Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โยพนา คำนึง 029

โยพนา คำนึง 029

Published by jirajitsupa, 2018-10-03 03:07:46

Description: โยพนา คำนึง 029

Search

Read the Text Version

ความเขา้ ใจในการใชด้ จิ ิทัล บทท่ี 2 - 3

คํานาํ E-BOOK น้ีจัดทาํ ขึน้ เพ่อื ประกอบการเรยี นวิชา ความเขาใจในการใชดิจิทลั โดยมีจดุ ประสงคเ พ่อื ใหผจู ัดทาํ ไดฝ ึ กการศึกษาคน ควา และนําส่ิงท่ไี ดศึกษาคนความาสรา งเป็ นช้ินงานเกบ็ ไวเ ป็ นประโยชนต อ การเรียนการสอนของตนเองและครูตอไป ท้งั น้ี เน้ือหาไดร วบรวมมาจากหนังสอื แบบเรยี น ผจู ัดทาํหวงั วา E-BOOKน้ีคงมปี ระโยชนต อ ผทู ่ีนําไปใชใหเ กิดผลสมั ฤทธติ์ ามความคาดหวงั หากมขี อมลู ผดิ พลาดประการใดตองขออภยั ไว ณ ท่ีน่ีดว ย โยพนา คํานึง ผจู ดั ทํา

สารบัญ     บทที 2   แนวคิดด้านสิธแิ ละเสรีภาพ                              1                                                        สิทธบิ นสอื สาธารณะยคุ ดจิ ทิ ลั                                      4                                                               การใชเ้ สรภี าพอยา่ งถกู ตอ้ ง                                       5                                                                    ความรับผิดชอบต่อสงั คมยคุ ดจิ ิทัล                                6                                                บทที 3   การเขา้ ถงึ สือดิจิทลั                                       7            ความหมายและองค์ประกอบของสือดิจทิ ลั                           8          สอื ดจิ ทิ ลั ในปจจุบัน                                                13                 ประเภทของสอื และสือดจิ ทิ ลั                                        15            ขอ้ ดแี ละขอ้ เสียของสอื ดจิ ทิ ลั                                       17                          อินเทอรเ์ นต็ กับสอื ดจิ ิทลั                                           19        

บทที 2    แนวคดิ ดา้ นสทิ ธแิ ละเสรภี าพ 11. ความเปนมาของสิทธแิ ละเสรีภาพ       ประเทศไทยมีการประกาศใช้รฐั ธรรมนญู ทั งฉบบั ถาวรและฉบับชัวคราวมาแล้วทั งสิ น รวม 20 ฉบบั และฉบบั ทบี ังคบั ใชอ้ ยู่ในปจจบุ ัน เปนรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 โดยมผี ลบงั คับใช้ ตังแต่วันพฤหัสที 6 เมษายน 2560 เปนต้นมา ถือเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศไทย อาจกล่าวไดอ้ ีกนัยหนึงว่า “รัฐธรรมนญู เปนกฎหมายสงู สดุ ของประเทศ บทบญั ญตั ใิ ดของกฎหมาย กฎหรือข้อบังคับหรือการกระทา้ ใด ขดัหรือแย้งต่อรฐั ธรรมนญู บทบัญญัติหรือการกระท้านั นเปนอนั ใชบ้ งั คบั มไิ ด้”ความเปนกฎหมายสูงสดุ หรอื Supremacy of Law หมายถงึ สภาวะสูงสุดของกฎหมาย ซึงแสดงให้เหน็ สถานะของกฎหมายนั นๆ วา่ อยู่ในล้าดับสูงเหนือกฎหมายอืนใดทั งปวง ส่วนกฎหมายลา้ ดบั รองหรอื ประเภทอนื ๆ ก็มีชอืเรียกทแี ตกต่างออกไป เช่น พระราชบญั ญตั ิ พระราชกฤษฎีกา ระเบียบ ข้อบังคับ เปนต้น2. ความหมายของสิทธิและเสรีภาพ        สิทธิ (Right) หมายถึง ประโยชน์ทกี ฎหมายรับรองและคุ้มครองใหแ้ ก่บุคคลในอันทีจะกระทา้ การเกียวกบั ทรัพย์สนิ หรือบุคคลอนื เช่น สทิ ธใิ นทรัพย์สนิสิทธใิ นชวี ิตและรา่ งกาย เปนต้น สงิ ใดทีรัฐธรรมนญู ก้าหนดเปนสิทธิ หมายความวา่ รฐั ให้สทิ ธแิ กป่ ระชาชน โดยรฐั มพี ันธกรณหี รอื หน้าทีทจี ะต้องทา้ ใหป้ ระชาชนไดร้ บั สทิ ธนิ ั นเปรยี บประดจุ ดังรัฐเปนลูกหนปี ระชาชนเปนเจ้าหนี (มานิตย์ จุมปา,2560)สิทธิ (Right) หมายถงึ อา้ นาจทกี ฎหมายรบั รองคุ้มครองใหแ้ ก่บคุ คลในอนั ทจี ะเรยี กรอ้ งใหบ้ ุคคลอืนกระท้าการอย่างใดอย่างหนงึ สทิ ธจิ ึงก่อใหเ้ กดิ หน้าทีแก่ บคุ คลอืนดว้ ย ศาสตรา(บรรเจิด สงิ คะเนติ, 2558)จากความหมายดงั กล่าวข้างต้นนั นสามารถสรุปได้วา่ สิทธิ (Right) หมายถงึ การรับรอง และคมุ้ ครองโดยกฎหมายโดยรัฐและประชาชนโดยเฉพาะเสรีภาพ (Liberty) หมายถงึ ภาวะของมนษุ ย์ทไี มอ่ ยภู่ ายใต้การครอบงา้ ของผ้อู นื มีอิสระทจี ะกระท้าการหรืองดเว้นกระทา้ การ เช่น เสรีภาพในการตดิ ตอ่ สอื สาร เสรี ภาพในการเดินทาง เปนต้น 

23. สิทธิและเสรภี าพของปวงชนชาวไทย       รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ได้แสดงให้เหน็ถงึ ความกา้ วหนา้ ในการค้มุ ครองสิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย มีทังหมด 25 มาตรา (ตั งแต่มาตรา 25 ถึง มาตรา 49) แบง่ ออกเปน 4 กลุม่สรุปไดด้ ังนีกล่มุ ที 1 ว่าด้วยเรอื งสทิ ธิและเสรีภาพคู่กนั สามารถสรปุ สาระเนื อหาตามเจตนารมณ์ไดด้ ังนีมาตรา 25 สิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากทบี ัญญตั ิคุ้มครองไว้เปนการเฉพาะในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดทีมไิ ดห้ า้ มหรือจา้ กัดไว้ในรัฐธรรมนญูหรือในกฎหมายอนื บคุ คลย่อมมสี ิทธแิ ละเสรภี าพทีจะทา้ การนั นได้และได้รับความคุม้ ครองตามรฐั ธรรมนญูมาตรา 26 การตรากฎหมายทมี ผี ลเปนการจา้ กัดสทิ ธหิ รือเสรีภาพของบุคคลตอ้ งเปนไปตามเงอื นไขทบี ญั ญัตไิ วใ้ นรฐั ธรรมนญูมาตรา 27 บคุ คลยอ่ มเสมอกันในกฎหมาย มสี ทิ ธิและเสรภี าพและได้รับความคมุ้ ครองตามกฎหมายเทา่ เทียมกันชายและหญงิ มสี ิทธิเท่าเทียมกันมาตรา 28 บคุ คลยอ่ มมสี ิทธแิ ละเสรีภาพในชีวติ และรา่ งกายมาตรา 49 บุคคลจะใชส้ ิทธิหรือเสรีภาพเพือล้มลา้ งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปนประมขุ มิได้กลมุ่ ที 2 วา่ ดว้ ยเรืองสิทธิอยา่ งเดยี ว สามารถสรุปสาระเนื อหาตามเจตนารมณ์ไดด้ งั นีมาตรา 32 บคุ คลย่อมมสี ิทธิในความเปนอย่สู ว่ นตวั เกียรติยศ ชอื เสียง และครอบครวัมาตรา 37 บคุ คลย่อมมสี ทิ ธิในทรัพย์สินและการสบื มรดกมาตรา 41 บคุ คลและชมุ ชนย่อมมสี ิทธิ ไดร้ ับทราบและเข้าถงึ ขอ้ มูลหรือขา่ วสารสาธารณะ หรือเสนอเรอื งราวรอ้ งทุกข์ต่อหนว่ ยงานของรัฐไดต้ ามทกี ฎหมายบัญญัติ

3มาตรา 43 บุคคลและชุมชนยอ่ มมีสิทธิ อนุรกั ษ์ ฟนฟู หรือสง่ เสริมภมู ปิ ญญาศิลปะ วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี ม และจารตี ประเพณี จดั การ บ้ารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สงิ แวดล้อม หรือเขา้ ชือกันเพือเสนอแนะต่อหนว่ ยงานของรฐัให้ดา้ เนินการใดอันจะเปนประโยชนต์ ่อประชาชนหรือชุมชน หรืองดเว้นการดา้ เนินการใดอันจะกระทบตอ่ ความเปนอยูอ่ ยา่ งสงบสุขของประชาชนหรอื ชุมชน โดยให้ประชาชนทีเกยี วข้องมีส่วนร่วมในการพิจารณาดว้ ยตามวิธีการทกี ฎหมายบญั ญัติกลมุ่ ที 3 ว่าด้วยเรอื งเสรภี าพอย่างเดยี ว สามารถสรุปสาระเนื อหาตามเจตนารมณไ์ ด้ ดงั นีมาตรา 31 บคุ คลยอ่ มมีเสรีภาพบรบิ รู ณใ์ นการถอื ศาสนาและย่อมมเี สรีภาพในการปฏบิ ัตหิ รือประกอบพิธกี รรมตามหลกั ศาสนาของตนมาตรา 33 บคุ คลยอ่ มมเี สรภี าพในเคหสถานการเขา้ ไปในเคหสถานโดยปราศจากความยนิ ยอมของผคู้ รอบครอง หรอื การคน้ เคหสถานหรือทีรโหฐานจะกระท้ามิได้มาตรา 34 บุคคลยอ่ มมีเสรภี าพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขยี น การพิมพ์ การโฆษณา และการสือความหมายโดยวธิ ีอนื การจ้ากดั เสรภี าพดังกลา่ วจะกระท้ามิได้ เวน้ แตโ่ ดยอาศัยอ้านาจ ตามบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมายทีตราขึ นเฉพาะเพือรักษาความมันคงของรฐัมาตรา 35 บคุ คลซงึ ประกอบวชิ าชพี สือมวลชนย่อมมเี สรีภาพในการเสนอขา่ วสารหรอื การแสดงความคิดเห็นตามจริยธรรมแห่งวชิ าชีพมาตรา 36 บุคคลย่อมมีเสรภี าพในการตดิ ต่อสอื สารถงึ กนั ไม่ว่าในทางใด ๆ ท่ีมาของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/democrcy

สิทธบิ นสอื สาธารณะยุคดิจิทัล 41. ความหมายของสอื สาธารณะยุคดจิ ทิ ลั       สอื สาธารณะ คอื สอื ทเี ปนพื นทีสา้ หรับการแสดงความคิดเหน็ อยา่ งมีเสรีภาพมีลักษณะการดา้ เนินงานทไี ม่ไดเ้ ปนสือเชงิ พาณชิ ย์ โดยเปนสือทีปราศจากอทิ ธพิ ลจากกลุ่มทนุ และรฐั บาล ประชาชนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงพื นทีนี ไดโ้ ดยไม่เสยี คา่ บริการ และเปนสือทมี งุ่ สร้างคณุ ภาพใหก้ บั สงั คม ท้าให้กลุ่มชนหลากหลายฝายรวมไปถงึ คนชายขอบสามารถนา้ เสนอความคิดเห็นหรือเรอื งราวของตนผา่ นสือสาธารณะได้อย่างเสรี 2. สทิ ธิการใชง้ านขอ้ มูลบนสอื สาธารณะยุคดิจิทัล       สทิ ธกิ ารใชง้ านขอ้ มูลบนสือสาธารณะยุคดจิ ิทลั มกั จะเกียวข้องกบั การกระท้าผดิ ทถี อื เปนความผดิ ตาม พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการกระท้าผิดเกยี วกบั คอมพิวเตอร์พ.ศ. 2550 และทีปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 โดยทผี ู้ใช้งานทุกคนต้องเข้าใจ และตระหนักถงึ สทิ ธิทเี กยี วข้องกบั ตัวเองและผอู้ นื เพิมข้อความในส่วนเนอื หาเล็กนอ้ ยซึงสามารถสรุปสาระเนื อหาตามเจตนารมณไ์ ด้ ดงั นี1. สทิ ธใิ นการเข้าถึงระบบ หรอื ข้อมลู ทางคอมพิวเตอร์2. สทิ ธใิ นแก้ไข หรือดัดแปลงข้อมลู3. สิทธิในการสง่ ข้อมลู หรอื อเี มล์4. สทิ ธิในการจ้าหนา่ ยหรือเผยแพร่ชุดคา้ สงั5. สทิ ธใิ นการนา้ ข้อมูลเข้าถึงระบบ หรอื ข้อมูลทเี กยี วข้องกบั ความมันคงของ         ประเทศ6. สทิ ธิในการตัดต่อ เติม ตดั แปลงภาพ ของผูอ้ นื

5การใช้เสรีภาพอย่างถกู ตอ้ ง       ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยใี นปจจุบัน โดยเฉพาะสืออนิ เทอร์เน็ตเปนช่องทางหลัก ในการรบั ข่าวสารในยุคดจิ ทิ ลั เปนส่วนหนงึ ทีเขา้ มาเปลียนบทบาทและรปูแบบ การนา้ เสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร โดยมชี ่องทางทีผ้ใู ชห้ รอื แมก้ ระทงั สือมวลชนสามารถรายงานข่าวไดอ้ ย่างรวดเร็ว ไมว่ ่าจะเปน สือโซเชียลมีเดยี ต่างๆ ทั ง เฟซบุ๊ก (Facebook) และทวิตเตอร์ (Twitter) ซึงความรวดเร็วทเี กิดขึ นนั นทา้ใหก้ ารเสนอขอ้ มูลข่าวสารอาจไมม่ ีความรอบคอบเท่าทคี วรน้ามาซงึ การกระทา้ ทีไร้จริยธรรม1. การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking)         1.1 ความสามารถในการระบุประเดน็ ปญหา         1.2 ความสามารถในการรวบรวมขอ้ มลู         1.3 ความสามารถในการพิจารณาความน่าเชือถอื ของแหล่งข้อมลู         1.4 ความสามารถในการระบุลกั ษณะขอ้ มูล         1.5 ความสามารถในการตั งสมมตุ ิฐาน         1.6 ความสามารถในการลงขอ้ สรุป          1.6.1 การสรปุ ความโดยใช้เหตผุ ลเชงิ อปุ นัย         1.6.2 การสรปุ ความโดยใชเ้ หตุผลเชงิ นิรนัย         1.7  ความสามารถในการประเมนิ ผล 2. การคิดอยา่ งเปนระบบ (System Thinking)           2.1 เปนการคิดทีมอง        2.2 สร้างความสมดุลระหว่างมมุ มองระยะสั นและระยะยาว        2.3 ยอมรับในความมพี ลวตั ความสลบั ซับซ้อนและความเกยี วพันกนั ของระบบ                ธรรมชาติ        2.4 ยอมรบั และใช้ขอ้ มูลทั งจากปจจัยทวี ัดได้จากเชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ               การคิดอยา่ งเปนระบบยอมรบั และใช้ข้อมลู เพือการปรบั ปรุงระบบทงั ทีเปน               ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณและข้อมลู ทีเปนคณุ ภาพ        2.5 ทกุ สว่ นมสี ว่ นสนับสนนุ ระบบในภาพรวม

ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมยุคดิจทิ ัล 6             1. ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ได้แก่ การส่งข้อความ (text) ภาพ(image) เสียง (voice) หรอื วิดโี อ (video) ทที ้าการโพสต์ แสดงความคดิเห็น ทัศนคติ ส่งตอ่ หรอื จดั เก็บขอ้ มลู       2. ความรับผิดชอบสังคม ได้แก่ การปฏิบัตติ ามพระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการกระทา้ ความผิดเกียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และฉบบั แก้ไขเพิมเตมิ (ฉบบั ที 2) พ.ศ. 2560 และพระราชบญั ญัติว่าด้วยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2544 และฉบับแกไ้ ขเพิมเตมิ (ฉบับที 2) พ.ศ. 2551        สรปุ ไดว้ า่ การพัฒนาอุปกรณ์ทางเทคโนโลยกี ารสือสารนวตั กรรมดจิ ทิ ลั มีความทันสมยั อา้ นวยความสะดวกตรงกบั ความตอ้ งการของกลุม่ ผู้บรโิ ภคในสงั คมยุคดิจทิ ลั ทีติดตาม ข่าวสาร ดจิ ิทลั เปนสอื สิงใหม่มีความกา้ วหน้า สอื สารกวา้ งไกลเขา้ ถึงกลุม่ ประชาชนผู้รบั สารไดห้ ลากหลาย การเลือกใชเ้ พือให้เกดิ ประโยชนอ์ ย่างสร้างสรรค์ กจ็ ะเกดิ คณุ คา่ ในเชงิ บวกต่อสงั คมและคนสว่ นรวม แต่วา่ การใช้ผิดประเภททีไม่ก่อเกดิ การสร้างสรรคแ์ ละคุณประโยชน์แก่สงั คม ก็จะส่งผลกระทบตามมาได้ พึงใช้วิจารณญานในการเลือกใช้สือดิจทิ ัลอยา่ งถกู ตอ้ งให้เหมาะสมกับงาน   ท่ีมาของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/digital

7บทที 3   การเข้าถึงสอื ดจิ ทิ ลั       ปจจุบนั เปนยุคทีมคี วามเจรญิ ก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยเี ปนอย่างมากเกดิ การพัฒนาดา้ นเทคโนโลยหี ลายแขนง เชน่ เทคโนโลยีดา้ นการโทรคมนาคมเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ เทคโนโลยีอินเทอรเ์ นต็ และเทคโนโลยีการกระจายภาพและเสียง ทกุ สิงมีการประสานรวมกันเปนหนึงเดยี ว หรือทีเรยี กว่า การหลอมรวมของสือดจิ ิทลั (Digital Convergence) ทา้ ใหเ้ กดิ บรกิ ารรปู แบบใหม่ ทใี ช้เทคโนโลยีดังกลา่ วออกมามากมาย ตวั อยา่ งเชน่ โทรศัพทท์ างไกลผ่านเครือขา่ ยไอพี (IP phone) โทรทศั นท์ รี บั ชมผา่ นทางอนิ เทอรเ์ น็ต (IPTV) วิทยุออนไลน์หรอืคลิปวดิ ีโอออนไลนบ์ นเวบ็ ไซต์ เช่น เว็บไซตย์ ูทปู (youtube.com) หรอื แมแ้ ต่การดูโทรทัศน์ผ่านมอื ถอื ในชีวิตประจา้ วันของผคู้ นสมัยใหม่ มกี ารใช้สือดจิ ิทัลเปนจา้ นวนมาก ทั งเพือความบนั เทงิ หรอื การประชาสมั พันธเ์ ผยแพรข่ ่าวสารสาระต่างๆ เนืองจากสอื ในรปู แบบดิจิทัลนั นสามารถเผยแพร่และเข้าถงึ ได้ง่าย แสดงให้เห็นวา่ สอื ดิจทิ ัลก้าลังเข้ามาเปนส่วนหนงึ ในชวี ติ ประจา้ วันของผูบ้ รโิ ภคมากขึ นเรอื ยๆ ทา้ ใหท้ ุกคนตอ้ งมกี ารปรบั ตวั ให้ทันตอ่ โลกดจิ ทิ ลั ไมว่ ่าจะเปนการโฆษณาผา่ นในรูปแบบสือดจิ ิทัลทีปจจุบนั มกี ารแฝงโฆษณาดงั กล่าวในสือดจิ ิทัลในรปู แบบตา่ งๆ ไม่ว่าจะเปนรูปแบบดั งเดิมทมี กี ารใชส้ ือมัลติมีเดยี หรอื สอื ดจิ ิทัลมาประชาสมั พันธ์ผา่ นเว็บไซตต์ ่างๆ โฆษณาผ่านสอื สังคมออนไลน์ (social media)หรอื เผยแพรผ่ า่ นสือออนไลนต์ า่ งๆ บนอปุ กรณท์ หี ลากหลายไมว่ า่ จะเปนเครอื งคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอื ถอื หรืออุปกรณส์ วมใส่ (Wearable device) ทีมีจ้านวนเพิมมากขึ นในอนาคตเพือให้ตอบสนองความตอ้ งการของผ้บู รโิ ภคและความก้าวหน้าของยุคแห่งสือดจิ ทิ ลั สือดิจทิ ลั เปนสอื ในรูปแบบใหม่ หรอื เรียกอีกอย่างไดว้ ่าเปน “สือใหม”่ท่มี าของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/digital

8ความหมายและองค์ประกอบของสอื ดจิ ทิ ลั       แนวคดิ เกยี วกบั สือใหมใ่ นยุคดิจทิ ลั (New Media in digital society)ในชว่ งสองทศวรรษ ทผี ่านมานี สังคมโลกมีการเปลยี นแปลงในเชงิ เทคโนโลยกี ารสือสารอยา่ งก้าวกระโดด ซึงมผี ลสบื เนืองไปทกี ารเปลยี นแปลงกรอบความคิดเกียวกบั การสอื สารทผี ู้คนธรรมดาซึงเคยเปนผรู้ บั สารทีรอคอยรับร้ขู ่าวสารแต่เพียงอยา่ งเดียวจากสอื ดั งเดมิ ทั งหลาย เช่น หนังสอื พิมพ์ วิทยกุ ระจายเสยี งหรือโทรทัศน์ มาขยายโอกาสและบทบาทตนเองให้เปนผู้ส่งสารและผผู้ ลติ เนือหาขา่ วสารมากขึ น สา้ หรับความหมายของคา้ ว่า สือใหม่ หรอื new media นี ยงัคงมคี วามหมายทหี ลากหลายนิยามและมุมมอง เชน่ “รปู แบบของการสือสารอเิ ล็กทรอนกิ สท์ ีหลากหลายและใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ เปนสือกลาง” “เนื อหาของการสือสารทสี ามารรถเข้าถงึ ได้โดยผา่ นทางเครืองมือดิจทิ ลั ”“สือใหมค่ อื สือทีมคี ณุ สมบัติสา้ คญั อยู่ทีการมปี ฏสิ มั พันธ์        ปจจุบนั การเขา้ ถงึ เนื อหาตามความต้องการทกุ ทีทกุ เวลาและทุกอุปกรณ์ดิจิทลั ซงึ รวมไปถงึ ข้อมูลปอนกลับของผู้ใชท้ ีโต้ตอบระหวา่ งกนั การมสี ่วนรว่ มอยา่ งสรา้ งสรรค์ และการรวมตวั เปนชุมชน เปนทมี าของ “สือดิจิทัล” ซงึ เปนสือใหม่อยา่ งหนงึ ซงึ ท้าการสรา้ งสรรค์ การเผยแพร่ การกระจาย และการบรโิ ภคเนือหาสอื ตา่ งๆ มคี วามสะดวกรวดเรว็ มากยิงขึ น มกั มคี ้านิยามของสือใหม่ว่าเปนดิจิทัล ทีสามารถโยงใยเครือขา่ ยได้ สามารถบีบอัดได้ และสามารถโต้ตอบระหวา่ งกันได้ ตวั อยา่ ง เชน่ อินเทอรเ์ น็ต เวบ็ ไซต์ สือประสมในคอมพิวเตอร์ วดิ โี อเกมซีดรี อม และดวี ีดี แตไ่ มร่ วมไปถึงรายการโทรทศั น์ ภาพยนตร์ นติ ยสาร หนังสอืหรอื สงิ อืนทีเผยแพรแ่ บบตีพิมพ์บนกระดาษ เวน้ แตจ่ ะมีเทคโนโลยที ีท้าใหใ้ ช้งานการโตต้ อบในระบบดิจทิ ลั ได้

91. ความหมายของสอื ดจิ ิทลั       สือดจิ ิทัล มาจากค้าวา่ สอื กบั ดจิ ทิ ลั หมายถงึ สอื ทีมกี ารน้าเอาข้อความภาพกราฟก ภาพเคลือนไหว วดิ ีโอ และเสียง เชน่ เดยี วกบั สือประสม(Multimedia) แต่สือดจิ ิทลั จะอาศัยเทคโนโลยี ความเจรญิ ก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยกี ารสือสารข้อมูล โดยการน้าเอาข้อความ ภาพกราฟก ภาพเคลือนไหว วิดโี อ และเสียง มาจัดการตามกระบวนการดจิ ทิ ัล โดยนา้ มาเชอื มโยงกันเพือใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการใช้งาน โดยสือดจิ ิทัลเปนนวตั กรรมทีสร้างขึนมาติดตอ่ กนั เรยี กคนทีท้าหนา้ ทชี กั นา้ ใหช้ ายหญงิ ไดแ้ ตง่ งานกนั ว่า พ่อสอื หรือ แมส่ ือ ศาสตราจารย์ Heinich นักเทคโนโลยภี าควิชาเทคโนโลยีระบบการเรยี นการสอนของมหาวทิ ยาลัยอนิ เดียนา่ (Indiana University) ไดใ้ หค้ า้ จ้ากัดความของ “สือ” วา่ “Media is a channel of communication หรอื สอืคอื ชอ่ งทางในการติดตอ่ สือสาร” media มรี ากศัพทม์ าจากภาษาลาตนิ มีความหมายว่าระหวา่ ง (between) หมายถงึ อะไรกต็ ามทีท้าหนา้ ทีบรรทกุ นา้ พาขอ้ มูลหรสื ารสนเจากแหลง่ กา้ เนิดสารไปยงั ผ้รู ับสาร” สอดคลอ้ งกับศาสตราจารย์Romiszowski ผู้เชียวชาญทางด้านการออกแบบการพัฒนาและการประเมนิ ผลสอื การเรียนการสอนของมหาวิทยาลยั ซรี าคิวส์ (Syracuse University) กล่าวว่า “สือ” เปนตัวนา้ สารจากแหลง่ ก้าเนดิ ของการสือสาร (ซงึ อาจจะเปน มนษุ ย์หรือวตั ถุทไี ม่มีชีวติ ) ไปยังผู้รบั สาร “media is the carriers of messages,from some transmitting source (which may be a human being oran inanimate object) to the receiver of the message (which in ourcase is the learner)” สรปุ ไดว้ า่ สือ หมายถงึ สิงใดๆ ก็ตามทเี ปนตวั กลางระหวา่ งแหลง่ ก้าเนิด ของสารกบั ผูร้ บั สาร มหี น้าทีน้าพาสารจากแหลง่ ก้าเนดิ ไปยัง ผรู้ ับสาร เพือให้เกดิ ผลใดๆ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ของการสือสาร ในส่วนของ“สอื ดจิ ิทัล” หากจะนิยามความหมายคงตอ้ งท้าความเขา้ ใจค้าวา่ “ดจิ ิทลั ” เสยีก่อนเพือเชอื มโยงความหมายสอื ดจิ ิทลั ได้ง่ายขึ น “ดิจิทลั ” หรอื “Digital” มาจากภาษาละตนิ วา่ digit มคี วามหมายวา่ นิ ว ดจิ ิทัลเปนระบบทีใช้คา่ ตัวเลขฐาน2 สา้ หรับการสง่ ผ่าน ประมวลผล จัดเกบ็ หรอื แสดงผลของขอ้ มูล ซึงต่าง จากระบบแอนะลอ็ กทีใช้คา่ ตอ่ เนืองของขอ้ มลู ในการทา้ งาน เหน็ ไดว้ า่ ข้อแตกต่าง

10ตารางท่ี 3.1 ตัวอยางของส่ือระบบดิจิทัลส่อื ตัวกลาง สญั ญาณธรรมชาติ รปู แบบท่ีถูกจัด Digital เก็บและบนั ทึกบนขอความใน ส่ ือ E-mail ตัวอกั ษร ขอ มลู เลขฐาน 2(0,1) กลอ งถาย ภาพ ขอ มูลเลขฐาน 2(0,1) ภาพน่ิงดิจทิ ัล เสียง ขอมลู เลขฐาน 2(0,1) DVD เพลง,Mp3เพ่ิมขอความ ภาพ เสยี ง ขอ มูลเลขฐาน 2(0,1)ในสว นเน้ือหาเลก็ นอ ย VDO, Mp4

112. องค์ประกอบของสือดิจทิ ลั เพิมข้อความในส่วนเนือหาเล็กนอ้ ย       องค์ประกอบของสือดิจทิ ัลนั นมอี งคป์ ระกอบเบื องตน้ เหมอื นกับองค์ประกอบของสือมัลติมีเดีย ซงึ ประกอบไปด้วยพื นฐาน 5 ชนดิ ได้แก่ ข้อความ(Text) เสียง (Audio) ภาพนิง (Still Image) ภาพเคลอื นไหว (Animation)และภาพวิดีโอ (Video) เพียงแต่รปู แบบของสือมีความเปนดจิ ิทัล ในการใช้งานและเผยแพรส่ ือดังกล่าว       2.1 ขอ้ ความ (Text) ข้อความเปนสว่ นทีเกยี วขอ้ งกับเนื อหาของมัลติมีเดยี โดยใชแ้ สดงรายละเอยี ด หรือเนื อหาทีจะน้าเสนอ ถอื ว่าเปนองคป์ ระกอบพื นฐานทสี า้ คัญของมลั ตมิ เี ดีย ระบบมัลตมิ ีเดียทีนา้ เสนอผ่านคอมพิวเตอร์นอกจากจะมีรปู แบบและสขี องตวั อกั ษรใหเ้ ลือกมากมายตามความต้องการแล้วยงั สามารถกา้ หนดลักษณะของการปฏิสมั พันธ์ระหว่างการนา้ เสนอได้อีกด้วย ซึงปจจบุ ัน มหี ลายรปู แบบ ไดแ้ ก่       2.1.1 ขอ้ ความทีไดจ้ ากการพิมพ์ เปนข้อความปกติทีพบได้ทวั ไปไดจ้ ากการพิมพ์ด้วยโปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น Notepad, TextEditor, Microsoft Word โดยตัวอักษรแต่ละตวั เก็บในรหสั เช่น รหสั ASCII(American Standard Code for Information Interchange)ท่ีมาของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/ASCLL Table

12      2.2 เสียง (Audio) เสียงถูกจดั เก็บอยูใ่ นรูปแบบของสัญญาณดจิ ิตอลซงึสามารถเลน่ ซ้ากลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมทีออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับท้างานด้านเสยี ง หากในงานมลั ตมิ เี ดยี มีการใชเ้ สยี งทีเร้าใจและสอดคลอ้ งกับเนื อหาใน การน้าเสนอ จะช่วยให้ระบบมลั ตมิ เี ดียนันเกดิ สมบูรณแ์ บบมากยงิ ขึ นนอกจากนี ยงั ชว่ ยสรา้ งความนา่ สนใจและนา่ ตดิ ตามในเรอื งราวตา่ งๆ ได้เปนอย่างดี ทั งนี เนอื งจากเสียงมอี ทิ ธพิ ลต่อผู้ใช้มากกว่าขอ้ ความหรอื ภาพนิงดังนัน เสียงจงึ เปนองค์ประกอบทจี ้าเปนส้าหรับมลั ติมีเดยี ซึงสามารถนา้ เข้าเสยี งผ่านทางไมโครโฟน แผน่ ซีดดี วี ดี ี เทป และวทิ ยุ เปนต้น     2.3 ภาพนงิ (Still Image) ภาพนงิ เปนภาพทีไม่มีการเคลือนไหว เช่นภาพถา่ ย ภาพวาด และภาพลายเสน้ เปนต้น ภาพนิงนบั ว่ามบี ทบาทต่อระบบงานมลั ตมิ ีเดียมากกวา่ ขอ้ ความหรอื ตวั อักษร เนอื งจากภาพจะใหผ้ ลในเชิงการเรยี นรูห้ รือรับรู้ด้วยการมองเหน็ ไดด้ กี วา่ นอกจากนี ยังสามารถถ่ายทอดความหมายไดล้ ึกซึงมากกว่าข้อความหรอื ตวั อักษรซึงขอ้ ความหรือตวั อักษรจะมีขอ้ จากัดทางดา้ นความแตกตา่ งของแต่ละภาษา        2.4 ภาพเคลือนไหว (Animation) ภาพกราฟกทีมกี ารเคลอื นไหวเพือแสดงขั นตอนหรอื ปรากฏการณต์ ่างๆ ทีเกดิ ขึ น อย่างตอ่ เนอื ง เช่น การเคลือนทขี องลกู สบู ของเครืองยนต์ เปนต้น ทั งนี เพือสร้างสรรค์จินตนาการให้เกดิ แรงจงู ใจจากผูช้ ม การผลิตภาพเคลือนไหวจะต้องใช้โปรแกรมทมี ีคณุ สมบัตเิ ฉพาะทางซงึ อาจมปี ญหาเกิดขึ นอยู่บ้างเกยี วกับขนาดของไฟล์ทีตอ้ งใชพ้ ื นทีในการจดั เก็บมากกว่าภาพนิงหลายเท่า ท่ีมาของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/Runcycle sequence

13สอื ดิจิทลั ในปจจบุ นั       ในปจจบุ ันสือดิจทิ ลั เขา้ มามบี ทบาทต่อชวี ติ ประจ้าวันของผคู้ นมากขึ นเรอื ยๆ สอื ดิจิทลั ไมเ่ พียงแต่เข้าถึงผู้คนทีอยอู่ าศัยในชุมชนเมืองเท่านั น แต่สือดิจทิ ลั ได้มกี ารขยายตวั ไปส่กู ลุ่มผู้คนในชนบทอกี ดว้ ย จงึ ทา้ ให้ผผู้ ลิตสอื ดจิ ิทัลตอ้ งปรับแนวทางการเขา้ ถึงขอ้ มลู ผู้บริโภคในแตล่ ะกลุ่มใหม่ จากเดมิ ทีการสอื สารแบบดจิ ิทลั นั นมีเขา้ ถงึ สว่ นใหญ่เฉพาะกลุม่ วัยรนุ่ ทีอยู่อาศัยในเมอื งเทา่นั น หรอื จากเดมิ ทเี ราเคยใหค้ วามส้าคญั กับการสอื สารผ่านทางโทรทัศน์มากกว่าสือดิจทิ ลั เนืองจากเข้าถึงกลุ่มบริโภคในจ้านวนมากล้วนเปลียนแปลงไปแล้วทังสนิ         ส้านักงานพัฒนาธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือETDA ไดท้ า้ การสา้ รวจพฤติกรรมผ้ใู ช้ อินเตอรเ์ น็ตในประเทศไทยในป 2557พบวา่ คนไทยใชเ้ วลาทอ่ งอินเตอร์เน็ตเฉลียถึงวนั ละ 7.2 ชัวโมง นอ้ ยกว่าค่าเฉลียของชัวโมงการท้างานเพียงเลก็ นอ้ ยเท่านั น และขอ้ มูลในป 2556 พบว่าคนไทยเราใชเ้ วลาออนไลนเ์ ฉลียวันละ 4.6 ชัวโมง เพิมขึ นวนั ละ 2.6 ชัวโมงนบั ได้วา่ อินเตอร์เนต็ ไดเ้ พิมบทบาทการใชช้ วี ิตประจ้าวันของคนไทยมากขึ นกว่าเดิมมาก ยงิ กว่านั นยังพบวา่ เพศทีสาม ทอ่ งอนิ เตอรเ์ นต็ เฉลียวันละ 8.8ชัวโมง แนน่ อนว่าในยุคสมารท์ โฟนทนี ิยมใชง้ านจากความคล่องตวั ทสี ามารถพกพาติดตัวใช้งานสะดวกประกอบกบั ผู้ให้ บรกิ ารเครือข่ายทีได้ปรับปรงุประสทิ ธิภาพและความเรว็ ให้สูงขึ นเรือยๆ สมาร์ทโฟนจึงเปนอปุ กรณท์ ใี ช้ออนไลน์มากทสี ดุ เกอื บทั งวนั เฉลียสงู ถึงวนั ละ 6.6 ชัวโมง (หนุม่ ดิจติ อล,2557)ข้อมลู จาก MEC Global ได้ท้าการส้ารวจและเปรยี บเทยี บพฤติกรรมในการใช้สอื ดจิ ทิ ลั ผ่านทางโทรศัพทม์ ือถอื และสอื ทางโทรทศั น์ ระหวา่ งกล่มุ ผูบ้ รโิ ภคอายุ 18-34 ป กบั อายุ 35-54 ป และเปรียบเทยี บเพิมเตมิ ระหวา่ งผูอ้ าศัยในเมืองกบั ชนบท 

14โดยผลการสา้ รวจพฤติกรรมและการใชส้ อื ของผบู้ ริโภคในกลุ่มอายแุ ละทีอยู่อาศัย ผลสา้ รวจพบว่าความแตกต่างของพฤติกรรมและการใช้สอื ของผบู้ รโิ ภคในแต่ละกลมุ่ อายุ มีความแตกต่างเพียงเล็กนอ้ ยเท่านั น โดยกลุม่ อายุ 18-34 ปมคี ่าเฉลยี การใช้งานผ่านทางโทรศัพทม์ อื ถอื มากกวา่ กลมุ่ อายุ 35-54 ป แต่กลมุ่อายุ 35-54 ป กม็ ีการบรโิ ภคสือดิจิทลั ผา่ นทางโทรศัพทม์ อื ถอื เปนจา้ นวนชวั โมงทเี ท่ากับการบริโภคสอื ผา่ นทางโทรทัศน์ ซงึ ท้าให้เห็นวา่ กลมุ่ ผู้ใช้สอื ทีมีอายชุ ่วง35-54 ป ก็เริมมีการใชง้ านสือดจิ ิทลั เพิมมากขึ น และผลการส้ารวจนี ชี ใหเ้ ห็นวา่ กลุม่ ผู้อาศัยในชนบทมีปรมิ าณการบริโภคสือทางโทรศัพทม์ ือถือมากกว่ากลมุ่อนื ๆ (Marketingoops, 2016) และจากผลส้ารวจมลู ค่าของการโฆษณาผ่านสือดิจทิ ัลในป 2559-2560 โดยสมาคมโฆษณาดจิ ิทัลประเทศไทย พบวา่ งบประมาณทใี ชใ้ นการโฆษณาผ่านสอื ดจิ ทิ ัลในป 2559 มีอตั ราการเตบิ โตอย่างตอ่เนอื งโดยเตบิ โตขึ น 17% จากปทีผา่ นมา และคาดวา่ จะเตบิ โตขึ นอกี เปน 24%ในป 2560 ซงึ แสดงให้เหน็ วา่ สอื ดิจทิ ลั ไมว่ ่าจะเปนการใช้ในรูปแบบใด ทั งด้านการสอื สาร ดา้ นการศึกษา เพือความบนั เทิง หรือวงการการโฆษณา กล็ ว้ นแต่มีการเติบโตในดา้ นการใช้สอื ดจิ ทิ ัลทงั สินการเข้าส่ยู ุคของสือดิจทิ ลั นั นจะเปนการเพิมโอกาสและขดี ความสามารถของสอืในการเข้าถึงผูบ้ รโิ ภคสือตา่ งๆ ดว้ ยความรวดเรว็ และการเข้าถงึ ผรู้ ับไดอ้ ย่างเปนสว่ นตัวเฉพาะบคุ คลมากขนึ   ท่ีมาของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/digital

15ประเภทของสอื และสือดจิ ทิ ลั สือดจิ ทิ ัลมหี ลายประเภทสามารถจ้าแนก ไดด้ งั นี       1. สอื ดงั เดิม (Traditional Media) สือดั งเดมิ หมายถึง สอื มวลชนทีมมี าแต่ดั งเดมิ ได้แก่ สือสิงพิมพ์ สอื วิทยุ กระจายเสยี ง สอื โทรทศั น์ และสอืภาพยนตร์ เปนตน้       2. สือกระแสหลัก (Mainstream Media)สือกระแสหลักหมายถึง สอื มวลชนทพี ิจารณาจากความเปนเจ้าของสือนั นๆ(Ownership) อนั มีเปาหมายทางธรุ กจิ เนน้ ผลกา้ ไร เปนองค์กรเชิงพาณชิ ย์       3. สือเก่า (Old Media)สอื เก่า หมายถึง สือทีมมี าแต่เดิมในลกั ษณะเดยี วกนั กับสอื ดั งเดิม       4. สอื ใหม่ (New Media)สือใหม่ หมายถึง สือมวลชนทีเกิดขึ นใหม่ เกิดจากการหลอมรวมเทคโนโลยกี ารสอื สาร ภายใต้พัฒนาการของเทคโนโลยีการสอื สารและภาษาระบบตวั เลข(Digital Language) กล่าวคอื เทคโนโลยีการสือสาร              5. สือออนไลน์ (Online Media)สือออนไลน์ หมายถึง สอื ทเี ปนสอื ทางเลือก สอื เสรมิ หรอื สือใหม่ เข้าถงึ ได้ตลอดเวลา โต้ตอบกับผู้รับสารไดใ้ นทนั ที จัดเก็บสารสนเทศไว้ไดโ้ ดยง่าย เช่น เครือข่ายอนิ ทราเนต็ (Intranet) เอก็ ซท์ ราเน็ต (Extranet) บริการส่งข้อความสั น (SMS)บรกิ ารสง่ ขอ้ ความสือผสม (MMS)เนน้ ความสดใหม่ของข้อมูล เน้นความมสี ่วนรว่ มของผอู้ ่านผ่านกระดานข่าว (webboard) เน้นสว่ นร่วมโดยสรา้ งพื นทีส่วนตัว 

16       6. สืออนิ เทอรเ์ นต็ (Internet Media)สืออินเทอร์เนต็ หมายถงึ สอื ทีอาศัยเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ อนิ เทอร์เนต็ เปนช่องทาง การสือสารโดยเชอื มโยงเปนเครอื ขา่ ยใยแมงมุม เชือมโยงกันได้โดยใช้การสอื สารมวลชนแบบใชส้ ายและไรส้ าย เปนทั งสือบุคคล (Inter-personal Communication) และสือมวลชน (Mass Communication) ไร้พรมแดน สอื สาร แบบสองทาง (Interactive) และสอื ผสม (Multimedia)       7. สอื ดิจทิ ลั (Digital Media)สือดิจิทลั หมายถึง สือทีอาศัยระบบคอมพิวเตอรเ์ ปนช่องทางในการสอื สาร ค้าว่า “ดิจทิ ลั ” เปนคา้ ศัพทบ์ ัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน แตเ่ กดิ ขึ นภายหลังค้าวา่ “ดจิ ติ อล” ทีใช้ในสือมวลชนอยา่ งแพรห่ ลายอยู่กอ่ น โดยบริษัทผใู้ หบ้ ริการโทรศัพทม์ ือถอื ท้าสอื โฆษณาเผยแพร่ในสอื   ท่มี าของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/digital

17ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของสอื ดิจทิ ลั1. ขอ้ ดีของสอื ดิจทิ ัล       ขอ้ ดีของสือดิจิทลั มดี งั นี              1) ความคงทน คุณภาพของสิงทีอย่ใู น “Digital Media” การเสอื มสภาพจะใชเ้ วลานานกวา่ เพราะรปู แบบของข้อมลู ทจี ัดเก็บแบบสองระดับคือ 0 กับ 1 โอกาสทจี ะผิดเพี ยนจะเกิดขึ นได้ยากกวา่ ข้อมลู แบบตอ่ เนอื ง เช่นการบนั ทึกข้อมูลภาพลงในวิดทิ ัศน์แบบอนาลอ็ ก กบั การบันทึกภาพลงวดิ ิทศั น์ในระบบดจิ ิทัล เมอื เสน้ เทปยดื การอ่านขอ้ มลู กลับมาในแบบดจิ ทิ ัลนั น จะท้าได้ง่ายกว่า และสามารถทา้ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู กลบั มาไดเ้ หมือนเดิมไดง้ า่ ยกวา่ แต่ส้าหรับขอ้ มูลแบบอนาลอ็ ก จะใหค้ ุณภาพของภาพทลี ดลงโดยทนั ทีอยา่ งเหน็ ได้ชัด เปนเพราะการจ้าแนกในระบบอนาลอ็ กท้าแบบรูปคลืนซายนเ์ วฟ (Sine Wave) หรอื รูปคลืนทีมีความโคง้ สงู ต่าหลายระดับ ตา่ งกับรูปคลืนแบบเหลยี ม (SquareWave) ซึงมีลกั ษณะเปนสีเหลยี มเท่านั น ท้าให้แยกแยะได้ทนั ทวี า่ รูปคลนื หรือขอ้ มูลใดเปน 0 หรือ 1 ท้าให้การทา้ ส้าเนาและการเกบ็ รกั ษาท้าได้งา่ ยกว่าท่ีมาของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/Sound wave

18        2) ประยกุ ตใ์ ช้ได้หลากหลาย รปู แบบของการนา้ ไปใช้งานทา้ ได้หลากหลายวธิ ี ขอ้ มูลทจี ัดเก็บในแบบดจิ ทิ ลั ถอื ไดว้ ่าเปนข้อมูลกลางทสี ามารถแปลงไปสูร่ ปู แบบอนื ได้งา่ ย เชน่ ถ่ายรปู ด้วยกล้องดจิ ทิ ลั เมอื ได้เปน ข้อมลู ภาพออกมาแลว้ จะสามารถพิมพ์ภาพลง บนกระดาษหรอื การแสดงภาพบนจอคอมพิวเตอร์ หรอื แสดงภาพบนจอทวี ี ก็ได้เชน่ กัน หรอื สามารถเปลยี นแปลงชนิดของไฟล์ เช่น จากไฟล์ นามสกุลAVI เปนรูปแบบอืน เช่น .MP4, .WMV และอืนๆ ได้งา่ ยโดยไม่ต้องมี เครอื งมืออืนทีซับซ้อน        3) ผสมผสานกบั สอื อนื ได้งา่ ยการน้าไปผสมผสานกับสือรปู แบบอนื เชน่ ภาพถ่าย นา้ มารวมกบั เสยี ง มกี ารแสดงแบบมลั ติมีเดีย (Multi media) ได้งา่ ยมากขนึ        4) การปรบั แต่งการปรบั แตง่ (edit) เปนการปรบั แต่งสอื ทเี ปนภาพถ่าย วดิ ีโอ น้ามาปรับแต่งใหด้ ขี ึ นกวา่ เดมิ สามารถการสอดแทรกสอื อนื ๆ เข้ามานา้ เสนอรว่ มกันไดส้ ะดวก และมคี ณุ ภาพทดี ี2. ข้อเสยี ของสือดจิ ิทัล       สอื ดจิ ทิ ัลนั นสามารถทา้ สา้ เนาซา้ ไดง้ า่ ย เผยแพรไ่ ด้ง่ายและรวดเรว็ จึงเปนสาเหตุ ทีท้าให้ง่ายตอ่ การกระท้าผดิ ศีลธรรม การละเมดิ ลิขสทิ ธิ หรือการละเมิดในสทิ ธิของผู้อืน เช่น การนา้ เอาภาพของบุคคลหนึง มาตดั ต่อกบั ภาพเปลือยกายของอีกคนหนึง หรอื การท้าซ้า (Copy) กับงานสือทีมีลขิ สทิ ธิถูกต้องเปนตน้ จากข้อดีทมี ีคณุ สมบัตเิ ด่นต่างๆ มากมายเหลา่ นี ท้าให้มแี นวโนม้ ในการพัฒนาสือดจิ ติ อล (Digital Media) และการพัฒนาให้มคี ณุ ภาพดขี นึ ทุกขณะรวมทั งสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ นอีกด้วย  ท่ีมาของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/digital

อินเทอร์เนต็ กบั สือดจิ ิทัล 19       ในโลกยคุ ดิจิตอลอยา่ งเชน่ ในปจจุบันนี สอื รปู แบบใหมๆ่ อย่างเช่นดจิ ิทัลมเี ดีย หรือ สอื ดจิ ทิ ัล โซเชยี ลมเี ดยี และเวบ็ ไซตอ์ อนไลน์ คือเครืองมือทีสา้ คญั ยงิ ในการน้าเสนอข้อมลู ต่างๆ รวมทั งใชเ้ ปนสือในการเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสารไปส่ผู คู้ นทวั โลก เพราะมีความสอดคล้องกบั วถิ ีชวี ติ ของผู้คนในปจจุบนันี ทใี ชเ้ วลาอยกู่ ับโลกออนไลนน์ านมากขึ นเรอื ยๆ จนเด็กทีเกิดขึ นในปจจุบนัมกั จะถกู เรียกว่าเด็กยุคสกรนี เอจ (Screen age) เนอื งจากมีความเกียวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ และเครืองมือ สือสารตา่ งๆ มาตั งแต่วยั เด็ก ไมว่ า่ จะเปนสอื การสอนส้าหรับเด็กเล็ก เกมการศึกษา สือวดิ ที ศั นเ์ พือความบันเทิงการต์ ูน เกม และโปรแกรมตา่ งๆ ซึงตอ้ งมีการใช้อปุ กรณท์ มี หี น้าจอทั งสิ นแตส่ อื การสอนหรอื หนังสือออนไลนต์ า่ งๆ ทั งหมดทกี ลา่ วมานี ล้วนแตม่ กี ารใช้งานผ่านระบบอนิ เทอร์เน็ตเปนหลักทั งสิ น เนืองจากในปจจบุ ันคนทุกเพศ ทุกวัย สามารถเข้าถึงสืออินเทอรเ์ น็ตได้ ดว้ ยมือถือสมาร์ทโฟนทตี อนนี มรี าคาถกูลงมาก รวมทั งอนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สงู ทั งแบบมีสายและไร้สาย ทมี คี วามเร็วมากขึ นเรอื ยๆ เพือรองรับสอื ดิจทิ ลั ทีมีจา้ นวนมากมายมหาศาลบนอินเทอรเ์ นต็ รวมทั งสอื หลายๆ ประเภท เชน่ สือวดิ โี อออนไลน์ในปจจบุ นั มีความละเอียดเพิมขึ น ท้าใหม้ ีขนาดของขอ้ มลู วดิ โี อใหญต่ ามขึ นไปดว้ ย ซงึ จา้เปนตอ้ งใช้ระบบอนิ เทอร์เน็ตความเร็วสงู ในการอพั โหลดท่ีมาของภาพ : https://pixabay.com/en/photos/digital


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook