Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Breastfeeding

Breastfeeding

Published by juthaporn20002543, 2022-01-19 10:27:22

Description: การให้ความรู้มารดาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

Keywords: การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

Search

Read the Text Version

การใหค้ วามรมู้ ารดาในการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่ Breastfeeding นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชนั้ ปที ่ี 3 ร่นุ 42 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี

การใหค้ วามรมู้ ารดาในการเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่ (Breastfeeding) องคก์ ารอนามัยโลก (WHO) และยนู เิ ซฟ แนะนาวา่ ลูกควรได้กนิ นมแมอ่ ยา่ งเดียว ตั้งแตแ่ รกเกิดถงึ 6 เดอื น และควรกินต่อเนือ่ งไปจนลกู อายุ 2 ปีหรือนานกว่าน้ัน ควบคู่กบั อาหารตามวยั ที่เหมาะสม เน่อื งจากนม แมเ่ ปน็ อาหารท่เี หมาะสมทีส่ ุดสาหรับลกู ด้วยองค์ประกอบดา้ นโภชนาการ การเสริมสรา้ งภูมิคุ้มกนั สารต่อต้านอนุมูลอิสระ

ประโยชนข์ องนมแมต่ อ่ ลกู 1. ประโยชน์ต่อพัฒนาการทางสมอง สารอาหารและวิตามินจากน้านมแม่ยังช่วยใหพ้ ฒั นาการของสมอง เด็กและเซลล์ประสาททางานได้อย่างสมบรู ณ์ 2. ประโยชนต์ อ่ ระบบภมู คิ ้มุ กนั โรคท่ีดี ช่วยใหล้ ูกสร้างภูมคิ มุ้ กนั เพอ่ื ต่อต้านการเจบ็ ป่วย ด้วยการสร้าง แอนตบิ อดี (Antibody) มาต่อตา้ นอาการเจ็บป่วยทวั่ ไปอยา่ งไข้หวดั การติดเชอื้ จากแบคทีเรีย ไปจนถงึ การป้องกนั การติดเชื้อไวรัสบางชนิด เชน่ โรคติดเช้อื ทางเดินหายใจ (RSV)

ประโยชนข์ องนมแมต่ อ่ ลูก 3. ประโยชน์ตอ่ การเจริญเติบโตของร่างกาย นมแมม่ ีความสาคัญต่อพฒั นาการทางร่างกายใหล้ ูกเตบิ โตไดอ้ ยา่ ง ปกติ เมอื่ ลูกเข้าสูว่ ัยเรม่ิ เดินจะมกี ารทรงตวั ท่ีดี เน่ืองจากมีกระดูกและกล้ามเนอื้ ท่แี ข็งแรงจากการได้รบั สารอาหารจากนมแม่ นอกจากนกี้ ารดูดนมแม่จากอกยงั ช่วยในเรือ่ งของสุขภาพช่องปากในเด็ก เมื่อฟันบนขน้ึ จะเรียงตวั ไม่ทับซ้อนกนั และไม่ผกุ รอ่ น

ประโยชนข์ องการใหน้ มลกู ของแม่ 1. ดา้ นสขุ ภาพร่างกายของแม่ ช่วงที่แม่ให้นมลกู จะมีการหล่งั ฮอรโ์ มนทช่ี ื่อวา่ ออกซิโทซิน (Oxytocin) ออกมาเพอ่ื ช่วยให้มดลูกเขา้ อู่หรอื กลบั คืนส่สู ภาพเดมิ ได้ เรว็ ย่งิ ขึ้น นอกจากนี้มงี านวจิ ัยในแมท่ ่ีให้นมลกู หลังคลอดจะชว่ ยลด โอกาสการเกิดมะเรง็ เตา้ นมและมะเร็งรังไขไ่ ด้ อีกทั้งยังช่วยลดความ เสยี่ งของการเกิดโรค ในระยะยาว เช่น ความดนั โลหิตสงู โรคหวั ใจ และหลอดเลอื ด และโรคเบาหวาน เปน็ ตน้

ประโยชนข์ องการใหน้ มลกู ของแม่ 2. ด้านอารมณ์ของแม่ ฮอร์โมนออกซโิ ทซนิ (Oxytocin) สามารถช่วยใหแ้ ม่เกดิ ความผอ่ นคลาย ลดภาวะซมึ เศรา้ หลงั คลอด ทาใหม้ คี วามสุขในขณะให้ นมลูก ช่วยสรา้ งความรกั และความผกู พนั ธร์ ะหว่างแมก่ ับลูก ความ อบอุน่ ทสี่ ง่ ผ่านจากแมส่ ู่ลูกนีย้ งั ส่งผลใหฮ้ อรโ์ มนโปรแลคติน (Prolactin)ช่วยขบั นา้ นมของแม่ใหไ้ หลได้ดขี ึ้นในขณะให้นมไดอ้ ีกด้วย

สว่ นประกอบและการเปลย่ี นแปลงของนมมารดา แบง่ เป็น 3 ระยะ 1. ระยะหวั น้านม (Colostrum) มีลกั ษณะสีเปน็ สีเหลือง สรา้ งในช่วง 1-3 วันแรกหลงั คลอดเท่านั้น ซ่ึงน้านมระยะนี้เป็นน้านมที่อุดมสมบูรณ์มากประกอบไปด้วยโปรตีนต่างๆ ท่ีช่วยสร้าง ระบบภมู คิ มุ้ กันของร่างกาย เกลือแร่ วติ ามิน สารอาหารทีจ่ าเป็นสาหรับการเจริญเติบโตของสมอง และการมองเหน็ ของลูก

2. ระยะน้านมปรับเปล่ียน (Transitional milk) เป็นระยะระหว่างการเปลี่ยนจาก น้านมเหลืองเป็นน้านมจริง (วันท่ี 4-14 หลังคลอด) ซ่ึงจะมีลักษณะสีเป็นสีน้านม ใส ในระยะน้ีความเข้มข้นของภูมิคุ้มกัน โปรตีนและวิตามิน A และC ลดลง แต่ใหพ้ ลังงานมากกวา่ นา้ นมเหลือง 3. ระยะนมจรงิ (Mature milk) ระยะนี้น้านมมีลักษณะสีเปน็ สนี า้ นมขาว ส่วนประกอบทส่ี าคญั ในระยะนา้ นมนี้ มีดังนี้ 1.1 ไขมัน ช่วยการพัฒนาระบบประสาทและการมองเหน็ โดยเฉพาะในขวบปีแรก การขาดไขมนั เหล่าน้ีจะมีผลต่อพัฒนาการทางสติปัญญาของทารก 1.2 โปรตีน มสี ่วนประกอบที่สาคัญของสารภูมคิ ้มุ กนั นา้ นมมารดา 1.3 คาร์โบไฮเดรต เป็นสารสาคญั ในการช่วยพฒั นาสมอง และดดู ซมึ แคลเซียม ช่วยปอ้ งกันเช้ือโรคไมใ่ หเ้ กาะผนังลาไส้ และชว่ ยส่งเสรมิ ระบบภูมิคมุ้ กัน

วิธกี ารดดู นมทถ่ี กู ตอ้ ง 1. ดดู เรว็ การดดู นมในช่วงในชว่ งเวลามารดาและทารกมีความตน่ื ตวั ไวต่อ ความร้สู กึ โดยเฉพาะ 45 นาทีแรก และอาจยดื เวลาได้ถึง 2 ชว่ั โมงหลังคลอด 2. ดูดบ่อย การดดู นมสม่าเสมอทกุ 2-3 ช่วั โมง 3. ดดู ถูกวิธี อมลานนมเหน็ ลานนมส่วนบนมากกว่าสว่ นล่าง อา้ ปากกวา้ ง ริม ฝปี ากลา่ งม้วนออก คางชิดเต้านม 4. ดูดเกลย้ี งเตา้ จะร้สู กึ คัดตึงเตา้ นมลดลง ได้รบั นา้ นมมารดาสว่ นหน้าและ น้านมมารดาส่วนหลงั นา้ นมมารดาสว่ นหลังจะมีโปรตีนและไขมันสูง

การประเมนิ ประสทิ ธิภาพในการใหน้ ม 4 Key Points 1. Close: ลาตวั ลูกชิดกับแม่ 2. Facing: ลูกหันหน้าเข้าหาเตา้ แม่ 3. Straight: ลูกศรี ษะและลาตัวตรง ศีรษะและลาตวั ลูกอย่ใู นเสน้ ตรงเดยี วกัน คอไม่บดิ 4. Supported: ลกู ได้รับการรองรับทั้งตวั ตวั ลูกได้รับการประคองโดยมีมอื แม่ หรือหมอนรองช้อน ไวใ้ ห้รสู้ ึกมน่ั คง

การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพในการใหน้ ม 4 Key signs 1. เหน็ ลานนมสว่ นบนมากกว่าส่วนล่าง 2. อ้าปากกวา้ ง 3. ริมฝีปากลา่ งม้วนออก 4. คางชิดเตา้ นม

วธิ กี ารชว่ ยเหลอื มารดาหวั นมบอด ขั้นตอนแรกให้ทารกอมถึงลานนม หรือการที่ลูก ดูดนมบ่อย ๆ สามารถแก้ไขภาวะหัวนมบอดได้ วิธีการ ต่างๆ ในการทาใหห้ ัวนมยื่นออกมา ไดแ้ ก่

1. การครอบเต้านมดว้ ย breast shells หรือ breast shield หรอื breast cup หรอื ประทมุ แกว้ ต้งั แต่ระยะต้ังครรภ์ในไตรมาสสุดท้าย โดยใส่วันละ 2-3 ชม. เม่อื ชินก็ใส่ไวต้ อนกลางวนั เมื่อคลอดแลว้ ใหใ้ ส่ไว้ 30 นาที ก่อนให้ ลกู ดดู นม ไมค่ วรใส่ตลอด 24 ชวั่ โมงและนา้ นมทข่ี งั อยู่ในประทุมแกว้ ก็ ควรท้งิ ไปเพอ่ื ป้องกันการติดเช้อื 2. การใช้ hoffman technique ทาวันละหลาย ๆ ครง้ั ช่วยใหพ้ งั ผืด ใต้ฐานหัวนมยืดออกได้ วธิ ีการทาให้วางหวั แม่มอื ที่ฐานหวั นมทงั้ สอง ข้างกดนิ้วลงพร้อมกบั แยกนวิ้ หัวแม่มืออกจากกนั ทาไปรอบ ๆ หัวนม ตามเข็มนาฬกิ าทาวนั ละ 5 ครัง้ ทาไดข้ ณะตัง้ ครรภ์และหลังคลอด

3. การใช้ breast pump หรือ nipple puller ใช้หลังการคลอด เพ่อื ดึงให้หัวนม ยืน่ ออกมากอ่ นใหล้ ูกดูดนมทันที ใช้ electric pumps ในการดงึ หวั นมให้ย่นื ออกมาหรอื อาจใช้ Evert-it Nipple Enhancer และสามารถใช้ 10 cc disposable syringe ตดั ด้านที่ใชเ้ ข็มสวมออกและกลับเอากระบอกในใสด่ ้านตรง ข้ามวางดา้ นทีไ่ ม่ถกู ตัดวางสวมบริเวณหวั นมแลว้ ดึงหวั นมออกมา breast pump Evert-it Nipple Enhancer electric pumps nipple puller disposable syringe

4. การกระต้นุ หัวนม (nipple stimulation) ถ้าจับหัวนมไดม้ ารดาสามารถใช้ น้วิ หัวแม่มือและน้ิวช้ีคลงึ หวั นมประมาณ 1-2 นาทแี ลว้ รบี ประคบดว้ ยผ้าเย็นทันที 5. การใช้ท่ีครอบหวั นม (nipple shield) ควรเป็นทางเลือกสุดท้ายที่ จะใช้และควรใช้โดยผ้เู ชี่ยวชาญ เพราะมีข้อเสยี คือ ทาใหก้ ารสรา้ ง น้านมลดลง เนื่องจากหวั นมไม่ไดร้ ับการกระตุ้น โดยวางครอบบน หัวนมก่อนใหน้ มลกู

วิธีการใหน้ มแม่ 1) Cradle-hold position แมท่ ีม่ ีประสบการณใ์ นการใหน้ มลูกชอบใช้ แต่แม่ที่ไมม่ ี ประสบการณแ์ ล้วทา่ นจ้ี ะควบคมุ หวั เด็กไดย้ าก และรักษาระดับของเดก็ ทารกให้สงู พอท่ีจะเขา้ ใกลเ้ ตา้ นมจะทาได้ยาก เดก็ ตัวเลก็ ท่ีมักชอบงอตัวทาให้ Cradle position ไมใ่ ชท่ า่ ทดี่ ีทีส่ ุดสาหรับแม่ทีม่ ปี ญั หาในเรอื่ งการอมหัวนม หรอื ในรายท่แี ม่เจบ็ หัวนม

2) Cross-Cradle Position ทา่ น้ีจะทาใหท้ ารกอมหวั นมได้ลกึ ขึน้ เพ่อื ทจ่ี ะไดบ้ ีบน้านมออกจาก lactiferus sinus ปัจจุบันมกั แนะนาให้เด็กทารกท่ีตอ้ งการความชว่ ยเหลอื เพ่อื ให้การคาบหัวนม (Latch on) ดขี ้นึ ดว้ ยท่า Cross Cradle เนอ่ื งจากท่านีจ้ ะทาใหส้ ามารถควบคมุ ใหเ้ ดก็ ทารกเข้าหา หัวนมไดด้ ีขึ้น แตเ่ ปน็ ท่าชั่วคราวในการเลย้ี งนมลูก ถ้าแม่และลกู มปี ระสบการณ์การกินนมแมม่ าก ขึ้นสามารถที่จะเปลี่ยนเปน็ ท่าอื่น ที่มคี วามสบายมากกว่า ในมารดาบางคนพบว่าเมอ่ื ใหน้ มลูกด้วย ทา่ นอาการเจ็บทหี่ วั นมทุเลาลง

3) Football hold position หรือ Clutch Position มีประโยชน์สาหรับแมผ่ า่ ตัดคลอด ทางหน้าท้อง เนอื่ งจากน้าหนกั เด็กจะไดไ้ มท่ ับบริเวณแผลท่ีผ่าตัด และในรายทแี่ มห่ วั นม บอดหรือปุ่ม หรือในรายที่ทารก มีปัญหาในเรอ่ื งการคาบหวั นมของทารก นอกจากนี้ยงั เหมาะกบั เดก็ ที่ตัวเลก็ และทา่ น้ีจะมีประสทิ ธภิ าพ มากยงิ่ ข้ึนถา้ ประคองเต้านมด้วย C Hold Technique

4) Side-lying position เป็นท่าท่ชี ว่ ยมารดาผา่ ตดั คลอดและตดั เยบ็ ได้เปน็ อยา่ งดเี ป็น ทา่ ที่ทาใหเ้ ดก็ หลบั ได้อยา่ งสบายหลังกนิ นมและมารดาสามารถใหไ้ ด้บนเตยี งนอนเปน็ ทา่ ทที่ าให้แม่อ่อนลา้ น้อยกว่า เม่ือเปรียบเทยี บกับทา่ นั่ง ดังนนั้ ควรใชท้ ่าน้ีโดยเฉพาะหลัง คลอดใหม่ ๆ จะลดความอ่อนลา้ ของแมห่ ลังคลอดและทาใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ในการเลย้ี ง ลกู ด้วยนมแม่









วิธกี ารนวดเตา้ นมแกป้ ัญหาทอ่ นมอดุ ตนั Therapeutic Breast Massage in Lactation (TBML) วธิ นี ้มี ตี ้น กาเนดิ จากประเทศรสั เซยี ซึง่ วธิ กี ารนีป้ ระกอบดว้ ยการนวดเต้านมและการบีบ น้านม จุดประสงคก์ ารนวดเต้านมเพ่อื เพม่ิ การไหลเวียนของระบบเลือดและ นา้ เหลอื ง ซึ่งจะสง่ ผลต่อการลดอาการบวมของเนอื้ เยื่อบริเวณเตา้ นม การนวด วิธีนี้ไม่มี ข้ันตอนชัดเจน แตจ่ ะปรบั เปล่ยี นตามอาการของมารดา จากการศึกษา พบว่า มีการใชเ้ ทคนคิ การนวด แบบ TBML เพอื่ แกไ้ ขปญั หาเตา้ นมคัดตงึ ทอ่ น้านมอุดตัน และเตา้ นมอกั เสบ วธิ ีการนวดแบบน้ี มีหลกั การสาคญั ได้แก่

วิธกี ารนวดเตา้ นมแกป้ ญั หาทอ่ นมอดุ ตนั 1) มารดาควรอยูใ่ นทา่ ทีสขุ สบายมกั เป็นท่านอนหงาย 2) สง่ เสรมิ ใหท้ ารกดูดนมแม่ขณะทน่ี วด หรอื ดา้ นตรงขา้ มเพอื่ ชว่ ยระบายนา้ นม 3) ประเมินความสุขสบายของมารดาตลอดการนวดและ ลดน้าหนกั มอื กรณมี ารดา รสู้ ึกไมส่ ุขสบาย 4) การนวดทกุ ขัน้ ตอนควรปฏบิ ตั ิอยา่ งนุ่มนวล

สาหรบั เทคนิคการนวดเต้านมและการบีบนา้ นมมีดังน้ี 1. นวดเปน็ รูปก้นหอย ไล่ตั้งแตฐ่ านนมออกมา รอบๆเต้า 2. นามือทั้งสองขา้ งนาบเต้านม โดยมอื ขา้ งใด ข้างหน่ึงอยบู่ นเนนิ อก จากนนั้ ใชม้ ือลบู ไล้จาก เตา้ ลงไปทีห่ ัวนม 3. ใช้นว้ิ หวั แม่มือลูบไล้จากเตา้ ไปหวั นม โดย มมี อื ประคองอยู่ 4. นานวิ้ หวั แมม่ อื และนิ้วชี้ลูบไล้จากเต้าลงมา บรรจบกันทห่ี วั นม

วธิ กี ารบบี นา้ นม 1. ลา้ งมอื นั่งในท่าทส่ี บายและอยู่ในสถานที่สว่ นตัวทส่ี งบ 2. นวดเต้านมและกระต้นุ หวั นมหรือใชผ้ ้าชุบนา้ อุ่นประคบเตา้ นมประมาณ 3-5 นาทกี ่อนบีบน้านม 3. การบบี นา้ นม โดยใช้น้ิวหวั แมม่ อื และนิ้วชีว้ างท่ีขอบนอกของลานนมเลียนแบบการดูดของทารก 4. กดเข้าหาทรวงอกแล้วบีบน้ิวทั้งสองเข้าหากันเป็นจังหวะ ย้ายตาแหน่งน้ิวท่ีวางให้รอบ ๆ ลานนม เม่ือ บีบน้านมออกหมดเต้านมข้างหน่ึงแล้วสลับการบบี อีกข้างหน่ึง 5. ถา้ ต้องการเก็บในภาชนะควรบบี น้านมทิ้งกอ่ นประมาณ 2-3 ครง้ั 6. สน้ิ สุดการบีบนา้ นมแลว้ ควรใช้น้านมทาที่หัวนม 2-3 หยดแล้วปล่อยให้แห้ง การบีบน้านมแต่ละคร้ัง ใชเ้ วลาประมาณ 20-30 นาที







จัดทาโดย นางสาวจุฑาพร สเี ขียว รหัส 62109301015 นางสาวฐิตาภา ชนะค้า รหสั 62109301025 นางสาวพรพรรณ ดใี จงาม รหสั 62109301063 นายรุง่ เรือง แก้วมะวงค์ รหสั 62109301080 นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ ชน้ั ปีที่ 3 รายวชิ าปฏิบัตกิ ารพยาบาลมารดา ทารกและผดงุ ครรภ์ 1 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบรุ ี

เอกสารอา้ งองิ กรมอนามยั . (2561, 1 มิถุนายน). น้านมแม่ ประโยชน์แทจ้ ากธรรมชาติ. https://multimedia.anamai.moph.go.th/help-knowledgs/benefits-of-breastfeeding/ . บุญสืบ โสโสม. (2553). สรุปสาระวชิ าการพยาบาลมารดาและทารก. สระบุรี : ม.ป.ท. ศศธิ ารา น่วมภาและคณะ. (2563). การนวดเตา้ นมเพอ่ื ส่งเสริมและแกไ้ ขปัญหาการเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแม่ : การปฏิบตั ิพยาบาลตามหลกั ฐานเชิงประจกั ษ.์ Nursing Science Journal of Thailand, 38(3) , 4-21. อภิรัช อินทรางกรู ณ อยุธยา. (2554). ความรู้เบ้อื งตน้ การพยาบาลผดงุ ครรภ์ เลม่ 2 (ระยะคลอดและหลงั คลอด). เชียงใหม่ : ครองชา่ ง พร้ินทต์ ้ิง จากดั . อดุ มวรรณ วนั ศรี และณัฐรินทร์ สกุลนิธิวฒั น์. (2562). การพยาบาลมารดาหลงั คลอด. อุบลราชธานี : อบุ ลกิจออฟเซทการพมิ พ.์ Mega We Care. ม.ป.ป. เคลด็ ลบั \"นวดเตา้ \" แกท้ ่อน้านมอดุ ตนั สาหรับคุณเเมม่ ือใหม่. https://www.megawecare.co.th . Premiere Home Health Care. ม.ป.ป. จบั เรออย่างไรใหถ้ ูกวธิ ี. http://premierehomehealthcare.co.th.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook