Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore book

book

Published by cdd.cdd591, 2020-04-29 00:55:13

Description: book

Search

Read the Text Version

1 แบบบนั ทึกองค์ความรูร้ ะดับหนว่ ยงาน ๑. ชื่อองคค์ วามรู้ การขบั เคลอ่ื นหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบของอำเภอ ปี ๒๕๖๒ ๒. ชื่อเจ้าขององค์ความรู้ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอยีง่ อ ๓. องคค์ วามรูท้ ี่บ่งชี้ หมวดที่ ๑ สรา้ งสรรคช์ มุ ชนพ่งึ ตนเองได้ ๔. ทีม่ าและความสำคญั ในการจัดทำองคค์ วามรู้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่พสกนิกรชาวไทย โดยทรงชี้ถึงแนวทางการดำรงชีวิต และการปฏิบตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดับ ให้มคี วามพอประมาณ มเี หตุผล สรา้ งภมู ิคมุ้ กันทดี่ ี และต้อง มีความรู้ คคู่ ณุ ธรรมมากำกบั ส่งผลใหช้ มุ ชนพึ่งตนเองได้ สามารถดำรงอยไู่ ด้ด้วยความมั่นคง และยั่งยนื กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ไดก้ ำหนดวิสยั ทัศนไ์ วว้ ่า “ประเทศมีความ มั่นคง มงั่ คัง่ ย่งั ยนื เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา เป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศ เพ่อื เสริมสรา้ งภูมคิ ุ้มกันและช่วยใหส้ ังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ ได้อยา่ งม่ันคง และมกี ารบรหิ ารจดั การความเสยี่ งอย่างเหมาะสม สง่ ผลให้การพัฒนาประเทศส่คู วามสมดุล และยั่งยืน และยุทธศาสตร์ที่ ๑ ของกรมการพัฒนาชุมชน (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) สร้างสรรค์ชุมชนให้ พึ่งตนเองได้ ภายใต้กลยุทธ์พัฒนาการบริหารจัดการชุมชนด้วยกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ได้ดำเนินการเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์กรมการ พัฒนาชมุ ชน แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ และกรอบยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี เพื่อนำไปสู่ความ เป็นชุมชนเข้มแขง็ พึ่งตนเองได้อยา่ งย่งั ยนื การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของประชาชน การรวมกลมุ่ กิจกรรมตา่ ง ๆ การบริหารจัดการหมู่บา้ น/ชุมชน โดยใชห้ ลกั ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การสร้าง ภูมิคุ้มกันในตนเอง โดยใช้ความรู้และคุณธรรม ควบคู่กันไป ส่งเสริมคนรุนใหม่เข้าร่วมกิจกรรม ก็จะ สามารถพัฒนาหมู่บา้ นใหเ้ ป็นหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบได้ ในปี ๒๕๖๒ อำเภอยี่งอไดร้ ับการสนบั สนุนให้มกี ารขบั เคลื่อนหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน ๑๐ หม่บู ้าน ใน ๕ ตำบล ได้รับงบประมาณสนับสนนุ การดำเนินงานในด้านการสมั มนาการเรียนรู้ วิถีชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพียง สรา้ งเสรมิ ประสบการณพ์ ฒั นาวิถชี วี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี งจากแหล่งเรียนรตู้ ้นแบบ การขับเคลื่อนกิจกรรมวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมการจัดทำแผนชีวิตและแผนชุมชน งบประมาณสนบั สนนุ รวมท้งั สนิ้ เป็นเงนิ ๒๓๒,๔๐๐ บาท (สองแสนสามหม่นื สองพนั ส่รี ้อยบาทถว้ น การขบั เคลอ่ื นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบ ตอ้ งจดั โครงสร้างความรับผิดชอบ ร่วมวางแผน ดำเนินงาน ประเมินผลงานเป็นระยะ เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย ทำให้สามารถขับเคล่ือนกิจกรรมต่าง ๆ ในหมู่บา้ นไดอ้ ย่างตอ่ เนอื่ งเกิดความเข้มแขง็ พึ่งตนเองได้ มีความย่ังยืน และเป็นตน้ แบบได้ การขับเคลือ่ นหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบต้องดำเนินการไปตามขั้นตอน ตั้งแตก่ ระบวนการ สรา้ งแกนนำหมบู่ า้ น การสง่ เสริมครอบครัวพฒั นา จัดเวทีประชาคมหมู่บ้านจัดทำแผนชุมชน คนในชุมชน

2 สามารถร่วมวางแผน โดยเนน้ คนรนุ่ ใหม่เขา้ รว่ ม ขบั เคลื่อนงานตามบทบาทหนา้ ท่ขี องแตล่ ะฝา่ ย แตล่ ะคน จนสามารถพัฒนาเป็นหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบ เปน็ แบบอยา่ งแกห่ มู่บา้ นอน่ื ได้ โดยเนน้ การสร้าง กระบวนการเรยี นรู้และกระบวนการมสี ่วนร่วม ได้แก่ ร่วมการค้นหาปัญหา ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัตกิ าร ร่วมแบ่งปันประโยชน์ ร่วมประเมินผล ตลอดจนการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน เครือข่าย บุคคลทั่วไป ทราบ การพัฒนาหม่บู า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบต้องดำเนินการตามหลกั การพัฒนาชุมชน ซ่ึงเป็นการ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการยึดหลักการมีส่วนร่วม การทำงานเป็น กลุ่ม มีการค้นหาและพัฒนาผู้นำ โดยเฉพาะผู้นำรุ่นใหม่ หลักการประสานงาน หลักความเข้าใจใน วัฒนธรรมของชุมชน การจัดการชุมชนด้วยตนเอง และต้องดำเนินงานไปตามกระบวนการพัฒนาชุมชน ซึ่งต้องดำเนินการไปตามขั้นตอนตั้งแตต่ ้นจนเสร็จสิ้นการดำเนินงาน โดยการเสาะแสวงหาขอ้ มูลต่างๆใน ชุมชนเช่น ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน วิเคราะห์ปัญหารว่ มกับประชาชน นำข้อมูลต่าง ๆ ใช้ในการวางแผน/โครงการ เป็นขั้นตอนให้ประชาชน ร่วมตดั สินใจ การดำเนินงานตามแผนและโครงการเพื่อให้หมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบนำไปสู่ชุมชน เขม้ แขง็ พึ่งตนเองได้อยา่ งยั่งยนื ๕. รปู แบบ กระบวนการ หรอื ลำดับขั้นตอน การขบั เคลอื่ นหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพียงตน้ แบบ มขี ้นั ตอน ดงั นี้ ๕.๑ ศกึ ษา ทำความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กระบวนการพฒั นาหมู่บา้ น เศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบ และนำรายชื่อหม่บู ้าน พรอ้ มแนวทางการดำเนินงานเสนอตอ่ ทปี่ ระชมุ ศจพ. อำเภอทราบ ๕.๒ เสนอแตง่ ต้ังทมี ปฏบิ ตั ิการขับเคล่ือนหม่บู า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบของอำเภอ ตำบล และหมู่บา้ น ๕.๓ มอบหมายทมี ปฏบิ ตั ิการ ดำเนนิ การตามขั้นตอน ไดแ้ ก่ ๑. การสร้างแกนนำหมบู่ า้ น การ คดั เลือกและอบรมครอบครวั พฒั นา รวมถงึ การวเิ คราะห์ทบทวนชุมชน การคน้ หาปัญหา (จากเกณฑ์ ๔ ด้าน หรอื ๒๓ ตัวชี้วัด) การประเมินความสุขมวลรวมของหมูบ่ า้ น และ GVH คร้งั ท่ี ๑ เพอ่ื กำหนดแผนใน การพัฒนาครอบครวั พัฒนา พัฒนากลุ่ม พฒั นาหมู่บา้ น ในด้านท่ยี งั เปน็ ปญั หาหรอื มีความสุขน้อย ให้ พัฒนามากขึน้ โดยใช้แผนชมุ ชน ๒.การสง่ เสริมกจิ กรรมตามแผน เช่น การศกึ ษาดงู าน การจัดกิจกรรม สาธิต การพฒั นาครอบครัวพฒั นา พฒั นากลุ่ม หมู่บา้ นและชมุ ชน โดยการบรู ณาการหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง เช่น กองทุนพฒั นาบทบาทสตรใี นการส่งเสริมอาชีพ หรอื การเรียนรู้ สำนกั งานเกษตรอำเภอ สำนกั งานปศุ สัตว์อำเภอ ในดา้ นจุดเรยี นรดู้ ้านการเกษตร รวมทง้ั พัฒนาผลติ ภัณฑเ์ ป็นสนิ ค้า OTOP โดยอตุ สาหกรรม จงั หวดั ฯลฯ ๓. การสรุปผลการดำเนนิ งาน การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ถอดบทเรยี น ประเมิน GVH คร้งั ที่ ๒ ประเมนิ ๔ ดา้ น ๒๓ ตวั ชีว้ ดั ประกาศเปน็ หมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบ ๖. เทคนิคในการปฏิบัติงาน ๖.๑ การประชุมหารือ การขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบให้ประสบความสำเร็จ บรรลุเป้าหมายต้องมีการประชุมแต่งตั้งศูนย์ปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอำเภอ (ศจพ.อ) ทีมปฏิบัติการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบของตำบล

3 เพอ่ื สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ กำหนดเปา้ หมายการขบั เคลอ่ื น วางแผนการขับเคลอ่ื น และมอบหมายภารกิจ ค่าเปา้ หมายสูก่ ารปฏิบัตใิ นพน้ื ทใี่ หบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ๖.๒ การส่อื สารสร้างการรับรู้ โดยทมี ปฏิบัตกิ ารขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบของ ตำบลมีการประชุมสร้างความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานแก่ครัวเรือนเป้าหมายให้เข้าใจถึงเป้าหมาย ภายใต้แนวทางในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นไปในลักษณะใด เกิด ประโยชน์กบั ครวั เรือนทป่ี ฏบิ ตั ติ ามหลักปรชั ญาอยา่ งไร เพือ่ ใหค้ รัวเรอื นเปา้ หมายได้สนใจ และร่วมปฏิบัติ ตนตามแนวทาง และเปา้ หมายท่วี างไว้ โดยให้มกี ารวเิ คราะหต์ นเอง ครอบครัว และวางแผนชีวติ ครอบครวั เพ่ือให้สามารถบรรลเุ ปา้ หมายท่ีวางไว้ ๖.๓ การประเมินความสุขมวลรวม หลังจากครัวเรือนเป้าหมายแต่ละครัวเรือนได้เข้าใจในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้ปฏิบัติตามแผน และแนวทางที่วางไว้ ทีมปฏิบัติการฯ ได้มีการประชมุ ครัวเรอื นเปา้ หมายเพอ่ื รว่ มกันประเมินความสุขมวลรวม (GVH) เพ่ือวัดความสุขในการดำเนนิ ชวี ิตว่าอยู่ใน ระดับใด ๖.๔ การทำงานเป็นทีม ความสำเร็จในการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่สำคัญมาจาก ทีมงาน โดยเฉพาะทีมปฏิบัติการตำบลที่จะต้องสื่อสารสร้างการรับรู้ให้แก่ครัวเรือนให้เข้าใจ ส่งเสริม สนบั สนนุ และติดตามผลการดำเนนิ งาน รวมทั้งร่วมแก้ไขปญั หาของครวั เรือนเปา้ หมายอยา่ งต่อเนื่อง ๖.๕ การประสานงาน การทำงานโดยทีมปฏิบัติการซึ่งมีหลายคน มาจากหน่วยต่าง ต้องมีการ ประสานงานกนั อยา่ งตอ่ เน่อื ง และถกู ต้อง ทงั้ เปน็ ทางการ ไดแ้ ก่ การทำหนงั สอื หรือไมเ่ ปน็ ทางการ ไดแ้ ก่ การโทรศัพท์ ใช้ไลน์ เฟสส่ือถงึ กัน อย่างเป็นกันเองและเขา้ ใจกนั จึงทำให้งานประสบความสำเรจ็ ได้ ๖.๖ การประชาสัมพันธ์ รายงานผล เมื่อทีมปฏิบัติการ และทีมติดตามได้ออกไปเยี่ยมเยียน ครวั เรอื นเป้าหมาย ไดถ้ า่ ยภาพกิจกรรม ผลผลิต ออกสอ่ื ทงั้ ทางเฟส ไลน์ ฯลฯ จะทำใหท้ ีมปฏบิ ัติการ และ ครวั เรอื นเป้าหมายไดเ้ หน็ และมกี ำลงั ใจในการทำงานมากขน้ึ ๗. ปญั หาท่พี บและแนวทางแก้ไขปญั หา ๗.๑ ทีมปฏิบัติการไปไม่ครบ ปัญหาการขับเคลื่อนประการหนึ่งคือบางครั้งทีมปฏิบัติการไม่ สามารถไปร่วมขับเคล่ือนกิจกรรมได้ เน่อื งจากมงี านเร่งดว่ น มีปญั หาสว่ นตัว แตส่ ามารถแก้ไขปัญหาโดย การขบั เคล่อื นโดยคนทม่ี คี วามพร้อม และมกี ารสลับสบั เปลี่ยน จดั เวรกันแทน ๗.๒ ครัวเรือนเป้าหมายไม่ได้ดำเนินการตามแผน หลังจากที่ครัวเรือนเป้าหมายได้กำหนดแผน ชีวิตของครัวเรือนว่าจะทำอะไร เมื่อไหร่แล้ว เมื่อถึงเวลากลับไม่สามารถทำตามแผน จึงอาจส่งผลต่อ ความสำเร็จได้ การแก้ไขปัญหาที่กระทำได้คือ ให้ครัวเรือนกำหนดวิธกี าร ขั้นตอน หรือจำนวนที่น้อยลง เพ่ือให้สามารถมีเวลาในการขบั เคลื่อนงานตามภาวะท่จี ำกัดได้ ๗.๓ งบประมาณดำเนนิ การไมต่ ่อเน่ือง ราชการสนับสนุนงบประมาณใหด้ ำเนนิ กจิ กรรมสนับสนุน การดำเนินงานในด้านการสัมมนาการเรียนรู้วิถชี ีวิตเศรษฐกจิ พอเพียง สร้างเสริมประสบการณ์พัฒนาวิถี ชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจากแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ การขับเคลื่อนกิจกรรมวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง การ สง่ เสรมิ การจัดทำแผนชีวติ และแผนชุมชน ซึง่ มกี รอบระยะเวลาที่กำหนด บางครัง้ ไม่ตอ่ เนอื่ งกัน การแก้ไข ปัญหาคอื มกี ารบรู ณาการงานใหส้ ามารถขับเคลอ่ื นงานได้ ภายใต้ระเบยี บฯ ทก่ี ำหนด

4 ๘. ประโยชน์ขององค์ความรู้ ๘.๑ ประโยชน์ตอ่ ครัวเรอื นเปา้ หมาย ๘.๑.๑ เชงิ ปรมิ าณ ๑) ครัวเรือนเป้าหมายจำนวน ๓๐๐ ครัวเรอื น สามารถเป็นตน้ แบบการดำเนินชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒) สามารถขยายผลครวั เรือนได้ในแต่ละหมูบ่ า้ นจำนวน ๙๕๐ ครวั เรอื น ใหด้ ำเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๘.๑.๒ เชิงคณุ ภาพ ๑) ครัวเรอื นเป้าหมาย มีศกั ยภาพและสามารถเปน็ ต้นแบบการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ส่งผลให้คนในครวั เรือนมคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดีข้ึน ๒) ประชาชนในหมูบ่ า้ นสามารถน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไป ปฏบิ ตั ิจนเปน็ วถิ ชี วี ติ ส่งผลให้ชุมชนมีความเข้มแขง็ และพ่งึ ตนเองได้ ๘.๒ ประโยชนต์ ่อประชาชนทั่วไป ไดม้ ีความรูจ้ ากการสรปุ บทเรียนของการขับเคลอ่ื นในหมู่บา้ นอืน่ ไปประยกุ ต์ใช้กบั ตนเอง และหมู่บ้านของตนเองเพ่อื ใหง้ านประสบความสำเรจ็ ต่อไป *******************************************

สำนกั งำนพัฒนำชุมชนอำเภอย่ีงอ ท่ีวำ่ กำรอำเภอย่งี อ ถนนรำมโกมุท นธ 96180 โทร 073 591 030


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook