Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประวัติบีพี May 23 2017

เอกสารประวัติบีพี May 23 2017

Published by Sirirat Sirivirojsakul, 2021-08-06 04:02:17

Description: เอกสารประวัติบีพี May 23 2017

Search

Read the Text Version

1 ช่อื ...................................................................................................ชนั้ ป.5/............. หม่.ู ................................... บี.พ.ี 1. ขอ้ มูลสว่ นตัวของ บี.พ.ี ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ เป็นผใู้ หก้ าเนิดลกู เสอื โลก มชี ่อื เตม็ วา่ …………………………………..……………….. เรยี กย่อๆ วา่ ……………………………………….. เกิดวนั ท่ี 22 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2400 ท่ีกรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ บิดาช่อื เอช.จี.เบเดน โพเอลล์ เป็นศาสตราจารย์ สอนวชิ าเรขาคณิต และธรรมชาตศิ กึ ษา ณ มหาวทิ ยาลยั ออกซฟ์ อรด์ มารดาช่อื เฮนรเิ อทตา้ เกรซ สมิทธ์ เป็นธิดาของพลเรอื เอก ดบั เบลิ้ ย.ู ท.ี สมิทธ์ แหง่ ราชนาวีองั กฤษ บพี สี มรสกบั นางสาวโอลาฟ เซน็ ตแ์ คลร์ เม่อื อายไุ ด้ 55 ปี 2. ชีวิตในวยั เด็กของบ.ี พ.ี เม่อื บี.พี. อายไุ ด้ 11-12 ปี ไดเ้ ขา้ ศกึ ษาในโรงเรยี นประถมศกึ ษาช่อื ............................................................... ในกรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ เขา้ เรยี นโรงเรียนมธั ยมช่อื ชาเตอรเ์ ฮาส์ ได้ 2 ปี ตอ่ มาโรงเรยี นไดย้ า้ ยไปตงั้ อยู่ ในชนบท ณ เมอื งโกคาลมงิ ในแควน้ เซอรเ์ รย์ มีนา้ ไหลผา่ นและมปี ่าใหญ่อย่ตู ิดบรเิ วณโรงเรยี น เขามกั ใชเ้ วลาว่างหลบเขา้ ไปใชช้ ีวิตและศกึ ษาเก่ียวกบั ธรรมชาตโิ ดยลาพงั ชีวติ ในวยั เด็ก บ.ี พี. ไดร้ บั ความรูพ้ ิเศษจากพลเรอื เอกสมิทธผ์ เู้ ป็นตา เก่ียวกบั การว่ายนา้ เลน่ สเกต ข่มี า้ การวดั แดดและดดู าว นอกจากนีเ้ ขายงั ชอบวาดภาพ รอ้ งเพลง แสดงละคร มีความสนใจในธรรมชาติศกึ ษา ศกึ ษาชีวิตสตั ว์ ตน้ ไมต้ ลอดจนความรูเ้ ชิงพราน และในวนั ปิดภาคมกั จะท่องเท่ยี วพกั แรม ไปกับพ่ชี ายอีก 3 คน ปีสดุ ทา้ ยท่ีเรยี นอยใู่ นชาเตอรเ์ ฮาส์ บ.ี พ.ี ไดไ้ ปสมคั รสอบเขา้ เรยี นในมหาวทิ ยาลยั ออกซฟ์ อรด์ สองครงั้ แต่สอบไมไ่ ด้ ในปี พ.ศ.2419 สอบเขา้ โรงเรยี นนายรอ้ ย............................................................................. ไดท้ ่ี 5 ไดร้ บั แต่งตงั้ เป็นนายรอ้ ยตรใี นกองทพั บกขององั กฤษ และถกู สง่ ไปประจาการท่ปี ระเทศอินเดยี เม่อื อายุ 19 ปี กิกรรมพฒั นาผเู้ รยี นลกู เสอื ป.5 /ผศ.ผสั สพรรณ

2 3. ชีวติ ในการรับราชการทหาร บ.ี พ.ี รบั ราชการทหารในประเทศ................................................ ประจากองทหารมา้ อสุ ซารท์ ่ี 13 เป็นเวลา 8 ปี โดยปฏิบตั หิ นา้ ท่ีดว้ ยความเขม้ แข็ง และไดร้ บั ยศรอ้ ยเอก เม่อื อายุ 26 ปี ในระหว่างนีม้ เี หตกุ ารณท์ ่ีแสดงลกั ษณะพเิ ศษหลาย อย่าง เชน่ ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศในการแข่งขนั กีฬาแทงหมปู ่า ขณะอย่บู นหลงั มา้ โดยใชห้ อกสนั้ เม่อื พ.ศ.2426 และขณะท่ีมียศเป็นรอ้ ยตรี ไดร้ บั เงินเดอื นนอ้ ยมาก เพยี งปีละ 120 ปอนด์ จึงดาเนนิ ชวี ติ อย่างประหยดั คอื งดสบู บหุ ร่ี หารายไดพ้ ิเศษโดยการเขยี นเร่อื งและเขียนภาพลงหนงั สือพมิ พ์ ชีวติ ราชการทหารของทา่ นสว่ นใหญ่อยใู่ นประเทศ........................................และ.......................................... มีส่ิงท่ปี ระทบั ใจ ท่ีเก่ียวกบั กิจการลกู เสือหลายครงั้ เชน่ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2431 ไดไ้ ปปราบชนเผ่า.................... ซง่ึ มหี วั หนา้ ช่อื ดนิ สี ซูลู ในแอฟรกิ าใตส้ าเรจ็ จากประสบการณน์ ีไ้ ดร้ บั ความรู้ ซ่งึ ต่อมาไดน้ ามาใชใ้ นกิจการลกู เสือคือ 1. บทเพลงอินกอนยามา และ 2. สรอ้ ยคอของดนิ ิส ซลู ู ทาดว้ ยไมแ้ กะเป็นท่อนเลก็ ๆ ซ่งึ ต่อมา บ.ี พี. ไดน้ ามาเป็นบดี เครอ่ื งหมายวดู แบดจ์ สาหรบั ผทู้ ่ผี า่ นการ อบรมผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ขน้ั ความรูช้ นั้ สงู ครัง้ ท่ี 2 พ.ศ.2432 ท่ีเกาะมอลตา้ บ.ี พ.ี ไดร้ บั แตง่ ตงั้ เป็นผชู้ ่วยทตู ทหาร ทาหนา้ ท่ีเป็น.......................................................... ครัง้ ท่ี 3 พ.ศ. 2438 ทาการรบกบั เผ่าอาซนั ติ ซง่ึ มีกษัตรยิ ช์ ่อื ว่า ......................................................... และไดร้ บั ชยั ชนะ เหตกุ ารณค์ รงั้ นี้ บี.พี. ไดป้ ระสบการณด์ งั ตอ่ ไปนี้ 1. การบกุ เบิก เช่นการโคน่ ตน้ ไม้ การทาสะพาน การสรา้ งคา่ ยพกั 2. ทดลองการแต่งกายของตนเอง ใชห้ มวกปีกแบบโคบาล จนไดร้ บั ฉายาจากพวกพนื้ เมืองว่า ............................................. แปลวา่ คนสวมหมวกปีกกวา้ ง 3. ประเพณีการจบั มือ....................................................................... จากการแสดงความเป็นมิตรของคนพืน้ เมือง ครัง้ ท่ี 4 พ.ศ. 2439 พวกมาตาบิลี ซ่งึ เป็นเผา่ หน่ึงของซลู ู เดิมอยใู่ นทรานสวาล และถกู พวกบวั รข์ บั ไล่ จงึ อพยพไปอยใู่ นมาตบิ ิลีแลนด์ (ปัจจบุ นั เรยี กโรดิเซีย) พวกมาตาบิลีก่อการกบฏ รฐั บาลองั กฤษจงึ ส่งั ทหารไปปราบ บี.พี. ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีดว้ ยความเขม้ แข็งและไดร้ บั ประสบการณเ์ ร่อื งการสอดแนม โดยเฉพาะการปฏิบตั ิงานตอนกลางคนื เลยไดร้ บั ฉายาวา่ \" อมิ ปีซา่ \" แปลวา่ ..................................................................................................................... ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2442 เหตกุ ารณท์ ่ีเมอื งมาฟอคี ิง หลงั จากบ.ี พ.ี ไดก้ ลบั จากการปฏบิ ตั ิงานท่อี นิ เดยี 2 ปี บ.ี พี. ไดร้ บั คาส่งั ดว่ นใหเ้ ดินทางไปแอฟรกิ า เพ่อื หาทางปอ้ งกนั การรุกรานของพวกบวั ร(์ ชาวดทั ซท์ ่ีอพยพไปอยใู่ นแอฟรกิ าใต)้ ในทรานสวาลและ ออเรน้ จท์ รสี เตท ซ่งึ จะตงั้ ตนเป็นเอกราช บี.พ.ี ไดน้ ากองทหารไปรกั ษาเมืองมาฟอีคิง ซง่ึ ถกู ลอ้ มโดยกองทหารบวั รไ์ วไ้ ด้ 217 วนั จงึ มกี องทพั ใหญ่ยกไปชว่ ยและทาใหพ้ วกบวั รต์ อ้ งลา่ ถอยไป กกิ รรมพฒั นาผเู้ รียนลกู เสือ ป.5 /ผศ.ผสั สพรรณ

3 ในการปอ้ งกนั เมอื งมาฟอีคงิ บ.ี พ.ี ไดป้ ฏิบตั หิ นา้ ท่ีดว้ ยความเขม้ แขง็ อดทน รา่ เรงิ ไม่ย่อทอ้ ใชส้ ตปิ ัญญาหาวธิ ีแกป้ ัญหา ทากลอบุ ายลวงขา้ ศกึ ใหเ้ ขา้ ใจผดิ คดิ วา่ มกี าลงั ทหารมากมาย และมกี ารปอ้ งกนั รกั ษาเมืองอยา่ งเขม้ แข็ง ตลอดจนใชเ้ ด็ก อาสาสมคั รทไ่ี ดร้ บั การอบรมแลว้ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีสง่ ขา่ ว ปรากฎว่าทางานไดผ้ ลดี ทาให้ บี.พี. มคี วามประทบั ใจในตวั เด็กและเห็นวา่ ถา้ ใชเ้ ดก็ ใหถ้ กู ทางแลว้ จะเกิดประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาตอิ ย่างมาก จงึ ไดร้ เิ รม่ิ การลกู เสือในเวลาต่อมา จากเหตกุ ารณท์ ่ีเมือง มาฟอีคิง ทาให้ บี.พ.ี ไดร้ บั ฉายาวา่ \".......................................................................................\" 4.การกาเนิดลูกเสอื บ.ี พี. เดนิ ทางกลบั องั กฤษในฐานะวรี บรุ ุษ และไดร้ บั เกียรติอยา่ งมาก เนื่องจากไดร้ บั ประสบการณจ์ ากเมือง..................... ซง่ึ ไดจ้ ดั ใหเ้ ดก็ ๆ มาชว่ ยเหลือในการรกั ษาเมืองเช่น ทาหนา้ ท่ีเป็นผสู้ อื่ ข่าวและสอดแนมของกองทพั รกั ษาความสงบภายใน รบั ใชง้ านต่างๆเชน่ อยยู่ ามบนหอคอยใหส้ ญั ญาณแก่ประชาชนเม่อื พวกบวั รโ์ จมตี เดก็ เหลา่ นีท้ าหนา้ ท่ีท่ีไดร้ บั มอบหมาย อยา่ งเขม้ แข็ง ว่องไว ไดผ้ ลดไี ม่แพผ้ ใู้ หญ่ ดงั นนั้ บี.พี.จึงคดิ ตงั้ ขบวนการลกู เสือขนึ้ จากประสบการณข์ องทา่ นเม่อื อยทู่ ่ีอินเดยี แอฟรกิ า อย่กู บั พวกซูลแู ละคนพนื้ เมืองเผ่าอ่ืนๆ ทาให้ บ.ี พี. ไดร้ บั การพฒั นา ความคดิ มาเป็นขบวนการลกู เสอื อย่างรอบคอบ โดยในปี พ.ศ. 2450 บ.ี พ.ี ไดร้ วบรวมเดก็ 20 คน ใหไ้ ปอย่ทู ่ีเกาะ................. ในช่องแคบองั กฤษ นบั เป็นการพกั แรมของลกู เสือครงั้ แรกของโลก ในปีต่อมากองลกู เสือไดเ้ ร่มิ กอ่ ตงั้ ขนึ้ อยา่ งจรงิ จงั เป็นครงั้ แรกในองั กฤษ และขยายตวั แพรห่ ลายอยา่ งรวดเรว็ ขบวนการลกู เสอื ไดเ้ จรญิ ขนึ้ ตามลาดบั ทาให้ บ.ี พี. มองเหน็ การณไ์ กล ลกู เสือจะเป็นงานสาคญั ในชีวติ ซง่ึ จะทา ประโยชนใ์ หแ้ กบ่ า้ นเมืองไดม้ าก โดยการอบรมเด็กๆ รุน่ หลงั ใหเ้ ป็นพลเมอื งดขี องชาติ บ.ี พ.ี จึงลาออกจากราชการทหาร ชีวติ ตอนนีจ้ ึงเรยี กว่า \" ชีวติ ท่ีสอง \" ซง่ึ เป็นชวี ิตท่ีใหบ้ รกิ ารแกล่ กู เสอื ท่วั โลก พ.ศ. 2454 บ.ี พ.ี เดนิ ทางรอบโลก เพ่อื พบลกู เสือประเทศต่างๆ เป็นการตงั้ ตน้ ของการลกู เสือ ทจ่ี ะเสรมิ ...........................................................ลกู เสือท่วั โลก พ.ศ. 2463 ลกู เสือประเทศตา่ งๆ ท่วั โลกพบกนั ท่ีกรุงลอนดอน เพ่อื รว่ มชมุ นมุ ลกู เสือโลกครงั้ แรก ในการชมุ นมุ ครงั้ นี้ ลกู เสือทงั้ หลายไดพ้ รอ้ มใจกนั ประกาศให้ บี.พี. อย่ใู นตาแหนง่ ............................................................................... เม่ือการลกู เสอื มีอายคุ รบ 21 ปี ซ่งึ เป็นการบรรลุ \"นิตภิ าวะ\" ตามกฎหมายองั กฤษและมีลกู เสอื ท่วั โลกถึง 2 ลา้ นเศษ พระ เจา้ ยอรช์ ท่ี 5 ไดพ้ ระราชทานบรรดาศกั ดิใ์ ห้ บี.พ.ี เป็น...................................................... ต่อจากนนั้ กิจการลกู เสอื เจรญิ กา้ วหนา้ โดยไมห่ ยดุ ยง้ั และมีการชมุ นมุ ลกู เสือโลกขนึ้ อกี หลายครงั้ เม่อื บี.พ.ี มีอายุ 80 ปี กาลงั วงั ชาเร่มิ ลดลง จึงกลบั ไปอย่.ู ........................................อีกครงั้ หนึ่งเพ่อื พกั ผอ่ นในช่วงสดุ ทา้ ย ของชวี ิต โดยพกั อย่ทู ่ีประเทศ.......................................................... และถึงแก่กรรมท่ีน่นั เม่อื วนั ท่ี 8 มกราคม พ.ศ.2484 กกิ รรมพฒั นาผเู้ รียนลกู เสือ ป.5 /ผศ.ผสั สพรรณ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook