Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กาญจนา เขาทอง 021 ท่องเที่ยว

กาญจนา เขาทอง 021 ท่องเที่ยว

Published by jirajitsupa, 2018-09-29 07:11:55

Description: กาญจนา เขาทอง 021 ท่องเที่ยว

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียนประจาสัปดาห์ท่ี4ส่ิงจาเป็ นในการเข้าถงึ ส่ือดจิ ทิ ลั1. อปุ กรณ์ทใ่ี ช้เข้าถงึ ส่ือดจิ ทิ ลั การเขา้ ถึงส่ือดิจิทลั จาเป็ นตอ้ งใชอ้ ปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ท่ีมีอยมู่ ากมายหลายแบบ หลายรูปร่าง จึงควรทาความรู้จกั กบัอุปกรณ์เหล่าน้ี1.1 คอมพวิ เตอร์ต้งั โต๊ะ (Desktop) เป็ นคอมพวิ เตอร์ที่ถูกออกแบบใหว้ างไวใ้ ชง้ าน บนโตะ๊ มกั ประกอบไปดว้ ย หนา้ จอ กล่องซีพยี ู คียบ์ อร์ด ท่ีแยกออกจากกนั อยา่ งชดั เจน สามารถใชอ้ ปุ กรณ์อ่ืนเช่ือมตอ่ ผา่ นช่องเช่ือมตอ่ ต่างๆ ได้ เช่น เมาส์ ชุดลา้ โพงและไมโครโฟน เคร่ืองพมิ พ์ เป็ นตน้ ทางานโดยใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ากระแสตรงเป็นหลกัข้อดขี องคอมพวิ เตอร์ Desktop ข้อเสียของคอมพวิ เตอร์ Desktop- ราคาไม่สูงมาก - ลาบากในการโยกยา้ ยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ไปใช้ งานสถานที่ต่างๆ- สามารถเปลี่ยนอปุ กรณ์ตา่ งๆ (Upgrade) ได้ - ตอ้ งใชพ้ ้นื ท่ีจดั วางคอมพิวเตอร์มากพอสมควร– การซ่อมบารุงเฉพาะบางอุปกรณ์ได้ ปัจจุบนั ไดม้ ีการพฒั นาคอมพวิ เตอร์ All-in-One ซ่ึงเป็ นความพยายามยอ่ ขนาดอปุ กรณ์ต่างๆ และบรรจุไวด้ า้ นหลงั ของหนา้ จอและเนน้ การใชง้ านแบบไร้สายงจะเห็นอุปกรณข์ องคอมพวิ เตอร์ลกั ษณะน้ีเพียง 3 ชิ้นเท่าน้นั คือ หนา้ จอ คียบ์ อร์ดและเมาส์ข้อดขี องคอมพวิ เตอร์ All-in-One ข้อเสียของคอมพวิ เตอร์ All-in-One- หนา้ จอขนาดใหญ่ - หากอุปกรณ์ท่ีอยรู่ ่วมหนา้ จอชารุดตอ้ งนาไป- ประสิทธิภาพเหมือนคอมพิวเตอร์ Desktop ซ่อมบารุงท้งั หมด แยกออกจากกนั ไมไ่ ด้- ประหยดั เน้ือท่ีการใชง้ าน- การออกแบบสวยงามน่าใช้

1.2 โน้ตบุ๊ค (Notebook or Laptop) เป็ นคอมพวิ เตอร์ชนิดหน่ึงท่ีผลิตข้ึนใหม้ ีขนาด เลก็ มีจุดมงุ่ หมายใหส้ ามารถพกพาและนาไปใชย้ งั ที่ตา่ งๆ ไดส้ ะดวก ตวั เครื่องประกอบดว้ ย หนา้ จอ คียบ์ อร์ด แผน่ สมั ผสั ช่องเชื่อมตอ่ ตา่ งๆ และซีดีรอม (CD-ROM)ทางานโดยใชพ้ ลงั งานจากแบตเตอรี่ข้อดขี องคอมพวิ เตอร์ Desktop ข้อเสียของคอมพวิ เตอร์ Desktop- มีขนาดเลก็ พกพาไดส้ ะดวก - การอพั เกรดทาไดย้ าก.1.3 อลั ตราบุ๊ค (Ultrabook) เป็ นคอมพิวเตอร์พกพา ขนาดที่บาง และเบา โดยตดั อปุ กรณ์บางอยา่ งออกไป อลั ตราบุ๊คไม่มีซีดีรอมติดมาดว้ ย การใชห้ น่วยประมวลผลกลาง (CPU) ตอ้ งใชส้ าหรับ Ultrabook โดยเฉพาะ จึงทาใหก้ ารใชพ้ ลงั งาน จากแบตเตอร่ียาวนานมากยงิ่ ข้ึนข้อดขี องคอมพวิ เตอร์ Ultrabook ข้อเสียของคอมพวิ เตอร์ Ultrabook- พร้อมใชง้ านหลงั จากเปิ ดเครื่องในเวลารวดเร็ว - ตอ้ งระวงั ในการพกพา เพราะมีความบอบบาง- ใชพ้ ลงั งานต่า ทาใหใ้ ชง้ านไดย้ าวนานอยา่ ง - มีราคาค่อนขา้ งสูง นอ้ ย 5 ชว่ั โมงข้ึนไป (กรณีแบตเตอร่ีปกติ)1.4 แทบ็ เลต็ (Tablet) เป็ นคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลท่ีมขี นาดเลก็ จึงทาใหน้ ้าหนกั เบา พกพาง่าย ป้อนขอ้ มลู คา้ สง่ั ตา่ งๆ ดว้ ยหนา้ จอสมั ผสั (Touch-screen)ส่วนมากจะมีอุปกรณ์ไร้สายเพื่อเชื่อมตอ่ อินเทอร์เน็ตและ/หรือระบบเครือขา่ ยสื่อสารอยภู่ ายในTablet มี 2 ลกั ษณะ 1) Tablet PC เป็ นคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลท่ีพกพาได้ ใชห้ นา้ จอแบบสมั ผสั ใชห้ นา้ จอสมั ผสั แบบ Resistive แต่ไม่ได้ รับความนิยมเลยเงียบหายไป

2) Tablet Computer เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีลกั ษณะคลา้ ยกบั Tablet PCใชห้ นา้ จอสมั ผสั แบบ Capacitive ท่ีช่วยใหใ้ ชน้ ิวสมั ผสั สง่ั งานไดพ้ ร้อมกนั หลายจดุ (Multi-touch)ข้อดขี อง Tablet ข้อเสียของ Tablet- มีขนาดเลก็ พกพาสะดวก มีน้าหนกั เบา - พลงั งานจากแบตเตอร่ีมีจา้ กดั- สามารถใชป้ ากกาดิจิตอล หรือปลายนิ้วสมั ผสั - มีความสามารถจา้ กดั การใชง้ านบางประเภทสงั่ งานไดโ้ ดยตรงจากหนา้ จอ อาจใช้ PC หรือ Notebook จะเหมาะสมกวา่- มีโปรแกรมเสริมรองรับการใชง้ านอีกมากมาย1.5 สมาร์ทโฟน (Smartphone) เป็นอปุ กรณ์สื่อสารที่มีการใชห้ น่วยประมวลผล ลกั ษณะเดียวกบั คอมพิวเตอร์แต่ผลิตข้ึนมาใชก้ บั โทรศพั ทม์ ือถือโดยเฉพาะข้อดขี อง Smartphone ข้อเสียของ Smartphone- มีขนาดเลก็ พกพาสะดวก มีน้าหนกั เบา - พลงั งานจากแบตเตอร่ีมีจา้ กดั- อยใู่ กลต้ วั ผใู้ ชเ้ กือบตลอดเวลา– มีโปรแกรมเสริมรองรับการใชง้ านในชีวติ ประจาวนั มากมาย

ข้อมูลและสารสนเทศในรูปของส่ือดจิ ทิ ลั ข้อมูล (Data) คือ ขอ้ เทจ็ จริงตา่ งๆ ท่ีอาจอยใู่ นรูปของตวั อกั ษร ตวั เลข สญั ลกั ษณ์ รูปภาพ เสียง ซ่ึงจะเปลี่ยนสถานะไปเป็นสารสนเทศ (Information) เมื่อนา้ ขอ้ มูลที่มีอยไู่ ปผา่ น กระบวนการประมวลผล หรือการวเิ คราะห์ หรือสงั เคราะห์ หรือวธิ ีการใดๆ ท่ีสามารถนา้ ผลลพั ธ์ท่ี เกิดข้ึนใหมไ่ ปใชป้ ระโยชนใ์ นการทาส่ิงใดส่ิงหน่ึงดงั น้นั ขอ้ มูลและสารสนเทศในรูปของส่ือดิจิทลั จึงเป็ นขอ้ มูลท่ีอาศยั ระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นช่องทางในการสื่อสารนนั่ เอง ส่ือดิจิทลั ท่ีมีใหเ้ ห็นไดใ้ นชีวติ ประจาวนัไดแ้ ก่1. สื่อดิจิทลั ในรูปแบบตวั อกั ษร (Text) หรือไฟลเ์ อกสารที่เกิดจากการสร้างงาน ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ดว้ ยโปรแกรมท่ีมี่ผใู้ ชม้ ากที่สุด นน่ั คอื โปรแกรมในกลุม่ Microsoft ท่ีประกอบดว้ ย Word, Excel และ PowerPoint ผลงานท่ีเกิดจากการสร้างสรรคด์ ว้ ยโปรแกรมกลุ่มน้ี มกั มีนามสกลุ ของไฟล์ คือ .TXT, .DOC, .DOCX, .XLS, .XLSX, .PPT, .PPTX2. สื่อดิจิทลั ในรูปแบบภาพ (Image) ที่มีการนาเขา้ สู่คอมพิวเตอร์มีไดห้ ลายวธิ ี ซ่ึงแต่ละวธิ ีจะทาใหเ้ กิดภาพที่มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั คือ 2.1 ภาพน่ิง (Picture) ภาพวาด (Drawing) เกิดจากการถ่ายดว้ ยกลอ้ งดิจิทลั (Digital camera) หรือการใชเ้ ครื่องสแกน(Scanner) แลว้ ถ่ายโอนเขา้ สู่คอมพวิ เตอร์ 2.2 ภาพกราฟิ ก (Graphic) ภาพคลิปอาร์ต (Clipart) เกิดจากการสร้างลายเสน้ เรขาคณิตโดยอาศยั โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทาใหเ้ กิดเป็ นภาพตา่ งๆ ซ่ึงแบ่งออกเป็ น 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1) ภาพบิตแมพ (Bitmap) เป็ นภาพท่ีเก็บขอ้ มลู เป็ นจุดเลก็ ๆ หลายๆ จดุ ประกอบกนั ข้ึนเป็นภาพ 2) ภาพเวกเตอร์ (Vector) เป็นภาพท่ีสร้างจากการคา้ นวณทางคณิตศาสตร์กาหนดลงไปในคุณลกั ษณะของเสน้ และสีประกอบข้ึนเป็นภาพ เมื่อมีการแกไ้ ขภาพ คุณลกั ษณะของเสน้ และ สีจะเกิดการคานวณใหม่ใหเ้ หมาะสม ซ่ึงจะช่วยใหภ้ าพไม่สูญเสียความละเอียด3. สื่อดิจิทลั ในรูปแบบเสียง (Sound) เป็ นขอ้ มูลท่ีเกิดจากการบนั ทึกเสียงดว้ ย คอมพิวเตอร์ลกั ษณะต่างๆ ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดส่ือดิจิทลั ท่ีมีคุณภาพของเสียงท่ีตา่ งกนั4. สื่อดิจิทลั ในรูปแบบภาพเคล่ือนไหว (Animation) และภาพยนตร์ (Movie) เกิดจากการสร้างสื่อดิจิทลั ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับตดั ตอ่ วดิ ีโอ หรือการใชก้ ลอ้ งวดิ ีโอ (Video camera) สร้างสรรคง์ านท่ีเกิดจากการถา่ ยภาพต่อเน่ืองดว้ ยความรวดเร็วเม่ือผา่ นการประมวลผลจึงทา้ ใหต้ าเราเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวตอ่ เน่ืองกนัโปรแกรมหรือแอพพลเิ คชันทใี่ ช้เข้าถึงสื่อดจิ ทิ ลั โปรแกรม (Program) เป็ นชุดคาสงั่ ท่ีเขียนข้ึน เพอ่ื ใหค้ อมพิวเตอร์ทา้ งานตา่ งๆ ไดต้ ามความตอ้ งการต่างจากแอพพลิเคชนั่ (Application) หรือที่คนส่วนใหญเ่ รียกส้นั ๆวา่ แอพ (App.) ท่ีเป็ นชุดคาสง่ั ท่ีเขียนข้ึนเพอ่ื ใชง้ านกบั สมาร์ทโฟนแทบ็ เลต็ หรืออปุ กรณ์เคลื่อนที่ตา่ งๆ ในฐานะผใู้ ชง้ าน โปรแกรมที่ใชใ้ นการเขา้ ถึงส่ือดิจิทลั จะมี 2 กลุ่ม คือ1. โปรแกรมท่ีใชใ้ นการเขา้ ถึงแหลง่ ของสื่อดิจิทลั เป็ นโปรแกรมท่ีนาผใู้ ชไ้ ปยงั ส่ือ ดิจิทลั ที่ตอ้ งการอาจจะเขา้ ถึงเน้ือหาภายในสื่อดิจิทลั ไดเ้ ลยหรืออาจเป็นการดาวน์โหลดไฟลส์ ื่อดิจิทลั น้นั ๆ มาก่อน แลว้ จึงนาไปเปิ ดใชง้ านในโปรแกรมเฉพาะอีกคร้ังหน่ึง

2. โปรแกรมที่ใชใ้ นการเขา้ ถึงเน้ือหาของส่ือดิจิทลั เป็ นโปรแกรมท่ีใชส้ าหรับเปิ ดใช้ สื่อดิจิทลั ที่ดาวนโ์ หลดมาหรือไดร้ ับมาจากช่องทางต่างๆ โดยตอ้ งเลือกใชแ้ ละติดต้งั โปรแกรมน้นั ๆ ในคอมพวิ เตอร์ก่อน จึงจะสามารถใชง้ านได้ ท้งั น้ี ตอ้ งพิจารณาวา่ โปรแกรมใดท่ีรองรบั นามสกลุ ของ ไฟลส์ ่ือดิจิทลั น้นั ๆเทคนิคการเข้าถงึ ส่ือดจิ ทิ ลั ทค่ี วรรู้ขอนา้ เสนอเทคนิควธิ ีการเขา้ ถึงส่ือดิจิทลั ท่ีนกั ศึกษาควรรู้ ใน 2 ช่องทาง ไดแ้ ก่1. เทคนิคการคน้ หาขอ้ มลู ผา่ นเวบ็ เคร่ืองกลคน้ หา (Web search engine) เป็ นวธิ ีการ ท่ีคนส่วนใหญ่กวา่ 70% เลือกใชว้ ธิ ีน้ี ในการคน้ หาขอ้ มูลท่ีตอ้ งการเวบ็ เครื่องกลคน้ หาที่ไดร้ ับความนิยมมากท่ีสุดในขณะน้ี คือ Google ซ่ึงมีวธิ ีการ ทางาน 3 ข้นั คือ1) รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยชุดคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ เรียกวา่ Googlebot คน้ หาหนา้ เวบ็ ไซตใ์ หมท่ ี่เกิดข้นึ บนอินเทอร์เน็ตแต่ละวนั2) จดั ทา้ ดชั นีโดยใชท้ ุกคา้ ที่เห็นและตาแหน่งของคา้ ใน แตล่ ะหนา้ เวบ็ และคา้ ท่ีอยใู่ นแท็ก (Tag) และ 3) แสดงผลการคน้ หาเม่ือคาสาคญั ท่ีตอ้ งการคน้ หา ตรงกบั ดชั นี และแสดงผลลพั ธท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ผใู้ ช้ โดยเรียงลาดบั จากเวบ็ เพจที่มีคนเขา้ ใชม้ ากท่ีสุด2. เทคนิคการคน้ หาขอ้ มูลผา่ นฐานขอ้ มูลออนไลน์ (Online database) เป็ นวธิ ีการ ใหไ้ ดม้ าซ่ึงสื่อดิจิทลั ท่ีตอ้ งการผา่ นฐานขอ้ มลูออนไลน์ ฐานขอ้ มลู ออนไลนท์ ่ีนิยมใชใ้ นทางวชิ าการ มีดว้ ยกนั 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่2.1 ฐานขอ้ มูลเชิงพาณิชย์ (Commercial database) เป็ นแหล่งขอ้ มลู ท่ี ผใู้ ชง้ านตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายการเป็ นสมาชิก จึงจะสามารถดาวน์โหลดเอกสารฉบบั เตม็ มาอา่ นได้2.2 ฐานขอ้ มูลแบบเปิ ด (Open access database) เป็นแหล่งขอ้ มูลที่ผใู้ ชง้ าน สามารถดาวน์โหลดเอกสารฉบบั เตม็ มาอ่านไดโ้ ดยไม่เสียคา่ ใชจ้ ่ายใดๆ และไม่มีขอ้ ผกู มดั ทางกฎหมาย กล่าวคือ ผใู้ ชส้ ามารถดาวน์โหลดเอกสารมาใชง้ านการเลือกใช้สื่อดจิ ทิ ลั อย่างมปี ระสิทธิภาพ ส่ือดิจิทลั ที่รวบรวมไดจ้ ากการใชเ้ ทคนิคการคน้ หาดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ มีเป็นจา้ นวนมาก ดงั น้นั เมือ่ ไดส้ ่ือดิจิทลั แลว้ จึงควรดาเนินการตอ่ ดงั น้ี1. การประเมินคุณคา่ ของส่ือดิจิทลั เป็ นการคดั เลือกข้นั พ้นื ฐานเพ่ือคดั แยกขอ้ มลู สารสนเทศที่ตรงกบั ความตอ้ งการในขณะน้นั ใหม้ ากท่ีสุด2. การวเิ คราะห์เน้ือหาของสื่อดิจิทลั ภายหลงั จากประเมินคุณค่าของขอ้ มูลสารสนเทศ มาแลว้ ข้นั ตอ่ ไปเป็นการสกดั เน้ือหาจากส่ือดิจิทลั ท่ีรวบรวมมาไดท้ ้งั หมด ข้นั ตอนน้ีควรมีการบนั ทึก เน้ือหาแยกออกเป็นประเดน็ ตา่ งๆ หลงั จากน้นั จดั กลมุ่เน้ือหาและจดั เรียงประเดน็ ตามลาดบั เพื่อเตรียม นาไปเรียบเรียงเน้ือหาท่ีจะนาเสนอตอ่ ไป3. การสงั เคราะห์เน้ือหาเพื่อสร้างสารสนเทศใหม่ ข้นั ตอนน้ี เป็ นการนา้ กลมุ่ เน้ือหาแต่ ละประเดน็ ท่ีมาจากสื่อดิจิทลั ที่หลากหลาย มากลน่ั กรองและเรียบเรียงใหเ้ ห็นเน้ือหาท่ีสาคญั ท่ีตอ้ งการ นาเสนอข้ึนมาใหม่

พฤตกิ รรมการเข้าถึงส่ือดจิ ทิ ัลทอ่ี าจก่อให้เกดิ ปัญหาพฤตกิ รรม- ไมค่ ุน้ เคยกบั สารสนเทศอิเลก็ ทรอนิกส์ที่ตอ้ ง เสียคา่ ใชจ้ ่ายเพอื่ ใหไ้ ดม้ า- ไม่ประเมินคุณคา่ สารสนเทศอิเลก็ ทรอนิกส์ โดยเทียบกบั สารสนเทศอน่ื ๆ ที่มี- ใชผ้ ลการคน้ หาสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ตท่ีอยใู่ นลา้ ดบั ตน้ ๆ เท่าน้นั ไม่ไดส้ ารวจสารสนเทศ ในลาดบั ทา้ ยๆ หรือท่ีมีอยู่ในหนา้ ถดั ๆ ไป- เช่ือวา่ สามารถหาขอ้ มูลทุกอยา่ งไดจ้ าก อินเทอร์เน็ตเพื่อทารายงาน การบา้ น หรืองาน ต่างๆ ที่ไดร้ ับมอบหมายปัญหาทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ได้- สารสนเทศอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีไดม้ าไม่มีคุณภาพ ขาดความน่าเช่ือถือทางวชิ าการ- การนาสารสนเทศไปใชอ้ ยา่ งผดิ ๆ ซ่ึงอาจเกิด ผลกระทบคนอืน่ ๆ และทาลายความน่าเช่ือถือของตนเองไป- ไดข้ อ้ มูลสารสนเทศที่เนน้ การโฆษณา ดว้ ยเทคนิคการปรับแตง่ เวบ็ ไซตใ์ หต้ ิดอนั ดบั ตน้ ๆของการคน้ หา- ไดข้ อ้ มลู สารสนเทศที่ไม่ถูกตอ้ ง เพราะขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ตเกือบ 50% เป็ นขอ้ มูลท่ีไม่ถูกตอ้ งอีกท้งั เป็ นขอ้ มูลท่ีมีการทาซ้า (Copy) มาจากเวบ็ ไซตอ์ ื่น ๆ

เอกสารประกอบการเรียนประจาสัปดาห์ท5่ีการสื่อสารยคุ ดจิ ทิ ลั การสื่อสาร เป็ นการส่งขอ้ มูลจากท่ีหน่ึงไปยงั อีกที่หน่ึงจากผสู้ ่งสารถึงผรู้ ับสารดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ ท้งั การสื่อสารดว้ ยภาษาพดู ภาษาเขียน หรือภาษาท่าทาง ซ่ึงปัจจุบนั การส่ือสารของมนุษย์ไดร้ ับการพฒั นาใหส้ ื่อสารถึงกนั อยา่ งรวดเร็ว อนั เป็นผลมาจากความกา้ วหนา้ ดา้ นเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ที่ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทในชีวติ ประจา้ วนั ของมนุษยม์ ากข้ึนเป็ นการสื่อสารในยคุ ดิจิทลั ทาใหม้ ีการส่ือสาร ถึงกนั อยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธิภาพหลกั การของการสื่อสาร กระบวนการส่งขา่ วสารขอ้ มูลจากผสู้ ่งขา่ วสารไปยงั ผรู้ ับข่าวสาร มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ชกั จงู ใหผ้ รู้ ับข่าวสารมีปฏิกิริยาตอบสนองกลบั มาโดยคาดหวงั ใหเ้ ป็นไปตามที่ผูส้ ่งตอ้ งการเป็ นการที่บุคคลในสงั คมมีปฏิสมั พนั ธโ์ ตต้ อบกนั ผา่ นทางขอ้ มูลขา่ วสาร สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายตา่ งๆ ดว้ ยหลกั การส่ือสารท่ีดีไมค่ วรส่ือสารอะไรใหย้ ากเกินไปหรือง่ายเกินไป1. ความหมายของการส่ือสาร การส่ือสาร หมายถึง การถ่ายทอดหรือส่งขอ้ มูลขา่ วสารจากบุคคลหน่ึงสู่ บคุ คลหน่ึงไปสู่บุคคลหน่ึงดว้ ยภาษาพดู หรือภาษาเขียน2. องค์ประกอบของการสื่อสาร การสื่อสารประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 4 ส่วน ไดแ้ ก่ ผสู้ ่งสาร (Sender) สาร (Message) ช่องทางการส่ือสารหรือสื่อ (Channel)และผรู้ ับสาร (Receiver)3. หลกั สาคญั ทคี่ วรคานึงถงึ ในการส่ือสาร ไดแ้ ก่ การพิจารณาวธิ ีการส่ือสารโดยคานึงถึงผรู้ ับสารหรือบุคคลท่ีเป็ นเป้าหมาย โดยสารท่ีส่งและภาษาท่ีใชต้ อ้ งเหมาะสม กบั บคุ คลเป้าหมาย รวมท้งั การส่ือสารน้นั ตอ้ งเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และผรู้ ับสารหรือบุคคล เป้าหมาย โดยการส่ือสารท่ีดีควรใชก้ ารสื่อสารแบบสองทาง (Two-way communication) เพ่ือให้ การสื่อสารมีประสิทธิภาพโดยใหค้ วามสาคญักบั ขอ้ มลู ขา่ วสารท่ีเป็ นประโยชน์ประเภทการสื่อสาร ประเภทของการส่ือสาร สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท โดยพจิ ารณาจากลกั ษณะการไหล ของสารหรือขอ้ มูลข่าวสารและมีปฏิกิริยาตอบกลบั ที่เกิดข้ึนระหวา่ งผสู้ ่งและผรู้ ับสารเป็ นหลกั ดงั น้ี1. แบบจาลองการสื่อสารลกั ษณะทางเดียว (One – way communication)2. แบบจาลองการสื่อสารลกั ษณะสองทาง (Two – way communication)

สื่อสังคมออนไลน์ปัจจุบนั ส่ือสงั คมออนไลน์ (Social Media) เป็ นรูปแบบการสื่อสารขอ้ มูลที่เขา้ ถึงผคู้ นได้ ทุกระดบั และมีแนวโนม้ จะกลายเป็ นสื่อหลกั ในอนาคตซ่ึงมีการพฒั นาดา้ นซอฟตแ์ วร์เพือ่ นามาใชใ้ น การส่ือสารในสงั คมออนไลนใ์ หม้ ีประสิทธิภาพมากข้ึนการใชส้ ่ือสงั คมออนไลน์ เช่น Facebook Twitter Instragram Youtube Line เป็ นการ ช่วยเพ่มิ ประสิทธิภาพในการสื่อสารแบบ 2 ทาง เป็ นช่องทางใหมใ่ นการส่ือสารสร้างปฏิสมั พนั ธก์ บั ผอู้ ่ืน ทาใหส้ ามารถแลกเปล่ียนความคดิ เห็นกบั ผอู้ ื่นได้ เป็นการเพ่ิมศกั ยภาพในการสื่อสารใหโ้ อกาส ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว1. แอปพลิเคชนั ที่นามาใชง้ านสงั คมออนไลน์2. พฤติกรรมการใชส้ ่ือสงั คมออนไลน์การใช้ประโยชน์จากสื่อสังคมออนไลน์ ประโยชน์ของเครือขา่ ยสงั คมออนไลน์สามารถใชใ้ นการส่ือสารแลกเปลี่ยนขอ้ มูล ความรู้ในส่ิงท่ีสนใจร่วมกนั ได้สามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปล่ียนความรู้ หรือต้งั คาถามในเร่ืองตา่ งๆ เพือ่ ใหบ้ ุคคลอนื่ ที่สนใจหรือมีคาตอบไดเ้ ขา้ มาช่วยกนั ตอบคาถาม เป็ นการส่ือสารที่ สะดวกรวดเร็ว สามารถใชเ้ ป็ นส่ือในการนาเสนอรูปภาพ หรือวดี ิโอตา่ งๆการโฆษณาและการ ประชาสมั พนั ธ์ เพือ่ ใหผ้ อู้ นื่ ไดเ้ ขา้ มารับชมและแสดงความคิดเห็น2. ข้อด-ี ข้อเสีย ของส่ือสังคมออนไลน์ 2.1 ข้อดขี องส่ือสังคมออนไลน์1) สามารถใชส้ ร้างเป็ นพ้นื ที่ในการสนทนาหรือส่ือสารแก่สาธารณะได้2) หน่วยงานหรือองคก์ รต่างๆ สามารถเขา้ ไปใกลช้ ิดกบั สาธรณชนไดม้ ากข้ึน3) สามารถสร้างความน่าเช่ือถือ และความไวว้ างใจ4) สนบั สนุนความโปร่งใสและธรรมาภิบาล5) สร้างโอกาสใหบ้ ุคคลหรือกลมุ่ ท่ี 3 ในการเขา้ มามีส่วนร่วม และสนบั สนุนเผยแพร่

6) การส่งต่อขอ้ มูลในลกั ษณะทาซ้าตวั เอง (Viral Distribution) ทาใหม้ ีการ กระจายขอ้ มลู อยา่ งรวดเร็ว7) ลดตน้ ทุนการดาเนินการ 2.2 ข้อเสียของส่ือสังคมออนไลน์1) มารยาทและรูปแบบการใชง้ านแตกตา่ งจากส่ือรูปแบบอื่น 892) มีความเส่ียงของความไม่แทจ้ ริง การหลอกลวง ความซื่อสตั ย์ และความไม่ โปร่งใสในการใชง้ าน3) มีศกั ยภาพในการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและอยเู่ หนือการควบคุมของ เจา้ ของ4) การหาเครือขา่ ยใหม่ การสร้างเร่ืองใหมๆ่ เป็นเรื่องยากที่จะคาดเดาได้ วา่ จะมีจา้ นวนผใู้ ชเ้ ท่าใดและไมม่ ีการรับรองผลวา่การสื่อสารจะเกิดข้ึนและส่งสารไปยงั ผรู้ ับสื่อ5) ส่ือสงั คมออนไลนไ์ ม่ใช่ทางลดั ท่ีมีประสิทธิภาพเพียงอยา่ งเดียว แต่ยงั ตอ้ ง นา้ สื่อหลกั และหลกั การสื่อสารที่ดีมาใชค้ วบคู่กนั ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook