Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Orem 53 สอนปี 2รุ่น 22

Orem 53 สอนปี 2รุ่น 22

Published by K_prasarnpran, 2018-04-24 01:12:13

Description: Orem 53 สอนปี 2รุ่น 22

Search

Read the Text Version

ทฤษฎกี ารพยาบาลโอเร็มOrem’ s Theory of Nursing อ.กาญจนา ประสารปราน

วตั ถุประสงค์การเรียนรู้1. บอกข้อตกลงเบอื้ งต้นของทฤษฎกี ารพยาบาลโอเร็มได้2. บอกความหมายของมโนมตทิ ส่ี าคญั ของทฤษฎกี าร พยาบาลโอเร็มได้3. บอกความสัมพนั ธ์ระหว่างมโมติของทฤษฎแี ละแนวคดิ แต่ละทฤษฎไี ด้4. บอกกระบวนการพยาบาลในการประยกุ ต์ทฤษฎี การพยาบาลมาใช้ได้5. วเิ คราะห์ระบบการพยาบาลตามสถานการณ์ได้6. ประยกุ ต์ทฤษฎกี ารพยาบาลโอเร็มไปใช้ในกระบวนการพยาบาลได้

Dorothea Elizabelt Orem

Dorothea Elizabelt Orem เกิด Baltimore , Maryland 1930 ( พ.ศ.2473) จบประกาศนียบตั รวชิ าชีพพยาบาล 1939 ( พ.ศ.2482) จบปริญญาตรี 1945 ( พ.ศ.2488) จบปริญญาโทจากมหาวทิ ยาลยั คาทอลิก ท่ี Washington D.C. 1940 - 1949 ( พ.ศ.2483-2492 ) พยาบาลพิเศษ พยาบาลประจาการ อาจารยพ์ ยาบาล ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั และหวั หนา้ ฝ่ ายการพยาบาล 1949 - 1957 ( พ.ศ.2492-2500) ปฏิบตั ิงานโรงพยาบาล เร่ิมพฒั นา ทฤษฎีการพยาบาล 1975 ( พ.ศ.2518)ปริญญาวทิ ยาศาสตร์ดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศกั ด์ิจาก มหาวิทยาลยั ออร์จเทาว์ June 22 , 2007( พ.ศ.2550)เสียชีวติ ที่ Savannah,GA,USA. ก่อนครบรอบอายุ 93 ปี

ข้อตกลงเบอื้ งต้นของทฤษฎี ( Basic assumption) 1. บุคคลเป็ นผู้ทมี่ คี วามรับผดิ ชอบตนเองต่อการกระทาของตนเอง ในการดูแลตนเอง 2. บุคคลเป็ นผู้ทม่ี ศี ักยภาพและความต้งั ใจทจ่ี ะดูแลตนเองหรือดูแลผู้ ท่ีต้องพง่ึ พาตนเอง 3. การดูแลตนเองเป็ นส่ิงทสี่ าคญั และเป็ นความจาเป็ นในชีวติ ของ บุคคลเพอ่ื ดารงรักษาสุขภาพและความผาสุกของชีวติ 4. การดูแตนเองเป็ นกจิ กรรมทเี่ รียนรู้จากส่ิงทอ่ี ยู่รอบๆตวั 5. ความสามารถในการปฏิบตั เิ พอื่ การดูแลตนเองขนึ้ อยู่กบั ปัจจยั ท้งั ภายในและภายนอก 6. บุคคลจะอยู่ในภาวะทต่ี ้องพงึ่ พาผ้อู น่ื หรือสังคมเมอ่ื ไม่สามารถที่ จะดูแลตนเองได้

ข้อตกลงเบอื้ งต้นของทฤษฎี ( Basic assumption) ( ต่อ ) 7. บุคคลทอ่ี ยู่ในภาวะทต่ี ้องพงึ่ พาบุคคลอน่ื หรือต้องดูแลตนเองใน เรื่องของสุขภาพเป็ นบุคคลทจ่ี ะต้องได้รับการบริการจากการ พยาบาลตามสิทธิของบุคคลตามกฏหมาย 8. การพยาบาลเป็ นการบริการเพอื่ ช่วยสนับสนุนบุคคลให้สามารถ ดารงชีวติ ได้ในช่วงระยะเวลาหน่ึง

มโนมติพนื้ ฐานทางการพยาบาลคน ( Person ) : ผรุ้ ับบริการและพยาบาล เป็นบุคคลท่ีมีศกั ยภาพและมีความสามารถท่ีจะเรียนรู้ในการกระทาเพอ่ื การดูแลตนเองอยา่ งมีจุดมุ่งหมาย ( Deliberate action) ( Orem , 1985 )ส่ิงแวดล้อม ( Environment ) : สิ่งแวดลอ้ มเป็นปัจจยั ที่มีส่วนในการพฒั นาความสามารถ และความตอ้ งการดูแลตนเองของบุคคล ( Orem , 1991 )สุขภาพ ( Health ) : เป็นภาวะที่มีความสมบรูณ์ไม่บกพร่อง คือ มีโครงสร้างที่สมบรูณ์ทาหนา้ ท่ีของตนเองได้ มีการดแู ลตนเองในระดบั ท่ีเพยี งพอและต่อเน่ืองอยา่ งมีความผาสุก ( Well- being ) ( ความสามารถการดแู ลตนเอง ≥ ความตอ้ งการดูแลตนเองท้งั หมด )การพยาบาล ( Nursing ) : เป็นบริการช่วยเหลือท่ีเนน้ ใหบ้ ุคคลสามารถตอบสนองความตอ้ งการดูแลตนเองของบุคคลและช่วยใหบ้ ุคคลสามารถดแู ลตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องและเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ

แนวคดิ พนื้ ฐานทฤษฎพี ยาบาลของโอเร็ม1. ทฤษฎกี ารดูแลตนเอง ( The theory of self – care )2. ทฤษฎคี วามพร่องในการดูแลตนเอง ( The theory of self – care deficit )3. ทฤษฎรี ะบบการพยาบาล ( The theory of nursing system )

ทฤษฎกี ารดูแลตนเอง ( The theory of self – care ) “บุคคลท่ีอยใู่ นวยั เจริญเติบโตหรือกาลงั เจริญเติบโตจะปรับหน้าที่ และพฒั นาการของตนเอง ตลอดจนป้ องกนั ควบคุม กาจดั โรค และการบาดเจบ็ ต่างๆโดยการปฏิบตั ิกิจวตั รประจาวนั เรียนรู้วธิ ีการทจ่ี ะดูแลตนเองและสิ่งแวดลอ้ มท่ีคิดวา่ จะมีผลต่อหนา้ ที่และพฒั นาการของตนเอง” ( Orem , & Taylor , 1986 , หนา้ 44 ) สรุป อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการปฏิบตั ิกิจกรรมการดูแลตนเองของบุคคลท่ีตอ้ งดแู ลตนเองหรือการดแู ลบุคคลที่ตอ้ งพ่ึงพาใหส้ มั พนั ธ์กบั พฒั นาการและหนา้ ที่ของตนเองOrem , & Taylor , 1986 , หนา้ 44 )

Concepts in The theory of self – careลกั ษณะการดูแลตนเอง ( Agent ) แบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คือ - Self – care agent : บุคคลที่ตอ้ งดูแลตนเอง - Dependent care agent : บุคคลท่ีตอ้ งดูแลสมาชิกที่ตอ้ งพ่งึ พา

Self - Care การปฏิบตั ิในกิจกรรมที่บุคคลริเริ่ม และกระทาดว้ ยตนเองเพ่ือรักษาไวซ้ ่ึงชีวติ สุขภาพ และสวสั ดิภาพของตนเอง การกระทาที่จงใจและมีเป้ าหมาย ( Deliberate action ) ที่มีระบบระเบียบเป็นข้นั ตอน ตอบสนองความตอ้ งการดูแลตนเอง ( Self – care requisites ) การดูแลตนเองเป็นพฤติกรรมท่ีเรียนรู้ภายใตข้ นบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรมของชนแตล่ ะกลุ่ม

ความต้องการดูแลตนเองท้งั หมด ( Therapeutic self – care demand ) “ กิจกรรมการดูแลตนเองท้งั หมดที่จาเป็นตอ้ งกระทาในระยะเวลาหน่ึงเพ่อื ที่จะสนองตอบความต้องการดูแลตนเองทจี่ าเป็ น ( Self - care requisite ) ”ความต้องการดูแลตนเอง ( Self - care requisite ) 1. การดูแลตนเองท่ีจาเป็นโดยทว่ั ไป ( Universal Self - care requisite ) 2. การดแู ลตนเองท่ีจาเป็นตามระยะพฒั นาการ ( Developmental Self - care requisite ) 3. การดแู ลตนเองที่จาเป็นในภาวะเบี่ยงเบนทางดา้ นสุขภาพ ( Universal Self - care requisite )

การดูแลตนเองทจี่ าเป็ นโดยทวั่ ไป ( Universal Self - care requisite )1. คงไวซ้ ่ึงอากาศ น้า และอาหารที่เพยี งพอ2. คงไวซ้ ่ึงการขบั ถา่ ยและการระบายใหเ้ ป็นไปตามปกติ3. คงไวซ้ ่ึงความสมดุลระหวา่ งการมีกิจกรรมและการพกั ผอ่ น4. คงไวซ้ ่ึงความสมดุลระหวา่ งการอยคู่ นเดียวกบั การมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผอู้ ื่น5. ป้ องกนั อนั ตรายตา่ งๆ ตอ่ ชีวติ หนา้ ที่และสวสั ดิภาพ6. ส่งเสริมการทาหนา้ ท่ีและพฒั นาการใหถ้ ึงขีดสูงสุด ภายใตร้ ะบบสังคมและความ สามารถของตนเอง

1. คงไวซ้ ่ึงอากาศ น้า และอาหารที่เพยี งพอ 1.1 บริโภคอาหารและน้า อากาศใหเ้ พียงพอกบั หนา้ ที่ของร่างกายท่ี ผดิ ปกติ และคอยปรับตามความเปล่ียนแปลงท้งั ภายในและภายนอก 1.2 รักษาไวซ้ ่ึงความคงทนของโครงสร้างและหนา้ ที่ของอวยั วะท่ี เกี่ยวขอ้ ง 1.3 พงึ พอใจท่ีจะเรียนรู้ประสบการณ์จากการหายใจ การด่ืม และการ รับประทานอาหาร โดยไม่ทาใหเ้ กิดโทษ2. คงไวซ้ ่ึงการขบั ถ่ายและการระบายใหเ้ ป็นไปตามปกติ 2.1 จดั การใหม้ ีการขบั ถา่ ยตามปกติท้งั จดั การกบั ตนเองและสิ่งแวดลอ้ ม 2.2 การรักษาโครงสร้างและหนา้ ท่ีในการขบั ถ่ายใหเ้ ป็นไปตามปกติ 2.3 ดูแลสุขวทิ ยาส่วนบุคคล 2.4 ดูแลส่ิงแวดลอ้ มใหถ้ กู สุขลกั ษณะ

3. คงไวซ้ ่ึงความสมดุลระหวา่ งการมีกิจกรรมและการพกั ผอ่ น 3.1 เลือกกิจกรรมการเคลื่อนไหว ออกกาลงั กาย การตอบสนองทางอารมณ์ สติปัญญา และการมีปฏิสัมพนั ธ์กบั บุคคลอ่ืนอยา่ งเหมาะสม 3.2 รับรู้และสนใจถึงความตอ้ งการพกั ผอ่ นและการออกกาลงั กาย 3.3 ใชค้ วามสามารถ ความสนใจ คา่ นิยม และกฏเกณฑจ์ ากขนบธรรมเนียมประ เพณีเป็นพ้ืนฐานในการสร้างแบบแผนในการพกั ผอ่ นและการมีกิจกรรมของตนเอง4. คงไวซ้ ่ึงความสมดุลระหวา่ งการอยคู่ นเดียวกบั การมีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ื่น 4.1 คงไวซ้ ่ึงการมีปฏิสัมพนั ธ์และการสร้างสัมพนั ธภาพกบั บุคคลอื่นเพอ่ื ช่วยเหลือ ตนเองใหท้ าหนา้ ท่ีไดแ้ ละเรียนรู้ที่จะติดต่อขอความช่วยเหลือจากบุคคลอ่ืนเมื่อ จาเป็ น 4.2 ปฏิบตั ิตนเพอี่ สร้างมิตร ใหค้ วามรัก ความผกู พนั กบั บุคคลรอบขา้ งเพื่อจะได้ พ่ึงพาซ่ึงกนั และกนั 4.3 ส่งเสริมความเป็นตวั ของตวั เองและการเป็นสมาชิกในกลุ่ม

5. ป้ องกนั อนั ตรายต่างๆ ตอ่ ชีวติ หนา้ ท่ีและสวสั ดิภาพ 5.1 สนใจและรับรู้ต่อชนิดของอนั ตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึน 5.2 จดั การป้ องกนั ไม่ใหเ้ กิดเหตุการณ์ที่อาจจะเป็นอนั ตราย 5.3 หลีกเล่ียงหรือปกป้ องตนเองจากอนั ตรายต่างๆ 5.4 ควบคุมหรือขจดั เหตุการณ์ที่อาจเป็นอนั ตรายต่อชีวติ และสวสั ดิภาพ6. ส่งเสริมการทาหนา้ ที่และพฒั นาการใหถ้ ึงขีดสูงสุด ภายใตร้ ะบบสังคมและความ สามารถของตนเอง 6.1 พฒั นาและรักษาไวซ้ ่ึงอตั มโนทศั น์ที่เป็นจริงของตนเอง 6.2 ปฏิบตั ิในกิจกรรมที่ส่งเสริมพฒั นาการของตนเอง 6.3 ปฏิบตั ิกิจกรรมท่ีส่งเสริมและรักษาไวซ้ ่ีงโครงสร้างและหนา้ ท่ีของบุคคล ( Health promotion & Prevention ) 6.4 คน้ หาและสนใจในความผิดปกติของโครงสร้างและหนา้ ท่ีที่แตกต่างไปจาก ปกติของตนเอง ( Early detection )

การดูแลตนเองทจ่ี าเป็ นตามระยะพฒั นาการ ( Developmental Self - care requisite )การดแู ลตนเองท่ีจาเป็นสาหรับกระบวนการพฒั นาการ แบ่งเป็น 2 อยา่ ง1. พฒั นาและคงไวซ้ ่ึงภาวะความเป็นอยทู่ ี่ช่วยสนบั สนุนกระบวนการของชีวิต และพฒั นาการที่ช่วยใหบ้ ุคคลเจริญเขา้ สู่วฒุ ิภาวะในระหวา่ งท่ี 1.1 อยใู่ นครรภม์ ารดาและการคลอด 1.2 ในวยั ทารก วยั เดก็ วยั รุ่น วยั ผใู้ หญ่ วยั ชรา และในระยะต้งั ครรภ์2. ดแู ลเพอื่ ป้ องกนั การเกิดผลเสียต่อพฒั นาการโดยจดั การเพอื่ บรรเทาบาง อารมณ์เครียดหรือเอาชนะต่อผลท่ีเกิดจาก เช่น การขาดการศึกษา ปัญหา การปรับตวั ทางสังคม การสูญเสียญาติมิตร ความเจบ็ ป่ วย การบาดเจ็บ พิการ การเปล่ียนแปลงเน่ืองจากเหตุการณ์ต่างๆในชีวิต ความเจบ็ ป่ วยในข้นั สุดทา้ ย และการท่ีจะตอ้ งตาย

การดูแลตนเองทจี่ าเป็ นในภาวะเบ่ียงเบนทางด้านสุขภาพ ( Health deviation Self - care requisite )1. แสวงหาและคงไวซ้ ่ึงความช่วยเหลือจากบุคคลที่เชื่อถือได้2. รับรู้ สนใจ และดูแลผลของพยาธิสภาพ ซ่ึงรวมผลที่กระทบตอ่ การพฒั นาการ ของตนเอง3. ปฏิบตั ิตามแผนการรักษา การวนิ ิจฉยั การฟ้ื นฟู และการป้ องกนั พยาธิสภาพ ท่ีเกิดข้ึนอยา่ งมีประสิทธิภาพ4. รับรู้และสนใจที่จะคอยปรับและป้ องกนั ความไม่สุขสบายจากผลขา้ งเคียง ของการรักษาหรือจากโรค5. ดดั แปลงอตั มโนทศั น์และภาพลกั ษณ์ในการท่ีจะยอมรับภาวะสุขภาพของตนเอง6. เรียนรู้ท่ีจะมีชีวติ อยกู่ บั ผลของพยาธิสภาพหรือภาวะที่เป็นอยรู่ วมท้งั ผลการวินิจฉยั

ความสามารถในการดูแลตนเอง ( Self - care agency ) ความ สามารถ ในการปฏบิ ัติ การเพอื่ ดูแลตนเอง พลงั ความสามารถ 10 ประการความสามารถและคุณสมบตั ขิ ้นั พนื้ ฐาน

ความสามารถและคุณสมบัติข้ันพนื้ ฐาน ( Foundation capabilities and disposition )1. ความสามารถและทกั ษะในการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ความจา การอา่ น เขียน2. หนา้ ท่ีของประสาทสาหรับความรู้สึก เช่น การมองเห็น การไดย้ นิ3. การรับรู้เหตุการณ์ต่างๆ ท้งั ภายในและภายนอกตนเอง4. การเห็นคุณคา่ ในตนเอง5. นิสยั ประจาตวั6. ความต้งั ใจ7. ความเขา้ ใจตนเอง8. ความห่วงใยในตนเอง9. การยอมรับตนเอง10.ระบบการจดั ลาดบั ความสาคญั11. ความสามารถท่ีจะจดั การเก่ียวกบั ตนเอง

พลงั ความสามารถ( Ten power component)1. ความสนใจและเอาใจใส่ตนเอง2. ความสามารถที่จะควบคุมพลงั งานใหป้ ฏิบตั ิการดูแลตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง3. ความสามารถในการควบคุมส่วนต่างๆของร่างกาย4. ความสามารถที่จะใชเ้ หตุผล5. แรงจูงใจที่จะดแู ลตนเอง6. มีทกั ษะในการที่จะตดั สินใจ7. ความสามารถในการแสวงหาความรู้8. มีทกั ษะการใชก้ ระบวนการทางความคิด9. ความสามารถในการจดั ระบบการดูแลตนเอง10. ความสามารถที่จะปฏิบตั ิดแู ลอยา่ งต่อเนื่อง

ความสามารถในการปฏิบัตกิ ารเพอื่ ดูแลตนเอง ( Capabilities for self - care operation )1. การคาดการณ์ ( Estimative ) : ความสามารถในการประเมินสถานการณ์และองคป์ ระกอบในตนเองและสิ่งแวดลอ้ มที่สาคญั สาหรับการดูแลตนเอง2. การปรับเปล่ียน ( Transitional ) : ความสามารถในการตดั สินใจที่จะกระทาการตอบสนองเพือ่ การดูแลตนเอง 3. การลงมือปฏิบตั ิ ( Productive operation ) : ความสามารถที่ จะปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการดูแลตนเอง

ปัจจยั พ้ืนฐาน( Basic conditioning factors ) 1. อายุ 2. เพศ 3. ระยะพฒั นาการ 4. สังคมขนบธรรมเนียมประเพณี 5. สภาพที่อยอู่ าศยั 6. ระบบครอบครัว 7. แบบแผนการดาเนินชีวติ และกิจกรรมท่ีทาอยเู่ ป็นประจา 8. ภาวะสุขภาพ 9. ปัจจยั ทางระบบสุขภาพ 10. แหลง่ ประโยชน์ 11. ประสบการณ์ท่ีสาคญั ในชีวิต

ทฤษฎคี วามพร่องในการดูแลตนเอง( The theory of self – care deficit )SCA < TSCDIllness + Environment SCA SCA บางส่วน SCA ไม่ได้ คุณภาพ SCAไม่พอ

ทฤษฎรี ะบบการพยาบาล( The theory of nursing system )ผลผลิตของพยาบาล ความพร่องในการดูแลตนเองNursing action system • TSCDNursing agency • SC • SCA

ระบบการพยาบาล ( Nursing System ) กจิ กรรม ระบบทดแทนทั้งหมด กจิ กรรมผ้ปู วย พยาบาล ( Wholly compensatory nursing system) กิจกรรมผูป้ วย กจิ กรรม ตอบสนองความต้องการดูแลตนเอง เพ่อื การรกั ษา พยาบาล ทดแทนความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ปวย ประคับประคองและปองกนั อนั ตรายใหผ้ ู้ปวยกิจกรรมพยาบาล ระบบทดแทนบางสว่ น ( Partly compensatory nursing system) กระทากิจกรรมการดูแลตนเองบางอยา่ งให้ผ้ปู วย ทดแทนขอ้ จากัดในการดแู ลตนเองของผ้ปู วย ควบคมุ ความสามารถในการดแู ลตนเอง กระทากิจกรรมการดูแลตนเองบางอย่าง ยอมรับการดูแลและความชว่ ยเหลือจากการ พยาบาล ระบบสนับสนุนและการให้ความรู้ ( Educative supportive nursing system) กระทากจิ กรรมการดแู ลตนเอง ควบคมุ การใช้และพฒั นาความสามารถในการดูแล ตนเอง

วธิ ีการช่วยเหลอื1. การกระทาใหห้ รือการกระทาแทน ( Acting for or doing for )2. การช้ีแนะ ( Guiding another )3. การสนบั สนุน ( Supporting another )4. การสอน ( Teaching )5. การสร้างส่ิงแวดลอ้ มท่ีส่งเสริมใหบ้ ุคคลไดพ้ ฒั นาความสามารถ

กรอบแนวคิดพนื้ ฐานของทฤษฎี ( Orem , 1991 ) การดูแลตนเอง ( Self – Care )ัปจจัย ้ืพนฐาน ความสามารถในการดูแลตนเอง < ความตอ้ งการดูแลตนเองท้งั หมด ปัจจยั พ้ืนฐาน ( Self – care agency ) Therapeutic self – care demand ความพร่องในการดูแลตนเอง self – care deficit ความสามารถทางการพยาบาล ( Nursing agency)

ข้นั ตอนการใชท้ ฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม1. กาหนดความต้องการทจ่ี ะต้องดูแลตนเองท้งั หมด( TSCD )2 ประเมนิ ความสามารถและข้อจากดั ทท่ี าให้ไม่ สามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรมดงั กล่าวได้3. วนิ ิจฉัยความพร่องในการดูแลตนเอง4. กาหนดรูปแบบการพยาบาล , บทบาทและการ กระทาของพยาบาลและผู้ดูแลตนเอง

ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาลระดบั ท่ี 1 Health & Well – being • ไม่สามารถปรับการรักษาใหเ้ ขา้ กบั แบบแผนการดาเนิน ชีวิตประจาวนั • ระบบการดูแลตนเองขาดความสมดุล เนื่องจากมีการ เปล่ียนแปลงโครงสร้างของครอบครัวจากมีทารกใหม่

ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาลระดบั ท่ี 2 TSCD < SCA , TSCD > SCA • ไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการดูแลตนเองท้งั หมดไดจ้ าก การเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วของภาวะช็อคและการหายใจ ลม้ เหลวอยา่ งเฉียบพลนั • การตอบสนองการดูแลตนเองอาจไม่ครอบคลุมท้งั หมด จาก ความเปลี่ยนแปลงของโรคท่ีเลวลง • การรับรู้และการตดั สินใจไม่ดีพอ เน่ืองจากอ่อนเพลีย เจบ็ ปวดและฤทธ์ิยามอร์ฟี น

ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาลระดบั ท่ี 3 การประเมินความพร่องในระดบั ปฏิบตั ิการของการดูแล ตนเอง • ขาดความรู้และทกั ษะในการป้ องกนั ภาวะแทรกซอ้ นจากการที่ตอ้ ง จากดั การเคลื่อนไหวจากหวั กระดูกท่ีต่อกบั สะโพกขา้ งซา้ ยหกั • ขาดเหตุผลในการเชื่อมโยงความสมั พนั ธข์ องฤทธ์ิขา้ งเคียงของยา Adalat ภาวะซีด BUN สูงและไตเสียหนา้ ท่ี จึงไม่สามารถ ปรับสมดุลของสารน้าที่ไดร้ ับและขบั ออกอยา่ งเหมาะสมในแต่ละวนัระดบั ท่ี 4 การประเมินปัญหาในระดบั BCF , Foundational capbilities and dispositions

การประยุกต์ทฤษฏกี ารพยาบาลโอเร็ม ตาม กระบวนการพยาบาลการประเมนิ สภาพ การวนิ ิจฉัยปัญหาSCR,TSCD,SCA,BCF SCDการประเมนิ ผลการพยาบาล การวางแผนการพยาบาลSCR, SCA+TSCD , BCF NS , วธิ ีการช่วยเหลอืการปฏิบตั กิ ารพยาบาล Nurse + Patient

การประยกุ ตท์ ฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม1. ขอ้ มูลทวั่ ไป2. ปัจจยั พ้ืนฐาน ( BCF )3. ความสามารถในการดูแลตนเอง ( SCA ) 3.1 ความสามารถในการปฏิบตั ิการเพอื่ ดแู ลตนเอง ( Capability for self-care operation ) 3.2 พลงั ความสามารถ 10 ประการ ( Power Component ) 3.3 ความสามารถและคุณสมบตั ิข้นั พ้นื ฐาน ( Foundation capability and disposition)4. ความตอ้ งการดแู ลตนเอง 4.1 ความตอ้ งการดแู ลตนเองทวั่ ๆไป ( USCD) 4.2 ความตอ้ งการดูแลตนเองตามระยะพฒั นาการ ( DSCD ) 4.3 ความตอ้ งการดแู ลตนเองตามภาวะเบ่ียงเบนทางดา้ นสุขภาพ ( HSCD )

5. ความสามารถและขอ้ จากดั ในการดแู ลตนเอง ( Limitation )6. ความพร่องในการดแู ลตนเอง ( SCD )7. ระบบการพยาบาล8. การพยาบาลผปู้ ่ วย 8.1 ปัญหาการพยาบาล 8.2 วตั ถุประสงค์ / เกณฑ์ 8.3 การพยาบาล / วธิ ีการช่วยเหลือกิจกรรมการพยาบาล กิจกรรมผปู้ ่ วย9. การประเมินผล






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook