Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกหัดบทที่7 น.ส.ปิ่นเกสร ทิพยวรรณ รหัส 4631071141123 ออกแบบภายในปี3

แบบฝึกหัดบทที่7 น.ส.ปิ่นเกสร ทิพยวรรณ รหัส 4631071141123 ออกแบบภายในปี3

Published by PintPN, 2022-08-02 18:29:40

Description: แบบฝึกหัดบทที่7 น.ส.ปิ่นเกสร ทิพยวรรณ รหัส 4631071141123 ออกแบบภายในปี3

Search

Read the Text Version

ปิ่ นเกสร ทิพยวรรณ ออกแบบภายในปี 3 4631071141123 แบบฝึ กหัด7 เรื่อง ประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 1. จงบอกประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ใชข้ นาดกายภาพทางภูมิศาสตร์ของเครือขา่ ยเป็นเกณฑ์ แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภทดงั น้ี 1. เครือขา่ ยทอ้ งถ่ิน (LAN: Local Area Network) 2. เครือข่ายในเขตเมือง (MAN: Metropolitan Area Network) 3. เครือข่ายบริเวณกวา้ ง (WAN: Wide Area Network) ใชล้ กั ษณะหนา้ ที่การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภทดงั น้ี 1. เครือข่ายแบบเท่าเทียม (Peer-to-Peer Network) 2. เครือข่ายแบบผใู้ ชบ้ ริการและผใู้ หบ้ ริการ (Client-Server Network) ใชร้ ะดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มูลเป็นเกณฑส์ ามารถแบ่งไดด้ งั น้ี คือ 1. เครือข่ายสาธารณะ (Internet) 2. เครือขา่ ยส่วนบุคคล (Intranet) 3. เครือข่ายร่วม (Extranet) 2. ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์สามารถจาแนกได้กปี่ ระเภทอะไรบ้าง ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์สามารถจาแนกได้ 3 ประเภท คือ 1.ประเภทของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบ่งตามขนาดกายภาพทางภูมิศาสตร์ 2.ประเภทของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบ่งตามหนา้ ท่ีของคอมพิวเตอร์ 3.ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งตามระดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มูล

ป่ิ นเกสร ทิพยวรรณ ออกแบบภายในปี 3 4631071141123 3.ประเภทเครือข่ายทใ่ี ช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็ นเกณฑ์แบ่งเป็ นก่ีประเภท อะไรบ้างจงอธิบาย ใชข้ นาดทางกายภาพของเครือขา่ ยเป็นเกณฑ์ แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภทดงั น้ี 1.LAN (Local Area Network) : ระบบเครือขา่ ยระดบั ทอ้ งถ่ิน เป็ นระบบเครือข่ายที่ใชง้ านอยใู่ นบริเวณที่ไม่กวา้ งนกั อาจใชอ้ ยภู่ ายในอาคารเดียวกนั หรืออาคารที่ อยใู่ กลก้ นั เช่น ภายในมหาวิทยาลยั อาคารสานกั งาน คลงั สินคา้ หรือโรงงาน เป็นตน้ การส่งขอ้ มูลสามารถทา ไดด้ ว้ ยความเร็วสูง และมีขอ้ ผิดพลาดนอ้ ย ระบบเครือข่ายระดบั ทอ้ งถ่ินจึงถูกออกแบบมาใหช้ ่วยลดตน้ ทุนและ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน และใชง้ านอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกนั 2.MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือขา่ ยระดบั เมือง เป็ นระบบเครือข่ายท่ีมีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็ นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือจงั หวดั เท่าน้ัน การเช่ือมโยงจะตอ้ งอาศยั ระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็ นเครือข่ายที่ใชก้ บั องค์การท่ีมีสาขา ห่างไกลและตอ้ งการเช่ือมสาขาเหล่าน้นั เขา้ ดว้ ยกนั เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเช่ือมโยงระยะไกลมาก จึงมี ความเร็วในการส่ือสารไม่สูง เน่ืองจากมีสัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีท่ีใช้กับเครือข่ายแวนมีความ หลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหวา่ งประเทศดว้ ยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล 3.WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือขา่ ยระดบั ประเทศ หรือเครือขา่ ยบริเวณกวา้ ง เป็ นระบบเครือข่ายที่ติดต้งั ใช้งานอยู่ในบริเวณกวา้ ง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดต้งั ใชง้ านทว่ั โลก เป็ น เครือข่ายท่ีเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยหู่ ่างไกลกนั เขา้ ดว้ ยกนั อาจจะตอ้ งเป็นการติดต่อส่ือสารกนั ใน ระดบั ประเทศ ขา้ มทวีปหรือทวั่ โลกก็ได้ ในการเช่ือมการติดต่อน้ัน จะตอ้ งมีการต่อเขา้ กบั ระบบส่ือสารของ องคก์ ารโทรศพั ทห์ รือการส่ือสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการส่งขอ้ มูลผา่ นสายโทรศพั ทใ์ นการ ติดต่อส่ือสารกนั โดยปกติมีอตั ราการส่งขอ้ มูลที่ต่าและมีโอกาสเกิดขอ้ ผิดพลาด การส่งขอ้ มูลอาจใชอ้ ุปกรณ์ใน การส่ือสาร เช่น โมเดม็ (Modem) มาช่วย

ปิ่ นเกสร ทิพยวรรณ ออกแบบภายในปี 3 4631071141123 4.ประเภทเครือข่ายทใ่ี ช้ลกั ษณะหน้าที่การทางานของคอมพวิ เตอร์ในเครือข่ายเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้กี่ ประเภท อะไรบ้างจงอธิบาย ใชล้ กั ษณะหนา้ ที่การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภทดงั น้ี 1. Peer-to-Peer Network หรือเครือขา่ ยแบบเท่าเทียม เป็ นการเช่ือมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์เขา้ ด้วยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ละเคร่ือง จะสามารถแบ่ง ทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไฟลห์ รือเคร่ืองพิมพซ์ ่ึงกนั และกนั ภายในเครือข่ายได้ เครื่องแต่ละเคร่ืองจะทางาน ในลกั ษณะท่ีทดั เทียมกนั ไม่มีเครื่องใดเครื่องเครื่องหน่ึงเป็ นเคร่ืองหลกั เหมือนแบบ Client / Server แต่ก็ยงั คง คุณสมบตั ิพ้ืนฐานของระบบเครือข่ายไวเ้ หมือนเดิม การเช่ือมต่อแบบน้ีมกั ทาในระบบที่มีขนาดเล็กๆ เช่น หน่วยงานขนาดเล็กที่มีเครื่องใชไ้ ม่เกิน 10 เคร่ือง การเช่ือมต่อแบบน้ีมีจุดอ่อนในเร่ืองของระบบรักษาความ ปลอดภยั แต่ถา้ เป็ นเครือข่ายขนาดเล็ก และเป็ นงานท่ีไม่มีขอ้ มูลที่เป็ นความลบั มากนกั เครือข่ายแบบน้ี ก็เป็ น รูปแบบท่ีน่าเลือกนามาใชไ้ ดเ้ ป็นอยา่ งดี 2. Client-Server Network หรือเครือข่ายแบบผใู้ ชบ้ ริการและผใู้ หบ้ ริการ เป็ นระบบท่ีมีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองมีฐานะการทางานท่ีเหมือน ๆ กนั เท่าเทียมกนั ภายในระบบ เครือข่าย แต่จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เคร่ืองหน่ึง ท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นเคร่ือง Server ท่ีทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการทรัพยากรต่าง ๆ ใหก้ บั เครื่อง Client หรือเครื่องท่ีขอใชบ้ ริการ ซ่ึงอาจจะตอ้ งเป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพท่ีค่อนขา้ งสูง ถึงจะทา ให้การให้บริการมีประสิทธิภาพตามไปดว้ ย ขอ้ ดีของระบบเครือข่าย Client - Server เป็ นระบบท่ีมีการรักษา ความปลอดภยั สูงกวา่ ระบบแบบ Peer To Peer เพราะวา่ การจดั การในดา้ นรักษาความปลอดภยั น้นั จะทากนั บน เคร่ือง Server เพียงเคร่ืองเดียว ทาให้ดูแลรักษาง่าย และสะดวก มีการกาหนดสิทธิการเขา้ ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ใหก้ บั เคร่ืองผขู้ อใชบ้ ริการ หรือเครื่องClient

ป่ิ นเกสร ทิพยวรรณ ออกแบบภายในปี 3 4631071141123 5. ประเภทเครือข่ายที่ใช้ระดบั ความปลอดภยั ของข้อมูลเป็ นเกณฑ์มีอะไรบ้างจงอธิบาย ใชร้ ะดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มูลเป็นเกณฑส์ ามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภทคือ 1. อินเทอร์เนต็ (Internet) เครือขา่ ยสาธารณะ เป็นเครือข่ายท่ีครอบคลุมทว่ั โลก ซ่ึงมีคอมพวิ เตอร์เป็นลา้ นๆเครื่องเชื่อมต่อเขา้ กบั ระบบและยงั ขยายตวั ข้ึนเรื่อย ๆ ทุกปี อินเทอร์เน็ตมีผใู้ ชท้ วั่ โลกหลายร้อยลา้ นคน และผใู้ ชเ้ หล่าน้ีสามารถแลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสาร กนั ไดอ้ ยา่ งอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็นอุปสรรค นอกจากน้ีผใู้ ชย้ งั สามารถเขา้ ดูขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีถูก ตีพิมพใ์ นอินเทอร์เน็ตได้ อินเทอร์เน็ตเชื่อมแหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั ไม่วา่ จะเป็นองคก์ รธุรกิจ มหาวทิ ยาลยั หน่วยงานของรัฐบาล หรือแมก้ ระทง่ั แหล่งขอ้ มูลบุคคล องคก์ รธุรกิจหลายองคก์ รไดใ้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตช่วยในการ ทาการคา้ เช่น การติดต่อซ้ือขายผา่ นอินเทอร์เน็ตหรืออีคอมเมิร์ช (E-Commerce) ซ่ึงเป็นอีกช่องทางหน่ึงสาหรับ การทาธุรกิจที่กาลงั เป็ นท่ีนิยม เนื่องจากมีต้นทุนที่ถูกกว่าและมีฐานลูกค้าที่ใหญ่มาก ส่วนขอ้ เสียของ อินเทอร์เน็ตคือ ความปลอดภยั ของขอ้ มูล เน่ืองจากทุกคนสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลทุกอย่างท่ีแลกเปล่ียนผ่าน อินเทอร์เนต็ ได้ อินเทอร์เน็ตใชโ้ ปรโตคอลท่ีเรียกวา่ “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)” ในการสื่อสาร ขอ้ มูลผา่ นเครือข่าย ซ่ึงโปรโตคอลน้ีเป็นผลจากโครงการหน่ึงของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการน้ีมีช่ือวา่ ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงค์ของโครงการน้ีเพื่อ เช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกัน และภายหลงั จึงไดก้ าหนดให้เป็ นโปรโตคอลมาตรฐานในเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ในปัจจุบนั อินเทอร์เน็ตไดก้ ลายเป็นเครือข่ายสาธารณะ ซ่ึงไม่มีผใู้ ดหรือองคก์ รใดองคก์ รหน่ึงเป็นเจา้ ของอยา่ ง แทจ้ ริง การเช่ือมต่อเขา้ กบั อินเทอร์เน็ตตอ้ งเช่ือมต่อผ่านองคก์ รท่ีเรียกว่า “ISP (Internet Service Provider)” ซ่ึง จะทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการในการเช่ือมต่อเขา้ กบั อินเทอร์เน็ต นนั่ คือ ขอ้ มูลทุกอยา่ งที่ส่งผา่ นเครือขา่ ย ทุกคนสามารถ ดูได้ นอกเสียจากจะมีการเขา้ รหสั ลบั ซ่ึงผใู้ ชต้ อ้ งทาเอง

ปิ่ นเกสร ทิพยวรรณ ออกแบบภายในปี 3 4631071141123 2. อินทราเน็ต (Intranet) หรือเครือข่ายส่วนบุคคล เป็ นเครือข่ายส่วนบุคคลท่ีใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บ, อีเมล, FTP เป็ นตน้ อินทราเน็ตใช้ โปรโตคอล TCP/IP สาหรับการรับส่งขอ้ มูลเช่นเดียวกบั อินเทอร์เน็ต ซ่ึงโปรโตคอลน้ีสามารถใชไ้ ดก้ บั ฮาร์ดแวร์ หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภท ฮาร์ดแวร์ที่ใชส้ ร้างเครือข่ายไม่ใช่ปัจจยั หลกั ของอินทราเน็ต แต่ เป็นซอฟตแ์ วร์ที่ทาใหอ้ ินทราเน็ตทางานได้ อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายที่องคก์ รสร้างข้ึนสาหรับให้พนกั งานของ องค์กรใช้เท่าน้ัน การแชร์ข้อมูลจะอยู่เฉพาะในอินทราเน็ตเท่าน้ัน หรือถ้ามีการแลกเปล่ียนข้อมูลกับโลก ภายนอกหรืออินเทอร์เน็ต องคก์ รน้นั สามารถที่จะกาหนดนโยบายได้ ในขณะที่การแชร์ขอ้ มูลอินเทอร์เน็ตน้นั ยงั ไม่มีองคก์ รใดที่สามารถควบคุมการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลได้ เม่ือเช่ือมต่อเขา้ กบั อินเทอร์เน็ต พนกั งานบริษทั ของ บริษทั สามารถติดต่อสื่อสารกบั โลกภายนอกเพ่อื การคน้ หาขอ้ มูลหรือทาธุรกิจต่าง ๆ การใชโ้ ปรโตคอล TCP/IP ทาให้ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ ใชเ้ ครือข่ายจากท่ีห่างไกลได้ (Remote Access) เช่น จากที่บา้ น หรือในเวลาท่ีตอ้ งเดินทาง เพ่ือติดต่อธุรกิจ การเช่ือมต่อเขา้ กบั อินทราเน็ต โดยการใชโ้ มเดม็ และสายโทรศพั ท์ ก็เหมือนกบั การเชื่อมต่อเขา้ กบั อินเทอร์เน็ต แต่แตกต่างกนั ที่เป็ นการเช่ือมต่อเขา้ กบั เครือข่ายส่วนบุคคลแทนท่ีจะเป็ นเครือข่ายสาธารณะ อยา่ งเช่นอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่อกนั ไดร้ ะหวา่ งอินทราเน็ตกบั อินเทอร์เน็ตถือเป็นประโยชนท์ ี่สาคญั อยา่ งหน่ึง ระบบการรักษาความปลอดภยั เป็นส่ิงท่ีแยกอินทราเน็ตออกจากอินเทอร์เน็ต เครือข่ายอินทราเน็ตขององคก์ รจะ ถูกปกป้องโดยไฟร์วอลล์ (Firewall) ซ่ึงอาจจะเป็ นไดท้ ้งั ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ท่ีทาหน้าท่ีกรองข้อมูลท่ี แลกเปล่ียนกนั ระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ตเมื่อท้งั สองระบบมีการเชื่อมต่อกนั ดงั น้นั องคก์ รสามารถ กาหนดนโยบายเพอ่ื ควบคุมการเขา้ ใชง้ านอินทราเน็ตได้ อินทราเน็ตสามารถสนองความตอ้ งการของผูใ้ ชใ้ นองคก์ รไดห้ ลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพบ์ นเวบ็ ทาให้ เป็นท่ีนิยมในการประกาศข่าวสารขององคก์ ร เช่น ข่าวภายในองคก์ ร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏิบตั ิงาน ต่าง ๆ เป็ นตน้ หรือแมก้ ระทงั่ การเขา้ ถึงฐานขอ้ มูลขององคก์ รก็ง่ายเช่นกนั ผูใ้ ชส้ ามารถทางานร่วมกนั ไดง้ ่าย และมีประสิทธิภาพมากข้ึน

ปิ่ นเกสร ทิพยวรรณ ออกแบบภายในปี 3 4631071141123 3. เอก็ ส์ทราเน็ต (Extranet) หรือเครือข่ายร่วม เป็ นเครือข่ายก่ึงอินเทอร์เน็ตก่ึงอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือเครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่าง อินทราเน็ตของสององคก์ ร ดงั น้นั จะมีบางส่วนของเครือข่ายท่ีเป็นเจา้ ของร่วมกนั ระหวา่ งสององคก์ รหรือบริษทั การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จากดั ดว้ ยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายที่เกี่ยวกบั การรักษาความปลอดภยั ของ ขอ้ มูลท่ีท้งั สององคก์ รจะตอ้ งตกลงกนั เช่น องคก์ รหน่ึงอาจจะอนุญาตให้ผูใ้ ชข้ องอีกองคก์ รหน่ึงล็อกอินเขา้ ระบบอินทราเน็ตของตวั เองหรือไม่ เป็นตน้ การสร้างเอก็ ส์ทราเน็ตจะเนน้ ท่ีระบบการรักษาความปลอดภยั ขอ้ มูล รวมถึงการติดต้งั ไฟร์วอลลห์ รือระหวา่ งอินทราเน็ตและการเขา้ รหสั ขอ้ มูลและส่ิงที่สาคญั ท่ีสุดกค็ ือ นโยบายการ รักษาความปลอดภยั ขอ้ มูลและการบงั คบั ใช้