Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืออาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลบางกล่ำ

คู่มืออาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลบางกล่ำ

Published by anutida52, 2022-06-24 03:30:55

Description: คู่มืออาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลบางกล่ำ

Search

Read the Text Version

1 ค่มู ือดา้ นการบรกิ ารอาชีวอนามยั และเวชกรรมสงิ่ แวดลอ้ ม โรงพยาบาลบางกลา่ ปี 2565

ก คานา การจดั บรกิ ารอาชวี อนามยั และเวชกรรมส่งิ แวดลอ้ ม เป็นการบริการทางดา้ นการแพทย์และ สาธารณสุขท่ีเน้นการสง่ เสริมสุขภาพและปูองกันโรค โดยมีประชากรกลุม่ ผู้ประกอบอาชีพเปน็ กลมุ่ เปูาหมาย หลัก ได้แก่ กลุม่ แรงงานในระบบ กลมุ่ แรงงานนอกระบบ กลุ่มผใู้ ห้บรกิ ารทางสุขภาพ รวมถึงกล่มุ ประชาชนที่ อาจไดร้ ับผลกระทบจากมลพิษส่งิ แวดลอ้ ม ท้งั นก้ี ารจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมส่งิ แวดลอ้ มน้ันจาเป็น อย่างยิ่ง ท่ีต้องมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ืองศูนย์พัฒนาวิชาการอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อม ได้เล็งเห็น ความสาคัญดังกล่าวจึงได้พัฒนามาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมส่ิงแวดล้อมของหน่วย บรกิ ารสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาลชมุ ชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลโดยมีการจัดต้ังคณะทางาน พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามยั และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยผู้อานวยการโรงพยาบาล ตัวแทนทุก กลุ่มงานภายในโรงพยาบาลบางกล่า เพ่ือให้การดาเนินงานมีมาตรฐานเป็นไปในทิศทางเดียวกันสอดคล้องกับ กฎหมาย มาตรฐานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการทางานได้อย่างปลอดโรค ปลอดภยั รวมถึงลดความเส่ียงจากการได้รับผลกระทบมลพิษสิ่งแวดล้อม คณะผจู้ ดั ทา พ.ศ. 2565

ข สารบัญ หน้า เรื่อง ก ข คานา สารบัญ 1 ขอ้ มูลท่ัวไป 1 1 วัตถุประสงค์ 2 ขอบเขต 3 ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากการดาเนนิ งานตามมาตรฐาน 23 สว่ นท่ี 1 คณะกรรมการอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม 30 ส่วนท่ี 2 มาตรฐานการดาเนนิ งานสง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทางาน ส่วนที่ 3 แผนปูองกันเหตุฉุกเฉนิ อา้ งองิ

3 ข้อมูลทัว่ ไป วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ดิ ้านอาชวี อนามยั ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมภายในโรงพยาบาล เพ่ือเป็นเครอ่ื งมือในการพัฒนาจดั บริการอาชวี อนามยั และเวชกรรมสงิ่ แวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุขให้ มคี ุณภาพ และเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการท้ังภายในภายนอก มีคุณภาพ ชีวิตที่ดี ปราศจากโรคและภัยจากการทางาน รวมทั้ง ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบระบบงานด้านการ จัดบริการอาชีวอนามัยท่ีเหมาะสม ตลอดจนเพื่อเป็นโอกาสในการพัฒนางาน และประเมินว่าการบริการ สุขภาพนั้น สามารถดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้มากน้อยเท่าใด ในแง่ของประสิทธิภาพประสิทธิผล การ ยอมรับ และเพ่ือน าไปสู่การบริการที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับกฎหมาย และมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวข้อง และ เป็นไปในทศิ ทางเดยี ว ประโยชนท์ ี่ได้รับจากการดาเนินงานตามมาตรฐาน - ประโยชน์สาหรบั ผรู้ บั บริการ ไดแ้ ก่ ผู้รับบรกิ ารได้รับการดูแลรักษาอย่างมคี ณุ ภาพ รวมทัง้ ไดร้ บั การ พิทกั ษ์สทิ ธ์ิของตนเอง - ประโยชน์สาหรับเจา้ หน้าทีผ่ ู้ปฏิบตั ิงาน เจา้ หน้าที่ได้เรยี นร้แู ละพฒั นาศักยภาพของตนเองมากข้นึ และตอ่ เน่ือง พฒั นาการท างานเปน็ ทมี รวมทั้ง มกี ารสรา้ งเครือขา่ ยการดาเนินงานทงั้ ภายในและภายนอก โรงพยาบาล ปญั หาความเส่ยี งตอ่ ความเข้าใจผิดระหว่างเจ้าหนา้ ที่กับผมู้ ารับบริการลดลง สภาพแวดล้อม ในการท างานของหนว่ ยบรกิ ารได้รบั การประเมิน และปรับปรุง เจา้ หน้าที่ผปู้ ฏบิ ัตงิ านไดร้ ับการดแู ลสุขภาพ อยา่ งต่อเน่ือง - ประโยชน์สาหรบั โรงพยาบาล เป็นองค์กรแหง่ การเรียนร้มู ีการพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง และเปน็ ท่ียอมรับ ขอบเขต บุคลากรโรงพยาบาลบางกล่าทท่ี างานด้านความปลอดภัย ทั้งการสมั ผัสส่ิงคุกคามทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ การยศาสตร์ รวมถงึ ความเครยี ดและจิตใจของบุคลากร คานยิ ามศัพท์ การปฏิบัตดิ า้ นอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อมในการทางาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ นกั วชิ าการสาธารณสุข

4 ส่วนท่ี 1 คณะกรรมการอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และส่งิ แวดล้อม 1. นายสรุ ยิ ะ สุพงษ์ ผอู้ านวยการโรงพยาบาลบางกล่า ประธานกรรมการ 2. นางสุพตั ร เพช็ ราการ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ รองประธาน 3. นางวชั ลี สพุ งษ์ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ 4. นางอไุ ร สันสาคร พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ 5. นางสญใจ วงศส์ ุนทร พยาบาลวิชาชีพชานาญการ กรรมการ 6. น.ส.มัณฑนา สุกาพฒั น์ นักรงั สีการแพทยช์ านาญการ กรรมการ 7. นางจุรรี ตั น์ แกว้ เกาะสะบา้ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ กรรมการ 8. นางปรยี าภรณ์ วรรณชาติ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ กรรมการ 9. น.ส.เพญ็ พรรณ เภาออ่ น พยาบาลวิชาปฏิบตั ิการ กรรมการ 10. นายจริ ศกั ด์ิ ปานแก้ว ชา่ งไม้ ชนั้ 3 กรรมการ 11. นางนติ ยา สุวรรณ เจา้ พนกั งานการเงินและบญั ชี กรรมการ 12. นายอภิยทุ ธ โชติรุ่งโรจน์ นกั วิชาการคอมพิวเตอร์ปฏบิ ัติการ กรรมการ 13. น.ส.วันวสิ า สงั วรนวล เจา้ พนกั งานสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร กรรมการ 14. น.ส.ไพสุดา แก้วรัตนา นกั กายภาพบาบดั ปฏิบัติการ กรรมการ 15. น.ส.นชุ นาถ ชดชอ้ ย จพง.ทนั ตสาธารณสขุ ปฏิบัติการ กรรมการ 16. น.ส.ณฐั วรา พันธล์ าภักด์ิ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรรมการ 17. นางสาวปรียานุช มาดลาย เจา้ พนักงานเภสัชกรรม กรรมการ 18. น.ส.อนธุ ิดา เพชรทองขาว นกั วชิ าการสาธารณสุข 19. น.ส.ขนษิ ฐา ทองเยน็ นกั วิชาการสาธารณสุขชานาญการ กรรมการ/เลขาฯ กรรมการ/ผชู้ ่วยเลขาฯ

5 ส่วนที่ 2 มาตรฐานการดาเนินงานสง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภัยในการทางาน ส่งิ คุกคามในการทางาน มีด้วยกนั 5 ประเภท 1. สง่ิ แวดล้อมทางเคมี ได้แก่ สารเคมที ใี่ ช้ในการบาบัด หรือฆ่าเช้อื โรค หรอื ทาให้ ปราศจากเช้ือ 2. สงิ่ แวดล้อมทางกายภาพ ซ่ึงเปน็ ผลจากการใช้เคร่ืองมือหรอื อปุ กรณ์ทางการแพทย์ หรือ เครือ่ งใช้ไฟฟูา เช่น แสง รังสี ความร้อน เสยี งดงั การท างานทเี่ คลื่อนไหวซ้าซาก เปน็ ต้น 3. ส่ิงแวดล้อมทางชวี ภาพ ได้แก่ เชือ้ โรคต่าง ๆ ที่มาจากผู้ปุวย เช่น เชือ้ ไวรัส เชอื้ เอดส์ เชอ้ื แบคทเี รยี เชื้อพาราสิท เป็นต้น 4. สงิ่ แวดล้อมทางจติ วิทยาสงั คม เป็นส่งิ แวดล้อมการทางานท่ีกอ่ ให้เกดิ ความเครียดจากการทางาน การเปล่ยี นแปลงทางสรรี ะอนั เนือ่ งจากอารมณห์ รอื จติ ใจทีไ่ ด้รับความบีบคนั้ 1. ส่ิงคุกคามทางกายภาพ แสงสว่าง แสงสว่างมคี วามจาเปน็ ต่อการทางานเป็นอย่างมาก ซึ่งจะใช้ท้งั การทางาน และใชช้ วี ิตประจาวนั ในที่ ทางานมาตรฐานแสงสวา่ ง มดี ังน้ี พ้ืนที่/ลักษณะงาน ความเข้มของแสงสว่างเฉล่ีย (LUX) บนั ได 100 หอ้ งนา้ 100 โรงอาหาร 300 งานเอกสาร 500 งานที่ใช่ความละเอยี ดไม่มาก 300 งานท่ีใชค้ วามละเอียดระดับปานกลาง 500 งานท่ตี อ้ งใชค้ วามละเอียดสงู 800 งานทต่ี ้องใชค้ วามละเอยี ดระดบั สูงพิเศษ 1,200 อนั ตรายท่เี กิดจากแสงสว่างมากเกนิ ไป แสงสว่างทีม่ ากเกนิ ไป อาจเกิดจากแสงท่สี ะท้อนกับวัตถุ เช่น ผนังห้อง เครอื่ งมือ โต๊ะทางาน สง่ ผลให้ เกิดอาการความไมส่ บายตา ปวดตา มนึ ศีรษะ กลา้ มเนื้อตากระตุก วงิ เวยี น นอนไม่หลับ การมองเหน็ พรา่ มวั

6 อันตรายท่ีเกิดจากแสงสวา่ งน้อยเกินไป แสงนอ้ ยเกินไป มีผลเสยี ทาให้กลา้ มเนอื้ ตาทางานมากเกนิ ไป เพราะบังคบั ให้รมู ่านตาเปิดกวา้ งข้ึน เกดิ อาการปวดตา มึนศีรษะ การกะระยะอาจผิดพลาด แกป้ ัญหาจากแหล่งกาเนดิ แสงโดยตรง 1. ลดแสงท่จี าเกิน 2. ยา้ ยดวงไฟให้อย่นู อกขอบเขตของสายตา 3. เพิ่มมมุ แหล่งกาเนิดแสงที่ไม่พงึ ประสงค์ กบั ระดับสายตา > 45º 4. ลดพนื้ ทแี่ หล่งกาเนิดแสงให้เลก็ ลง 5. เพิม่ ความสว่างของแสงโดยรอบแหลง่ แสง ที่ไม่พงึ ประสงค์ การปอู งกันและแก้ไข (กรณแี สงสวา่ งไมเ่ พียงพอขณะทางานหนา้ คอมพิวเตอร์) 1. ปรับแสงใหพ้ อเหมาะระหว่างแสงบนจอภาพ กับ แสงรอบๆ อตั ราสว่ น 3 :1 2. ปรบั จอใหต้ ่ากวา่ สายตา 15-20 องศา 3. กรณีสายตายาวใหใ้ ชแ้ วน่ ตาชัน้ เดยี ว เพราะ Visual field กว้างกวา่ และควรให้ช่างตัดแวน่ ปรับระยะการ ทางานให้ชัดที่ 60 cm. 4. พกั สายตาเป็นระยะ เสยี ง เสยี งดงั ทาให้เกดิ การสูญเสยี การไดย้ นิ แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คือ  การสูญเสียการได้ยินแบบชวั่ คราว เกดิ ขนึ้ จากการการสมั ผัสเสยี งดังเปน็ ระยะเวลาหนงึ่ ทาให้เซลล์ขน ในหกู ระทบกระเทือนไมส่ ามารถทางานไดช้ วั่ คราว แตส่ ามารถกลับส่สู ภาพเดิมหลงั จากสิ้นสุดเสยี งดงั ประมาณ 14-16 ช่ัวโมง  การสูญเสยี การไดย้ นิ แบบถาวร เซลลข์ นถูกทาลายทาให้ไม่สามารถทาการรักษาให้การได้ยินกลับคนื สภาพเดมิ ได้ ผลกระทบจากเสยี งดัง เสียงดงั ทาให้เกดิ การรบกวน การพูดสื่อความหมาย สัญญาณต่างๆ ถูกรบกวนจากเสียงดัง ทาใหเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุ ได้ เสยี งดงั ทาให้เกดิ การตกใจ ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดปกตกิ ะทันหัน และนาไปสู่การเกิดอบุ ตั เิ หตุ การควบคุมปอู งกนั (การปูองกันมีดว้ ยกนั 3 รูปแบบ) 1. ปอู งกนั ดว้ ยการปรับปรงุ แหล่งกาเนิน (เช่น การตดิ ตั้งตัวดูดซบั แรงสัน่ สะเทือนท่ีทาให้เกดิ เสยี งดงั การทาที่ ครอบปิดจดุ ที่ก่อให้เกิดเสียงดัง 2. ปูองกันที่ทางผา่ น (เชน่ การเพม่ิ ระยะห่างระหว่างแหลง่ กาเนนิ กับผปู้ ฏิบัติงาน การจดั ทาห้องเก็บเสียง)

7 3. ปอู งกนั ทตี่ ัวผ้ปู ฏิบัตงิ าน (เช่น การลดเวลาทางาน การใช้ที่ครอบหู (Earmuffs) หรือทอ่ี ดุ หู (Ear Plug) ภาพที่ 1 แสดงความเข้มของเสยี งในกจิ กรรมต่างๆ อับอากาศ ท่ีอับอากาศหรือ Confined space คอื ทีซ่ ง่ึ มีทางเข้าออกจากัด และมีการระบายอากาศไม่ เพยี งพอท่จี ะทาให้อากาศภายในอย่ใู นสภาพถูกสุขลักษณะและปลอดภยั รวมทัง้ ไมไ่ ด้ออกแบบไวเ้ ป็นสถานที่ ทางานอย่างต่อเนือ่ งเปน็ ประจา เช่น อโุ มงค์ ถา้ บ่อ หลุม ห้องใต้ดนิ ห้องนริ ภัย ถงั นา้ มัน ถังหมัก ถังไซโล ท่อ เตา ภาชนะ หรอื สิง่ อ่นื ที่มีลกั ษณะคลา้ ยกัน และตามนยิ ามกฎหมายความปลอดภัยท่อี ับอากาศยังรวมถึง บรรยากาศอันตรายซง่ึ หมายถึง สภาพอากาศที่อาจทาใหล้ ูกจ้างไดร้ ับอนั ตรายจากสภาวะอย่างหนง่ึ อย่างใด ดังต่อไปน้ี 1. มอี อกซเิ จนตา่ กวา่ ร้อยละ ๑๙.๕ หรอื มากกวา่ รอ้ ยละ ๒๓.๕ โดยปริมาตร 2. มีก๊าซ ไอ ละอองที่ติดไฟหรอื ระเบดิ ได้ เกนิ ร้อยละ ๑๐ ของค่าความเขม้ ข้นขัน้ ต่าของสารเคมีแต่ละ ชนิดในอากาศที่อาจติดไฟหรือระเบดิ ได้ (Lower Flammable limit หรือ Lower Explosive Limit) 3. มฝี นุ ท่ีติดไฟหรือระเบิดได้ ซ่ึงมีคา่ ความเข้มข้นเท่ากับหรอื มากกวา่ ค่าความเข้มขน้ ข้ันต่าสุดของฝุน ที่ติดไฟหรือระเบดิ ได้แต่ละชนิด (Minimum explosible Concentration) 4. มคี ่าความเข้มขน้ ของสารเคมแี ต่ละชนิดเกินมาตรฐานตามท่กี ฎหมายกาหน ปจั จยั การพิจารณาวา่ พน้ื ท่ีใดจดั เป็นท่อี บั อากาศ 1. เป็นพื้นทซ่ี ่ึงมีปรมิ าตรขนาดเล็ก แตใ่ หญ่พอที่คนจะเข้าไปปฏบิ ัตงิ านได้

8 2. เปน็ พืน้ ที่ท่ีอยู่ในสภาพจากัดไมใ่ ห้มีการเข้าออกไดโ้ ดยสะดวก พนื้ ทภี่ ายในมีความเสย่ี งตอ่ การ บาดเจ็บหรือเสียชวี ิตเนอื่ งจากสภาพอากาศที่เปน็ อันตราย เชน่ มีก๊าซ หรือไอ ฯลฯ ที่ไม่สามารถระบายออก และสง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพของลูกจ้างในบริเวณน้นั อาจสูดดมแกส๊ พษิ เข้าสู่ร่างกายหรือมีออกซเิ จนไม่ เพียงพอ 3. สภาพการเข้าออกไม่สะดวกทาให้การกูภ้ ัยหรอื ก้ชู วี ิตเปน็ ไปดว้ ยความยากลาบาก 4. ช่องเปดิ ทางเขา้ ทางออก มีขนาดเลก็ หรือมจี านวนจากัด มีการระบายอากาศตามธรรมชาตไิ ม่ เพยี งพอ 5. เปน็ พื้นทีท่ ่ีไมไ่ ดอ้ อกแบบใหป้ ฏบิ ัติงานอย่างต่อเนื่อง ปฏิบัตอิ ยา่ งไรเพอื่ ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ านในที่อบั อากาศ มีระบบการทางานท่ีมีความปลอดภยั ดงั นี้ 1. มีผูอ้ นญุ าต ผคู้ วบคมุ งาน หรือเจา้ ของพน้ื ท่ีเข้าดแู ลรับผดิ ชอบพืน้ ทีผ่ ู้ทเ่ี กย่ี วข้องท้ังหมด (ผู้ปฏบิ ัติงาน ผชู้ ว่ ย เหลอื หรอื ผูเ้ ฝาู ระวงั ผูค้ วบคุมงาน และผอู้ นุญาต) ต้องผา่ นการอบรมและมีความรู้ความสามารถในการทางาน ในสถานท่ีอับอากาศ 2. มกี ารตัดระบบการทางานของเครื่องจกั ร กระแสไฟฟาู และการปูอนวสั ดุ 3. ทาความสะอาดพ้ืนทโี่ ดยรอบเพ่ือไม่มีส่ิงที่เป็นอนั ตราย กอ่ นเข้าปฏบิ ัตงิ านในที่อับอากาศ 4. ทาการตรวจสอบและดาเนินการให้ช่องทางเข้าออก สะดวก ปลอดภัย 5. มรี ะบบระบายอากาศทเ่ี หมาะสมก่อนเขา้ ทางาน และตลอดระยะเวลาทที่ างาน 6. มกี ารตรวจวัดสภาพบรรยากาศสาหรบั การปฏิบัติงานในที่อับอากาศ 7. เลือกใชเ้ คร่ืองมือทเ่ี หมาะกับลกั ษณะงาน และแสงสวา่ งเพยี งพอ 8. มีการเลือกใชเ้ ครอ่ื งช่วยหายใจ หรอื SCBA ท่ีเหมาะสม 9. มีปูายเตือนอนั ตรายและห้ามเขา้ มีการเตรียมการสาหรับเหตุฉุกเฉนิ ให้พร้อมกอ่ นเริ่มการเข้าปฏิบัตงิ านในที่อบั อากาศ 1. ตรวจสอบและเตรยี มความพร้อมในการแจง้ กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน 2. จดั เตรยี มเครือ่ งมอื กูภ้ ัยและชว่ ยชีวิตทพี่ รอ้ มใชง้ านได้อย่างทันสถานการณ์ 3. ทมี ฉุกเฉินและทีมก้ภู ยั มีสมรรถนะตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉนิ ท่ีอาจเกดิ ขึ้นจากการทางานในทอี่ บั อากาศได้ ทนั สถานการณ์

9 2. ส่งิ คกุ คามทางเคมี สารเคมี คือ ธาตหุ รือสารประกอบทร่ี วมกันดว้ ยพนั ธะทางเคมีซึ่งอาจเกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ หรอื มนษุ ย์ สงั เคราะห์ขนึ้ โดยองคป์ ระกอบทเ่ี ลก็ ที่สดุ ของสสารก็คือสารเคมี สารเคมีอนั ตราย หมายถึง ธาตุ หรือสาร ประกอบ ที่มคี ุณสมบตั ิเป็นพิษหรือเป็นอันตรายตอ่ มนุษย์ สตั ว์ พืช และทาให้ทรพั ยส์ ินและส่ิงแวดลอ้ มเส่ือมโทรม สามารถจาแนกได้ 9 ประเภท ดังนี้ วตั ถอุ ่ืนๆ เชน่ ของเสยี อนั ตราย แอส เบสทอสขาว เบนซลั ดไี ฮด์ ของเสียปนเป้ือน ไดออกซนิ ภาพท่ี 2 สัญลกั ษณแ์ สดงอันตรายของสารเคมี

10 ความเป็นพิษของสารเคมี แบ่งเป็นกลุม่ ไดด้ ังน้ี  สารทท่ี าให้เกิดการระคายเคือง คนั แสบ ร้อน พุพอง เช่น กรด ตา่ งๆ ก๊าซคลอรนี แอมโมเนยี ซัลเฟอร์ไดออกไซด์  สารทท่ี าใหห้ มดสติได้ สารเคมีนไ้ี ปแทนที่ออกซเิ จน เชน่ คารบ์ อนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ไซยาไนด์  สารเสพตดิ เปน็ สารท่เี ป็นอนั ตรายต่อระบบประสาท เชน่ สารท่รี ะเหยได้งา่ ย ได้แก่ แอลกอฮอล์ เบนซนิ อะซโิ ตน อเี ทอร์ คลอโรฟอร์ม ทาให้ปวดศรี ษะ เวียน มนึ งง  สารท่ีเป็นอนั ตรายต่อระบบการสรา้ งโลหิต เช่น ตะกว่ั จะไปกดไขกระดูก ซ่ึงทาหน้าทส่ี ร้างเม็ดเลือด แดง ทาใหเ้ ม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกตเิ กิดโลหติ จาง  สารที่เปน็ อนั ตรายต่อกระดูก ทาใหก้ ระดูกเสยี รูปรา่ ง หรือทาใหก้ ระดกู เปราะ ฟอสฟอรัส แคลเซยี ม  สารที่ทาอนั ตรายต่อระบบการหายใจ เช่น ปอด ทาใหเ้ กิดเยื่อพงั ผืด ไม่สามารถแลกเปลี่ยนกับ ออกซิเจนได ความจุอากาศในปอดจะน้อยลงทาให้หอบง่าย เช่น ฝุนทราย ฝนุ ถา่ นหิน  สารก่อกลายพันธ์ ทาอนั ตรายต่อโครโมโซม ซ่งึ ความผดิ ปกติจะปรากฏให้เห็นในลูกหรือ ช้ันหลาน เช่น สารกัมมันตภาพรังสี สารฆา่ แมลง โลหะบางชนดิ ยาบางชนดิ  สารก่อมะเร็ง ทาใหส้ ร้างเซลล์ใหม่ขน้ึ มาเรื่อยๆ มากเกินความจาเปน็ ทาใหเ้ กดิ เนอื้ งอกชนิดที่ไม่ จาเป็น เช่น สารกัมมันตภาพรังสี สารหนู แอสแบสตอสนิเก้ิล เวนิลคลอไรด์ เบนซิน  สารเคมที ่ที าให้ทารกเกดิ ความพิการ คลอดออกมามอี วัยวะไม่ครบ เช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ แขน ดว้ น ขาดว้ น ตวั อยา่ งของสารในกลุ่มนี้ ได้แก่ ยาธาลโิ ดไมด์ สารตวั ทาละลายบางชนดิ ยาปราบศัตรพู ืชบาง ชนดิ ลกั ษณะความเป็นพษิ ของสารเคมี แบบเฉียบพลัน : เป็นการสัมผัสท่ีเกดิ ขน้ึ ครั้งเดียวในระยะเวลาท่คี อ่ นขา้ งสัน้ เช่น หนึง่ นาทถี ึงสองสาม วนั อาการท่ีเกิดข้นึ ได้แก่ เกิดผลผืน่ คนั ระคายเคอื ง ผิวหนังไหม้ อักเสบ ขาดอากาศ หน้ามืด วงิ เวียน แบบเร้อื รัง : เปน็ การสัมผสั สารทีร่ ะดบั ค่อนข้างตา่ ในระยะเวลานานตง้ั แต่เปน็ เดือนถึงเป็นปี อาการท่ี เกิดขน้ึ ได้แก่ การเกิดความพกิ ารในทารก (Teratogenic) การเกดิ ความผิดปกติทางสายพันธใ์ นตัวออ่ น หรือ การผา่ เหล่า (Uutagenic) การผิดปกติทางพันธุกรรม เชน่ การเปล่ยี นแปลงของ DNA การเกิดมะเร็ง (Carcinogenic)

11 วธิ ปี ฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ให้ผทู้ ี่สัมผัสสารเคมี สว่ นสัมผัสสารเคมี วธิ ปี ฐมพยาบาล ได้รับอันตรายจากสารเคมีท่ีผิวหนงั ให้ล้างผวิ หนงั บริเวณทถี่ กู สารเคมี โดยใช้น้าสะอาดลา้ งออกใหม้ าก ที่สุด เพอ่ื ใหส้ ารเคมีทสี่ ัมผสั เจอื จาง และถ้าสารเคมีเป็นกรดให้รบี ถอดเส้ือออกทนั ที ไดร้ บั อันตรายจากสารเคมีทตี่ า ให้รบี ล้างตาดว้ ยนา้ สะอาดทันที โดยเปิดเปลือกตาขึน้ ใหน้ า้ ไหลผา่ น ตา อยา่ งน้อย 15 นาที และรีบไปโรงพยาบาลให้เร็วท่ีสดุ ผู้ทีไ่ ด้อันตรายรบั สารเคมีผ่านการสดู ใหร้ ีบยา้ ยจากพื้นทท่ี ีร่ ับสารให้เรว็ ทสี่ ุด เพ่ือรบั อากาศบริสุทธิ์ และ ดม ประเมนิ การหายใจ และการเต้นของหัวใจ ถา้ หวั ใจหยุดเต้น ไม่ หายใจ หรือหายใจเฮือก ให้รีบ CPR ผูท้ ไ่ี ด้อันตรายรบั สารเคมีผ่านการกิน ทาใหส้ ารพิษเจอื จางลง ในกรณีร้สู กึ ตวั และไม่มีอาการชัก โดยการดม่ื นา้ หรอื นม เพราะว่าจะชว่ ยเจือจางสารพิษแล้ว ยังช่วย เคลือบ และปูองกันอันตรายต่อเยือ่ บุทางเดนิ อาหารแลว้ รบี นาส่งโรงพยาบาล ขอ้ ห้ามในการทาให้ ผ้ปู ุวยอาเจยี น - หมดสติ - ได้รับสารพิษชนิดกัดเนือ้ เช่น กรด ดา่ ง - รับประทานสารพิษพวก นา้ มันปิโตรเลยี ม เชน่ น้ามันกา๊ ด เบนซิน - มสี ุขภาพไม่ดี เชน่ โรคหัวใจ

12 3. ส่ิงคุกคามทางชีวภาพ หมายถึง ส่งิ แวดล้อมการทางานท่มี เี ชือ้ จลุ ินทรีย์ เช่น แบคทเี รีย รา ไวรสั ปาราสติ เป็นตน้ ซึ่ง เชือ้ จลุ ินทรยี เ์ หล่านี้ส่วนหน่ึงอาจแพรม่ าจากผปู้ วุ ยดว้ ยโรคติดเชอื้ ทม่ี ารับการรกั ษาพยาบาล และเกิดการแพร่ เช้อื สู่ผปู้ ฏิบัตงิ านได้ โรคจากการทางานในโรงพยาบาลที่มีสาเหตุจากเช้อื จลุ นิ ทรยี ์มีมากมาย ในท่นี จี้ ะกลา่ วถึง เฉพาะ HIV AIDs และวณั โรค 1. HIV และ AIDs กลุ่มเสีย่ ง แพทย์ พยาบาล และบุคลากรท่ีทางานเกีย่ วขอ้ งในแผนกต่างๆ ผลกระทบตอ่ สุขภาพ มีผลกระทบต่อระบบอวัยวะภายใน 3 – 8 สปั ดาห์หลังจากตดิ เช้อื จะเกดิ อาการเจ็บปวุ ยแบบ เฉยี บพลนั กินเวลานาน 2 – 3 สปั ดาห์ โดยมีอาการเปน็ ผน่ื ปวดตามขอ้ และกล้ามเนอื้ เจ็บคอ อาการอนื่ ที่รว่ ม ดว้ ย ได้แก่ ต่อมน้าเหลืองโต อ่อนเพลีย มีไข้ เหงือ่ ออกกลางคนื ท้องเดนิ บอ่ ย น้าหนักตัวลด การปูองกนั และควบคมุ ระมดั ระวงั มใิ ห้สัมผัสเลือด หรอื body fluids ทมี่ เี ชือ้ HIV เช่น ลกั ษณะงานทีม่ ีโอกาสที่ต้องสัมผสั กับ เลอื ด หรอื body fluids ผู้ปฏิบตั ิงานควรสวมถงุ มือปูองกัน มกี ารใช้เข็มฉีดยา หรอื ของมคี ม ควรระมดั ระวัง เพื่อมิให้เข็มหรือของมีคมท่ิม แทง หรือบาด กระบอกและเข็มฉีดยาควรเปน็ ชนิดที่ใชแ้ ล้วท้ิง (Disposable) ใน กรณที ่เี คร่ืองมอื อุปกรณน์ ้ันจาเป็นต้องนากลบั มาใช้ใหม่ ควรนาไปล้างและฆา่ เชอ้ื เพ่ิมความระมัดระวงั ในการส่งตัวอย่างและทางานในหอ้ งปฏิบตั กิ าร 2. Mycobacterium tuberculosis เช้อื นีท้ าให้เกดิ โรค Tuberculosis ตดิ ตอ่ โดยตรงคอื การหายใจรับเช้ือจากผ้ปู ุวยขณะที่ผู้ปุวยไอ จาม หายใจรดกันสาหรบั การติดต่อทางออ้ มคือ การหายใจเอาเชือ้ ทอี่ ยูต่ ามเสอื้ ผ้า ผ้าปทู ี่นอนของผปู้ ุวย กล่มุ เสี่ยง แพทย์ พยาบาล ผ้ปู ฏิบัติงานในแผนกซักฟอก และบุคลากรอน่ื ท่เี กี่ยวข้อง ผลกระทบต่อสขุ ภาพ เกดิ อาการไอตลอดเวลา 3 สัปดาห์ หรอื มากกวา่ หลงั จากรับเช้อื เสมหะมีเลือดปน หายใจส้ันๆ เจบ็ หน้าอกอ่อนเพลีย เบือ่ อาหาร น้าหนักลด มีไข้ เหง่ือออกเวลากลางคนื การปูองกนั และควบคุม 1) แยกผูป้ ุวย หรือผูส้ งสยั วา่ เปน็ วัณโรคไมใ่ ห้ปะปนกบั ผู้ปุวยอน่ื และทาการรักษาเพ่ือช่วยลดการเสีย่ ง ต่อการติดเชื้อ 2) หอพกั ผู้ปวุ ยวณั โรค ควรมีระบบการระบายอากาศทดี่ ี มีพดั ลมดูดอากาศจากภายในส่ภู ายนอก ประตปู ดิ

13 หน้าต่างเปิด เพื่อปูองกนั การตดิ เชอื้ ทางอากาศ แสงจากดวงอาทิตย์ ซ่ึงมรี ังสเี หนือมว่ งสามารถทาลายเชื้อน้ีได้ 3) กาหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิงานท่ถี ูกต้อง ปลอดภัย เพ่ือหลกี เลย่ี งวิธกี ารทางานท่ีกอ่ ใหเ้ กิดฝนุ ท่ีมี เช้ือจลุ นิ ทรีย์ เชน่ การสะบัดผ้าปูที่นอนท่ีมเี ช้ือ 4) บคุ ลากรท่ีดูแลผ้ปู ุวยวณั โรค ควรได้รบั การตรวจร่างกาย โดยการทา Tuberculin test และ X-ray 3. อันตรายจากเช้อื ไวรัสโคโรนา่ 3.1. เชอื้ กอ่ โรค : เช้ือไวรสั โคโรนา่ (CoVs) เปน็ ไวรสั ชนิดอาร์เอน็ เอสายเดี่ยว (single stranded RNA virus) ใน Family Coronaviridae มีรายงานการพบเชือ้ มาต้งั แต่ช่วงปี ค.ศ. 1965 โดยสามารถติดเช้อื ได้ท้ังใน คนและสัตว์ เช่น หนู ไก่ ววั ควาย สนุ ัข แมว กระต่าย และสกุ ร ประกอบด้วยชนดิ ยอ่ ยหลายชนดิ และทาใหม้ ี อาการแสดงในระบบต่างๆ เช่น ระบบทางเดินหายใจ (รวมถึงโรคทางเดินหายใจเฉยี บพลันรุนแรง หรือซาร์ส; SARS CoV) ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบประสาท หรือระบบอ่นื ๆ 3.2. ระบาดวิทยาของเชื้อ : เชื้อไวรสั โคโรนา่ (CoVs) พบได้ทั่วโลก โดยในเขตอบอนุ่ (temperate climates) มกั พบเชอื้ โคโรนาไวรสั ในช่วงฤดหู นาวและฤดูใบไม้ผลิ การตดิ เช้ือโคโรนาไวรัสอาจทาให้เกดิ อาการ ในระบบทางเดินหายใจส่วนบนไดถ้ ึงร้อยละ 35 และสัดส่วนของโรคไขห้ วัดท่ีเกดิ จากเช้ือโคโรนาไวรัสอาจสูงถึง ร้อยละ 15อาจ การติดเชอื้ พบไดใ้ นทุกลมุ่ อายุ แต่พบมากในเดก็ อาจพบมีการติดเช้อื ซ้าได้ เน่อื งจากระดับ ภมู ิคมุ้ กนั จะลดลงอยา่ งรวดเร็วภายหลงั การตดิ เช้ือ 3.3. ลกั ษณะโรค : - การตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา่ ในระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory Coronaviruses) อาจทาให้เกดิ อาการไข้ อ่อนเพลยี ปวดศรี ษะ มนี ้ามูก เจ็บคอ ไอ โดยในทารกทม่ี ีอาการรุนแรง อาจมีลกั ษณะของปอดอกั เสบ (Pneumonia) หรอื หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis) - การตดิ เชื้อทางเดนิ หายใจเฉียบพลันรุนแรง หรอื ซารส์ (Severe Acute Respiratory Syndrome; SAR CoV) จะพบมอี าการไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลยี หรอื อาการคลา้ ยไข้หวดั ใหญ่ แลว้ มอี าการไอ และหอบเหน่ือย อย่างรวดเร็ว ซึ่งอัตราตายจะสูงข้ึนในผู้ปวุ ยสูงอายุ หรือมโี รคประจาตวั - การติดเชื้อโคโรน่าไวรสั ในระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Coronaviruses) มกั พบบอ่ ยในเด็กแรก เกิด และทารกอายนุ ้อยกว่า 1 ปี หรืออาจพบในผใู้ หญท่ ่ีมีภูมิคมุ้ กันบกพร่อง 3.4. ระยะฟักตวั ของโรค : โดยเฉลยี่ ประมาณ 2 วัน (อาจมรี ะยะฟกั ตวั นานถงึ 3 – 4 วนั ) สาหรบั โรคซารส์ อาจใชร้ ะยะฟกั ตัว 4 – 7 วัน (อาจนานถงึ 10 – 14 วนั ) 3.5. วธิ กี ารแพร่โรค : แพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) กบั สารคัดหลง่ั จากทางเดินหายใจ หรอื แพรก่ ระจายเชือ้ จากฝอย ละอองน้ามูก น้าลาย (Droplet) จากผู้ปวุ ยทม่ี ีเช้อื โดยการ ไอ หรอื จาม 3.6. การปอู งกัน :

14 - ออกกาลังกายสมา่ เสมอและพักผ่อนให้เพียงพอ - รับประทานอาหารท่ีมปี ระโยชนแ์ ละครบ 5 หมู่ - ไมค่ ลกุ คลใี กล้ชดิ กบั ผ้ปู วุ ย - แนะนาให้ผปู้ วุ ยใสห่ นา้ กากอนามัย ปิดปากปิดจมูกเวลา ไอ หรอื จาม - ควรลา้ งมอื บ่อยๆ ด้วยน้าและสบู่ โดยเฉพาะเมื่อสัมผสั กบั สารคัดหลั่งจากผูป้ วุ ย ก่อนรับประทานอาหาร และ หลังขับถา่ ย - ควรหลีกเลี่ยงการเข้าไปในพื้นท่แี ออัด หรอื ท่ชี มุ ชนสาธารณะท่ีมคี นอยเู่ ป็นจานวนมาก เพือ่ ลดความเส่ยี งใน การติดโรค การปูองกันภายในโรงพยาบาลแก่บคุ ลากร 1. ทางโรงพยาบาลจัดอปุ กรณ์ตรวจเชื้อไวรสั โคโรนา่ ชนิด ATK ทุกวนั อาทติ ย์กอ่ นเริ่มทางานในวันจนั ทร์ 2. มแี อปพลเิ คชั่นไทยเซฟไทย สาหรับประเมินอาการตนเองก่อนเข้าทางานทกุ วนั ซง่ึ จะมแี อดมินเชค็ หากทา่ น ใดมคี วามเส่ียงสงู จะไดร้ ับการเฝาู ระวงั ภาพท่ี 3 แสดงการลงทะเบียนไทยเซฟไทย คดั กรองเจา้ หนา้ ทก่ี อ่ นปฏบิ ตั ิงาน

15 3. มกี ารเตรยี มความพร้อมของพ้ืนท่ี เพ่ือใหป้ ลอดภายในโรงพยาบาล โดยหวั หนา้ กลุม่ งานจะทาหนา้ ทเ่ี ช็คทกุ สองสปั ดาหใ์ นเอกสาร Google form ภาพที่ 4 แสดง google form ประเมินตามมาตรฐาน Covid Free Setting 4. เพิ่มมาตรการให้ผูม้ ารับบริการทุกทา่ นสวมใส่ Mask และตอ้ ง Seal mask ก่อนเขา้ พื้นท่ีรับบรกิ ารทุกครั้ง ภาพท่ี 5 แสดงข้นั ตอนการ Sealmask กอ่ นเข้ารบั บริการภายในโรงพยาบาล

16 4. ส่งิ คุกคามทางการยศาสตร์ (Ergonomics) การยศาสตร์ หรอื เออร์โกโนมิคส์ หมายถงึ ศาสตรใ์ นการจัดสภาพงานให้เหมาะสมกับการปฏบิ ตั งิ าน ของคน ทง้ั ทางรา่ งกายและจิตใจ โดยการออกแบบเคร่ืองจักร สถานที่ทางาน ลกั ษณะงาน เคร่ืองมือ และ สภาพแวดลอ้ ม การทางาน เพอื่ ให้เกดิ ความปลอดภัย สะดวกสบาย เพิ่มประสทิ ธิภาพในการทางาน และปูองกนั ผลกระทบต่อสขุ ภาพ ผลกระทบต่อสุขภาพ จะทาให้เกิดความผิดปกตขิ องกล้ามเนื้อและกระดกู โครงร่าง (Musculoskeletal disorders: MSDs) ซงึ่ หมายถึงอาการเจ็บปวดถาวร และมคี วามเส่ือมของกลา้ มเนอ้ื รวมถึงข้อตอ่ เอ็น และเนอ้ื เย่ืออน่ื ๆ ท่ี อยูใ่ กลเ้ คยี ง ตัวอย่างเช่น โรคปวดหลังส่วนบน้ั เอว (Low back pain) เอน็ อกั เสบ (Tendinitis) เอ็นและปลอก หมุ้ อักเสบ (Tenosynovitis) กล่มุ อาการอุโมงคค์ ารป์ าล (Carpal Tunnel Syndrome: CTS) เป็นต้น นอกจากจะเกดิ ความผดิ ปกติของกลา้ มเนื้อและกระดูกโครงร่างแลว้ ยังก่อให้เกิดความลา้ จากการทางาน และ ความเครียดจากการทางาน การประเมินปญั หาการยศาสตร์ การค้นหาปัญหา (Risk identification) วิเคราะหป์ ัญหาการยศาสตร์ (Risk evaluation) การควบคมุ แก้ไขปญั หาการยศาสตร์ (Risk control) ดาเนินการควบคุมทางวิศวกรรม การบรหิ าร จัดการ และการแก้ไขทตี่ วั ผู้ปฏิบตั ิงาน การปอู งกันและแก้ไขปัญหา 1) แนวทางการปฏบิ ตั ติ นในการยก หรือเคล่ือนยา้ ยผปู้ วุ ย ควรคานึงถงึ - ไม่เคล่ือนยา้ ยผู้ปุวยเม่ืออยใู่ นลักษณะไมส่ มดุล - ใหผ้ ้ปู ุวยอยู่ใกล้ตวั ผยู้ กทส่ี ดุ เทา่ ทีจ่ ะทาได้ - ไมค่ วรยก หรือเปลีย่ นตาแหน่งผ้ปู วุ ยโดยลาพงั โดยเฉพาะผู้ปวุ ยทล่ี ม้ ลงไปท่ีพน้ื ควรมกี ารยกเป็นทีม หรือมีการใชอ้ ปุ กรณช์ ว่ ยยกหรอื เคล่อื นย้าย - ร่วมกันกาหนดจานวนคร้ังในการยก หรือเคล่อื นย้ายผู้ปุวยเป็นจานวนครงั้ ตอ่ คนตอ่ วัน - หลกี เลีย่ งการยกผปู้ ุวยทมี่ ีน้าหนักมากๆ โดยเฉพาะการยกทตี่ ้องมีการบิดเอย้ี วตวั ซงึ่ ทาใหม้ ีการหมนุ ของกระดูกสันหลงั 2) แนวทางการแก้ไขการยนื ทางานเปน็ เวลานาน

17 พจิ ารณาใช้โตะ๊ ท่สี ามารถปรบั ระดบั ไดเ้ พื่อเกิดความเหมาะสมกบั ผูใ้ ช้งาน เมื่อผปู้ ฏิบตั งิ านยนื ทางานท่ี มลี ักษณะงานต้องใชค้ วามละเอียด ควรจัดให้มีการหนนุ รองขอ้ ศอกไว้ มีการจัดวางเครื่องมอื วตั ถุดิบ และวสั ดุอื่นๆ บนโต๊ะทางานตามความถี่ของการใชง้ าน ควรจัดให้มรี าวพิงหลงั หรือที่พกั เท้า กรณีทตี่ ้องยนื ทางาน เพื่อชว่ ยลดปัญหาการปวดเม่ือยบริเวณ หลงั ส่วนล่าง 3) แนวทางการแก้ไขการน่งั ทางานเป็นเวลานาน - ในบริเวณทนี่ ่งั ทางานจะต้องมกี ารจัดวางสิ่งของที่ตอ้ งใช้งานให้พร้อม และสามารถหยบิ จบั ได้งา่ ยโดย ไม่ต้องเอื้อม - ไมค่ วรต้องใช้แรงมาก แม้ว่าจะเปน็ การออกแรงเปน็ คร้งั คราวก็ตาม (เช่น ขณะนัง่ ทางานไมค่ วรต้อง ออกแรงยกวัตถซุ ึ่งมีนา้ หนกั มากกว่า 4.5 กโิ ลกรัม) - จัดให้มเี กา้ อ้ีทดี่ ี คือแข็งแรง ปลอดภยั เหมาะสมกบั ขนาดสดั ส่วนร่างกายของผปู้ ฏิบตั ิงานจดั ให้มที ่ี วางเท้า ข้อแนะนาในการปฏิบัตงิ านกับคอมพิวเตอร์ 1. โดยเฉพาะงานที่ต้องทานานถึง 4 ชัว่ โมง หรือมากกวา่ ในแตล่ ะวนั ตอ้ งจัดสถานงี านเอ้ือให้ ผู้ปฏิบตั ิงานอยใู่ นทา่ ทางเป็นปกติ ไม่ฝนื ธรรมชาติ 2. การจดั วางจอภาพ คยี ์บอร์ด เมาส์ ให้สว่ นบนสดุ ของจอภาพอยู่ระดับสายตา หรือต่ากว่าระดับ สายตาเล็กน้อย 3. นัง่ หา่ งจากจอภาพในระยะที่อา่ นตวั อักษรได้อย่างชดั เจน 4. ระดับความสูงของคียบ์ อร์ดที่สูงหรือต่าเกนิ ไป ทาให้มือและแขนของ ผูป้ ฏิบตั ิงานอยูใ่ นตาแหนง่ ที่ ไม่เหมาะสม ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาท่ีมอื ข้อมือและไหล่ จงึ ควรปรับระดับความสูงของเก้าอเ้ี พ่ือน่ังทางานในทา่ ทาง เป็นปกติ 5. ควรวางคีย์บอร์ดตรงดา้ นหนา้ ด้วยระยะหา่ งท่ที าให้ขอ้ ศอกอย่ใู กล้ลาตัว และแขนท่อนลา่ งขนานกับ พื้น

18 5. สง่ิ คุกคามสุขภาพทางจติ วทิ ยาสังคม (Psychosocial health hazards) หมายถงึ ส่ิงแวดล้อมการทางานทม่ี ีหลายปัจจยั ร่วมกัน ได้แก่ สิ่งแวดลอ้ มที่เปน็ ตัววตั ถตุ ัวงาน (ทั้ง ปรมิ าณและคุณภาพ) สภาพการบริหารภายในองค์กร ความรู้ความสามารถของบุคลากร ความตอ้ งการพน้ื ฐาน วฒั นธรรม ความเชื่อพฤติกรรม ตลอดจนสภาพแวดลอ้ มนอกงานท่ที าให้เกิดการรบั รูแ้ ละประสบการณ ความเครียด (Stress) หมายถึง ความไม่สมบูรณท์ ่เี กดิ ขนึ้ และรบั รูไ้ ด้ระหว่างความสามารถในความต้องการของรา่ งกายกับการตอบสนอง ภายใต้สภาวะท่ีลม้ เหลวนั้นๆผลท่ีเกิดขนึ้ จากสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียด ทาใหเ้ กดิ ปฏกิ ริยาเครียด รวมท้ังผลท่ี เกิดตามมาในระยะยาว การเปล่ยี นแปลงทางสรรี ะ เนื่องจากอารมณห์ รอื จิตใจที่ไดร้ บั ความบบี ค้ันตา่ งๆ ผลกระทบต่อสุขภาพ ความเครียดส่งผลทาให้เบ่ืออาหาร เกดิ แผลอักเสบในกระเพาะอาหาร เกิดความผิดปกติด้านจติ ใจ ปวด ศรี ษะข้างเดยี ว นอนไม่หลับ มีอารมณ์แปรปรวน ส่งผลตอ่ สมั พันธภาพภายในของครอบครวั และสงั คม ผู้มี ความเครยี ดมากอาจแสดงออกไดห้ ลายทาง เชน่ สูบบหุ รี่ ดื่มแอลกอฮอล์ ใชย้ าคลายเครียด หรอื แสดงอารมณ์ กา้ วรา้ ว นอกจากน้ีความเครียดมีผลกระทบต่อทศั นคติ และพฤติกรรม การตดิ ต่อสื่อสารกับผูป้ ุวย และเพ่อื น รว่ มงาน การปูองกันและควบคุม 1) จดั ใหม้ โี ครงการจดั การบริหารความเครยี ดภายในองค์กร 2) จัดให้มกี ารทางานเปน็ กะอยา่ งเหมาะสม และมีจานวนทีมงานที่เพียงพอ 3) ปรับปรงุ สภาพแวดล้อมการทางานใหน้ ่าอยู่ น่าทางาน 4) ผทู้ ท่ี าหน้าที่ควบคุม กากับงาน ควรมคี วามยืดหยุน่ และยอมรับฟงั ความคิดเห็น 5) จดั ใหม้ กี ิจกรรมคลายเครยี ด 6) จดั ภาระงานใหเ้ หมาะสมกับความสามารถของผรู้ บั ผิดชอบงาน

19 ความปลอดภัยจากอัคคภี ัยและภยั พิบตั ิ(Fire and Disasters) อัคคีภยั หมายถึง ภยันตรายอนั เกิดจากไฟทีข่ าดการควบคุมดูแล ทาใหเ้ กิดการติดต่อลกุ ลามไปตามบริเวณท่ีมี เชื้อเพลงิ เกิดการลุกไหม้อย่างต่อเนอ่ื ง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากขน้ึ ถ้าการลกุ ไหม้ที่มเี ชอ้ื เพลิงหนุนเนื่องหรอื มีไอของเชอ้ื เพลิง ถกู ขับออกมามาก ความรอ้ นก็จะมากยง่ิ ข้นึ สร้างความสญู เสยี ต่อชีวติ และทรัพยส์ ิน ภยั พิบตั ิ หมายถงึ อบุ ัติภยั ขนาดใหญ่ อันทาให้เกิดการบาดเจบ็ เสียชวี ติ และสญู เสียทรพั ย์สินเป็นจานวนมาก อคั คีภยั และภัยพิบตั เิ ป็นสงิ่ ที่อาจเกิดขน้ึ ได้ในโรงพยาบาล และเม่ือไรที่เกิดเหตุการณน์ ี้ขึ้น จะต้องมีการอพยพ ผู้ปุวย ผ้ทู ีท่ าหนา้ ทอี่ พยพ ผปู้ ุวยจะต้องสามารถดแู ลและคุ้มครองตนเองให้เกดิ ความปลอดภยั จากการทางาน ดังกล่าว หรือบุคลากรอืน่ ก็สามารถดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากเพลิงไหม้ได้ สาเหตขุ องการเกิดอัคคภี ัยในโรงพยาบาล 1. จากความประมาทเลินเล่อ หรือขาดความระมัดระวัง ทาให้สิ่งท่เี ป็นเช้ือเพลงิ เช่น ไมข้ ีดไฟ บุหร่ี แพรก่ ระจายจนเกิดความร้อนและเปน็ สาเหตขุ องอัคคภี ยั 2. การใช้เครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟูาผดิ ประเภท ชารุด มขี นาดไม่เหมาะสมกบั ปรมิ าณกระแสไฟฟูา ทาให้ เกดิ เพลงิ ไหม้ จากไฟฟูาลดั วงจร การขาดความเปน็ ระเบียบในการจดั เก็บอปุ กรณ์ เครอื่ งใชไ้ ฟฟาู 3. การขนถ่ายวัตถุไวไฟ ตลอดจนการใชแ้ ละการเก็บวัตถไุ วไฟท่ีไม่ถกู ต้อง 4. จากความตัง้ ใจ เชน่ การลอบวางเพลงิ หรือการก่อวินาศกรรม ผลต่อสขุ ภาพ 1) การเกิดอัคคีภัยทาใหเ้ กดิ การบาดเจ็บ เช่น บาดเจ็บจากการถูกไฟลวก ไฟไหม้ที่อวยั วะต่างๆ บาดเจบ็ จากการกระโดดหนีไฟ การสูญเสียชีวติ เนื่องจากความรอ้ น แรงระเบดิ 2) การขาดอากาศหายใจ และการหายใจเอาควนั พษิ ต่างๆ เข้าไป จนทาให้ระบบภายในร่างกาย ทางานผดิ ปกติและในทส่ี ุดทาใหถ้ ึงแก่ชีวติ ได้ อุปกรณ์ดับเพลิง ชนิดถงั ดับเพลิง การเกิดของไฟ หมายถงึ ไฟเกิดจากการรวมตัวขององคป์ ระกอบ 3 ประการ ที่รวมตวั กันจนไดส้ ดั สว่ น 1.เชือ้ เพลิง (FUEL) คือสิ่งทตี่ ิดไฟและลุกไหม้ได้ 2.ความร้อน (HEAT) คอื ความรอ้ นทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ สามารถทาอุณหภมู สิ ูงจนทาให้สารเชือ้ เพลงิ จุดติด

20 ไฟเชน่ สะเก็ดไฟ ลกู ไฟจากการเชอ่ื ม เครื่องจกั รร้อน ไฟฟูาชอ็ ต เปลวไฟ บุหรี่ ฟาู ผ่า ฯลฯ 3.อากาศ (OXYGEN) ในบรรยากาศท่ัวไปมีออกซเิ จน ประมาณ 21 % อยู่แล้ว ซงึ่ สามารถทาให้ชว่ ยติดไฟได้ ภาพที่ 6 ส่วนประกอบการเกิดไฟ ประเภทเชื้อเพลิง 1.ประเภท A คือ เพลิงท่ีไหม้ที่เกดิ จากเชอื้ เพลงิ ของแข็ง เช่น ไม้ ผ้า กระดาษ ปอ นุน่ ยาง พลาสตกิ ภาพท่ี 7 เช้ือเพลิงประเภท A 2.ประเภท B คอื เพลงิ ท่ีไหม้ในของเหลวติดไฟและกา๊ ซติดไฟ เช่น นา้ มัน กา๊ ซหุงต้ม จาระบี ภาพท่ี 8 เชื้อเพลงิ ประเภท B 3.ประเภท C คอื เพลงิ ท่ีไหม้จากอปุ กรณ์ไฟฟูา ทม่ี ีกระแสไฟฟาู ไหลอยู่ เชน่ ไฟฟูาลัดวงจร ภาพที่ 9 เช้ือเพลงิ ประเภท C

21 4.ประเภท D คือ ประเภทวตั ถขุ องแข็งหรือโลหะไวไฟ เชน่ แมกนีเซยี ม ไตตาเนยี ม สาหรบั แมกนเี ซยี มหา้ มใช้ นา้ ดับเด็ดขาด ต้องใช้เกลอื แกงหรือทราย ภาพท่ี 10 เชื้อเพลิงประเภท D 5.ประเภท K คอื เพลิงไหม้ท่เี กดิ จากนา้ มันท่ใี ช้ประกอบอาหาร ไขมันสัตว์ ภาพที่ 11 เชื้อเพลิงประเภท K ตารางประเภทถงั ดับเพลิงที่สามารถใชก้ บั แตล่ ะเชื้อเพลิง

22 ประเภทถงั ดบั เพลิง ถังดับเพลิงชนิด ถงั ดับเพลิงชนดิ ถังดบั เพลงิ ชนดิ โฟม ถงั ดับเพลงิ ชนดิ สารเหลงระเหย คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแหง้

23 ส่วนที่ 3 แผนปอู งกนั เหตุฉกุ เฉิน แผนปอู งกันอคั คีภัย เนอ่ื งจากโรงพยาบาลบางกลา่ มีการใชเ้ คร่ืองมืออุปกรณ์มากมาย ท้ังเครื่องมือท่ตี ้องใชร้ ะบบไฟฟูา หรือแม้แต่ การปรงุ อาการที่ต้องใชไ้ ฟ รวมถึงมีจุดทีเ่ ป็นพืน้ ทบี่ ริการทง้ั ในส่วน OPD และ IPD ซงึ่ เม่ือเกดิ เหตุไฟไหม้อาจ ส่งผลกระทบต่อชวี ิต ทรัพย์สิน และสง่ิ แวดล้อมเปน็ จานวนมาก ดังนนั้ ทางโรงพยาบาลบางกล่าจึงไดจ้ ดั ทาแผน ปอู งกนั เหตุจากอัคคภี ัยขึน้ เพื่อปูองกันเหตุเหลา่ นี้ เปาู หมาย เพือ่ ให้บคุ ลากรทางการแพทย์เตรียมความพร้อม ในการเกดิ เหตุการณฉ์ ุกเฉิน กรณเี กิดเหตกุ ารณจ์ าก อัคคภี ัย วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ปูองกนั ชีวิต ทรัพย์สิน และสิ่งแวดลอ้ มจากเหตุอัคคีภัยภายในพ้นื ที่โรงพยาบาลบางกลา่ ใน เพ่ือให้พนักงานมีความรู้และฝึกความชานาญของทีมการจดั การเหตุจากอคั คภี ยั ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงขึ้ เพื่อใหพ้ นักงานมีความสามัคคีในการปฏบิ ัติงานเป็นทมี วทิ ยากร นางขนษิ ฐา ทองเยน็ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ผูท้ ่เี ขา้ รับการอบรมและฝึกซ้อม บุคลาการกรจากทุกกลุ่มงานร่วมอบรมและฝึกซอ้ ม การประเมิน ตรวจสอบจากการเข้าอบรมและรว่ มฝกึ ซ้อมอพยพหนไี ฟ เกินกว่า 70% ของจานวนบุคลากรทงั้ หมด

24 ตัวอย่างแผนอพยพหนีไฟ เจ้าหน้าที่พบเห็นเหตไุ ฟไหมใ้ นคลงั ยา จึงใช้ถังดบั เพลงิ ชนิดคารบ์ อนไดออกไซดห์ น้าคลงั ดับไฟ ดบั ได้ ดับไม่ได้ เหตุการณจ์ บ แจ้งหวั หนา้ งาน ผอ.แจง้ ฝาุ ยประชาสัมพันธ์ ประกาศ แจง้ ผอ.รพ. สถานการณ์ฉุกเฉินและแจง้ ทุกทา่ นอพยพ แจ้งฝุายประสานงานเรยี ก ไปยังจุดรวมพล รถดบั เพลงิ จากอบต. หวั หนา้ กลุ่มงานเช็คชือ่ และจานวนจนท. ไม่ครบ จนท.จากอบต.รายงานตัวตอ่ ครบ และคนไข้ทีด่ ูแล ผอ.รพ. น่งั ณ จุดรวมพลจนกวา่ หากไม่ครบแจ้งผอ.เพื่อให้ เขา้ ดบั เพลงิ เหตุการณ์ปกติ ทมี ค้นหาเข้าคน้ หาตัว เมื่อดบั สาเร็จรายงานตอ่ ผอ. ทีมคน้ หาเข้าหา ผู้สูญหาย ผอ.ใหท้ มี ชา่ งและฝุายบรหิ าร ประเมนิ ความเสยี หาย เม่อื พบนาไปยังจุดรวมพล เม่ือสามารถดบั ไฟไดผ้ อ.ใหป้ ระกาศสถานการณก์ ลับสู่ปกติ จนท.กลับเข้าพน้ื ทที่ างาน ยกเว้นสว่ นงานทเี่ สยี หาย

25 แผนการอบรมการฝึกซ้อมเหตุการณ์ฉกุ เฉนิ กรณสี ารเคมรี ั่วไหล เนอื่ งจากโรงพยาบาลบางกล่า มกี ารนาสารเคมีเขา้ มาใช้ในการปฏบิ ัติงาน เชน่ กลุ่มงานห้องฉุกเฉิน ดังน้ัน ทางโรงพยาบาล จงึ ไดเ้ ลง็ เห็นความสาคัญในการปูองกันการปนเปื้อนของสารเคมี ท้งั ภายในบรเิ วณ โรงพยาบาลและรอบโรงพยาบาล จึงจัดให้มีการซ้อมแผนเหตกุ ารณ์ฉุกเฉิน กรณสี ารเคมีรัว่ ไหลขนึ้ เปาู หมาย เพอื่ ให้บุคลากรทางการแพทย์เตรยี มความพร้อม ในการเกดิ เหตกุ ารณ์ฉุกเฉนิ กรณีสารเคมีร่ัวไหล, มี ความสามคั คใี นการทางานเป็นทมี , ส่อื สารและวางแผนการปฏิบตั งิ านเป็นทีมอย่างมีระบบ วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ปูองกนั การปนเป้ือนของสารเคมภี ายในบริเวณโรงพยาบาล และสาธารณชน 2. เพือ่ ให้พนกั งานมคี วามรู้และฝกึ ความชานาญของทมี การจัดการสารเคมีรว่ั ไหลให้มปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ข้นึ 3. เพ่ือให้พนักงานมคี วามสามัคคใี นการปฏบิ ัตงิ านเป็นทีม วิทยากร นางสาวอนุธดิ า เพชรทองขาว นักวิชาการสาธารณสุข ผทู้ ี่เข้ารับการอบรมและฝึกซ้อม บุคลาการกรจากกลุ่มงานฉกุ เฉิน และกลุ่มงานทั่วไปเกย่ี วกับงานชา่ ง การประเมิน ตรวจสอบจากการฝกึ ซ้อมแผนเหตุการณฉ์ ุกเฉนิ กรณสี ารเคมรี ่ัวไหล แผนการอบรมและการฝึกซ้อมเหตุการณ์ฉุกเฉิน กรณสี ารเคมีร่ัวไหล เหตกุ ารณท์ ีเ่ กิดขึ้น เทน้ายาซักฟอก จงึ ทาใหส้ ารเคมีหกร่ัวไหล เป็นบรเิ วณกวา้ ง ตรวจสอบและพบวา่ มสี ารเคมีหกร่วั ไหลเป็นจานวนมาก และไมส่ ามารถทีจ่ ะระงับเหตุการณ์ไว้ได้ จงึ ไดต้ ะโกนเรยี ก เพ่ือนรว่ มงาน ว่า “ สารเคมีหกรว่ั ไหล มาช่วยกนั หน่อยเร็ว “ รีบถอยห่างจากพนื้ ท่ีเกิดเหตุในระยะทปี่ ลอดภยั ไมค่ วรคิดว่าที่ เกดิ เหตไุ ม่มีกลิ่นหรือไอระเหยของสารเคมี และดาเนินการแจง้ หัวกลุ่มงานงานและนกั วิชาการสาธารณสุข ผรู้ ับผดิ ชอบในเรอ่ื งความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม พรอ้ มบอกรายละเอยี ดเกยี่ วกับสารเคมี ดงั นี้ สถานทแ่ี ละ จุดท่เี กดิ เหตุ, ประเภทสารเคมีและลักษณะการรว่ั ไหล, ปรมิ าณการหกและผลกระทบโดยรอบที่เกิดเหตุ, ผ้บู าดเจ็บมีหรือไม่ และช่ือผ้แู จง้ เหตแุ ละหนว่ ยงาน จากน้นั นกั วชิ าการสาธารณสุขมายงั จุดเกิดเหตทุ าการ ตรวจสอบสถานท่ีเกิดเหตแุ ละประเมินอันตราย พร้อมกับตรวจสอบขอ้ มูล MSDS (Material Safety Data Sheet) ของสารเคมีทรี่ ัว่ ไหล และส่งั ใหม้ ีการดาเนินการตามแผนการฉุกเฉนิ กรณสี ารเคมรี วั่ ไหล โดยทีมเตรยี ม ดูแลรักษาอุปกรณแ์ ละทีมการจัดการกบั สารเคมี ดังนน้ั ทีมเตรียมและดูแลรักษาอปุ กรณ์ในการจดั การกับ

26 สารเคมี ทหี่ กร่วั ไหล เตรยี มอุปกรณ์การจดั เก็บการปนเปอื้ นของสารเคมีและอุปกรณ์ความปลอดภยั ดังน้ี Spill kit, ถุงมือยาง, รองเท้า Safety, ไม้กวาดทางมะพร้าว, เส้นกน้ั ขาว – แดง, อปุ กรณต์ กั เก็บสารเคมแี ละภาชนะ บรรจุ, ผา้ ปิดจมูก, แว่นตานิรภยั และถังดบั เพลงิ ชนดิ เคมีแห้ง และทมี การจัดการกบั สารเคมี ท่ีหกรว่ั ไหล ดาเนนิ การสวมใส่อุปกรณ์ความปลอดภยั พร้อมทจี่ ะดาเนนิ การ ตามขั้นตอน 1. ทาการกั้นเสน้ ขาว – แดง เพือ่ ให้พนักงานในบริษทั ฯ ทุกคนรับทราบวา่ เปน็ พื้นที่อันตราย 2. นาข้ีเลอ่ื ยทาเปน็ คันกัน้ ใหร้ อบสารเคมีท่หี ก แล้วจงึ เทกลบขเ้ี ล่ือยดว้ ยปริมาณนอ้ ย ๆ (หา้ มเทกลบ คร้ังละ ปรมิ าณมาก) รอจนการดดู ซับหรือทาลายฤทธส์ิ ารเคมีท่หี กใหส้ ิ้นสดุ เสยี กอ่ นจึงค่อยลงมือทาความ สะอาด ใช้พลั่วตกั สารดดู ซับใส่ภาชนะท่จี ัดเตรยี มไว้และปิดให้เรียบรอ้ ย แล้วทาความสะอาดคราบท่เี หลอื จน แน่ใจวา่ สารเคมนี นั้ หมดไปจึงทาความสะอาด และเชด็ ใหแ้ ห้ง (ห้ามใช้นา้ ลา้ งก่อนการดูดซบั เพราะจะทา ปรมิ าณของสารเคมีหกรวั่ ไหลมมี ากข้ึน) หลังจากทีม่ กี ารปอู งกันการปนเปื้อนของสารเคมีเสร็จเรียบรอ้ ย ทมี การจัดการกับสารเคมีทห่ี กร่วั ไหลรีบทาความสะอาดรา่ งกาย และทางเจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ระดับวิชาชีพและหัวหนา้ งาน ดาเนนิ การสอบสวนการเกดิ เหตุการณฉ์ ุกเฉนิ กรณสี ารเคมีรัว่ ไหล, ข้ันตอนการ เตรียมความพรอ้ มเพ่ือรับสถานการณ์ฉุกเฉนิ , ข้ันตอนการปฏบิ ตั กิ ารแก้ไข และขัน้ ตอนการปอู งกัน เสรจ็ สนิ้ การฝกึ ซ้อมแผนการเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉนิ กรณี

27 พนักงานซกั ท่พี บเหตุ ตวั อย่างข้ันตอนระงับเหตฉุ กุ เฉนิ สารเคมีหกรัว่ ไหล ตะโกนบอกเพื่อน รว่ มงานทอ่ี ย่ใู กล้ และ ดาเนนิ การแจง้ หวั กลมุ่ งานและ นวก.ในทันที หวั หนา้ งาน/ นวก. ตรวจสอบสถานท่เี กิดเหตุ ผ้ทู ี่ไดร้ บั มอบหมายทาการ คน้ หาผไู้ ด้รบั อุบตั ิเหตุ แจ้งฝุายพยาบาล เพื่อ ปิดกั้นพื้นทีเกิดเหตุ ปฐมพยาบาล และนาส่ง โรงพยาบาล ทีมเตรยี มอปุ กรณ์ ทาการ ควบคุมได้ ตระเตรยี มอุปกรณใ์ นจัดเก็บ รายงาน สารเคมที ่ีหกรว่ั ไหล และอุปกรณ์ นวก./ ฝุายชว่ ยเหลือ ผบู้ งั คับบัญชา ความปลอดภัยสว่ นบคุ คล และทีม แจง้ ยังหนว่ ยงาน ตามลาดับ การจัดการกับสารเคมที าการสวม ราชการและโรงงานใน ใส่อุปกรณค์ วามปลอดภยั สว่ น เครือ เพ่อื ขอความ หัวหน้า บคุ คล พร้อมทาตามขนั้ ตอนการ งาน ดาเนินการจัดการสารเคมรี ั่วไหล ผอ.รพ. ควบคมุ ไม่ได้ - หวั หนา้ งาน - ผอ.รพ. รายงานผบู้ งั คบั บญั ชา - นวก. ตามลาดบั หัวหน้างาน ประชุมสรปุ รายงาน หัวหนา้ แผนก รายงาน ประสานงาน นวก. แจ้ง นวก./หัวหน้าแผนกทา ประชาสมั พันธ์ การปิดก้นั ไม่ใหส้ ารเคมี รั่วไหลลงชมุ ชนข้างเคยี ง

28 แผนการฟ้นื ฟสู ิง่ แวดลอ้ มภายหลงั เกิดภาวะฉุกเฉิน กรณีสารเคมีรั่วไหล วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิและการฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมภายหลงั เกิดสภาวะฉุกเฉนิ ขอบเขต พนักงาน และผ้ทู ีเ่ ขา้ มาปฏบิ ัติงานในโรงพยาบาลบางกล่า คาจากดั ความ 1. ภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Situation) : เหตุการณ์หรือภาวการณผ์ ดิ ปกตเิ ม่ือเกิดขน้ึ แล้ว ทาให้เป็นอันตรา ต่อชีวิต ทรพั ย์สิน หรอื ทาใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อมของบรษิ ัทฯ และหรือพนื้ ท่ใี กลเ้ คยี ง 2. การจาแนกชนดิ ของภาวะฉกุ เฉิน : ชนดิ ของภาวะฉุกเฉิน คอื ภาวะฉกุ เฉนิ ท่ีเกดิ จากสารเคมีอนั ตราย หรือ นา้ มนั หกรัว่ ไหล 3. ระดบั ความรนุ แรงของภาวะฉุกเฉนิ : ระดับความรุนแรงของภาวะฉุกเฉนิ สามารถกาหนดเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ความรนุ แรงระดบั ท่ี 1 : ภาวะเหตุการณแ์ ละการปฏิบตั ิ ดงั น้ี • ภาวะหรอื สถานการณ์เมอ่ื มีผูพ้ บเหตกุ ารณผ์ ิดปกติ หรือเม่อื มีสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉนิ ประจาพืน้ ท่ี ตรวจสอบ วา่ เกดิ ข้ึนจรงิ และดาเนนิ การระงบั เหตุพรอ้ มแจ้งต่อเจ้าของพ้นื ที่ • อยใู่ นระหวา่ งการตรวจสอบพนื้ ทีเ่ กิดเหตหุ รือดาเนนิ การควบคมุ ทนั ที โดยเจา้ ของพนื้ ท่ี หรอื ผู้พบเหตุการณ์ • โดยใช้อุปกรณ์โตต้ อบภาวะฉกุ เฉินประจาพ้นื ทแี่ ละสามารถควบคุมให้อยู่ในพน้ื ที่ท่ตี อ้ งการได้ เช่น เหตุการณ์ สารเคมอี ันตรายเกดิ รว่ั ไหล • ภาวะฉกุ เฉินท่ีเกดิ ขึ้นภายในบรเิ วณพน้ื ที่เดียวไม่มีผลกระทบกบั พื้นท่ีอื่นข้างเคยี ง • สามารถควบคุมเหตุการณ์โดยใช้อปุ กรณ์โต้ตอบภาวะฉุกเฉินภายในบรษิ ทั ฯ • ไม่ต้องร้องขอกาลงั สนบั สนนุ และขอความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานภายนอก ความรุนแรงระดับท่ี 2 : ภาวะเหตุการณแ์ ละการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี • ภาวะฉกุ เฉินทข่ี ยายผลใหญ่ขึน้ เช่น สารเคมีมีการหกร่วั ไหลเปน็ วงกว้าง และกระจายจากพื้นที่เกดิ เหตุ ทาให้ เกิดผลกระทบตอ่ พื้นที่ขา้ งเคียง • ไมส่ ามารถควบคมุ ได้ด้วยทีมควบคมุ ภาวะฉกุ เฉนิ และอปุ กรณ์โต้ตอบภาวะฉกุ เฉินของโรงพยาบาลบางกล่า • จาเปน็ ตอ้ งขอกาลังสนบั สนุนจากทมี สนบั สนนุ ภายนอก เชน่ สถานีดบั เพลงิ อ.บางกล่า และทมี สนับสนุนท่ีอยู่ ใกล้เคยี งบริเวณโรงพยาบาลบางกลา่ • แจ้งเหตกุ ารณท์ ่ีเกิดข้ึนตอ่ หนว่ ยงาน / หน่วยราชการและผู้เกยี่ วขอ้ งทราบ

29 ขนั้ ตอนการดาเนินงาน 1. ผู้อานวยการโรงพยาบาล : ทาการแตง่ ตงั้ คณะทางานโดยแบง่ เปน็ 2 ชดุ ดงั นี้ 2. คณะทางานชดุ สอบสวนเหตกุ ารณ์ท่เี กิดขึ้น และแนวทางในการปูองกนั 3. คณะทางานชุดฟื้นฟสู ภาพโรงพยาบาลบางกล่า และสิ่งแวดล้อมภายหลังเกิดสภาวะฉกุ เฉิน

30 อ้างองิ อา้ งองิ ตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จดั การ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานเกี่ยวกับความรอ้ น แสงสวา่ ง และเสียง พ.ศ. 2559 อา้ งอิง : สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน, อนั ตรายจากเสียงดงั https://www.tosh.or.th/index.php/media-relations/poster/item/415-noise อา้ งองิ อศวรรย์ บญุ ทนั . เอกสารประกอบการอบรมหลกั สตู รในที่อบั อากาศ. ออนไลน.์ แหล่งทม่ี า http://www.safetyworkplace.net/uploads/3474/files/Att%23%2004%20เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ อบรมการทางานในที่อบั อากาศ%20update%2057-1.pdf. (เขา้ ถงึ เมอื่ วนั ท่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐)