Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5

Published by Watcharaphon Jindakul, 2018-10-29 06:08:43

Description: 1.นางสาว วรรณิภา เก่งธัจกิจ ปวช.1 เลขที่ 2
2.นางสาว สุวรรณา จั่นทองคำ ปวช.1 เลขที่ 14
3.นายรชต สุภานุรักษ์ ปวช.1 เลขที่ 20
4.นางสาว กานต์มณี ฤทธิ์ทิศ ปวช.1 เลขที่ 24
5.นางสาว ณัฐนรี คล้ายสินธ์ ปวช.1 เลขที่ 27
6.นาย วัชรภล จินดากุล ปวช.1 เลขที่ 28
7.นาย ธนวัฒน์ วงศ์เทพ ปวช.1 เลขที่ 29
8.นาย พงษ์พัฒน์ แย้มจำรัส ปวช.1 เลขที่ 32

Search

Read the Text Version

คอมพวิ เตอร์คืออะไร■ คอมพวิ เตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (electrinic device) ที่มนุษยใ์ ชเ้ ป็นเครื่องมือ ช่วยในการจดั การกบั ขอ้ มูลท่ีอาจเป็นได้ ท้งั ตวั เลข ตวั อกั ษร หรือสญั ลกั ษณ์ที่ใชแ้ ทน ความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบตั ิที่สาคญั ของคอมพิวเตอร์คือการท่ีสามารถกาหนด ชุดคาสงั่ ล่วงหนา้ หรือโปรแกรมได้ (programmable) นนั่ คือคอมพวิ เตอร์สามารถทางานได้ หลากหลายรูปแบบ ข้ึนอยกู่ บั ชุดคาสง่ั ท่ีเลือกมาใชง้ าน ทาใหส้ ามารถนาคอมพวิ เตอร์ไป ประยกุ ตใ์ ชง้ านไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง เช่น ใชใ้ นการตรวจคลื่นความถ่ีของหวั ใจ การฝาก - ถอน เงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นตน้ ขอ้ ดีของคอมพวิ เตอร์ คือ เครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภาพ มีความถูกตอ้ ง และมีความรวดเร็ว

ยุคที่ 5 พ.ศ. 2533 จนถงึ ปัจจุบัน■ ในยคุ น้ี ไดม้ ุ่งเนน้ การพฒั นา ความสามารถในการทางานของระบบคอมพวิ เตอร์ และ ความ สะดวกสบายในการใชง้ านเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ อยา่ งชดั เจน มีการพฒั นาสร้างเครื่อง คอมพวิ เตอร์แบบพกพาขนาดเลก็ ขนาดเลก็ (Portable Computer) ข้ึนใชง้ านในยคุ น้ี■ โครงการพฒั นาอุปกรณ์ VLSI ใหใ้ ชง้ านง่าย และมีความสามารถสูงข้ึน รวมท้งั โครงการวจิ ยั และพฒั นาเก่ียวกบั ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็นหวั ใจ ของการพฒั นาระบบคอมพวิ เตอร์ในยคุ น้ี โดยหวงั ใหร้ ะบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถ วเิ คราะห์ปัญหาดว้ ยเหตุผล

องค์ประกอบของระบบปัญญาประดษิ ฐ์ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่■1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System) คือ หุ่นจาลองร่างกายมนุษยท์ ่ีควบคุมการทางานดว้ ยเครื่องคอมพิวเตอร์ มี จุดประสงคเ์ พ่ือใหท้ างานแทนมนุษยใ์ นงานท่ีตอ้ งการความเร็ว หรือเส่ียง อนั ตราย เช่น แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม หรือหุ่นยนตก์ รู้ ะเบิด เป็น ตน้

■2. ระบบประมวลภาษาพดู (Natural Language Processing System) คือ การพฒั นาใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์สามารถ สงั เคราะห์เสียงท่ีมีอยใู่ นธรรมชาติ (Synthesize) เพ่ือส่ือ ความหมายกบั มนุษย์ เช่น เคร่ืองคิดเลขพดู ได้ (Talking Calculator) หรือนาฬิกาปลุกพดู ได้ (Talking Clock) เป็นตน้

■3. การรู้จาเสียงพูด (Speech Recognition System) คือ การพฒั นา ใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์เขา้ ใจภาษามนุษย์ และสามารถจดจาคาพูดของ มนุษยไ์ ดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง กล่าวคือเป็นการพฒั นาใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ ทางานไดด้ ว้ ยภาษาพดู เช่น งานระบบรักษาความปลอดภยั งานพิมพ์ เอกสารสาหรับผพู้ ิการ เป็นตน้

■ 4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) คือ การพฒั นาใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์มี ความรู้ รู้จกั ใชเ้ หตุผลในการวเิ คราะห์ปัญหา โดยใชค้ วามรู้ที่มี หรือจาก ประสบการณ์ในการแกป้ ัญหาหน่ึง ไปแกไ้ ขปัญหาอื่นอยา่ งมีเหตุผล ระบบน้ี จาเป็นตอ้ งอาศยั ฐานขอ้ มูล (Database) ซ่ึงมนุษยผ์ มู้ ีความรู้ความสามารถเป็นผู้ กาหนดองคค์ วามรู้ไวใ้ นฐานขอ้ มูลดงั กล่าว เพ่ือใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์สามารถ วเิ คราะห์ปัญหาต่างๆ ไดจ้ ากฐานความรู้น้นั เช่น เครื่องคอมพวิ เตอร์วเิ คราะห์โรค หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ทานายโชคชะตา เป็นตน้



ยุคท่ี 5 (The Fifth Generation) ต้ังแต่ปี ค.ศ. 1980 - 1989 ■ ในยคุ ที่ 4 และยคุ ที่ 5 กจ็ ดั เป็นยคุ ของคอมพวิ เตอร์ในปัจจุบนั แต่ในยคุ ที่ 5 น้ีมีการใช้ คอมพวิ เตอร์ เพือ่ ช่วยการจดั การและนามาใชส้ นบั สนุนการตดั สินใจของผบู้ ริหารจึง เกิดสาขา MIS (Management Information System) ข้ึน IBM 370

คอมพวิ เตอร์ยคุ เครือข่าย (พ.ศ. 2533 - ปัจจุบนั )■ วงจรวแี อลเอสไอไดร้ ับการพฒั นาใหม้ ีความหนาแน่นของจานวนทรานซิสเตอร์มากข้ึนเร่ือยๆ จนในปัจจุบนั สามารถผลติ จานวน ทรานซิสเตอร์ลงในแผน่ ซิลิกอนขนาดเลก็ โดยมีความจุเพม่ิ ข้ึน 2 เท่าในทุกๆ 18 เดือน ทาใหว้ งจรหน่วยประมวลผลกลางมีขีด ความสามารถมากข้ึน เม่ือไมโครคอมพวิ เตอร์มีขีดความสามารถสูงข้ึน ทางานไดเ้ ร็ว การแสดงผลและการจดั การขอ้ มูลกท็ าไดม้ าก สามารถประมวลผล และแสดงผลไดค้ ร้ังละมากๆ จึงทาใหค้ อมพิวเตอร์ทางานไดห้ ลายงานพร้อมกนั ดงั จะเห็นไดจ้ ากโปรแกรมจดั การประเภทวนิ โดวส์ใน ปัจจุบนั ท่ีทาใหค้ อมพิวเตอร์เคร่ืองเดียวทางานหลายอยา่ งพร้อมกนั ได้ ขณะเดียวกนั กม็ ีการเช่ือมโยงเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองคก์ รมี การทางานเป็นกลุ่ม (workgroup) โดยใชเ้ ครือข่ายทอ้ งถ่ินท่ีเรียกวา่ แลน ( Local Area Network : LAN) เม่ือเชื่อมการทางานหลายๆ กลุ่ม ขององคก์ รเขา้ ดว้ ยกนั เกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององคก์ ร เรียกวา่ อินทราเน็ต (intranet) และหากนาเครือข่ายขององคก์ รเช่ือมต่อเขา้ สู่เครือข่ายสากลที่ต่อเช่ือมกนั ทว่ั โลก กเ็ รียกวา่ อินเทอร์เน็ต (Internet)

Supercomputers ที่แรงที่สุดในโลกประจาปี 2018■อนั ดบั ที่ 1: SummitSupercomputer จาก IBM ถูกสร้างข้ึนที่หอ้ งปฎิบตั ิการแห่งชาติ Oak Ridgeของกระทรวงพลงั งานสหรัฐฯ Summit ใช้ Processors และ Acceleratorsเช่นเดียวกบั Siearra แต่มีจานวนที่เยอะกวา่ คือ 2,282,544 Power9 Cores และ2,090,880 Nvidia Volta GV100 Cores ตามลาดบั ทาใหม้ ีขมุ พลงั ในการประมวลผลสูงถึง 122.3 Petaflops และมีกาลงั สูงสุดถึง 187.66 Petaflops

Summit


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook