Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Workshop07

Workshop07

Published by สุพรรณษา โสภาภาร, 2021-12-17 05:00:29

Description: Workshop07

Search

Read the Text Version

คำนำ หนงั สือเรยี นวชิ า การผลิตส่อื ส่ิงพิมพ์ รหสั วชิ า 20204-2109 เลม่ นี้ เรยี บเรยี งขนึ้ เพ่ือใชป้ ระกอบ การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวซิ าชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562 ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ เนือ้ หาของหนงั สือมดี ว้ ยกนั ทงั้ หมด 9 หน่วยการเรยี น ประกอบดว้ ย (1) ความรูเ้ ก่ียวกบั ส่อื ส่งิ พมิ พ์ (2) การออกแบบและกระบวนการผลติ ส่อื ส่ิงพิมพ์ (3) เรม่ิ ตน้ ใชง้ านโปรแกรมผลติ ส่ือส่งิ พิมพ์ (4) การสรา้ ง ขอ้ ความเพ่ือผลติ สือ่ สงิ่ พมิ พ์ (5) ภาพประกอบส่ือส่งิ พิมพ์ (6) สใี นส่อื สิ่งพมิ พ์ (7) การทางานกบั วตั ถุ (8) การใชง้ านเลเยอร์ และ (9) หนา้ มาสเตอร์ พรอ้ มทงั้ แบบฝึกหดั ใบงาน และแบบทดสอบหลงั เรยี น เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นไดฝ้ ึกทกั ษะในสถานการณต์ า่ ง ๆ มีทกั ษะการคดิ และแกป้ ัญหา และบรู ณาการกับการทางาน ตามสาขาอาชีพตา่ ง ๆ ตอ่ ไป ผเู้ รยี บเรยี งและฝ่ายวิชาการ ศนู ยห์ นงั สือ เมืองไทย หวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ หนงั สือเรยี นวิชา การผลติ ส่อื สง่ิ พิมพ์ เลม่ นี้ จะสามารถใหค้ วามรูแ้ ละเกิดประโยชนแ์ ก่ผสู้ อน ผเู้ รยี น ตลอดจนผูส้ นใจศกึ ษาท่วั ไปเป็น อยา่ งดี หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดผเู้ รยี บเรยี งและฝ่ายวิชา...

สำรบัญ หนว่ ยท่ี1 ความรูเ้ ก่ียวกบั ส่อื ส่งิ พมิ พ์ ......................................... หนา้ 1 1.1 ความหมายของส่อื สง่ิ พิมพ์ ..................................... 3 1.2 ความเป็นมาของสอ่ื สง่ิ พิมพ์ ................................... 4 1.3 ประเภทของสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ .......................................... 7 1.4 บทบาทของส่อื ส่งิ พิมพ์ .......................................... 14 1.5 ขอ้ ดีและขอ้ จากดั ของส่อื ส่งิ พิมพ์ ............................. 14 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 .................................................... 16 ใบงานท่ี1 ความรูเ้ ก่ียวกบั ส่อื ส่งิ พิมพ์ ............................. 17 แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 1 ..................................... 19 ผู้เรียบเรียง นางสาวสพุ รรษา โสภาการ นาวสาวเกศกนก ปราบประจิตร์ หวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ หนงั สือเรยี นวิชาการผลติ ส่สี ง่ิ พมิ พเ์ ลม่ นีจ้ ะสามารถใหค้ วามรูแ้ ละเกิดประ โยชนแ์ ก่ ผสู้ อนผเู้ รยี นตลอดจนผยู้ ศกึ ษาท่วั ไปเป็นอยา่ งดหี ากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดผเู้ รียนเรยี งขอนอ้ งรบั คา ตชิ มเพ่ือเป็นประโยชนแ์ กก่ ารแกไ้ ขใน โอกาสหนา้ ตอ่ ไป แผนกวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ัล วทิ ยาลัยการอาชีพห้วยผึ้ง

หน่วยที่ 1 ควำมรู้เกย่ี วกับสอื่ สิ่งพมิ พ์

ความรู้เกยี่ วกบั ส่ือสิ่งพมิ พ์ 2 หัวข้อเร่ือง(Topics) 1.1ความหมายของส่อื สงิ่ พมิ พค์ วาม1.2ความเป็นมาของส่อื ส่ิงพิมพ์ 1.3ประเภทของสื่อส่งิ พิมพ์ 1.4บทบาทของสอ่ื ส่งิ พมิ พ์ 1.5ขอ้ ดแี ละขอ้ จากดั ของสอื่ สิ่งพิมพ์ สมรรถนะย่อย(Element of Competency) 1.แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั สอื่ ส่งิ พิมพ์ 2.สบื คน้ ขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ตามงานท่ีกาหนดให้ จุดประสงค์การเรียนรู้(Learning Objective) จุดประสงคท์ ่วั ไป เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นมีความรูแ้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความหมาย ความเป็นมา ประเภท บทบาท ขอ้ ดีและขอ้ จากดั ของส่ือส่งิ พมิ พ์ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1.อธิบายความหมายของสื่อส่ิงพมิ พไ์ ด้ 2.บอกความเป็นมาของส่อื ส่งิ พมิ พไ์ ด้ 3.จาแนกความแตกตา่ งของสือ่ ส่งิ พิมพไ์ ด้ 4.จาแนกประเภทของสอ่ื ส่งิ พมิ พไ์ ด้ 5.อธิบายบทบาทในดา้ นตา่ งๆของสือ่ ส่งิ พิมพไ์ ด้ 6.บอกขอ้ ดีของสอ่ื ส่ิงพิมพไ์ ด้ 7.บอกขอ้ จากดั ของสื่อสิง่ พิมพไ์ ด้ 8.มีเจตคตทิ ่ีดีตามแนว ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การการตรงตอ่ เวลา ตงั้ ใจทางาน รอบคอบ มีวนิ ยั และ ปรบั ปรุงแกไ้ ขเม่ือผิดพลาด

3 เนื้อหาสาระ (Content) “สื่อส่งิ พิมพ”์ เป็นสอื่ ชนิดหนง่ึ ท่ีไดร้ บั ความนิยมอยา่ งแพรห่ ลายตงั้ แตส่ มยั อดตี จนถงึ ปัจจบุ นั ปัจจบุ นั เป็น ส่อื ท่ีช่วยเผยแพรข่ า่ วสาร เรอ่ื งราวตา่ งๆ อยาก ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง ถงึ แมว้ า่ ในปัจจบุ นั จะมีสอ่ื ในรูปแบบ อ่นื ๆ เขา้ มามากมาย เช่น วทิ ยุ โทรทศั น์ และอนิ เทอรเ์ น็ต เป็นตน้ แตส่ ื่อส่งิ พิมพย์ งั คงไดร้ บั ความนิยม และมีการปรบั เปลย่ี นรูปแบบ ใหเ้ หมาะกบั ยคุ สมยั สอ่ื ส่งิ พิมพเ์ ป็นอีกทางเลอื กหนง่ึ สาหรบั ผทู้ ่รี กั การอา่ น เน่ืองจากราคาถกู มีความหลากหลาย ทาใหด้ งึ ดดู ใจนกั อา่ น ไม่วา่ จะเป็นการอา่ นหรอื รบั รูข้ า่ วสาร เพ่ือสาระความรู้ ความบนั เทิงเช่น หนงั สือพิมพ์ หนงั สือ เรยี น ตารานิตยสาร หนงั สอื การต์ นู หนงั สอื นวนิยาย เป็นตน้ 1.1ควำมหมำยของสื่อสงิ่ พมิ พ์ สอ่ื หมายถึง ก.(กิรยิ า) ทาการติดตอ่ ใหถ้ งึ กนั เช่น สอ่ื ความหมาย ชกั นาใหร้ ูจ้ กั กนั สอื่ หมายถงึ น.(นาม) ผหู้ รอื สิง่ ท่ีทาการติดตอ่ ใหถ้ งึ กนั ใหถ้ งึ กนั หรอื ชกั นาใหร้ ูจ้ กั กนั เขาใชจ้ ุดหมายเป็นส่ือตดิ ตอ่ กนั กหุ ลาบ แดงเป็นสื่อฟอ้ งความรกั เรยี กผทู้ ่ีทาหนา้ ท่ชี กั นดั เพ่ือใหช้ ายหญิงไดแ้ ตง่ งานกันวา่ พอ่ สอ่ื เเมส่ ่ือ; (ศลิ ปะ) ท่ีนามาสรา้ งงานศลิ ปะกรรม ทาใหม้ ีความหมายตามแนวคดิ ซง่ึ ศิลปินประสงคแ์ สดงออกเช่นนนั้ เช่น ส่ือผสม เป็นตน้ พิมพ์ หมายถงึ ก.(กรยิ า) ออกแบบใชเ้ ครอ่ื งจกั ร กดตวั หนงั สือหรอื ภาพใหต้ ดิ บนวตั ถุ เช่น แผน่ กระดาษ ผา้ เป็นตน้ ทาใหเ้ ป็นตวั หนงั สอื หรอื รูปลอยอยา่ งใดๆโดยการกดหรอื การใชพ้ ิมพห์ นิ เคร่ืองกล วธิ ีเคมี หรอื วธิ ีอ่นื ใด อนั อาจใหเ้ กิดเป็นส่งิ พิมพข์ นึ้ หลายสาเนา พิมพ์ หมายถงึ น.(นาม) รูปรูปรา่ ง เเบบ เช่นหยอดวนุ้ ลงในพิมพ์ หนา้ ตาเป็นพมิ พเ์ ดยี วกันการพิมพผ์ า้ พิมพข์ นมเป็นรูปตา่ งๆ เป็นตน้ สิง่ พมิ พ์ หมายถงึ สมุ ด เเผน่ กระดาษหรอื วตั ถใุ ดๆ ท่ีพิมพข์ นึ้ รวมตลอดทงั้ บนเพลง แผนท่ี เเผนผงั เเผ นภาพ เเผนวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ เเผน่ เสียง หรอื สิ่งอน่ื ใอนั มีลกั ษณะเช่นเดียวกนั สื่อส่งิ พิมพ์ หมายถงึ สง่ิ พิมพท์ ่ีเกิดจากกรรมวถิ ีการ พิมพต์ า่ งๆ ลงบนวตั ถหุ ลากหลายชนิด ไมว่ า่ จะเป็นกระดาษ ผา้ แกว้ แผ่นพลาสติกหรอื วตั ถใุ ดๆ เพ่ือนาไปใชใ้ นการติดตอ่ ส่ือสารกนั ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม

4 ควำมเป็ นมำของส่อื สง่ิ พมิ พ์ 1.2.1ประวัตกิ ำรพมิ พข์ องโลก จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรศ์ ิลปะของมนษุ ยส์ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นชว่ งประมาณ 12000- 17000 ปีท่ผี า่ นมาไดป้ รากฎหลกั ฐานอยบู่ นผนงั ถา้ ลาสควกั ซ(์ Lascaux) ในประเทศฝร่งั เศสทาอลั ตา มิรา(Altamira) ในประเทศสเปนนอกจากผลงานดา้ นจิตรกรรมท่มี ีคณุ คา่ ดา้ นความงามของมนษุ ยชาติ ท่ปี รากฏเรานีผ้ ลงานแกะสลกั หินแกะสลกั ผนงั ถา้ เป็นรูปสตั วล์ ายเสน้ การแกะสลกั ภาพลายเสน้ บนผนงั ถา้ อาจนบั ไดว้ า่ เป็นพยานหลกั ฐานในการแกะแบบพิมพข์ องมนษุ ยเ์ ป็นครงั้ แรกก็ได้ 1.2.2 การพมิ พ์ของประเทศทางตะวนั ออก ในภมู ิภาคแถบเอเชียตอนกลางและชาวจีนรูจ้ กั การแกะสลกั ดวงตราบนแผน่ หนิ กระดกู สตั วแ์ ละงาชา้ งเพ่ือ ใชป้ ระทบั ลงบนดนิ เหนียวหรอื บนขผี้ งึ้ ซง่ึ อาจกลา่ วไดว้ า่ เป็นตน้ กาเนิดของแมพ่ ิมพแ์ บบเลตเตอรเ์ พรส (Letter Press)จะเหน็ ไดจ้ ากพงศาวดารจีนโบราณองคจ์ กั รพรรดิจะมตี ราหยกเป็นตราประจาแผ่นดิน 1.2.3 การพมิ พ์ของประเทศทางตะวนั ตก ผทู้ ่คี ดิ คนวธิ ีการพิมพอ์ ยา่ งเป็นระบบเป็นคนแรกจนไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็นบดิ าของการพมิ พค์ อื โจฮนั กู เตน็ เบริ ก์ เขาไดป้ ระดษิ ฐ์แทนพิมพพ์ ฒั นาแมแ่ บบสาหรบั หลอ่ ตวั พิมพโ์ ลหะเป็นตวั ๆ สามารถท่ีจะเรยี งเป็น คา เป็นประโยค และเม่อื ใชพิมพไ์ ปแลว้ ก็สามารถนากลบั มาเรยี งใหมเ่ พ่ือใชห้ มนุ เวยี นไดอ้ กี ซง่ึ เรยี กวา่ เป็น วิธีมวู า่ เบลิ ตลอดจนการคิดวิธีการทาหมกึ ท่ีไดผ้ ลดีสาหรบั ใชก้ บั ตวั เรยี งโลหะ ผลงานท่ีมีช่ือเสยี งของโจฮนั กเู ตน็ เบริ ก์ คาวา่ พี 42 บรรทดั (42-Lines Bible)เม่อื ปี พ.ศ.1998

5 อลั เบรชท์ เดอรเ์ รอร์ ศลิ ปินแกะไมช้ าวเยอรมนั เป็นจิตรกรชา่ งเขยี นภาพไดค้ ิดวิธีการพิมพจ์ ากแมพ่ ิมพ์ ทองแดง (copper plate engraving) โดยการใชข้ องแรมขดู ขีดใหเ้ ป็นรอยบนแผน่ ทองแดง และเป็นการใชว้ ธิ ีการพิมพแ์ บบกราววั ร์ (Gravure) ครงั้ แรกในประเทศเยอรมนั อิรา วอชิงตนั รูเบล (Ira washington Rubel) ชา่ งพิมพช์ าวอเมรกิ นั ไดส้ งั เกตเุ หน็ วา่ ในการปอ้ นกระดาษเขา้ พิมพ์ โดยใชแ้ ทนพิมพแ์ บบทรงกระบอก (cylinder press) บางครงั้ ลืมปอ้ นกระดาษเขา้ ไปหมกึ จะพิมพ์ บนลกู ลิง้ แรงกด และเม่อื ปอ้ นกระดาษแผ่นถดั ไปหมกึ บนตวั ครมี จะตดิ บนกระดาษหนา้ หน่ึง แตห่ มกึ บน ลกู กลิง้ จะตดิ กระดาษอกี หนา้ หนง่ึ เม่ือส่งั เกตดุ แู ลว้ พบวา่ หมกึ ท่ีติดบนรูปกลิง้ ก่อนท่ีจะติดบนกระดาษ นนั้ มลี กั ษณะสวยงามกวา่ หมกึ ท่ีพิมพจ์ ากตวั พิมพไ์ ปตดิ กระดาษโดยตรงจงึ ไดค้ ดิ วิธีพิมพร์ ะบบ ออฟเซต (offset printing) แบบท่ีใชก้ นั ในปัจจบุ นั 1.2.4 กำรพมิ พใ์ นประเทศไทย การพิมพข์ องประเทศไทยตามหลกั ฐานท่ีพบนา่ จะเกิดขนึ้ คปลายสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา ในช่วงรชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ประเทศไทยไดร้ บั อทิ ธิพลของการพมิ พจ์ ากชาวยโุ รป โดยเฉพาะอยา่ งท่ี คณะมิชช่นั นารี ท่ีเขา้ มาเผยแพรค่ รสิ ตศ์ าสนาในประเทศไทย บคุ คลท่ีมีบทบาทสาคญั ในประวตั กิ าร พิมพข์ องประเทศไทย คือ หมอแดน บีช บรดั เลย์ (Dr.Dan Beach Bradley M.D.) ซง่ึ คนไทย เรยี กวา่ หมอบรดั เลยหมอบรดั เลย์

6 หมอรดั เลยืไดจ้ ดั พิมพห์ นงั สอื สารคดีจานวนมาก หนงั สือหลายเลม่ เป็นหนงั สือท่ีหมอบรดั เลยแ์ ปลและแตง่ เอง หนงั สอื ท่ีหมอบรดั เลยผ์ ลติ ออกมามีการเขา้ เลม่ จดั ทาเป็นรูปหนงั สอื อยา่ งท่ีผลติ ในปัจจบุ นั ซง่ึ นบั วา่ เป็นของใหม่ใน เมืองไทยเพราะแตเ่ ดิมหนงั สอื ไทยมีลกั ษณะเป็นสมดุ พบั กลบั ไปกลบั มาเรยี กวา่ สมดุ ไทย เป็นการเขียนคดั ลอกกนั ลง บนสมดุ ขอ่ ย อาจเป็นสมดุ ขอ่ ยดาหรอื ขอ่ ยขาว แตเ่ ลม่ หนงั สอื ท่ีหมอบรดั เลยผ์ ลิตขนึ้ เป็นหนงั สอื ท่ีมีการเยบ็ เลม่ เขา้ ปกแบบหนงั สอื ฝร่งั จงึ เรยี กวา่ สมดุ ฝร่งั คนไทยคนแรกท่ีรเิ รม่ิ กิจการการพมิ พ์ คอื พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในขณะท่ียงั ดารงพระยศเป็นสมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ มงกฎุ และยงั ทรงผนวชอยทู่ ่ีวดั บวรนเิ วศวิหาร ทรงเห็น ประโยชนข์ องหนงั สือ เม่ือคณะมิชชนั นารพี มิ พห์ นงั สอื เผยแผ่ศาสนาครสิ ต์ พระองคท์ รงดารใิ หใ้ ชก้ ารพิมพเ์ พ่อื เผย แผศ่ าสนาพทุ ธ จงึ โปรดฯ ใหส้ ่งั เครอ่ื งพิมพม์ าตงั้ ท่ีวดั บวรนิเวศวิหาร ตอ่ มาเม่อื ทรงขนึ้ ครองราชยส์ มบตั เิ ป็น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งโรงพิมพข์ นึ้ อกี แห่งหนง่ึ ในบรเิ วณพระราชวงั ชนั้ กลาง พระราชทานช่ือวา่ โรงพิมพอ์ กั ษรพมิ พการ ซง่ึ เป็นโรงพมิ พห์ ลวง ทาหนา้ ท่ีเป็นโรงพมิ พแ์ หง่ ชาตไิ ดจ้ ดั พิมพห์ นงั สือ ราชกิจจานเุ บกษาอนั เป็นหนงั สอื พมิ พข์ องราชการฉบบั แรก สาหรบั บอกข่าวคราวในราชสานกั และเก็บความจาก ประกาศของราชการตา่ ง ๆ พิมพอ์ อกเผยแพร่ และทรงไปศกึ ษาดงู านเรอ่ื งการพิมพใ์ นตา่ งประเทศ เพ่อื นาความรู้ ทางการพมิ พเ์ ขา้ มาปรบั ปรุงกิจการพิมพข์ องโรงพมิ พห์ ลวงใหด้ ีขนึ้ หมอบรดั เลยไ์ ดจ้ ดั พมิ พห์ นงั สอื วรรณคดอี อกมา หลายเรอ่ื ง และจดั พิมพห์ นงั สือสารคดจี านวนมาก หนงั สือหลายเลม่ เป็นหนงั สอื ท่ีหมอบรดั เลยแ์ ปลและแตง่ เอง หนงั สือท่ีหมอบรดั เลยผ์ ลติ ออกมามีการเขา้ เลม่ จดั ทาเป็นรูปหนงั สอื อยา่ งท่ีผลติ ในปัจจบุ นั ซง่ึ นบั วา่ เป็นของใหม่ใน เมืองไทยเพราะแตเ่ ดิมหนงั สอื ไทยมีลกั ษณะเป็นสมดุ พบั กลบั ไปกลบั มาเรยี กวา่ สมดุ ไทย เป็นการเขียนคดั ลอกกนั ลง บนสมดุ ขอ่ ย อาจเป็นสมดุ ขอ่ ยดาหรอื ขอ่ ยขาว แตเ่ ลม่ หนงั สอื ท่ีหมอบรดั เลยผ์ ลติ ขนึ้ เป็นหนงั สอื ท่ีมีการเยบ็ เลม่ เขา้ ปกแบบหนงั สอื ฝร่งั จงึ เรยี กวา่ สมดุ ฝร่งั คนไทยคนแรกท่ีรเิ รม่ิ กิจการการพมิ พ์ คอื พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในขณะท่ียงั ดารงพระยศเป็นสมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ มงกฎุ และยงั ทรงผนวชอยทู่ ่ีวดั บวรนเิ วศวิหาร ทรงเห็น ประโยชนข์ องหนงั สือ เม่ือคณะมชิ ชนั นารพี ิมพห์ นงั สือเผยแผ่ศาสนาครสิ ต์ พระองคท์ รงดารใิ หใ้ ชก้ ารพิมพเ์ พ่ือเผย แผ่ศาสนาพทุ ธ จงึ โปรดฯ ใหส้ ่งั เครอ่ื งพมิ พม์ าตงั้ ท่ีวดั บวรนเิ วศวิหาร ตอ่ มาเม่อื ทรงขนึ้ ครองราชยส์ มบตั ิเป็น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งโรงพิมพข์ นึ้ อกี แหง่ หน่งึ ในบรเิ วณพระราชวงั ชนั้ กลาง พระราชทานช่ือวา่ โรงพิมพอ์ กั ษรพิมพการ ซง่ึ เป็นโรงพมิ พห์ ลวง ทาหนา้ ท่ีเป็นโรงพมิ พแ์ หง่ ชาติไดจ้ ดั พมิ พห์ นงั สือ ราชกิจจานเบกษาอนั เป็นหนงั สือพมิ พข์ องราชการฉบบั แรก สาหรบั บอกขา่ วคราวในราชสานกั และเก็บความจาก ประกาศของราชการตา่ ง ๆ พิมพอ์ อกเผยแพร่ และทรงไปศกึ ษาดงู านเรอ่ื งการพมิ พใ์ นตา่ งประเทศ เพ่ือนาความรู้ ทางการพิมพเ์ ขา้ มาปรบั ปรุงกิจการพิมพข์ องโรงพิมพห์ ลวงใหด้ ขี นึ้

7 1.3 ประเภทของสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ การแบง่ ประเภทของส่อื ส่งิ พิมพต์ ามลกั ษณะการใชง้ านแบง่ ไดเ้ ป็น 6 ประเภท ดงั นี้ 1.3.1 สือ่ สิ่งพมิ พป์ ระเภทหนังสือ 1. หนังสือสำรคดี ตำรำ แบบเรียน (Textbook) เป็นสอ่ื ส่งิ พมิ พท์ ่ีแสดง เนือ้ หาวิชาการในศาสตรค์ วามรูต้ า่ ง ๆ ประกอบดว้ ยเนือ้ หาการเรยี นการสอน หนงั สอื ตารานีอ้ าจใชเ้ ป็นส่อื การเรยี นการสอนในวิชานนั้ โดยตรง หรอื อาจใชเ้ ป็น หนงั สอื อา่ นประกอบหรอื หนงั สอื อา่ นเพ่ิมเดิมนอกเวลา เพ่ือส่อื ใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจดว้ ย ความรูท้ ่ีเป็นจรงิ สื่อส่งิ พิมพป์ ระเภทนีจ้ งึ เป็นส่อื ส่งิ พิมพท์ ่ีเนน้ ความรูอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

8 2. หนงั สือบนั เทิงคดี (Fiction Book) เป็นสื่อสง่ิ พมิ พท์ ่ผี ลิตขนึ้ โดยใชเ้ รอ่ื งราวสมมติจากจินตนาการ ของผเู้ ขียน เพ่ือใหผ้ อู้ า่ นไดร้ บั ความเพลิดเพลิน สนกุ สนาน อาจจะสอดแทรกความรูแ้ ละความคิดตา่ ง ๆ มกั มีขนาดเลก็ เชน่ นวนิยาย เรอ่ื งสนั้ หนงั สือฉบบั กระเป๋ า (Pocket Book) หนงั สือสาหรบั เดก็ และ เยาวชน เป็นตน้ 1.3.2 สอื่ สิง่ พิมพเ์ พ่ือเผยแพรข่ า่ วสาร 1. หนงั สอื พิมพ์ (Newspaper) เป็นส่อื ส่งิ พิมพท์ ่ผี ลติ ขนึ้ โดยนาเสนอเร่ืองราวข่าวสาร ภาพ และความคดิ เห็น ในลกั ษณะของส่อื ส่งิ พิมพแ์ ผน่ ใหญ่ท่ีใชว้ ิธีการพบั รวมกนั สื่อส่งิ พิมพช์ นิดนี้ ได้ พิมพอ์ อกเผยแพรท่ งั้ ลกั ษณะหนงั สือพิมพร์ ายวนั รายสปั ดาห์ และรายเดือน

9 2. วารสาร นิตยสาร (Journal/Periodical) เป็นส่ือส่งิ พมิ พท์ ่ผี ลติ ขนึ้ โดยนาเสนอสาระ ความบนั เทิง ท่ี มีรูปแบบการนาเสนอท่ีโดดเดน่ สะดดุ ตา และสรา้ งความสนใจใหก้ บั ผอู้ า่ น มีการะยะเวลาการออกเผยแพรท่ ่ี แนน่ อน ทงั้ รายปักษ์ (15 วนั ) และรายเดอื น 3. จลุ สาร (Pamphlet) เป็นส่ือส่งิ พิมพข์ นาดเลก็ ท่มี ีเนือ้ หากลา่ วถงึ เรอ่ื งใดเรอ่ื งหน่ึง เพียงเรอ่ื งเดยี วและ จบบรบิ รู ณภ์ ายในเลม่ ความยาวไมม่ ากนกั เขยี นอยา่ งงา่ ย ๆ สว่ นมากเนือ้ หาจะเป็นเรอ่ื งท่ีน่าสนใจในช่วง ระยะเวลาหนง่ึ โดยจะใหข้ อ้ มลู ท่ีทนั สมยั รูปแบบ ลกั ษณะของจลุ สารคือ มีความหนาอย่างนอ้ ย 5 หนา้ แตไ่ ม่ เกิน 48 หนา้ รูปเลม่ ไม่แข็งแรง อาจเป็นแผ่นกระดาษพบั เพ่ือสะดวกในการถือพกพาหรอื อาจเป็นส่ิงพมิ พท์ ่ี เยบ็ เลม่ แตใ่ ชป้ กออ่ น เป็นเลม่ บาง ๆ ผลิตขนึ้ แบบไม่มงุ่ หวงั กาไร เพ่ือใหผ้ อู้ า่ นไดศ้ ึกษาหาความรู้ มีกาหนดการ ออกเผยแพรเ่ ป็นครงั้ ๆ แสดงเนือ้ หาเป็นขอ้ ความท่ีอา่ นแลว้ เขา้ ใจงา่ ย

4.สงิ่ พมิ พโ์ ฆษณำ สิ่งพมิ พโ์ ฆษณาเป็นส่อื ส่งิ พิมพท์ ่ผี ลิตขนึ้ เพ่ือเผยแพรโ่ ฆษณาหรอื 10 ประชาสมั พนั ธส์ ินคา้ และบรกิ ารตา่ ง ๆ สงิ่ พิมพโ์ ฆษณามีหลายประเภท แต่ละประเภทมี บทบาทและการใชง้ านในดา้ นการโฆษณาประชาสมั พนั ธท์ ่ีตา่ งกนั ดงั นี้ (1) โบรชัวร์ (Brochure) เป็นสื่อส่งิ พิมพท์ ่ีมีลกั ษณะเป็นสมดุ เล่มเลก็ ๆ เยบ็ ตดิ กนั เป็นเลม่ จานวน 8 หนา้ เป็นอยา่ งนอ้ ย มีปกหนา้ และปกหลงั ซง่ึ ในการแสดง เนือ้ หาจะเก่ียวกบั โฆษณาสนิ คา้ (2) ใบปลิว (Leaflet/Handbill) เป็นสอื่ ส่งิ พมิ พใ์ บเดยี วท่เี นน้ การประกาศหรอื โฆษณา#TVมกั มีขนาดเทา่ กระดาษ A4 (7.50 นิว้ x 10.25 นิว้ ) เพ่ืองา่ ยในการ แจกจ่าย ลกั ษณะการแสดงเนือ้ หาเป็นขอ้ ความท่ีอา่ นแลว้ เขา้ ใจงา่ ย

11 (3) แผน่ พบั (Folder) เป็นสอ่ื ส่งิ พิมพท์ ่ผี ลติ โดยเนน้ การนาเสนอเนือ้ หา ซง่ึ เนือ้ หาท่ี นาเสนอนนั้ เป็นเนือ้ หาท่สี รุปใจความสาคญั ลกั ษณะมีการพบั เป็นรูปเลม่ ตา่ ง ๆ (4) ใบปิ ด (Poster) คอื ภาพขนาดใหญ่พิมพบ์ นกระดาษออกแบบเพ่ือใชต้ ดิ หรอื แขวน บนผนงั หรอื กาแพง ใบปีดอาจจะเป็นภาพพมิ พแ์ ละภาพเขยี น หรอื อาจจะเป็นอยา่ งเดียว อย่างใดอย่างหนง่ึ โดยเฉพา ะ จดุ ประสงคก์ ็เพ่ือเนน้ การนาเสนออย่างโดดเดน่ ดึงดดู ความ สนใจและสอ่ื สารขอ้ มลู ใบปิดอาจใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายประการ แตส่ ว่ นใหญ่มกั จะใชใ้ นการ เผยแพรเ่ พ่ือการประชาสมั พนั ธแ์ ละการโฆษณา

12 3. สงิ่ พมิ พเ์ พอื่ กำรบรรจุภณั ฑ์ เป็นสอื่ ส่งิ พมิ พท์ ่ีใชใ้ นการหอ่ หมุ้ ผลิตภณั ฑท์ างการคา้ ตา่ งๆแบง่ ไดเ้ ป็น ส่อื สง่ิ พิมพห์ ลกั ไดแ้ ก่ สิง่ พิมพท์ ่ีใชป้ ิดรอบขวด หรอื กระป๋ องผลิตภณั ฑก์ ารคา้ สง่ิ พิมพร์ อง ไดแ้ ก่ ส่งิ พมิ พท์ ่เี ป็นกลอ่ งบรรจุ หรอื ลงั 4. สง่ิ พมิ พม์ ีค่ำ เป็นสื่อส่งิ พิมพท์ ่เี นน้ การนาไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานสาคญั ต่าง ๆ ซง่ึ เป็นกาหนดตาม กฎหมาย เช่น ธนาณตั ิ บตั รเครดิต เช็คธนาคาร ต๋วั แลกเงิน หนงั สอื เดนิ ทาง โฉนด เป็นตน้ 5. สงิ่ พมิ พล์ ักษณะพเิ ศษ เป็นสือ่ ส่งิ พมิ พท์ ่ีผลิตขนึ้ ตามลกั ษณะพเิ ศษแลว้ แตก่ ารใชง้ าน เช่น นามบตั ร บตั รอวยพร ปฏทิ นิ บตั รเชิญ ใบสง่ ของ ใบเสรจ็ รบั เงิน สิ่งพิมพบ์ นแกว้ ส่ิงพิมพบ์ นผา้ เป็น ตน้

13 6. สิ่งพมิ พอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ เป็นส่ือส่งิ พิมพท์ ่ผี ลติ ขนึ้ เพ่ือใชง้ านในคอมพิวเตอร์ หรอื บนระบบ เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต เชน่ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เป็นตน้

1.4 บทบำทของส่อื สงิ่ พมิ พ์ 14 สือ่ ส่งิ พิมพน์ บั วา่ มีบทบาทสาคญั ในงานตา่ ง ๆ สามารถแบง่ ไดด้ งั นี้ 1.บาทของส่อี ส่งิ พิมพใ์ นงานส่อื มวลชน ส่อื ส่งิ พิมพม์ ีความสาคญั ในดา้ นการนาเสสาร สาระ และความ บนั เทิง ซง่ึ เม่ืองานสื่อมวลซนตอ้ งการเผยแพร่ จงึ ตอ้ งผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ อยา่ งเหนงั สือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร เป็นตน้ 2. บทบาทของสอื่ ส่งิ พมิ พใ์ นสถานศกึ ษา สื่อสิ่งพิมพถ์ กู นาไปใชใ้ นสถานศกึ ษาโดยท่วั ไป ซง่ึ ทาใหผ้ เู้ รยี น ผสู้ อนเขา้ ใจในเนือ้ หามากขนึ้ เช่น หนงั สือ ตารา แบบเรยี น แบบฝึกหดั เป็นตน้ สามารถพัฒนาใหเ้ ป็น เนือ้ หาในระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ 3. บทบาทของส่อื ส่งิ พมิ พใ์ นงานดา้ นธุรกิจ ส่อื ส่ิงพมิ พท์ ่ถี กู นาไปใชใ้ นงานธุรกิจประเภทตา่ ง ๆ เชน่ งาน โฆษณา ไดแ้ ก่ กรผลิตหวั จดหมาย/ซองจดหมาย ใบสง่ ของ/ใบเสรจ็ รบั เงิน โฆษณาหนา้ เดยี ว นามบตั รเป็น ตน้ 4. บทบาทของสอื่ ส่งิ พิมพใ์ นดา้ นการธนาคาร ซง่ึ รวมถงึ งานการเงิน และงานท่ีเก่ียวกบั หลกั ฐานทาง กฎหมาย ไดน้ าส่อื สิง่ พิมพห์ ลาย 1 ประเภทมาใชใ้ นการดาเนินงาน เช่น ใบนาฝาก ใบถอน ธนบตั ร เชค็ ธนาคาร ต๋วั แลกเงนิ และหนงั สอื เดนิ ทาง เป็นตน้ 5.บทบาทของส่อี ส่งิ พมิ พใ์ นหา้ งสรรพสนิ คา้ และรา้ นคา้ ปลกี สอ่ื สง่ิ พิมพท์ ่ที างหา้ งสรรพรา้ นคา้ ปลีกใชใ้ นการ ดาเนินธรุ กิจ เชน่ แผน่ พบั ใบปลวิ จลุ สาร ใบปิดโฆษณาตา่ ง ๆ เป็นตน้ 1.5 ข้อดแี ละข้อจำกดั ของสอื่ สงิ่ พมิ พ์ 1.5.1 ข้อดขี องสอื่ สงิ่ พมิ พ์ 1. กระบวนการในการผลิตส่อื ส่งิ พมิ พส์ ามารถจะทาไดห้ ลายแบบ เปิดโอกาสใหเ้ ลอื กรูปแบบท่ีเหมาะสมกบั สถานการณน์ นั้ ๆ เชน่ การพิมพเ์ ป็นเอกสารโรเนียว เป็นตน้ หากตอ้ งการใหม้ ีคณุ ภาพดยี ่ิงขนึ้ ก็ใชก้ ารพิมพ์ ดว้ ยเครอ่ื งพิมพ์ ซง่ึ สามารถเลือกพิมพเ์ ป็นขาวดาหรอื สไี ด้ 2. สามารถจดั พิมพไ์ ดห้ ลายรูปแบบตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่จี ะนาไปใช้ เชน่ ใบปิด จดหมายเวยี นหรอื เอกสาร เผยแพร่ เป็นตน้ อา่ นแลว้ ทงิ้ ไปหรอื พิมพเ์ พ่ือเกบ็ ไวใ้ ชอ้ ย่างถาวร เป็นตน้ สามารถออกแบบใหใ้ ชเ้ ฉพาะ บคุ คล ใชเ้ ป็นกลมุ่ 3. สามารถเลือกจดั พิมพใ์ หม้ ีระยะเวลาการใชง้ านตา่ ง ๆ กนั เชน่ พิมพเ์ พ่ือใชง้ านระยะสนั ตอ์ า่ นแลว้ ทงิ้ ไป หรอื พมิ พเ์ พ่ือเก็บไวช้ ายอยา่ งถาวร เป็นตน้ สามารถออกแบบใช้ เฉพาะบคุ คล ใชเ่ ป็น กลมุ่ หรอื เป็นมวลชน ได้

15 4. สิ่งพิมพส์ ามารถผลติ เพ่ือใชใ้ หเ้ หมาะกบั กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะดา้ นได้ 5. สงิ่ พมิ พเ์ ขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมายไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง ในทกุ ระดบั ของสงั คม 6. การใชส้ อ่ื ส่งิ พิมพเ์ ป็นไปอยา่ งอสิ ระ ในการศกึ ษาส่งิ พมิ พไ์ ม่จาเป็นตอ้ งใชว้ ิธีพิเศษหรอื เครอ่ื ง อานวยความสะดวกอยา่ งอ่นื เขา้ มาช่วยแตอ่ ย่างใด 7. ผอู้ า่ นสามารถใชส้ ่ือส่ิงพิมพใ์ นการเรยี นรูแ้ ละอา่ นซา้ ๆ กนั ไดห้ ลาย ๆ ครงั้ 8. ส่อื สิ่งพิมพม์ ีราคาถกู หาซือ้ ไดง้ า่ ย 9. สอ่ื สงิ่ พมิ พม์ ีอายยุ าวนาน มีความคงทนถาวรสามารถเก็บรกั ษาไวไ้ ดน้ าน 1.5.2 ข้อจำกัดของสอ่ื สิ่งพมิ พ์ 1. ไม่สามารถเขา้ ถงึ ผอู้ า่ นท่ีอา่ นหนงั สือไมอ่ อก และผทู้ ่มี ีปัญหาทางดา้ นสายตา เช่นคนตาบอด หรอื ผสู้ งู อายทุ ่ีสายตาไมด่ ี เป็นตน้ 2. วสั ดทุ ่ีใชผ้ ลติ มีความบอบบางและฉีกขาดไดง้ า่ ย 3. เกบ็ รกั ษายากเน่ืองจากมีลกั ษณะ รูปทรง และขนาดแตกตา่ งกนั มาก 4. การพิมพใ์ นระบบท่ีมีคณุ ภาพตอ้ งใชก้ ารลงทนุ สงู มาก โดยเฉพาะการพิมพใ์ นระบบสี่สี 5. ปัญหาในการเผยแพรแ่ จกจ่าย เน่ืองจากตอ้ งมีการขนสง่ ถา้ หากการขนสง่ ไมส่ ามารถสง่ ถึง กลมุ่ เปา้ หมายได้ การรบั รูข้ า่ วสารตา่ ง ๆ ก็จะขาดตอนลง

16 ควำมรู้เกย่ี วกับสง่ิ พมิ พ์ อนท่ี 1 จงนาตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความดา้ นขวามอื เติมในชอ่ งวา่ งหนา้ ตวั เลขดา้ นซา้ ยมือท่ีมคี วามสมั พนั ธก์ นั ใหถ้ กู ตอ้ ง 1. ส่ิงท่ที าการตดิ ตอ่ ใหถ้ งึ กนั ก. บทบาทดา้ นธนาคาร 2. แผนท่ี ภาพวาด แผน่ เสียง. ข. ส่ือส่ิงพมิ พเ์ พ่อื เผยแพรข่ ่าวสาร 3. การใชเ้ ช็คเงินสด. ค. ใบปลิว 4. โจฮนั กเู ตน็ เบิรก์ ง. นิทาน 5. หมอแดน บชี บรดั เลย์ จ. หนงั สอื 6. การด์ แตง่ งาน. ฉ. ส่งิ พิมพม์ ีคา่ 7. ส่อื โฆษณาใบเดยี ว ช. ส่ือ 8. คนไทยคนแรกท่รี เิ รม่ิ กิจการการพิมพ์ ซ. ขอ้ จากดั ของสอื่ ส่งิ พิมพ์ 9. หนงั สือบนั เทงิ คดี ฌ. ส่ิงพมิ พ์ 10. จลุ สาร. ญ. ส่ิงพิมพล์ กั ษณะพิเศษ 11. ต๋วั แลกเงิน. ฏ. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั 12. ฉลากสินคา้ . ฏ. บดิ าแหง่ การพมิ พ์ 13. บทบาทส่อื สงิ่ พิมพใ์ นสถานศกึ ษา. ฐ. ขอ้ ดขี องส่ือส่งิ พมิ พ์ 14. ส่ือสง่ิ พมิ พม์ รี าคาถกู หาซอื้ ไดง้ ่าย. ท. นากิจการการพิมพเ์ ขา้ มาในเมืองไทย 15. วสั ดบุ อบบางและฉีกขาดไดง้ ่าย. ผ. ส่งิ พิมพเ์ พ่อื การบรรจภุ ณั ฑ์ ตอนท่ี 2 จงทาเครอ่ื งหมายกากบาท (x) หนา้ ขอ้ ที่ผดิ และทาเครอ่ื งหมายถกู (✔️) หนา้ ขอ้ ทถ่ี กู ................1. ส่ือสิง่ พมิ พเ์ ป็นการพิมพด์ ว้ ยกรรมวธิ ีพิเศษตา่ ง ๆ ลงบนแผ่นกระดาษเทา่ นนั้ ................2. การพมิ พเ์ รม่ิ เขา้ มาในประทศไทยในสมยั ปลายกรุงศรอี ยธุ ยา ................3. ใบปลิว เป็นส่อื ส่ิงพมิ พล์ กั ษณะใบเดยี ว เนน้ การประกาศและการโฆษณา ................4. วารสารเป็นส่งิ พมิ พท์ ่มี ีบทบาทดา้ นส่อื มวลชน ................5. ส่อื สงิ่ พิมพไ์ ม่สามารถจงู ใจผอู้ า่ นไดโ้ ดยตรง ................6. หนงั สอื เป็นส่งิ พิมพท์ ่เี ก็บรกั ษาไดง้ ่าย ................7. หนงั สือพมิ พเ์ หมาะกบั กลมุ่ บคุ คลบางกลมุ่ เทา่ นนั้ ................8. โบรชวั รเ์ ป็นส่อื ส่งิ พิมพโ์ ฆษณา ………….9. ต๋วั แลกเงินเป็นบทบาทของส่อื สิ่งพิมพด์ า้ นธรุ กิจ ................10. ส่อื สงิ่ พมิ พม์ คี วามน่าเช่ือถือนอ้ ยกวา่ ส่อื ทางอินเทอรเ์ นต็

17 ควำมรู้เกยี่ วกับสอ่ื สิ่งพมิ พ์ คำชแี้ จง 1.ใหน้ กั เรยี นแบง่ เป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 2 คน 2.ตวั แทนกลมุ่ จบั สลากหวั ขอ้ เพ่ือสบื คน้ ขอ้ มลู จากเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต ดงั นี้ 2.1 ส่ือสง่ิ พิมพป์ ระเภทหนงั สอื 2.2 ส่อื สิ่งพิมพป์ ระเภทเผยแพรข่ า่ วสาร 2.3 สื่อส่ิงพิมพเ์ พ่ือการบรรจภุ ณั ฑ์ 2.4 สอ่ื สงิ่ พิมพม์ ีคา่ 2.5 สื่อส่ิงพิมพล์ กั ษณะพิเศษ 2.6 สอ่ื สิ่งพิมพอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ 3. เขา้ สโู่ ปรแกรมไมโครซอฟตเ์ วิรด์ สรา้ งแบบบนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิงานใบงานท่ี 1เรอ่ื ง ประเภทของสื่อสง่ิ พิมพ์ 4.ระบชุ ่ือสอ่ื สิ่งพิมพท์ ่ีคน้ พบ 5. จาแนกประเภทของส่อื สิง่ พิมพท์ ่ีคน้ พบ 6. อธิบายบทบาทของสือ่ ส่งิ พมิ พท์ ่ีคน้ พบ 7. อธิบายขอ้ ดีของสอ่ื ส่ิงพิมพท์ ่คี น้ พบ 8.อธิบายขอ้ จากดั ของสือ่ ส่งิ พิมพท์ ่ีคน้ พบ 9. บนั ทกึ ชิน้ งานช่ือ Workshop1 10. พิมพแ์ บบบนั ทกึ ผลการปฏิบตั งิ านทางเครอ่ื งพิมพ์ ลงในกระดาษ เอ 4 (7.50 นิว้ x 10.25 นิว้ ) สขี าว 80 แกรม 11. ตวั แทนกลมุ่ กลมุ่ ละ 1 คน รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานหนา้ ชนั้ เรยี น 12.ครูผสู้ อนและนกั เรยี นแสดงความคิดเห็นและสรุปผลรว่ มกนั 13. นาแบบบนั ทกึ ผลการปฏิบตั งิ านสง่ ครูผสู้ อนภายในเวลาท่ีกาหนด

18 แบบบนั ทกึ ผลกำรปฏบิ ตั งิ ำน ใบงำนที่ 1 ควำมรู้เกยี่ วกับส่ือสิ่งพมิ พ์ ช่ือ-นำมสกุล………………...………รหสั ประจำตวั ……..…..ระดบั ชัน้ ……….…แผนวิชา…................. 1. ซ่อื เวบ็ ไซตท์ ่ีสืบคน้ ………………………………………………………….....……………….………….. 2. ส่ือส่งิ พิมพช์ ่ือ…………………………………..….……………………………………………………….. 3. ประเภทของสอื่ ส่งิ พิมพ…์ ……………………....……………………………………………………….…. ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………………………….... 4. บทบาทของสือ่ ส่งิ พมิ พ…์ ……………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………….…………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….... 5. ขอ้ ดีของส่ือส่ิงพิมพ…์ ……………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 6ขอ้ จากดั ของส่อื ส่ิงพิมพ.์ .…………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook