั ศึกษา ครู และเพอื่ น เก่ียวกบั การทํางานกลุม่ ๒. ตรวจเอกสารร่องรอยการบันทึกการทาํ งานกลุ่มของนักเรยี น นักศกึ ษา ๒.๓) สามารถนาํ ทรพั ยากร ข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีมาใชใ้ นการทํางานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ หมายถึง การรู้จักใช้ทรัพยากร วัสดุอุปกรณ์ ข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม หรือเทคโนโลยีมาใช้พฒั นากระบวนการ ทํางานโดยประหยัดเวลา คา่ ใชจ้ า่ ยใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละคมุ้ คา่ ทส่ี ุด ม่งุ เนน้ ให้นักเรยี น นกั ศึกษาเลอื กใช้ทรพั ยากรที่เหมาะสม ประหยัดและสอดคลอ้ งกบั ท้องถน่ิ นําขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยมี าใชห้ รอื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทาํ งานใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ เลือกใช้ทรัพยากร วัสดุอุปกรณ์ ข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม ภูมิปัญญา และเทคโนโลยี มาใช้ ในการทํางานให้เกิดประโยชน์ คุ้มค่า ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายในการทํางานได้ เหมาะสมกับ งานและสภาพท้องถิ่น ๓ เลือกใชท้ รัพยากรวสั ดอุ ปุ กรณ์ ขอ้ มูลสารสนเทศ นวัตกรรม ภมู ปิ ญั ญา และเทคโนโลยีมาใช้ ในการทาํ งานได้เหมาะสมกบั งานและสภาพทอ้ งถิ่นแต่ไดร้ บั ประโยชนไ์ ม่คมุ้ คา่ ๒ เลือกใชท้ รพั ยากรวัสดุอุปกรณ์ ข้อมลู สารสนเทศ นวตั กรรม ภมู ิปัญญา และเทคโนโลยีมาใช้ ในการทํางานไดเ้ หมาะสมกบั งานแต่ไมส่ อดคลอ้ งกบั ทอ้ งถ่ินและไม่คมุ้ คา่ ๑ เลอื กใช้ทรพั ยากรวสั ดุอุปกรณ์ ขอ้ มลู สารสนเทศ นวตั กรรม ภูมปิ ญั ญา และเทคโนโลยมี าใช้ ในการทํางานไม่เหมาะสมกบั งานและสภาพทอ้ งถน่ิ ใช้ประโยชน์ได้ไมค่ ุ้มค่า วธิ กี ารประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มลู ๑. ประเมินผลงานหรือชนิ้ งานโครงการทไี่ ด้รับมอบหมายตามสาระการเรียนรู้ ๒. ประเมนิ จากแผนงานของโครงงาน ๓. สมั ภาษณน์ กั เรียน นกั ศกึ ษา เพ่อื น ครู ถึงการวางแผนใช้วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการทํางาน ๓) สุขภาพอนามยั ม่ันใจในตนเอง มีความม่ันคงทางอารมณ์และแสดงออกได้อย่างคล่องแคล่วเหมาะสมกับวัย ๓.๑) มีสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง สมบรู ณต์ ามวยั และมีบคุ ลกิ ภาพทด่ี ี หมายถงึ มรี ่างกายทส่ี ะอาดและ แข็งแรง แต่งกายสะอาด กริ ยิ ามารยาทสุภาพออ่ นน้อม มบี ุคลกิ ออ่ นโยน ทา่ ทางคล่องแคล่วเหมาะสมกบั วัย มุ่งเนน้ ให้นกั เรียน นักศกึ ษาปฏบิ ัติตนเพื่อใหม้ ีสุขภาพร่างกายที่สะอาดแข็งแรงสมบูรณ์ มีความ สุภาพออ่ นน้อม มบี ุคลิกลักษณะออ่ นโยน ท่าทางคลอ่ งแคล่วเหมาะสมกบั วยั /ระดับ...

- 12 - ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ มีร่างกายแข็งแรง สะอาด สมบูรณ์ ลักษณะท่าทางคล่องแคล่ว ว่องไว เหมาะสมกับวัย ใช้คําพูด สุภาพ แสดงกริ ยิ ามารยาทเรียบร้อย มีสัมมาคารวะ ตลอดจนแต่งกายได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ปฏิบตั จิ นเป็นนสิ ัย เป็นแบบอย่างทด่ี ีและแนะนําผอู้ ืน่ ได้ ๓ มีรา่ งกายแข็งแรง สะอาด สมบรู ณ์ ลักษณะทา่ ทางคล่องแคลว่ ว่องไว เหมาะสมกบั วยั ใชค้ าํ พดู สภุ าพ แสดงกิรยิ ามารยาทเรยี บรอ้ ย มสี ัมมาคารวะ ตลอดจนแต่งกายไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ เป็นแบบอย่างแกผ่ อู้ ่ืนได้ ๒ มีร่างกายแขง็ แรง สะอาด สมบูรณ์ ลักษณะทา่ ทางคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว เหมาะสมกบั วยั ใช้คาํ พูด สุภาพแสดงกิริยามารยาทเรียบรอ้ ย มสี ัมมาคารวะ ตลอดจนแตง่ กายได้เหมาะสมกับกาลเทศะ เปน็ แบบอยา่ งแก่ผอู้ ื่นไดเ้ ปน็ ส่วนมาก ๑ มรี า่ งกายแขง็ แรง สะอาด สมบรู ณ์ ลักษณะท่าทางคลอ่ งแคลว่ ว่องไว เหมาะสมกับวัย ใชค้ าํ พูด สภุ าพ แสดงกิรยิ ามารยาทเรยี บรอ้ ย มีสมั มาคารวะ ตลอดจนแตง่ กายไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ เป็นบางครัง้ วิธีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มลู ๑. สาํ รวจรอ่ งรอยการบนั ทึกสุขภาพการชง่ั น้ําหนกั วดั สว่ นสงู ของนกั เรียน นกั ศกึ ษา ๒. สัมภาษณ์ครู อาจารย์ เพ่ือน ๆ ๓. สังเกตพฤติกรรมการแต่งกาย สขุ ภาพ กิรยิ ามารยาท และบคุ ลกิ ภาพของนักเรียน นกั ศกึ ษา ๓.๒) มีสุขภาพจติ ทด่ี ี หมายถึง การทนี่ กั เรยี น นกั ศกึ ษาแสดงออกถงึ ความร่าเรงิ แจม่ ใส มองโลกในแง่ดี ม่ันใจในตนเอง มีความม่ันคงทางอารมณ์และแสดงออกได้อย่างคล่องแคล่วเหมาะสมกับวัย มุง่ เนน้ ให้นักเรยี น นกั ศกึ ษาแสดงออกถึงความรา่ เริงแจ่มใส มคี วามร้สู กึ ที่ดีต่อตนเองและผู้อนื่ รู้จกั ควบคมุ อารมณไ์ ดเ้ หมาะสมกบั วยั และสถานการณ์ ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ มคี วามรา่ เริงแจม่ ใส มีความมัน่ ใจในตนเอง มีความมั่นคงทางอารมณ์ มคี วามรสู้ กึ ทีด่ ี ต่อตนเองและผู้อนื่ อย่างสมํา่ เสมอตอ่ เนอ่ื งจนเปน็ นสิ ยั ไดร้ บั การยอมรับจากบคุ คลทวั่ ไป ใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งและแนะนาํ ผู้อ่ืนได้ ๓ มคี วามรา่ เรงิ แจ่มใส มีความม่นั ใจในตนเอง มีความมน่ั คงทางอารมณ์ มคี วามรู้สึกทด่ี ตี อ่ ตนเองและผู้อืน่ อย่างสมา่ํ เสมอต่อเนือ่ งจนเป็นนิสัย ๒ มีความรา่ เริงแจ่มใส มคี วามมั่นใจในตนเอง มคี วามมัน่ คงทางอารมณ์ มคี วามรูส้ ึกทีด่ ตี ่อ ตนเองและผอู้ ่ืนเป็นบางคร้งั ๑ มีความร่าเริงแจ่มใส แต่ขาดความมั่นใจในตนเอง มีความม่ันคงทางอารมณ์ มีความรู้สึกท่ีไม่ ดีต่อตนเองและผู้อ่นื วิธกี ารประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มลู ๑. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษาเก่ยี วกับความมีจติ ใจรา่ เริงแจม่ ใส ความมัน่ ใจในตนเอง ความรู้สึก ทด่ี ตี อ่ ตนเองและผอู้ น่ื ๒. สมั ภาษณ์นกั เรียน นักศกึ ษา คร-ู อาจารย์ เพือ่ น ผ้ปู กครอง ๓. ศกึ ษาพฤตกิ รรมจากแบบรายงานพฤติกรรมของนักเรยี น นักศกึ ษา /3.3) มสี ขุ นสิ ยั ...

- 13 - ๓.๓) มสี ุขนสิ ยั ทดี่ ี เปน็ ผทู้ หี่ า่ งไกลและปลอดจากสารเสพตดิ หมายถึง การประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเป็นผู้มี สุขภาพพลานามัยท่ีดีท้ังด้านร่างกาย จิตใจ รวมท้ังเป็นผู้ที่ห่างไกลและปลอดจากสารเสพติด มุ่งเนน้ ให้นกั เรียน นักศึกษา ปฏิบัติตนตามสขุ บญั ญัติ เชน่ การดูแลสขุ ภาพ การรจู้ กั รักษาความ สะอาด การออกกําลังกายสมํ่าเสมอ การเปน็ ผหู้ ่างไกลและปลอดจากสารเสพตดิ การทําจิตใจใหเ้ บิกบาน การอยรู่ ว่ มกับ ผอู้ ื่นไดอ้ ย่างมีความสขุ ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ ดูแลรักษาสุขภาพของตนเองถูกต้อง ครบถ้วนตามสุขบัญญัติของกระทรวงสาธารณสุข ออกกําลงั กายและเล่นกฬี าสมา่ํ เสมอ มีกิจกรรมที่หลีกเลีย่ งใหห้ ่างไกลจากอบายมุข ตลอดจน สารเสพติดทัง้ ปวง เปน็ ทย่ี อมรบั วา่ เปน็ แบบอย่างทด่ี ีและสามารถแนะนาํ ใหผ้ อู้ ืน่ ปฏบิ ัติตามได้ ๓ ดูแลรักษาสขุ ภาพของตนเองถูกตอ้ ง ครบถ้วนตามสุขบญั ญตั ขิ องกระทรวงสาธารณสุข ออกกาํ ลังกายและเลน่ กฬี าสมาํ่ เสมอ มกี ิจกรรมท่หี ลกี เล่ียงใหห้ ่างไกลจากอบายมขุ ตลอดจน สารเสพติดท้ังปวง เป็นทีย่ อมรบั วา่ เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีแกผ่ ูอ้ ่นื ๒ ดแู ลรักษาสุขภาพของตนเองถกู ตอ้ ง ครบถ้วนตามสขุ บัญญัติของกระทรวงสาธารณสุข ออกกําลงั กายและเล่นกีฬาสมํา่ เสมอ มกี ิจกรรมทหี่ ลีกเลย่ี งใหห้ ่างไกลจากอบายมขุ ตลอดจนสารเสพติดทง้ั ปวง ๑ ดูแลรักษาสขุ ภาพของตนเองถูกตอ้ ง ครบถว้ นตามสขุ บญั ญตั ิของกระทรวงสาธารณสุข ออกกาํ ลงั กายและเลน่ กีฬาบา้ ง แตไ่ มส่ มาํ่ เสมอ มีกิจกรรมท่หี ลกี เลยี่ งใหห้ ่างไกล จากอบายมขุ ตลอดจนสารเสพติดทั้งปวง วิธกี ารประเมนิ และแหล่งขอ้ มูล ๑. สมั ภาษณแ์ ละสังเกตพฤติกรรมนกั เรียน นกั ศึกษา ๒. สมั ภาษณ์ ครู อาจารย์ เพือ่ น ผูป้ กครอง คนงาน ภารโรง ๓. ศึกษารายงานพฤติกรรมของนกั เรียน นักศกึ ษา ๔. พจิ ารณารางวัล เกียรติบตั ร หลกั ฐานการเขา้ แข่งขันกฬี าประเภทต่าง ๆ ประกอบ ๔) ความประพฤติ คณุ ธรรม จริยธรรมทสี่ าํ คญั ๔.๑) เปน็ พลเมอื งดี มคี วามซ่ือสตั ย์ มรี ะเบียบวนิ ัย และมคี วามรบั ผดิ ชอบ ความซื่อสัตย์ หมายถึง การประพฤติปฏิบัติอย่างเหมาะสมและตรงต่อความเป็นจริงทางกาย วาจา ใจ ทัง้ ต่อ ตนเองและผอู้ ื่น มุ่งเนน้ ให้นักเรยี น นกั ศึกษา ปฏิบัติตนตรงต่อความเปน็ จรงิ ทาํ ตามคาํ ม่นั สัญญาที่ใหไ้ ว้ตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่ ความมรี ะเบยี บวนิ ยั หมายถึง การจัดระบบการดาํ เนินชวี ติ และความสมั พันธ์ในสงั คมใหเ้ รียบรอ้ ยโดยมุ่งให้นักศึกษา ประพฤติปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎข้อบังคับ ระเบียบแบบแผนและขนบธรรมเนียมประเพณีอันดงี าม เพื่อความ สงบสุขในชีวติ ของตนและความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยของสังคม มุ่งเน้น ให้นักเรียน นักศึกษา ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของสถาบันการศกึ ษาและของสงั คม เพื่อการดําเนนิ ชวี ิตอย่างสงบสุข และมีสมั พนั ธภาพทด่ี ีในสงั คม /ความรบั ผิดชอบ...

- 14 - ความรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ การมีความมงุ่ มน่ั ตง้ั ใจปฏิบัตติ นตามบทบาทหน้าท่จี นบรรลผุ ล ตามความ มุ่งหมาย พากเพยี รทําใหส้ ําเร็จด้วยความมานะอดทน ยอมรบั ผลการกระทาํ นั้นและพยายามปรับปรุงการปฏบิ ตั ิหน้าทใ่ี ห้ดยี ่ิงขนึ้ มงุ่ เนน้ ใหน้ กั เรียน นักศกึ ษาปฏบิ ตั ิหน้าทกี่ ารงานของตนในการศกึ ษาเล่าเรียนและการทํางานด้วยความ ขยันหม่ันเพียร ไมย่ ่อทอ้ ต่ออปุ สรรคทีเ่ กิดขนึ้ มุ่งปฏิบตั ใิ ห้สาํ เรจ็ ดว้ ยดที ้งั ในสถานศึกษา ครอบครวั และสังคม ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ ยดึ มน่ั ประพฤตปิ ฏบิ ัติงานตรงต่อความเป็นจรงิ ทงั้ กาย วาจา ใจ รกั ษาคําม่ันสัญญา ยอมรับ และตัง้ ใจปฏบิ ัตติ นตามขอ้ ตกลง ระเบยี บ กฎเกณฑต์ ่าง ๆ เพอ่ื ความสงบสุข ตั้งใจศึกษา เล่าเรียนและทาํ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายด้วยความขยัน อดทน พากเพียร ทาํ ใหส้ าํ เร็จตามความ มงุ่ หมาย โดยไมย่ ่อทอ้ ต่ออุปสรรคทเี่ กดิ ขน้ึ พยายามปรับปรงุ การปฏบิ ัตงิ านและปฏิบัติ หน้าทใ่ี หด้ ยี ิ่งขน้ึ โดยม่งุ หวงั ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สว่ นรวม ๓ เตม็ ใจประพฤตปิ ฏิบตั งิ านตรงตอ่ ความเปน็ จรงิ ท้งั กาย วาจา ใจ รกั ษาคาํ ม่นั สัญญา ยอมรบั และตง้ั ใจปฏบิ ตั ิตนตามข้อตกลง ระเบยี บกฎเกณฑต์ ่าง ๆ เพื่อความสงบสขุ ของคนรอบขา้ ง ศึกษาเล่าเรียนและทาํ งานท่ีไดร้ บั มอบหมายดว้ ยความขยัน อดทน พากเพยี ร ทําใหส้ ําเร็จ ตามความมงุ่ หมายโดยไมต่ อ้ งมใี ครบังคบั ๒ ประพฤติปฏิบัติงานตรงตอ่ ความเป็นจริงและรกั ษาคาํ มั่นสัญญาปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง ระเบยี บ กฎเกณฑ์ตา่ งๆ เมอ่ื มคี าํ ส่งั ศกึ ษาเลา่ เรียนและทํางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหส้ ําเรจ็ ลลุ ว่ ง โดยมุ่งหวงั ประโยชน์สว่ นตนและให้เป็นทย่ี อมรับของบคุ คลอ่นื ๑ ประพฤติปฏิบัติงานตรงต่อความเป็นจริงและรักษาสัญญา ปฏิบัติตนตามข้อตกลง ระเบียบกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ เม่ือความจําเป็นบังคบั เพ่อื หวงั จะได้ประโยชน์ตอบแทนศกึ ษา เล่าเรียน ทํางาน ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายด้วยความจาํ เป็น ทําตามที่คนอน่ื ทาํ วธิ กี ารประเมินและแหลง่ ขอ้ มูล ๑. สัมภาษณน์ กั เรยี น นักศกึ ษา ๒. สมั ภาษณค์ รู อาจารย์ เพ่ือน ๆ ผูป้ กครอง ๓. พิจารณาเกียรติบตั ร หรือรางวัลตา่ ง ๆ ๔.๒) มีความกตญั ญกู ตเวที เสยี สละและเออ้ื เฟื้อเผ่อื แผ่ ความกตญั ญกู ตเวที หมายถงึ การปฏบิ ัติตนในการเอาใจใส่ดูแลชว่ ยเหลือภารกจิ และการงานของผูม้ ีพระคุณ ประพฤตแิ ละปฏบิ ัติตนตามคาํ ส่งั สอนดาํ รงตนอยใู่ นศลี ธรรมและเชิดชูช่ือเสยี งของหมู่คณะและวงศต์ ระกลู ม่งุ เนน้ ให้นักเรียน นักศึกษา ไดช้ ว่ ยเหลอื ตอบแทนและปฏบิ ตั ติ นตามคําสัง่ สอนของผู้มีพระคณุ ความเสยี สละและเออื้ เฟื้อเผอ่ื แผ่ หมายถงึ การละความเห็นแกต่ วั รูจ้ กั แบ่งปนั ชว่ ยเหลอื สังคมและบคุ คลท่ี ควรให้ดว้ ยกําลังกาย กาํ ลังทรัพย์ กําลังสติปญั ญา รวมทั้งการร้จู กั ยับยัง้ อารมณ์ตนเอง มุ่งเนน้ ใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษา ไดช้ ว่ ยเหลือสงั คมและบคุ คลอื่นทง้ั กําลงั กาย กาํ ลงั ทรพั ย์ สตปิ ญั ญา เช่น การแบง่ ปันสง่ิ ของตา่ ง ๆ ใหแ้ ก่คนทีค่ วรให้เมอื่ มีโอกาส บาํ เพญ็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน สงั คม รจู้ กั ยับยง้ั อารมณ์ ความโลภและความโกรธ หรือเมือ่ เกดิ ปัญหาขดั แยง้ กนั เปน็ ต้น /ระดบั ...

- 15 - ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ เอาใจใสด่ ูแล ชว่ ยเหลอื การงานผูม้ พี ระคณุ อยู่เป็นประจําด้วยความเต็มใจ ม่งุ มน่ั ปฏบิ ตั ิงาน ตามคาํ สงั่ สอนผูม้ ีพระคณุ อยู่เสมอทงั้ กาํ ลงั กาย กําลงั ทรพั ย์ สตปิ ญั ญา ดว้ ยความชนื่ ชมยนิ ดี รวมทัง้ รจู้ ักยบั ยงั้ อารมณ์ ละความโกรธ ความเห็นแก่ตัวเมอ่ื เกดิ ปัญหาขัดแยง้ พยายามปรบั ปรงุ ตนเองให้ดีข้นึ อยเู่ สมอ ๓ พอใจทีไ่ ดด้ ูแลชว่ ยเหลอื การงาน ปฏบิ ตั ติ นตามคําสั่งสอนของผมู้ ีพระคณุ เต็มใจ ใหค้ วามช่วยเหลอื สังคมและบคุ คลอ่ืนตามกาํ ลังความสามารถโดยไมม่ ใี ครบังคบั และรู้จักยบั ยง้ั อารมณเ์ ม่อื เกิดปญั หา ขดั แยง้ ๒ ดูแลช่วยเหลือการงานผู้มีพระคุณบางโอกาส ปฏิบัติตนตามคําสั่งสอนของผู้มีพระคุณเมื่อถูก ตักเตือนหรือถูกบังคับ ช่วยเหลือสังคมและบุคคลอ่ืนเพ่ือให้เป็นท่ียอมรับของสังคม สามารถยับย้ัง อารมณเ์ มอื่ เกิดปญั หาขัดแยง้ ไดเ้ ป็นบางคร้งั ๑ ดแู ลชว่ ยเหลอื การงานตลอดจนปฏิบตั ติ ามคําสง่ั สอนของผมู้ ีพระคณุ ด้วยความจาํ เปน็ หรอื หวงั ผลตอบแทนหรอื ถกู บังคับ ชว่ ยเหลือผ้อู ื่นเปน็ บางโอกาส ไม่สามารถยับยง้ั อารมณ์ เม่อื เกดิ ปัญหาขดั แยง้ ได้ วิธีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มลู ๑. สัมภาษณน์ กั เรยี น นกั ศกึ ษา ๒. สัมภาษณ์ ครู อาจารย์ เพือ่ น ๓. พิจารณาเกยี รติบตั ร หรือรางวัลตา่ ง ๆ ๔.๓) รูจ้ กั ประหยดั อดออม และใช้สงิ่ ของอยา่ งคุม้ คา่ หมายถึง การรู้จกั ใชเ้ วลาและทรัพย์สิน ทงั้ สว่ นตนและ ส่วนรวมตามความจําเปน็ ใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละคุม้ คา่ ท่สี ุดรวมทง้ั การรู้จักดํารงชีวิตให้เหมาะสมและพอเพยี ง มุ่งเนน้ ใหน้ กั เรียน นกั ศกึ ษาใช้เวลา ทรพั ยส์ ินและทรพั ยากรให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด รู้จกั ซอ่ มแซม บาํ รงุ รักษาเสอื้ ผา้ เครอ่ื งมอื เคร่ืองใชใ้ หส้ ามารถใชไ้ ด้อย่างคุ้มคา่ ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ ร้จู ักใชเ้ วลา ทรพั ยส์ นิ และทรพั ยากรทงั้ ส่วนตนและสว่ นรวมตามความจําเป็นให้เกดิ ประโยชน์ และคุ้มค่าทส่ี ดุ ได้รบั การยกย่องใหเ้ ป็นแบบอยา่ งท่ดี ี ใหค้ นอนื่ ปฏิบตั ิตามได้ ๓ รจู้ ักใชเ้ วลา ทรพั ยส์ ิน และทรัพยากรทั้งส่วนตนและส่วนรวมตามความจาํ เปน็ ให้เกดิ ประโยชน์ และค้มุ คา่ เปน็ แบบอย่างที่ดใี หค้ นอ่นื ปฏิบตั ิตามได้ ๒ รจู้ กั ใช้เวลา ทรัพยส์ นิ และทรพั ยากรของส่วนตน และสว่ นรวมใหเ้ กิดประโยชน์ได้เปน็ แบบอยา่ งใหค้ นอ่ืนปฏิบัติตามได้บ้าง ๑ รจู้ ักใช้เวลา ทรพั ยส์ ิน และทรพั ยากรของส่วนตนและสว่ นรวมให้เกดิ ประโยชน์ไดบ้ ้าง แตไ่ ม่ สามารถเป็นแบบอย่างใหค้ นอน่ื ปฏิบัตติ ามได้ วธิ ีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มลู ๑. สัมภาษณ์นกั เรียน นกั ศกึ ษา ครู อาจารย์ เพอื่ น และผปู้ กครอง ๒. ประเมนิ จากการสงั เกตพฤติกรรม ของนักศึกษา /4.4) มคี วามเป็น...

- 16 - ๔.๔) มีความเป็นประชาธปิ ไตยและมีภาวะผู้นาํ ความเปน็ ประชาธปิ ไตย หมายถึง การประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเป็นผ้ทู ่ีมคี ารวะธรรม ปญั ญาธรรม และสามัคคธี รรม เพอ่ื การอยู่รว่ มกันในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ มุง่ เนน้ ให้นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เคารพสทิ ธิ รบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อนื่ ใชห้ ลักเหตผุ ลในการตดั สนิ ปญั หา ให้ ความร่วมมอื ในการทํางาน และเหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์ส่วนตน ภาวะผนู้ าํ หมายถึง ความสามารถในการทาํ งาน หรือดําเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ กล้าคิด กล้าทํา กล้าตัดสนิ ใจ แสดงความรับผดิ ชอบในการดําเนินงานให้กา้ วหนา้ ยอมรบั ความคิดเหน็ ของผู้อนื่ ปรบั ทศิ ทางการทาํ งาน กํากบั ตดิ ตาม และพยายามสรา้ งความมั่นใจให้กับผู้ร่วมงานไดป้ ฏิบัติงานจนสําเรจ็ ลุลว่ ง มุ่งเน้น ให้นักเรียน นักศึกษา กล้าคิด กล้าทาํ กล้าตัดสินใจอย่างมีเหตุผลในการเป็นผู้นํา ปฏิบัติงาน / กิจกรรมให้ได้ผลดที งั้ ในและนอกสถานศกึ ษา ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ สามารถอํานวยการในการปฏิบัติงาน/กิจกรรมในฐานะผู้นํากิจกรรม ประธานหรือผู้ร่วมงาน ในห้องเรียน ในสถานศึกษาและหรอื นอกสถานศึกษาใหไ้ ด้รบั ความสาํ เร็จได้ผลดีเย่ียมจน เป็นที่ยอมรับ จากเพือ่ นนักศึกษาทวั่ ไป ตลอดจนครอู าจารย์และบุคลากรในสถานศกึ ษา คดิ รเิ รมิ่ และเข้าร่วมกิจกรรม ส่งเสริมประชาธิปไตยทั้งในสถานศึกษาและชุมชนเป็นปกติ เป็นผู้กล้าคิด กล้าตัดสินใจแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติงานเพื่อส่วนรวมได้เป็นอย่างดี เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ประสานสัมพันธ์ให้เกิดความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจให้คณะผู้ร่วมงานปฏิบัติงานด้วยความราบรื่น และ ประสบความสําเรจ็ เปน็ อย่างดี ๓ สามารถอํานวยการในการปฏิบัติงาน/กิจกรรมในฐานะผู้นํากิจกรรม ประธานหรือผู้ร่วมงานใน ห้องเรียน สถานศึกษาและในหรือนอกสถานศึกษาให้ได้รับความสําเร็จได้ผลดีเป็นท่ียอมรับของกลุ่ม เพื่อนและครูอาจารย์ เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยเป็นประจํา เป็นผู้กล้าคิด กล้าตัดสินใจ ปฏิบัติงานเพื่อส่วนรวมได้ผลดี เป็นผู้เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและร่วมมือในการ ทํางานกบั คณะผรู้ ่วมงานได้อย่างราบร่ืนได้รับความสาํ เร็จดว้ ยดี ๒ สามารถอาํ นวยการในการปฏบิ ตั ิงาน/กิจกรรมในฐานะผนู้ าํ กจิ กรรมประธานหรอื ผรู้ ่วมงาน ใน ห้องเรยี นและสถานศึกษาไดผ้ ลดีพอใช้ เปน็ ท่ีรับทราบของเพ่ือนและครอู าจารย์ เข้ารว่ มกจิ กรรมส่งเสรมิ ประชาธิปไตยเปน็ บางครั้ง เป็นผู้กลา้ คดิ กลา้ ตดั สินใจในการทาํ งานเพ่อื ส่วนรวมไดผ้ ลดี พอใจ เคารพสิทธแิ ละรบั ฟงั ความคิดเห็นของผรู้ ่วมงานเปน็ บางครง้ั ไดผ้ ลงานดพี อควร ๑ สามารถอํานวยการในการปฏิบัติงานกิจกรรมต่าง ๆ ในฐานะผู้นํากิจกรรม ประธานหรือผู้ร่วมงานได้ บ่อยคร้งั เขา้ ร่วมกิจกรรมเพื่อประชาธิปไตยเป็นครั้งคราว ปฏิบัติงานโดยอาศัยความคิดเห็นของตนเอง เปน็ ส่วนใหญ่ การตดั สนิ ใจไมอ่ ยบู่ นพืน้ ฐานของการเป็นเหตุ เป็นผล วธิ ีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มูล ๑. สมั ภาษณค์ รู อาจารย์ เพอื่ นๆ ๒. พจิ ารณาคําส่ังแตง่ ตั้งการเปน็ ประธาน กรรมการนักเรียน นักศึกษา ๓. พจิ ารณารายงานผลการปฏิบตั งิ าน/กิจกรรมต่างๆ /4.5 มคี วามจงรกั ...

- 17 - ๔.๕) มีความจงรกั ภกั ดตี อ่ สถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ การมีความจงรักภกั ดตี ่อสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ หมายถึง การประพฤตติ นทแ่ี สดงถึง ความสํานกึ และความภมู ใิ จในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และวฒั นธรรมของชาติ มุ่งเน้น ให้นักเรียน นักศึกษา สํานึกและภูมิใจท่ีเกิดมาเป็นคนไทยและแสดงความ จงรกั ภักดี โดยการ บําเพญ็ ประโยชน์ต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ทกุ คร้ังทมี่ โี อกาส ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ มีความสาํ นกึ และภูมใิ จทีเ่ กดิ เปน็ คนไทย แสดงความจงรกั ภักดโี ดยการทําประโยชน์ ต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ อย่เู ป็นประจําด้วยความมุ่งมั่น ศรทั ธา ชนื่ ชมยนิ ดี จนเปน็ แบบอยา่ งและแนะนําใหผ้ อู้ ืน่ ปฏบิ ัตเิ ช่นนีไ้ ด้ ๓ มีความสาํ นกึ และภมู ใิ จที่เกดิ เป็นคนไทย แสดงความจงรักภักดโี ดยการทําประโยชน์ ต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ดว้ ยความศรทั ธา ชืน่ ชมยนิ ดจี นเปน็ แบบอย่าง แก่ผูอ้ ่นื ได้ ๒ มคี วามสาํ นกึ และภูมิใจที่เกิดเปน็ คนไทย แสดงความจงรกั ภักดีโดยการทําประโยชน์ ต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ดว้ ยความศรทั ธา ชืน่ ชมยนิ ดี ๑ มคี วามสาํ นึกและภมู ิใจทีเ่ กดิ เปน็ คนไทย แสดงความจงรกั ภักดโี ดยการทําประโยชน์ ต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ วิธีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มูล ๑. สมั ภาษณน์ กั เรยี น นักศกึ ษา ๒. สมั ภาษณ์ ครู อาจารย์ เพอื่ น ๓. ประเมนิ จากแฟม้ สะสมงาน ๔. พิจารณาจากภาพกิจกรรมของสถานศกึ ษาในโอกาสต่าง ๆ ๕) การอนรุ กั ษศ์ ิลปวฒั นธรรมและสงิ่ แวดลอ้ ม ๕.๑ ใชภ้ าษาไทยได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสมตามหลกั ภาษาไทย หมายถึง ความสามารถในการพดู อา่ น เขยี น ภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามหลักภาษาไทยและเหมาะสมกบั กาลเทศะ มงุ่ เนน้ ใหน้ กั เรยี น นักศกึ ษา สามารถพูดและอา่ นออกเสยี งภาษาไทย คําควบกล้าํ ไดถ้ กู ต้อง ตามอกั ขรวธิ ี และเขียนไดถ้ กู ต้องตามหลักไวยากรณ์และเหมาะสมกับกาลเทศะ ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ พดู และเขียนภาษาไทยได้อย่างถูกตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ ใชถ้ ้อยคําสาํ นวนสละสลวย เข้าใจง่าย เหมาะสมกบั กาลเทศะท้ังหมดจนเป็นแบบอยา่ งและแนะนําผอู้ ่ืนปฏิบตั ิ ใหถ้ ูกตอ้ งได้ ๓ พดู และเขียนภาษาไทยได้อยา่ งถูกตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ ใชถ้ อ้ ยคาํ สาํ นวนสละสลวย เขา้ ใจง่าย เหมาะสมกับกาลเทศะจนเปน็ แบบอยา่ งและแนะนาํ ผอู้ ื่นปฏิบัติให้ถูกตอ้ ง ไดเ้ ป็นบางครั้ง ๒ พูดและเขียนภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ ใช้ถอ้ ยคําสาํ นวนสละสลวย เขา้ ใจงา่ ย เหมาะสมกบั กาลเทศะแนะนําผอู้ นื่ ปฏิบตั ิใหถ้ กู ต้องได้ ๑ พดู และเขยี นภาษาไทยไมค่ อ่ ยถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ ใชถ้ อ้ ยคาํ สํานวนไม่สละสลวย เข้าใจยากและไม่ค่อยถูกต้องตามกาลเทศะ /วิธกี าร...

-18- วิธีการประเมนิ และแหล่งขอ้ มูล ๑. สัมภาษณน์ ักเรียน นักศกึ ษา ๒. ใหน้ ักศกึ ษาอ่านและเขียนเร่ืองราวท่กี ําหนด ๓. พจิ ารณาจากเกยี รติบัตรและรางวัลต่าง ๆ ๕.๒ มคี วามภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย หมายถงึ การแสดงความรกั ความหวงแหนและชื่นชมใน ศิลปวัฒนธรรมของทอ้ งถ่ินของตนเองและชาตไิ ทย มงุ่ เนน้ ใหน้ ักเรียน นักศึกษา แสดงออกถึงความภาคภมู ิใจในความเป็นไทย คมุ้ ครอง เผยแพร่ ดแู ล ศลิ ปวฒั นธรรมของทอ้ งถิน่ และชาตไิ ทยใหด้ าํ รงอยู่สืบไป ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ แสดงออกถึงความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมของท้องถ่ินไทยและชาติไทย ร่วมอนุรักษ์ เผยแพรแ่ ละสืบทอดใหด้ าํ รงอยู่ตลอดไป พรอ้ มท้งั สามารถเป็นแบบอย่างกับผ้อู ่ืนได้ ๓ แสดงออกถึงความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมของท้องถ่ินและชาติไทย ร่วมอนุรักษ์ เผยแพร่และรักษาให้ดาํ รงอยตู่ อ่ ไป ๒ แสดงออกถึงความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมของท้องถ่ินและชาติไทย พยายามอนุรักษ์ ให้ ดาํ รงอย่ตู อ่ ไป ๑ มีความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมไทยแต่ไม่ใส่ใจในการดูแลรักษาและเผยแพร่ ศลิ ปวัฒนธรรมให้ดาํ รงอยู่สืบไป วธิ ีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มูล ๑. สมั ภาษณน์ กั เรยี น นกั ศกึ ษา เพือ่ นในหอ้ ง ครู อาจารย์ ๒. พจิ ารณาร่องรอยหลักฐานจากแฟ้มสะสมงาน ๓. ประเมนิ จากผลงาน / โครงการ ๔. ตรวจสอบการเข้ารว่ มกิจกรรมของสถานศกึ ษาและชมุ ชน ๕.๓ มีจิตสาํ นกึ ในการอนรุ กั ษแ์ ละใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและสงิ่ แวดลอ้ มท่ีมอี ยใู่ ห้ยงั่ ยนื หมายถงึ การรจู้ ักใชแ้ ละรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและส่ิงแวดล้อมอย่างค้มุ ค่า และพัฒนาให้ย่ังยนื เพอื่ ประโยชนต์ อ่ การ ดํารงชวี ิต มุ่งเนน้ ใหน้ ักเรียน นักศึกษาเห็นคณุ คา่ และรูจ้ กั ใชท้ รพั ยากร พลงั งาน สง่ิ แวดล้อม อุปกรณ์เครอื่ งมอื เคร่อื งใช้อย่างถนอมรักษาให้ใช้ได้นานและเกดิ ประโยชนม์ ากทสี่ ดุ ร้จู ักบรู ณะซ่อมแซมหรอื ปรับเปลี่ยนของใช้เก่าหรือ หมดสภาพการใช้งานมาใช้ให้เป็นประโยชน์ใหม่ เพื่อลดการทาํ ลายส่ิงแวดล้อมและพัฒนาให้ย่ังยืน /ระดับ...

- 19 - ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ รักษาและร้จู กั ใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดลอ้ มอย่างค้มุ คา่ สามารถ ปรับเปล่ียนของเก่าท่ใี ชแ้ ลว้ นํามาใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ เป็นแบบอย่างทดี่ ใี นการส่งเสรมิ และ รณรงค์ในการรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมใหย้ ่ังยนื ๓ รกั ษาและรจู้ ักใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ กิดประโยชน์ สามารถ ปรบั เปลย่ี นของเก่าที่ใช้แล้วนาํ มาใช้ให้เป็นประโยชน์ ร่วมรณรงค์ในการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมด้วยความเต็มใจ ๒ รกั ษาและรจู้ กั ใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและสิง่ แวดล้อมให้เกิดประโยชน์ สามารถ ปรับเปลย่ี นของเกา่ ที่ใชแ้ ลว้ นาํ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในบางโอกาสทีเ่ หมาะสม ๑ รกั ษาและรจู้ กั ใช้ทรพั ยากรธรรมชาตพิ ลงั งานและสิ่งแวดลอ้ มใหเ้ กดิ ประโยชน์ ตามความจําเป็นและคําแนะนาํ ของผอู้ นื่ วิธีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มูล ๑. สัมภาษณน์ ักเรยี น นักศกึ ษา ๒. ประเมนิ ผลจากผลงานโครงงาน / กจิ กรรม ๓. สมั ภาษณเ์ พือ่ น ครูอาจารย์ ๔. พิจารณาร่องรอยหลักฐานจากเอกสารอ่ืน ๆ เชน่ แฟ้มสะสมงาน 4.๒.๒ กิจกรรมหรอื /ผลงานดเี ดน่ ของนกั ศกึ ษา (ตามแบบ พร.๑ ข้อ ๒) กิจกรรมหรือผลงานดีเด่นของนักเรียน นักศึกษา กําหนดขอบเขตของกิจกรรมหรือผลงานดีเด่นที่ ก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อสวนรวม มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเสริมสร้างคุณธรรม มีความดีงามและสร้างสรรค์ เป็นท่ียอมรับ ในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ตลอดจนครูอาจารย์ หรือบุคคลท่ัวไปทั้งในและนอกสถานศึกษา ในระดับกลุ่มสถานศึกษา ในชมุ ชน อาํ เภอ จังหวดั เขตการศกึ ษาในระดับประเทศ หรอื นานาประเทศ มีร่องรอยหลักฐานอยา่ งชัดเจน ตัวอยา่ ง กิจกรรม และผลงานดีเด่น - กิจกรรม เช่น เป็นประธานนักเรียน นักศึกษา หรือ กรรมการนักเรียน นักศึกษา ประธานชุมนุม ผู้นํา กิจกรรมต่าง ๆ ผู้นําเยาวชน ยุวเกษตรกร ผู้แทนเยาวชนเผยแพร่ศิลปวัฒธรรม ผู้แทนเยาวชนต่อต้านยาเสพติด เป็นตน้ - ผลงานดีเด่น เป็นผลงานหรือผลผลิตที่เกิดจากความสามารถด้านต่าง ๆ เช่น ด้านวิชาการ กีฬา ศิลปะ ดนตรี นาฎศิลป์ งานประดิษฐ์ งานช่างฝีมือ เป็นต้น ท่ีมีความดีเด่นจนเป็นที่ยอมรับ ได้รับคัดเลือก เข้าประกวดแขง่ ขนั ในระดบั สถานศกึ ษา ประเทศ หรอื นานาประเทศ การประเมินกิจกรรมและผลงานดีเด่นของนักเรียน นักศึกษา จะพิจารณาจากสิ่งท่ีปรากฏ ๓ ประการ คือ ๑) ความมีคุณประโยชน์ ๒) ความมีคุณภาพ ๓) ความมีคุณธรรมดีงามและสร้างสรรค์ โดยพิจารณา จากรายละเอียด ดงั น้ี ๑) ความมีคุณประโยชน์ หมายถึง กิจกรรมหรือผลงานน้ัน ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต สภาวะแวดล้อมและเสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าแก่กิจการ เพื่อส่วนรวมในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา สถานศึกษา กลมุ่ สถานศึกษา ชุมชน จังหวดั เขตการศกึ ษา ประเทศ หรอื นานาประเทศ /2) ความมีคุณภาพ...

- 20 - ๒) ความมีคุณภาพ หมายถึง กิจกรรมหรือผลงานนั้น ประสบความสําเร็จ มีประสิทธิภาพ มั่นคง เป็นแบบอย่างที่ดี ได้รับคัดเลือกส่งเข้าประกวดแข่งขัน สามารถสร้างชื่อเสียงได้รับการยอมรับ และไว้วางใจจาก กลุ่มเพ่ือนนักเรียน นักศึกษา ตลอดจนครูอาจารย์และบุคคลทั่วไป ท้ังในระดับสถานศึกษา กลุ่มสถานศึกษา ชุมชน จังหวัด เขตการศึกษา ประเทศ หรือนานาประเทศ ๓) ความมีคุณธรรมดีงามและสร้างสรรค์ หมายถึง กิจกรรมหรือผลงานมีส่วนส่งเสริมจริยธรรม ดีงาม เกิดแนวคิดใหม่ สร้างสรรค์ความสมานสามัคคี เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม เสริมสร้างประชาธิปไตยส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นหรือของชาติ รวมทั้งเกิดการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมท่ีดีและให้ประโยชน์ต่อชุมชนโดยมีแนว ทางการให้ระดบั คะแนนกิจกรรมและผลงานดีเดน่ ของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา การประเมินกจิ กรรมและผลงานดีเด่นของนักเรยี น นักศึกษา มวี ธิ ีพิจารณาดงั นี้ ๑) ความมีคณุ ประโยชน์ ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ มีกิจกรรมและหรือผลงานก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือสภาวะแวดล้อม หรือ เสริมสร้าง ความเจริญก้าวหน้าแก่กิจการเพื่อส่วนรวม กลุ่มเพ่ือน นักเรียน นักศึกษา ได้ผลดีในระดับสูงมาก มีร่องรอยหลักฐานชัดเจนเป็นท่ียอมรับในกลุ่มเพ่ือน นักเรียน นกั ศึกษา ครอู าจารย์ และกลุ่มคนท่วั ไปในระดบั สถานศกึ ษา กลุ่มสถานศึกษา หรอื ชุมชน จงั หวดั เขตการศึกษาประเทศ หรอื นานาประเทศ ๓ มีกิจกรรมและหรอื ผลงานที่กอ่ ให้เกิดการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตหรอื สภาวะแวดลอ้ ม หรอื เสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าแก่กิจการเพ่ือส่วนรวม กลุ่มเพ่ือน นักเรียน นักศึกษา ได้รับผลดีระดับสูง มีร่องรอยหลักฐานชัดเจน เป็นท่ียอมรับในกลุ่มเพื่อน นักเรียน นักศกึ ษา ครู และกลุ่มคนในระดับสถานศึกษา กลมุ่ สถานศึกษา ชุมชน จังหวัด หรือเขต การศกึ ษา ๒ มกี จิ กรรมและหรือผลงานที่กอ่ ให้เกิดการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตหรอื สภาวะแวดลอ้ ม หรอื เสริมสรา้ ง ความเจรญิ แกก่ ิจการเพือ่ สว่ นรวม กลมุ่ เพอื่ น นักเรียน นกั ศกึ ษาไดร้ ับผลดีใน ระดับพอใช้ มีร่องรอยหลักฐานเป็นท่ียอมรับในกลุ่มเพ่ือน นักเรียน นักศึกษา ครู ใน ระดับสถานศกึ ษาและในกลุ่มคนขนาดเล็ก หรอื ในชุมชน ๑ มกี จิ กรรมและหรอื ผลงานที่กอ่ ให้เกดิ การพัฒนาคุณภาพชีวติ หรอื สภาวะแวดล้อม หรือ เสริมสร้าง ความเจริญแก่กจิ การส่วนรวม กลุ่มเพ่อื น นกั เรยี น นกั ศกึ ษาไดร้ บั ผลดเี พียง เล็กน้อย เป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อน นักเรียน นักศึกษา ในระดับสถานศึกษา กลุ่มเพือ่ น ทใ่ี กลช้ ิด /๒. ความมีคณุ ภาพ...

-21- ๒) ความมีคณุ ภาพ ระดบั แนวทางการใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ๔ ปฏิบัตกิ ิจกรรมและหรอื มีผลงานประสบความสาํ เรจ็ มปี ระสทิ ธภิ าพ เขม้ แขง็ มน่ั คง ในระดับสงู มาก เปน็ แบบอย่างทดี่ หี รือสามารถสรา้ งชอื่ เสียงจากการเปน็ ผ้แู ทนเขา้ ประกวดหรอื แข่งขนั ได้รบั ผลสาํ เร็จใน ระดบั สงู มาก เป็นที่ยอมรับไดร้ ับความไว้วางใจจากกลมุ่ เพื่อนนกั ศกึ ษา และบุคคลทั่วไป ในระดับ สถานศึกษา กลุ่มสถานศกึ ษาชุมชน จงั หวดั เขตการศึกษาประเทศ หรอื นานาประเทศ ๓ ปฏิบัตกิ ิจกรรมและหรอื มผี ลงานประสบความสาํ เร็จและมปี ระสิทธิภาพในระดบั สงู เปน็ แบบอย่างที่ดี สามารถ สรา้ งช่อื เสียงจากการเปน็ ผ้แู ทน หรือผเู้ ขา้ ประกวดไดร้ บั ผลสําเรจ็ ในระดบั สงู เปน็ ทีย่ อมรับไดร้ ับความ วางใจจากกลมุ่ เพื่อน นกั เรยี น นักศกึ ษา และบุคคลท่ัวไปในระดับสถานศกึ ษา กลุม่ สถานศกึ ษา ชุมชน จงั หวดั เขตการศึกษา หรอื ประเทศ ๒ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมและหรอื มผี ลงานที่ประสบความสําเรจ็ ในระดับพอใชห้ รือได้รบั คัดเลอื ก เป็นผแู้ ทน เข้าประกวด / แขง่ ขนั ได้รบั ผลสาํ เรจ็ ในระดับพอใช้ ไดร้ ับความไว้วางใจในกลุม่ เพื่อนและครอู าจารย์ใน ระดบั สถานศึกษา ๑ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและหรอื มผี ลงานท่ีประสบความสาํ เร็จเพยี งเล็กนอ้ ย เป็นผแู้ ทนเขา้ ประกวดหรอื แขง่ ขนั ในระดับชัน้ เรียน หรือสถานศกึ ษาได้รับความไว้วางใจจากกลมุ่ เพอื่ นใกล้ชิด ๓) ความมคี ณุ ธรรมดงี ามและสรา้ งสรรค์ ระดบั แนวทางการให้ระดบั คณุ ภาพ ๔ กจิ กรรมและหรอื ผลงานกอ่ ให้เกดิ การเสริมสรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรมดีงามแกส่ ว่ นรวม สรา้ งสรรค์ ความสมานสามคั คี เกิดความสงบเรยี บร้อยในสงั คม เสรมิ สรา้ งประชาธปิ ไตย ส่งเสริมศลิ ปวฒั นธรรมของ ทอ้ งถนิ่ /ของชาติ รวมทง้ั การอนุรักษส์ ภาพแวดลอ้ ม มีแนวคิดใหมเ่ จรญิ งอกงามได้รับการยอมรบั ยกยอ่ ง ชมเชยอย่างสงู มากจากกลุ่มนกั เรยี น นกั ศึกษา ครูอาจารย์ ตลอดจนสงั คมทว่ั ไป ๓ กจิ กรรมและหรอื ผลงานเสรมิ สร้างคณุ ธรรมจรยิ ธรรมดงี ามแกส่ ่วนรวม สร้างสรรคค์ วามสมานสามัคคี เสรมิ สรา้ งประชาธปิ ไตยศลิ ปวฒั นธรรมของทอ้ งถ่นิ /นานาชาตริ วมทง้ั อนรุ กั ษ์สภาพแวดล้อมหรอื มีแนวคิด ใหม่ ไดร้ บั การยอมรับอยา่ งสงู จากกลุ่มเพอื่ นนกั เรยี น นักศึกษา ครอู าจารย์ ตลอดจนสงั คมทว่ั ไป ๒ กจิ กรรมและหรือผลงานเสรมิ สรา้ งคุณธรรมจริยธรรมดีงามแก่สว่ นรวม สร้างสรรค์ความสมาน สามคั คสี ่งเสรมิ ศิลปวฒั นธรรมของทอ้ งถ่นิ /นานาชาตริ วมทง้ั อนุรักษส์ ภาพแวดล้อมได้รบั การ ยอมรับพอควรจากนกั เรยี น นักศกึ ษา และครูอาจารยใ์ นสถานศกึ ษา ๑ กจิ กรรมและหรอื ผลงานเสริมสร้างคุณธรรมจรยิ ธรรมดีงามแก่ส่วนรวม สร้างสรรคค์ วามสมาน สามคั คีสง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมของทอ้ งถน่ิ /นานาชาตริ วมทัง้ อนรุ ักษ์สภาพแวดล้อมไดร้ บั การ ยอมรับจากกลมุ่ เพ่ือนท่ใี กลช้ ดิ ในระดับชัน้ เรียนในสถานศกึ ษา /วิธกี าร...

- 22 - วธิ ีการประเมนิ และแหลง่ ขอ้ มูล ๑.พิจารณาจากหลกั ฐาน เอกสารคาํ ส่งั แตง่ ตง้ั ประกาศนียบัตร รางวัลจากการประกวดการ แขง่ ขันต่าง ๆ ๒. สัมภาษณก์ ลุ่มเพ่อื นนักเรียน นกั ศกึ ษา ผรู้ ว่ มงาน / กจิ กรรม ครอู าจารย์ ๓. วเิ คราะหจ์ ากรายงานผลการทาํ งาน กิจกรรม โครงการ ผลงานต่าง ๆ 5. การตดั สนิ ผลการคดั เลอื กและข้นั ตอนการจดั ทาํ คะแนน 5.๑ การตดั สนิ ผลการคดั เลือก  คณะกรรมการแตล่ ะระดบั จะตอ้ งตัดสินผลการคดั เลอื ก พร้อมทัง้ สง่ เอกสารประกอบ มาตามข้นั ตอน นักเรยี น นักศกึ ษาทมี่ ีสทิ ธ์ริ บั รางวัลพระราชทานจะต้องมผี ลการประเมิน ดังน้ี นักเรยี น นกั ศกึ ษาทีม่ สี ทิ ธิร์ บั รางวลั พระราชทาน จะต้องผ่านเกณฑ์ ๑. ได้คะแนนการประเมนิ คณุ ลักษณะพื้นฐานเฉลย่ี แตล่ ะข้อ (ในแบบ พร.๑) ไมต่ ํา่ กว่า ๒.๐๐ และไดค้ ะแนน เฉลย่ี รวมไมต่ ํ่ากว่า ๓.๐๐ ๒. ได้คะแนนกจิ กรรม/ผลงานดีเดน่ เฉล่ียแต่ละขอ้ (ในแบบ พร.๑) ไม่ต่าํ กวา่ ๒.๐๐ และไดค้ ะแนนเฉล่ียรวม ทกุ ข้อไม่ตํา่ กว่า ๓.๐๐ ๓. ได้คะแนนเฉลย่ี รวมของคณุ ลักษณะพื้นฐานกบั คะแนนกิจกรรม/ผลงานดีเดน่ (ในแบบ พร.๑) ไมต่ ํา่ กว่า ๓.๕๐ และได้คะแนนสูงสดุ นักเรยี น นกั ศกึ ษาทม่ี สี ทิ ธ์ิรบั เกยี รตบิ ตั รชมเชย นักเรียน นกั ศึกษาทไ่ี ด้รับการคดั เลือกเป็นลําดับที่ ๒ และ ๓ จะไดร้ ับรางวลั ชมเชย (มี ๒ รางวลั ) ซ่งึ ตอ้ งผา่ น การคดั เลือกระดบั เขตความรบั ผิดขอบของกลมุ่ กรงุ เทพมหานคร และกลุ่มจังหวดั 1 - 12 เม่ือผา่ นเกณฑ์ ตอ่ ไปน้ี ๑. ได้คะแนนการประเมินคุณลักษณะพ้ืนฐานเฉลี่ยแต่ละข้อ (ในแบบ พร.๑) ไม่ตํ่ากว่า ๒.๐๐ และได้คะแนน เฉลีย่ รวมไมต่ ่าํ กว่า ๓.๐๐ ๒. ได้คะแนนกิจกรรม/ผลงานดีเด่นเฉล่ียแต่ละข้อ (ในแบบ พร.๑) ไม่ตํ่ากว่า ๒.๐๐ และได้คะแนนเฉลี่ยรวม ทกุ ขอ้ ไม่ตํ่ากวา่ ๓.๐๐ นักเรยี น นกั ศกึ ษาทม่ี สี ทิ ธไิ์ ด้รบั เกียรตบิ ตั ร นกั เรียน นักศึกษาที่ได้รับการคดั เลือก ต้ังแต่ลําดับที่ ๔ ขึน้ ไปจะไดร้ บั เกียรติบัตรของสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซงึ่ ต้องผา่ นการคัดเลอื กระดับเขตตรวจราชการและ ต้องผา่ นเกณฑ์ ดงั ต่อไปนี้ ๑. ได้คะแนนการประเมินคุณลักษณะพ้ืนฐานเฉลี่ยแต่ละข้อ (ในแบบ พร.๑) ไม่ต่ํากว่า ๒.๐๐ และได้คะแนน เฉลยี่ รวมไม่ต่ํากว่า ๓.๐๐ ๒. ได้คะแนนกิจกรรม/ผลงานดีเด่นเฉล่ียแต่ละข้อ (ในแบบ พร.๑) ไม่ตํา่ กว่า ๒.๐๐ และได้คะแนนเฉลย่ี รวม ทกุ ข้อไม่ตา่ํ กว่า ๓.๐๐ 5.๒ ขัน้ ตอนการจดั ทาํ คะแนน เม่ือมผี ลการประเมนิ ของกรรมการแตล่ ะคนแลว้ ใหน้ าํ คะแนนของคณะกรรมการมารวม สรุปผลการประเมิน ในแบบ พร.๑ ดังน้ี ๑) หาผลรวมของคะแนนแตล่ ะขอ้ ของคณะกรรมการท้ังชดุ ในดา้ นท่ี ๑ ๒) หาผลรวมของคะแนนแต่ละขอ้ ของคณะกรรมการท้งั ชุดในดา้ นที่ ๒ /3) หาคา่ เฉลยี่ ...

- 23 - ๓) หาค่าเฉล่ียของแตล่ ะดา้ น เพื่อประเมนิ การผา่ นเกณฑข์ อ้ ที่ ๑ โดยนาํ ผลรวมจาก ขอ้ ๑) ตัง้ หารด้วย ผลคูณของจาํ นวนกรรมการทงั้ หมด กับจาํ นวนรายการประเมินดา้ นนัน้ ๆ (ใช้ทศนิยม ๒ ตําแหน่ง ไม่ปัดเศษ) ๔) หาค่าเฉลย่ี ของคะแนนรวมท้ัง ๒ ด้าน โดย นําผลรวมของค่าเฉลยี่ ด้านที่ ๑ กับด้านท่ี ๒ หารดว้ ย ๒ นาํ ผลจากขอ้ ๓ ไปใชใ้ นการพจิ ารณาและอภิปราย เพอื่ คดั เลอื กนักเรยี น นกั ศึกษา วา่ สมควรเสนอใหเ้ ขา้ รับรางวัล พระราชทาน หรือสมควรได้รับรางวัลชมเชย โดยใช้เกณฑ์ตามข้อ ๖.๑ และคณะกรรมการจะต้องสรุปความคิดเหน็ ในภาพรวมวา่ เหตุใดนักเรยี น นักศึกษา จงึ สมควรไดร้ บั รางวลั น้นั ๕.๓ การสรปุ การประเมินของนักเรียน นกั ศกึ ษา เพื่อรบั รางวลั พระราชทาน (ตามแบบ พร.๒) ให้สรปุ ข้อคดิ เห็นของคณะกรรมการทีม่ ตี อ่ นักเรยี น นกั ศกึ ษา ทเี่ ขา้ รับการประเมนิ วา่ เพราะเหตใุ ดจงึ เหน็ วา่ นักเรยี น นกั ศกึ ษา ท่เี สนอมานีส้ มควรไดร้ บั รางวัลพระราชทาน หรอื รางวลั ชมเชย /ตัวอยา่ งสรปุ ...

-24- ตวั อยา่ ง สรุปการใหค้ ะแนนของคณะกรรมการในแบบ พร. สรปุ ผลการประเมินนายมนัส ใจตรง จากคณะกรรมการ ๕ คน แสดงในตาราง ดงั น้ี รายการประเมิน ผลการประเมิน คะแนน คะแนน หมายเหตุ ๑ ๒ ๓ ๔ รวม เฉล่ีย ๑. คณุ ลักษณะพ้ืนฐาน ๑.๑ การศกึ ษาเลา่ เรียน / // // ๑๖ ๓.๒๐ (๑) มีความรู้และทักษะพ้ืนฐานตามระดบั การศึกษา ๓.๘๐ / //// ๑๙ ๓.๖๐ (๒) มีความสามารถในการคดิ และแก้ปัญหา // /// ๑๘ (๓) มคี วามขยนั หมัน่ เพียร ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน ๓.๔๐ ๑.๒ การมีทกั ษะในการจัดการและการทาํ งาน /// // ๑๗ ๓.๖๐ (๑) สามารถตัดสนิ ใจสร้างงานและวางระบบการทํางาน // /// ๑๘ (๒) สามารถทาํ งานเป็นกล่มุ และทํางานรว่ มกับผ้อู น่ื ได้หรอื ร่วมกบั กลุม่ ได้ ๓.๘๐ (๓) สามารถนาํ ทรพั ยากร ข้อมลู สารสนเทศและเทคโนโลยี / //// ๑๙ ๓.๒๐ มาใชใ้ นการทํางานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ //// / ๑๖ ๓.๖๐ ๑.๓ สขุ ภาพอนามัย // /// ๑๘ ๔.๐๐ (๑) มีสุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง สมบูรณ์ ตามวัย และมบี ุคลกิ ภาพทดี่ ี ///// ๒๐ ๓.๔๐ (๒) มีสขุ ภาพจิตท่ดี ี ๓.๖๐ (๓) มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี เปน็ ผูห้ ่างไกลและปลอดจากสารเสพติด /// // ๑๗ ๓.๖๐ ๑.๔ ความประพฤติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม // /// ๑๘ ๓.๔๐ (๑) มีความซ่อื สตั ย์ มีระเบียบวนิ ยั และความรับผดิ ชอบ // /// ๑๘ ๔.๐๐ (๒) มคี วามกตญั ญเู วที เสยี สละและเอ้อื เฟ้อื เผือ่ แผ่ /// // ๑๗ (๓) รูจ้ กั ประหยดั อดออม และใชส้ ง่ิ ของอยา่ งคุ้มค่า ๒๐ (๔) มคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตยและภาวะผนู้ าํ ///// (๕) มคี วามจงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ / // // ๑๖ ๓.๒๐ ๑.๕ การอนรุ กั ษศ์ ิลปวัฒนธรรมและสง่ิ แวดล้อม / //// ๑๙ ๓.๘๐ (๑) ใช้ภาษาไทยได้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสมตามหลักภาษาไทย //// / ๑๖ ๓.๒๐ (๒) มีความภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย (๓) มีจิตสาํ นึกในการอนุรักษ์ และใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน ๔ ๑๐๒ ๑๙๖ ๓๐๒ ๓.๕๕ และสงิ่ แวดลอ้ มทม่ี อี ยใู่ หย้ ั่งยนื รวมคะแนนคุณลกั ษณะพ้ืนฐาน ///// ๒๐ ๔.๐๐ //// / ๑๖ ๓.๒๐ ๒. กิจกรรม/ผลงานดเี ด่น /// // ๑๗ ๓.๔๐ ๒.๑ ความมคี ณุ ประโยชน์ ๒๑ ๓๒ ๕๓ ๓.๕๓ ๒.๒ ความมคี ุณภาพ (๓.๕๕ + ๓.๕๓) ÷ ๒ = ๓.๕๔ ๒.๓ ความมีคณุ ธรรมดงี ามและสร้างสรรค์ รวมคะแนนกจิ กรรม/ผลงานดีเด่น คะแนนเฉลีย่ รวม /วธิ กี ารคิด...

-25- วธิ ีการคดิ คะแนน จากตาราง มคี ณะกรรมการให้คะแนน ๕ คน ตวั อย่างการให้คะแนนดา้ นที่ ๑ ข้อ ๑.๑ (๑) มคี วามรูแ้ ละ ทกั ษะพ้นื ฐาน ตามระดับการศึกษา โดยให้ ๔ คะแนน ๒ คน ให้ ๓ คะแนน ๒ คน และให้ ๒ คะแนน ๑ คน ข้ออ่ืนๆ ก็ใหค้ ะแนนทํานองเดียวกัน ดังนน้ั เมื่อรวมคะแนนของนายมนสั ใจตรง ของดา้ นที่ ๑ (คณุ ลักษณะพน้ื ฐาน) ทกุ ขอ้ จะได้เทา่ กับ ๓๐๒ และได้คะแนนเฉลีย่ แต่ละข้อดังปรากฏในตารางชอ่ งคะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉล่ยี รวมตอ่ ดา้ นของด้านที่ ๑ คํานวณไดด้ งั น้ี คะแนนรวมคณุ ลักษณะพนื้ ฐาน = ๓๐๒ จาํ นวนกรรมการ  จาํ นวนขอ รายการประเมิน ๕  ๑๗ ดังนนั้ ค่าคะแนนเฉล่ียของคณุ ลักษณะพื้นฐาน จงึ เทา่ กบั ๓.๕๕ สว่ นคะแนนเฉลี่ยของกจิ กรรม/ผลงานดเี ดน่ ได้กค็ ดิ ทํานองเดยี วกัน ๕๓ = ๓.๕๓ ๕๓ เมื่อพิจารณาคะแนนของนายมนัส ใจตรง พบว่าคะแนนเฉล่ยี คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ (ไม่ต่ํากวา่ ๓.๐๐) และคะแนนกิจกรรม/ผลงานดีเดน่ ได้คะแนนผา่ นเกณฑ์ (ไมต่ ่าํ กว่า ๓.๐๐) เช่นเดียวกนั เมอื่ นาํ คะแนนดา้ นท่ี ๑ และดา้ นที่ ๒ มารวมกัน หาคา่ เฉลยี่ ได้ ๓.๕๓ แสดงวา่ ผ่านเกณฑก์ ารรบั รางวัลพระราชทาน (เพราะได้คา่ เฉลีย่ สูงกวา่ ๓.๕๐) สรปุ ได้วา่ นายมนัส ใจตรง มีสิทธไิ์ ด้รับรางวลั พระราชทาน ถ้าเป็นผ้ไู ดค้ ะแนนสูงทสี่ ุด ในกลมุ่ ผแู้ ข่งกนั เดยี วกัน